chiang mai Express :: December Issue 2016/2559

Page 1




อุทยานหลวงราชพฤกษ์ สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

4

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ


เนื่องในมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราช สมบัติครบ 60 ปี ในพ.ศ. 2549 และทรงเจริญพระชนมายุ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 คณะรัฐมนตรีมม ี ติ เมือ ่ วันที่ 24 มิถน ุ ายน พ.ศ.2546 เห็นชอบให้กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ จัดงานมหกรรมพืชสวนโลก 2549 ณ ศูนย์วจิ ย ั เกษตรหลวงเชียงใหม่ ตำ�บลแม่เหียะ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2550 รวม 92 วันภายใต้ชอ ื่ “มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549” จากความสำ�เร็จของการจัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 ที่ ได้รับการตอบรับทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเป็นอย่างดี คณะรัฐมนตรีจึงมีมติ เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2551 ให้สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) เข้ามาบริหาร จัดการและปฏิบัติงานด้านต่างๆ รวมถึงใช้ประโยชน์พื้นที่สวนเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 ในการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้พืชสวน และ สวนแห่งการเรียนรู้ – เผยแพร่งาน โครงการหลวง โครงการอันเนือ ่ งมาจากพระราชดำ�ริ ความรูเ้ กีย ่ วกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนความหลากหลายทางชีวภาพ ควบคูไ่ ปกับการเป็นแหล่งท่องเทีย ่ วทางการเกษตรและ วัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่และประเทศไทย โดยได้รับการถ่ายโอนกิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ และงบประมาณของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มาเป็นของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2552 และมีการส่งมอบสวนเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 ในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2552 อุทยานหลวงราชพฤกษ์ หมายถึง สวนของพระมหากษัตริย์ หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี องค์ประธาน มูลนิธโิ ครงการหลวง ได้ขอพระราชทานชือ ่ สวนซึง่ เป็นสถานทีจ่ ด ั งานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิม พระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 ณ ศูนย์วจิ ย ั เกษตรหลวงเชียงใหม่ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ว่า “สวนหลวงราชพฤกษ์” ต่อมาท่านผูห ้ ญิงบุตรี วีระไวทยะ รองราชเลขาธิการ ปฏิบต ั ริ าชการ แทนราชเลขาธิการ ได้น�ำ ความกราบบังคมทูลพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช พระราชทานชือ ่ สวนเป็นภาษาไทยว่า “อุทยานหลวงราชพฤกษ์” และชื่อภาษาอังกฤษว่า Royal Park Rajapruek สำ�หรับต้นราชพฤกษ์ หรือ ต้นคูน(ลมแล้ง ภาษาพื้นเมืองภาคเหนือ) ได้รับการยกย่องให้เป็น ดอกไม้ประจำ�ชาติไทย และด้วยชื่ออันเป็นมงคลยิ่ง(ราชพฤกษ์ : ต้นไม้ของพระราชา) ถูกนำ� มาใช้เป็นชื่ออุทยานหลวงราชพฤกษ์ ไปพร้อมๆกับการจัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระ เกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549

ที่มาของข้อมูล และ ภาพ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

5



ยลโฉมอัตลักษณ์สถาปัตยกรรม วิจิตรตระการแห่งความเป็นล้านนาไทย


8

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ


หอคำ�หลวง เป็นส่วนแสดงสำ�คัญและยิง่ ใหญ่ทส ี่ ด ุ ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ เป็นพื้นทีจ่ ัด แสดงส่วนกลางที่โดดเด่นและสง่างามที่สุด สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติฯ แด่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์ที่ทรงอัจฉริยภาพ และ ทรงครองสิริราช สมบัตย ิ าวนานทีส ่ ด ุ ในโลก ภายใต้แนวคิดว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั คือ ศูนย์รวมจิตใจ ของปวงชนชาวไทย” จึงเป็นที่มาของอภิมหาสถาปัตยกรรมไทยล้านนา “หอคำ�หลวง” หอคำ�หลวง สถาปัตยกรรมไทยล้านนาที่สง่างาม เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนครึ่งไม้ครึ่งตึก 2 ชั้น สีน้ำ�ตาลแดง มีพื้นที่ประมาณ 3,000 ตารางเมตร ตั้งโดดเด่นเป็นสง่าบนเนินดิน ท่ามกลาง เนื้อที่กว่า 470 ไร่ ของศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ ตำ�บลแม่เหียะ อำ�เภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ สองข้างทางตลอดแนวของการเดินสู่หอคำ�หลวง ตระการตาไปด้วยสีเหลืองอร่าม ของดอกราชพฤกษ์ และมีพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ประดับตกแต่งตามเสาซุม ้ ศิลปวัฒนธรรมล้านนา มีความงดงามและอ่อนช้อยมากถึง 30 ซุม ้ ในการ เป็นพืน ้ ทีจ่ ด ั แสดงพระอัจฉริยภาพด้านการเกษตร ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ที่ทรงเป็นกษัตริย์นักการเกษตรเอกของโลก ความงดงามตระการตาด้านสถาปัตยกรรมของหอคำ�หลวงแห่งนี้ ผ่านกระบวนการคิด การ ออกแบบโดย นายรุง่ จันตาบุญ หรือ ช่างรุง่ สล่าล้านนา สถาปนิกจากบริษท ั ช่างรุง่ คอนสตรัคชัน ่ ผูช้ �ำ นาญการด้านสถาปัตยกรรมไทยพืน ้ ถิน ่ ผูอ ้ อกแบบจิตกรรมฝาผนังโดยอาจารย์ปรีชา เถาทอง ที่ปรึกษาโครงการเฉลิมพระเกียรติฯ และศิลปินชั้นเยี่ยมสาขาจิตรกรรมปี พ.ศ. 2522 รวมถึง ทีมช่างสิบหมูพ ่ น ื้ บ้านล้านนานับสิบคน ร่วมกันถ่ายทอดอัตลักษณ์สถาปัตยกรรมล้านนา เข้ามา ใช้ร่วมกับการก่อสร้างและตกแต่ง รังสรรค์เป็นผลงานอภิมหาสถาปัตยกรรม

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

9


จุดเด่นและเอกลักษณ์องค์ประกอบสถาปัตยกรรมล้านนาของ “หอคำ�หลวง” หลังนี้ได้แก่ วิหารซด (หลังคา) มีรูปแบบซ้อนเกยกันตามลักษณะของการก่อสร้างหอคำ�หลวงเช่นในอดีต นอกจากนี้ วิหารซด ยังเป็นสิ่งปลูกสร้างที่บ่งบอกถึงความเป็นที่ประทับของกษัตริย์ผู้ปกครอง เมือง ชาวบ้านทั่วไปไม่สามารถปลูกสร้างเรือนเช่นนี้ได้ คือ มีหน้า 3 หลัง 2 โดยที่โครงสร้าง ของวิหารจะใช้ลม ่ิ สลักให้ไม้เชือ ่ มติดกันโดยทีไ่ ม่หลุด (ไม่ใช้ตะปูในการยึดติด) ชาวล้านนาเรียก ว่าขึ้น “ม้าต่างไหม” (หมายถึงลักษณะการบรรทุกผ้าไหมบนหลังม้าไปขาย เป็นหนึ่งในวิถีการ ค้าการขายของพ่อค้าม้าในล้านนา ส่วนคำ�ว่า “ต่าง” หมายถึงการบรรทุก) ส่วนทีเ่ ป็นหลังคามุง ด้วยดินขอ (กระเบื้องดินเผา) สามารถรื้อถอนและนำ�มาประกอบใหม่ได้ โดยช่างจะนำ�ท่อนไม้ มาเรียงซ้อนต่อตัวกันสามระดับ (รูปทรงคล้ายปิรามิด) จัดวางให้สมดุลกันและมีการลดหลั่น ของหลังคาจากห้องประธานลงมาทางด้านหน้าและด้านหลังเป็นชัน ้ เชิงทีส ่ วยงาม มีเสาไม้ขนาด ใหญ่เป็นขารองรับน้ำ�หนัก (เสาไม้ขนาดใหญ่ในภาษาท้องถิ่นล้านนาเรียกว่าว่า เสาหลวง) มี ลักษณะทรงกลม ทาพื้นสีดำ� เขียนลวดลายรดน้ำ�ปิดทองตลอดทั้งต้น ช่อฟ้า อยูเ่ หนือจัว่ ของวิหาร ประดับตกแต่งด้วยรูปแกะสลักนกการเวก (นกการเวกเป็นสัตว์ใน วรรณคดี มีจะงอยปากสวยงามมาก) นาคทัณฑ์ หรือ คันทวย เป็นไม้ค�้ำ ยันทีม ่ ค ี วามสวยงามในศิลปะและประติมากรรมล้านนา โดย ช่างแกะสลักเป็นรูปนกหัสดีลิงค์ติดประดับ หน้าบัน และเสาซุ้มประตูทางเข้า เป็นผลงานจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของช่างสิบ หมู่พื้นบ้าน จากอำ�เภอต่าง ๆ ในเขตพื้นที่ภาคเหนือกว่า 60 คน ถือเป็นการรวมตัวกันครั้งยิ่ง ใหญ่ของศิลปินสกุลช่างชาวล้านนา วาดลวดลายการแกะสลักและปิดทองที่มีความละเอียด งดงามและปราณีตในองค์รวมที่พบความงามบนความเหมือนที่แตกต่าง รวมเป็นแบบฉบับ ล้านนาเดียวกัน 10

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ


หน้าบัน หรือ หน้าแหนบ ในส่วนนี้จะแตกต่างไปจากเรือนไทยภาคกลางคือ บริเวณที่ตำ�่ ลงมา จากหน้าบัน จะเป็นแผงเรียกว่า “คอกีด” ช่างได้แกะสลักลวดลายดอกไม้ ลายประจำ�ยาม และ รูปสัตว์ต่างๆ ตามจินตนาการช่างสกุลล้านนาประดับตกแต่งอย่างสวยงาม โก่งคิ้ว คือส่วนที่ต่ำ�จากคอกีดลงมา มีลักษณะคล้ายกับสาหร่ายรวงผึ้งของภาคกลาง ส่วนด้าน ข้างที่เป็นปีกนกมีการแกะสลักลวดลายไว้อย่างสวยงามเช่นเดียวกับบริเวณหน้าบัน ปราสาทเฟื่องโคมไฟ ประติมากรรมปูนปั้นที่ต้องการสื่อถึงความสว่างไสวโชติช่วง พุ่มหม้อดอก รูปแบบบูรณฆฎะอัตลักษณ์ล้านนา ลวดลายลงรักปิดทองล่องชาด และรูปแบบ หม้อน้ำ�มีไม้เลื้อย สื่อถึงความอุดมสมบูรณ์และความจงรักภักดี ส่วนรูปปั้นยักษ์ และ ช้างที่ยืน เฝ้าหอคำ�หลวงในหลากหลายอิริยาบท สื่อสัญลักษณ์ของชีวิตที่งดงามและสร้างสรรค์ ภายในหอคำ�หลวง แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วน ชั้นบนจัดให้เป็นหอเฉลิมพระเกียรติฯ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ภายในจัดให้มีการแสดงจิตรกรรมฝาผนังแบบล้าน นา บอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านต่าง ๆ พื้นที่ตรงกลางห้องโถงกำ�หนดให้ มีการสร้างต้นโพธิ์ทอง หรือ ต้นบรมโพธิสมภาร มีใบทั้งหมด 21,915 ใบ เท่ากับจำ�นวนวันที่ ทรงครองราชย์ตลอดระยะเวลา 60 ปี ถือเป็นต้นไม้แห่งทศพิธราชธรรม จุดเด่นของใบจัดทำ� เป็นอักษรนูนต่ำ�มีข้อความเป็นภาษาบาลี เกี่ยวกับเรื่องทศพิธราชธรรม เพื่อให้เหล่าพสกนิกร อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข ภายใต้ร่มพระบารมีตราบเท่าปัจจุบัน ชัน ้ ล่าง เป็นส่วนจัดแสดงภาพพระบรมฉายาลักษณ์ และ นิทรรศการเกีย ่ วกับพระปรีชาสามารถ พระอัจฉริยภาพในด้านต่างๆ พระวิริยะอุตสาหะในการทรงงาน เพื่อพสกนิกรของพระราชา ผู้ทรงครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม ที่มาของข้อมูล และ ภาพ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

11



“ทฤษฎีใหม่นี้มีไว้สำ�หรับป้องกัน หรือถ้าในโอกาสปกติทำ�ให้ร่ำ�รวยขึ้น ถ้าในโอกาสที่มีอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้นตัวได้ โดยไม่ต้องให้ทางราชการไปช่วยมากเกินไป ทำ�ให้ประชาชนพึ่งตนเองได้อย่างดี”

พระราชดำ�รัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2538 ณ ศาลาดุสิตาลัย

สวนเกษตรทฤษฎีใหม่

อยู่ได้อย่างมั่นคง และ ยั่งยืน

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ล อดุลยเดช ทรงมีพระราชดำ�รัสแนะแนวทางการดำ�เนินชีวิตแก่พสกนิการชาวไทยมาโดยตลอด นานกว่า 30 ปี ตัง้ แต่กอ ่ นเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมือ ่ ภายหลังได้ทรงเน้นย�้ำ แนวทาง การแก้ไขเพือ ่ ให้รอดพ้น สามารถดำ�รงอยูไ่ ด้อย่างมัน ่ คงและยัง่ ยืนท่ามกลางกระแสโลกาภิวต ั น์ และ ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ภายใต้ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ซึ่งการตัดสินใจและดำ�เนินการต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และ คุณธรรมเป็นพื้นฐานดังนี้ 3 ห่วง ประกอบด้วย ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไป และ ไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อื่น เช่นการผลิต และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียง จะต้องเป็นไปอย่างมี เหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำ�นึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ กระทำ�นั้นๆอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ด้านต่างๆที่จะเกิดขึ้น โดยคำ�นึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน อนาคตทั้งใกล้และไกล 2 เงื่อนไข เพื่อนำ�ไปสู่สมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงดังนี้ เงื่อนไขความรู้ คือ มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ใช้สติปัญญาในการดำ�เนินชีวิต เงือ ่ นไขคุณธรรม คือ มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซือ ่ สัตย์ สุจริต มีความอดทน มีความ เพียร และใช้สติปัญญาในการดำ�เนินชีวิต

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

13


เกษตรทฤษฎี ใ หม่ หรื อ New Theory เป็ น แนวทางการปฏิ บั ติ และการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สงู สุด สำ�หรับเกษตรกรรายย่อยทีม ่ พ ี น ื้ ทีจ่ �ำ กัดประมาณ 10-15 ไร่ ให้มีน้ำ�ใช้ในการเกษตรอย่างพอเพียงตลอดปี โดยมีเป้าหมายขั้นต้นที่จะให้เกษตรกรสามารถ เลี้ยงตัวเองได้ (Self Sufficiency) ในระดับที่ประหยัดก่อน ให้มีความมั่นคงในเรื่องอาหาร (Food Security) คือให้สามารถผลิตข้าวได้เพียงพอต่อการบริโภคทั้งปี มีกินตามอัตภาพ คือ ไม่ได้รวยมาก แต่พอกิน ไม่อดอยาก 14

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ


โดยแบ่ ง ที่ ดิ น ออกเป็ น สู ต รสั้ น ๆว่ า 30:30:30:10 ซึ่ ง เป็ น สั ด ส่ ว นโดย ประมาณ อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมกับสภาพและเงื่อนไขของ พื้นที่ มีการดำ�เนินงานแบ่งเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 การผลิต ถือเป็นขั้นตอนสำ�คัญที่สุด มีการจัดสรรพื้นที่ทำ�กินออก เป็น 4 ส่วน ซึ่งสูตร 30:30:30:10 หมายถึง 30% ใช้ขุดสระเก็บกักน้ำ� สามารถนำ�มาใช้เสริมการอุปโภคบริโภคในช่วง แล้ง และ ใช้ปลูกพืชฤดูแล้งได้ 30% ใช้ปลูกข้าว ซึง่ จะให้ผลผลิตเพียงพอสำ�หรับบริโภคภายในทัง้ ครอบครัว ได้ตลอดทั้งปี 30% ใช้ปลูกพืชผัก ผลไม้ พืชไร่ ไม้ยน ื ต้น เพือ ่ หลากหลายวัตถุประสงค์เช่น เพื่อเป็นอาหาร เสริมรายได้ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆในเรื่องของรูปแบบการ เพาะปลูก ฤดูกาล และด้านสภาพแวดล้อมเป็นต้น 10% ใช้เป็นที่อยู่อาศัย ปลูกพืชสวนครัว เลี้ยงสัตว์ และ สิ่งปลูกสร้างต่างๆ ขั้นที่ 2 การรวมกลุ่ม ให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มสหกรณ์ ร่วมแรงร่วมมือกันในด้านต่างๆเช่น การผลิต การตลาด ความเป็นอยู่ ขั้ น ที่ 3 การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ ร่ ว มมื อ กั น ระหว่ า งเกษตรกร กั บ แหล่ ง เงิน(ธนาคาร) เพือ ่ จัดหาทุน หรือแหล่งพลังงาน (บริษท ั น�้ำ มัน) เพือ ่ ประโยชน์ สูงสุดร่วมกันทุกฝ่าย การทำ�เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทาง ปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม เป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นเป็น ตอน เพื่อให้เกษตรกรสามารถอยู่ได้ด้วยการพึ่งพาตนเอง การบริหารการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติให้มีใช้อย่างคุ้มค่า และยั่งยืน ดำ�เนินไปตาม ลำ�ดับขั้นด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง มีภูมิคุ้มกัน อยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ส่งผลให้ครอบครัวอยู่อย่างมีความสุข อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

15



อุทยานแห่งมวลบุปผา พรรณพฤกษารื่นรมย์


18

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ


อุทยานหลวงราชพฤกษ์ มีเนื้อที่กว้างขวางเกือบ 500 ไร่ เป็นที่รวบรวมพรรณไม้นานาชนิดทั่วทุกมุมโลก ทั้งพันธุ์ไม้พื้นเมือง พันธุ์ไม้หายาก และพันธุ์ไม้ต่างประเทศ โดยมีการจัดแสดงเป็นสวนต่างๆเช่นสวนไทย สวนนานาชาติ และ สวนองค์กรต่างๆ แต่ละสวนล้วนมีองค์ประกอบของการเป็นต้นแบบการจัดวางภูมส ิ ถาปัตยกรรม มีความสอดคล้องไปกับพืน ้ ทีส ่ ว่ นการจัดแสดง รวมถึงเป็นแหล่งองค์ความรู้และเผยแพร่ให้กับผู้ที่สนใจ นักเรียน นักศึกษา ที่ต้องการข้อมูลพันธุ์ไม้ต่างๆ

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

19


20

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ


อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

21


22

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ


ทิวลิปคิงภูมิพล พรรณไม้พระนาม แย้มกลีบบานในสวนของพ่อ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

23



งามทิวลิป เหลืองอร่ามน่ายินยล ราษฎร์รัฐภักดีชน ถวายพระพรไท้

คิงภูมิพล มิ่งไม้ เฉลิมราชย์ แซ่ซ้องสดุดี

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

25


26

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อดอกทิวลิป คิงภูมพ ิ ล ตามทีน ่ ายกลาส คูไดค์ (Klaas Koedijk) เกษตกรชาวดัตช์ เจ้าของบริษท ั FA.P. Koeddiik & Zn ได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้แก่ดอกทิวลิปที่ค้นพบสายพันธุ์ใหม่ ทิวลิปคิงภูมิพล มีชื่อเรียกวิทยาศาสตร์ว่า Tulipa King Bhumibol เป็นดอกทิวลิปที่มีสีเหลืองนวลทั้งดอก มีความสูงของดอกและก้านรวม 45 เซนติเมตร ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์จากดอกทิวลิป Prince Claus มีต้น กำ�เนิดมาจากดอกทิวลิปสายพันธุ์ Judith Leyster เป็นสายพันธุ์ที่ดีมากสายพันธุ์หนึ่งในบรรดาสายพันธุ์ ดอกทิวลิปของเนเธอร์แลนด์ และได้รับพระราชทานชื่อจาก Prince Claus พระราชสวามีใน สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์ แห่งเนเธอร์แลนด์ ทัง้ นีน ้ ายคูไดค์ได้รบ ั แรงบันดาลใจในการขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ตัง้ ชือ ่ ดอกทิวลิปว่า “คิงภูมพ ิ ล” นัน ้ มาจากความประทับใจในความจงรักภักดีของประชาชนชาวไทยทัว่ ประเทศ เนือ ่ งในโอกาศมหามงคลที่ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิรริ าชสมบัตค ิ รบ 60 ปี ใน พ.ศ.2549 และทรงเจริญพระ ชนมายุ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม 2550 นอกจากนีแ ้ ล้วนายคูไดค์ยงั มีสายสัมพันธ์ใกล้ชด ิ กับประเทศไทย ด้วย เนือ ่ งจากบุตรชายได้มโี อกาสเดินทางมาประเทศไทยเพือ ่ เป็นอาสาสมัครสอนคอมพิวเตอร์ให้แก่คนไทยใน ชนบททางภาคเหนือในช่วงปีพ.ศ. 2549-2550 และต่อมายังได้สมรสกับหญิงไทยด้วย สำ�หรับดอกทิวลิปคิงภูมิพล ดำ�เนินการซื้อหัวพันธุ์จากประเทศเนเธอร์แลนด์ และนำ�มาปลูกที่ศูนย์ขยายผล โครงการหลวงดอยปุย เมือ ่ เจริญเติบโตพร้อมผลิดอกบานก็น�ำ มาจัดแสดงให้ได้ชน ื่ ชม ณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ จังหวัดเชียงใหม่

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

27


28

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ


อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

29



ข้อแนะนำ�เมื่อเข้าชมอุทยานหลวง ราชพฤกษ์ เชียงใหม่ -

ห้ามส่งเสียงดังหรือก่อความไม่สงบในลักษณะใดๆ โปรดแต่งกายให้เหมาะสม ห้ามเด็ดดอกไม้ ห้ามพกพาอาวุธทุกชนิด ห้ามนำ�สุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกชนิดเข้าโดยเด็ดขาด

เวลาทำ�การ เปิดให้เข้าชมทุกวัน 08.00 – 18.00 น. เวลาจำ�หน่ายบัตร 08.00 – 18.00 น. ค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ เด็กนักเรียน ชาวต่างชาติ เด็ก

50 บาท 25 บาท 100 บาท 50 บาท

บริการรถรางพ่วง ชมอุทยาน พร้อมพนักงานขับรถนำ�ชมบรรยาย ค่าบริการ ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท บริการรถกอล์ฟให้เช่าพร้อมพนักงานขับรถนำ�ชมบรรยาย ค่าบริการ 600 บาท / คัน / ชั่วโมง บริการรถจักรยานให้เช่า ค่าบริการ 20 บาท / วัน การเดินทาง

สู่อุทยานหลวงราชพฤกษ์สามารถเดินทางมาได้หลายเส้นทาง

โดยรถส่วนตัว เส้นทางที่ 1 ออกจากตัวเมืองเชียงใหม่ ถนนสุเทพ หรือ ถนนห้วยแก้ว ให้เลี้ยวซ้าย เข้าถนนคันคลอง ฯ ตรงไปตลอด สังเกตป้ายบอกทาง เส้นทางที่ 2 จากถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ – ลำ�ปาง – เชียงใหม่ ขาเข้าเมืองเลี้ยวซ้าย เข้าสู่ถนนวงแหวนรอบนอก – บ้านขวัญเวียง – สี่แยกบ้านหนองควาย ให้เลี้ยวขวาเข้าสู่ถนนคันคลอง ฯ ตรงไปตลอดทาง สังเกตป้ายบอกทาง เส้นทางที่ 3 จากซุปเปอร์ไฮเวย์ – ลำ�ปาง – เชียงใหม่ ขาเข้าเมือง เลี้ยวซ้าย เข้าสู่ถนนวงแหวนรอบกลาง – สี่แยกบิ๊กซี แม่เหี๊ยะ – ถึงสามแยกแม่เหี๊ยะ เลี้ยวซ้ายผ่านตลาดแม่เหี๊ยะ ก็ให้ตรงไปตลอด สังเกตป้ายบอกทาง บริการ เช่า รถโดยสาร ไป-กลับ รถสองแถวแดง และ รถสามล้อ (รถตุ๊กตุ๊ก) ขึ้นอยู่กับตกลง ราคากับผู้ให้บริการ

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ : สวนแห่งความงดงาม พูนทรัพย์ในดินของพ่อ

31



“ธ สถิตในดวงใจไทยตราบนิจนิรันดร์ น้อมศิระกราน กราบแทบพระยุคลบาท ด้วยสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอันหาที่สุดมิได้”





























Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.