Road2people

Page 1



ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน





ค�ำน�ำ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงใช้ระยะเวลาตลอดพระชนมายุ ในการทรงงานเพื่อปวงชนชาวไทยด้วยหลักทศพิธราชธรรม หลักการทรงงานที่ส�ำคัญคือ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” “เข้าใจ” ถึงความต้องการของประชาชน และ “เข้าถึง” ด้วยการเสด็จพระราชด�ำเนินไปทุกพื้นที่เพื่อทอดพระเนตร สภาพปัญหาและมีพระราชวินจิ ฉัยแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ จนก่อเกิดศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาอันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำริ ๖ แห่ง ทุกภูมภิ าคของประเทศ เป็นเสมือนพิพธิ ภัณฑ์ธรรมชาติทมี่ ชี วี ติ และน�ำไป “พัฒนา” สูโ่ ครงการ อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริกว่า ๔,๐๐๐ โครงการกระจายอยูท่ วั่ ทุกภูมภิ าคของประเทศ นอกจากนีย้ งั ทรงเห็นปัญหา ของคนเมือง จึงทรงริเริม่ สร้างถนนหลายสาย สร้างแก้มลิงป้องกันน�ำ้ ท่วมและทรงชีแ้ นะแนวทางการบริหารจัดการน�ำ้ ทั่วประเทศ ด้วยมิทรงโปรดแก้ไขปัญหาเป็นครั้งคราวแต่ทรงต่อสู้เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน สร้างคุณประโยชน์ ต่อประชาชนและประเทศชาติอย่างอเนกอนันต์ ด้วยพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่เสด็จ พระราชด�ำเนินไปในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ จึงก่อเกิดเป็นเส้นทางการพัฒนาที่สร้าง “ประโยชน์” และ “ความสุข” ให้แก่พสกนิกรทัง้ แผ่นดิน ดังนัน้ ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) จึงจัดพิมพ์หนังสือ “ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน” เพื่อน้อมร�ำลึกพระมหากรุณาธิคุณในพระบาท สมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และเพื่อใช้ในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในเดือนตุลาคม ๒๕๖๐ นี้ ส�ำหรับหนังสือ “ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน” ส�ำนักงาน กปร. ได้รับเกียรติจากนายพิมลศักดิ์ สุวรรณทัต ที่ปรึกษาส�ำนักงาน กปร. และเป็นอดีตเลขาธิการ กปร. คนที่ ๓ ผู้ซึ่งเคยปฏิบัติงานสนองพระราชด�ำริมามากกว่า ๓๐ ปี เป็นผู้เรียบเรียงเนื้อหาต้นฉบับของหนังสือ โดยสื่อด้วยภาษาที่เรียบง่าย ถูกต้องและชัดเจน สามารถเป็น แรงบันดาลใจและสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ที่ได้อ่านหนังสือเล่มนี้ ส�ำนักงาน กปร. หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้ที่ได้อ่าน หนังสือเล่มนี้ จะได้รับความรู้จากเส้นทางการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริที่ทรงคุณค่า สร้างประโยชน์นานัปการแก่ ปวงชนชาวไทย จากนี้ไป ค�ำสอนของพระองค์จะเป็นสิริมงคลสูงสุด เป็นแสงสว่างส่องน�ำทางการด�ำเนินชีวิตและ สถิตอยู่ในใจคนไทยตลอดไป

ส�ำนักงาน กปร. ตุลาคม ๒๕๖๐


สารบัญ

เกริ่นน�ำ ๙ เยาวราช 11 นวมินทร์ 21 บ�ำรุงราษฎร์ 33 พัฒนาการ 49 เจริญกรุง 71 นิมิตใหม่ 99


มิตรไมตรี 119 ประชาชื่น 12๘ เทิดราชัน 1๓๘ ภาคผนวก 16๔ ภาคเบ็ดเตล็ด 18๓ บรรณานุกรม/เอกสารอ้างอิง 18๗ เกร็ดที่นา่ รู้ 190 คณะท�ำงานจัดท�ำหนังสือ 198 เกี่ยวกับผู้เขียน 200



เกริ่นน�ำ ผมรูส้ กึ เป็นเกียรติเป็นอย่างมากทีส่ �ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) ได้เชิญผมให้เขียนหนังสือเล่มนี้ขึ้นมา เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ถวายแด่พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ผู้เขียนก็เคยคิดว่าอยากจะท�ำอะไรเพื่อถวายแด่พระองค์ท่านบ้าง บังเอิญส�ำนักงาน กปร. ได้มาเชิญให้ผม เขียนหนังสือเล่มนี้ขึ้นมาพอดี ผมจึงรู้สึกมีความยินดีเป็นอย่างยิ่ง หนังสือ “ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน” จึงได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่จ�ำกัด และเป็นหนังสือที่เกี่ยวกับ พระราชประวัติ พระราชกรณียกิจต่าง ๆ ทีท่ รงท�ำให้ราษฎรของพระองค์ได้อยูด่ ี กินดี ตามอัตภาพด้วยความพอเพียง ซึ่งคนไทยส่วนใหญ่มักจะรับทราบจากหนังสือ หรือตามสื่อต่าง ๆ ไปจนเกือบหมดสิ้นแล้ว ฉะนั้นในหนังสือเล่มนี้ จึงมีบางบทบางตอนที่มีเรื่องที่อาจมีคนรู้น้อย หรือไม่เคยรู้มาก่อนเลยมาบรรจุอยู่ในเล่ม เสมือนเป็นการเล่าสู่กันฟัง จากประสบการณ์ในการถวายงานประมาณ ๓๕ ปี ซึง่ อาจเป็นประโยชน์ในด้านประวัตศิ าสตร์ตอ่ ไปในภายภาคหน้าได้ ถึงแม้จะเป็นเพียงเศษเสี้ยวเดียวของประวัติศาสตร์ก็ตาม ถนนทุกสายมุ่งสูก่ รุงโรมนัน้ มีเรือ่ งเล่าทีแ่ ตกต่างกันไป และหนึง่ ในนั้นก็เชือ่ กันว่า จูเลียต ซีซ่าร์ แม่ทพั ใหญ่ แห่งกรุงโรมนั้น ยกทัพไปชนะศึกที่ใดก็ตามก็จะต้องสร้างถนนจากเมืองนั้น ๆ เข้ามายังกรุงโรม มาสร้างความเจริญ แก่กรุงโรม แต่ตรงกันข้ามกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ทรงน�ำความผาสุก ร่มเย็น ไปสู่ประชาชนทั้งประเทศให้ “ลืมตาอ้าปาก” ได้ ดังนั้น ถนนทุกสายจึงมุ่งสู่ประชาชนที่พระองค์ทรงน�ำ ประโยชน์สุขไปให้แก่มหาชนชาวสยามอย่างแท้จริง ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมร�ำลึกและส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ที่ทรงประกอบพระราช กรณียกิจน้อยใหญ่ พระราชทานแก่ประเทศชาติ และปวงชนชาวไทยตลอดมา

ข้าพระพุทธเจ้า

(นายพิมลศักดิ์ สุวรรณทัต) กรรมการมูลนิธิชัยพัฒนา ทีป่ รึกษาส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


...จงมั่นอยู่ในความซื่อสัตย์สุจริต ถือเอาประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง เพราะคุณธรรม อันนี้เป็นมูลฐานอันส�ำคัญทีจ่ ะยังความเจริญและความเป็นปึกแผ่นแก่สงั คม เป็นบ่อเกิด แห่งความสามัคคีกลมเกลียว...

พระราชดำ�รัส การพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๔๙๖

สารบัญ


เยาวราช สารบัญ


...การที่เราศึกษาวิชาความรู้นั้น ความจริงไม่ใช่เพื่อใครเลย แต่เพื่อตัวเราเอง ในการ ทีจ่ ะได้ดำ� เนินชีวติ ต่อไปในวันหน้า ถ้าเรียนดีกจ็ ะได้ใช้ความรูท้ เี่ รียนมาประกอบกิจการ ให้เป็นประโยชน์ เป็นที่พึ่งแก่ตน และเป็นที่ชื่นชมแก่วงศ์ตระกูลต่อไปด้วย...

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานประกาศนียบัตรนักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๐

สารบัญ


ถนนเยาวราช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรม นาถบพิตร ทรงเป็ นศูนย์รวมจิตรวมใจของไทยทั้งชาติ พระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ พระจริยวัตรอันงดงาม ครัง้ ทรงพระเยาวท์ รงเป็ นยุวกษัตริยท์ อี่ ่อนนอ้ ม เรียบงา่ ย ทรงเป็ นแบบอย่างของเยาวชนในการมุ่งมั่น พากเพียร อดทน ซื่อสัตย์ สมดังยุวกษัตริยท์ คี่ นไทยรักและเทิดทูน พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ล�ำดับที่ ๙ เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๔๗๐ ที่โรงพยาบาลเมานท์ออเบิร์น เมืองเคมบริดจ์ รัฐเเมสสาชูเซตต์ สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันโรงพยาบาลเมานท์ออเบิร์นนี้ได้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงพยาบาล เคมบริดจ์ พระราชบิดาทรงพระนามว่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และพระราชมารดา คือ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระเชษฐภคินี ๑ พระองค์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และ สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช สารบัญ


ทะเบียนราชาภิเษกสมรส

เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ทรงรับเฉลิมพระปรมาภิไธย ว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” และทรงสถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศ สมเด็จพระราชินีขึ้นเป็น “สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี” หีบบุหรี่เงินพระราชทาน

สารบัญ


๑ พระองค์ ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เป็นพระมหากษัตริย์ แห่งราชวงศ์จักรี ล�ำดับที่ ๘ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้อภิเษกสมรสกับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชโอรสและพระราชธิดา ตามล�ำดับดังนี้ ๑. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิรวิ ฒ ั นาพรรณวดี ประสูตเิ มือ่ วันที่ ๕ เมษายน ๒๔๙๔ ปัจจุบนั คือ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี ๒. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ประสูติเมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๔๙๕ และเมื่อพระชนมายุ ๒๐ พรรษา ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสถาปนาขึ้นเป็น “สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร” ปัจจุบันขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ล�ำดับที่ ๑๐ เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ ทรงพระนามว่า สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ๓. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ประสูติเมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๔๙๘ และเมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๒๐ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสถาปนาขึ้นเป็น "สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี" นับเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าหญิงพระองค์แรกแห่งราชวงศ์จกั รี ทีท่ รงด�ำรงพระอิสริยยศ “สยามบรมราชกุมารี” ๔. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๐๐ เมื่อพระชนมายุ ๑ พรรษาเศษ ได้ตามเสด็จสมเด็จพระราชบิดา และพระราชมารดากลับมาประเทศไทยพร้อมครอบครัว และประทับอยู่ ณ วังสระปทุม กับสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ซึ่งเป็นสมเด็จย่าของ พระองค์ เมือ่ เสด็จนิวตั ประเทศไทยไม่นาน สมเด็จพระราชบิดาก็เสด็จสวรรคต เมื่อมีพระชนมายุเพียงประมาณ ๑ พรรษา ๙ เดือน หลังจากนั้นไม่นาน เสด็จฯ พร้อมครอบครัวไปประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ประทับอยู่ ณ เมืองโลซาน ซึ่ ง ขณะนั้ น พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรม นาถบพิตร ยังมีพระชนมายุไม่ถึงเกณฑ์ที่จะเข้าโรงเรียนสามัญได้ ดังนั้น สมเด็จพระบรมราชชนนีจงึ ส่งไปเรียนทีโ่ รงเรียนเด็กเล็กซึง่ สมัยนีเ้ รียกกันว่า วังสระปทุม เนอสเซอรี่ (Nursery) ของฝรั่งชื่อ Champ de Soleil ก่อนที่จะเสด็จฯ มายังประเทศไทยอีกครัง้ และเข้าเรียนทีโ่ รงเรียนมาแตร์เดอี ถนนเพลินจิต เมือ่ พระชนมพรรษา ๕ พรรษา โดยอยูช่ นั้ อนุบาล ๑ พระองค์ทรงเรียนและทรงเล่นเหมือนเด็ก ๆ ทั่วไป แต่สิ่งที่พระองค์เล่นนั้นน่าสังเกตเป็นอย่างมาก เช่น เล่นการก่อสร้าง

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

15


ท�ำนบ เขื่อนเก็บน�้ำ การขุดคลองเล็ก ๆ แล้วปลูกต้นไม้ตามแนวคลอง ซึ่งสมเด็จพระพี่นางฯ ทรงเล่าเรื่องการเล่นต่าง ๆ สมัย เมื่ออยู่ที่วังสระปทุมสรุปความตอนหนึ่งว่า “...เป็นการสัมผัสครั้งแรกกับงานชลประทานและการปลูกป่า ซึ่งตอนนั้นพระองค์ท่านมีพระชนมายุเพียง ๓ พรรษา และยังโปรดการเป็นช่างต่าง ๆ เช่น ช่างไม้ ช่างกล ช่างไฟฟ้า ช่างวิทยุ ฯลฯ ท�ำให้ทรงแตกฉานในเรื่องหลาย ๆ อย่างที่ได้นำ� มาพัฒนาเอาความสุขมาให้ประชาชน...”

หลุก เป็นอุปกรณ์วิดน�้ำเข้านาจัดเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ในท้องถิ่นภาคเหนือ จึงทรงน�ำ หลุกมาเป็นจุดคิดค้น เบือ้ งต้นในการประดิษฐ์เครือ่ งกลเติมอากาศบ�ำบัดน�ำ้ เสีย

นอกจากนั้น พระบรมราชชนนียังสนับสนุนให้พระราชโอรสและพระราชธิดาได้เลี้ยงสัตว์ เช่น สุนัข (ตัวแรกชื่อ บอบบี้ Bobby) ลิง นกขุนทอง เพือ่ ให้ทกุ พระองค์ได้เรียนรูใ้ นสิง่ ต่าง ๆ และช่วยกล่อมเกลาจิตใจให้ทกุ พระองค์มคี วามเมตตา กรุณา ความอ่อนโยน มาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ดังมีพระราชด�ำรัสพระราชทาน เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙ เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยง ความตอนหนึ่งว่า “...โครงการแก้มลิงนั้น เริ่มต้นตั้งแต่อายุ ๕ ขวบ เพราะว่ามีลิงอยู่ ลิงนี่ สมเด็จพระบรมราชชนนีทา่ นไปซือ้ มา แล้วมาไว้ในกรง เพราะท่านอยากทีจ่ ะให้ลกู ๆ ของท่านเห็นธรรมชาติหลายอย่าง ก็มีไก่ มีลิง มีนก ท่านหามาเพื่อที่จะให้เด็ก ๆ ได้เห็นสิ่งแปลก ๆ ต่าง ๆ และก็ได้ผลจริง ถ้าไม่ได้เห็นอย่างนั้น โครงการแก้มลิง ก็ไม่เกิดขึ้น...” เมื่อทรงเรียนอยู่ที่โรงเรียนมาแตร์เดอีได้ประมาณ ๑ ปี ได้เสด็จฯ ไปอยู่ที่ เมืองปุยยี่ และโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตามล�ำดับทัง้ ครอบครัว และเข้าเรียน เหมือนชาวสวิสทั่ว ๆ ไป ที่โรงเรียน Ecole Nouvelle de la Suisse Romand, Chailly-sur-Lausanne เมืองโลซาน เพราะสมเด็จย่าทรงอยากให้ทั้ง ๓ พระองค์ เป็นเหมือนสามัญชนคนติดดินธรรมดา 16

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ

กรงลิงวังสระปทุม


พระต�ำหนักวิลลาวัฒนา ที่ประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

ณ เมืองโลซานนี่เอง ทรงประดิษฐ์วิทยุฟังได้เองเมื่อมีพระชนมายุ ๑๐ พรรษา และได้ศึกษาเรื่องต่าง ๆ ตามที่ พระอาจารย์สอน ซึ่งมีเรื่องเกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน�้ำรวมอยู่ด้วย ทรงสนพระทัย และโปรดเรือ่ งดนตรีเป็นอย่างยิง่ ทรงศึกษาค้นคว้าเกีย่ วกับเรือ่ งดนตรีอย่างลึกซึง้ และทรงสามารถ พระราชนิพนธ์เพลง และทรงดนตรีได้หลายชนิด เช่น แซกโซโฟน (ตัวแรกเป็นสินค้ามือ ๒) คลาริเน็ต ทรัมเป็ต และยังทรง กีฬาได้หลายชนิดด้วย ตั้งแต่ สกี สเก็ตน�้ำแข็ง และเมื่อเสด็จประทับอยู่ประเทศไทยทรงกีฬาหลายประเภท เช่น เทนนิส แบดมินตัน เรือใบ เป็นต้น ไม่นานนัก ในปี ๒๔๘๑ ได้เสด็จนิวตั ประเทศไทยในฐานะสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมพิ ลอดุลเดช เมือ่ พระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ และรัฐสภาไทยได้มีมติเป็นเอกฉันท์กราบบังคมทูลเชิญพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลเป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๘ จนถึงปี ๒๔๘๙ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดลเสด็จสวรรคต

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

17


รัฐสภาจึงมีมติเป็นเอกฉันท์ ให้กราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลเดชขึ้นครองราชย์เป็น พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ มีพระชนมายุเพียง ๑๙ พรรษา ขณะนั้นยังไม่ ทรงจบการศึกษา จึงเสด็จฯ กลับเมืองโลซาน เพื่อทรงศึกษาต่อ และในระหว่างที่เสด็จฯ กลับไปทรงศึกษาครั้งนี้ ได้ประสบ อุบัติเหตุทางรถยนต์ จากเหตุครั้งนั้นท�ำให้ทรงพบกับ ม.ร.ว.สิริกิติ์ กิติยากร และเมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๔๙๒ ทรงท�ำพิธี หมั้น ณ ที่ประทับเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โดยมีการจัดเลี้ยงในระหว่างครอบครัวและคนใกล้ชิดเท่านั้น เมื่อเสด็จนิวัตประเทศไทยอย่างถาวร เมื่อปี ๒๔๙๔ แล้วทรงเริ่มงานที่จะช่วยให้ประชาชนกินดีอยู่ดี เพื่อเป็นพลัง ช่วยกันพัฒนาประเทศชาติ แต่ประเทศไทยในระยะนั้น การสาธารณสุขยังไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร จึงทรงปรับปรุงโดยการ วางรากฐานระบบการสาธารณสุขหลายประการ ตัง้ แต่การสร้างอาคารเพือ่ การศึกษา วิจยั ด้านการแพทย์ การให้ทนุ ให้บคุ คล ไปเรียนแพทย์ และสาขาอื่น ๆ เพื่อกลับมาช่วยกันสร้างความเจริญให้แก่ประเทศชาติ

18

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


การศึกษา เป็นอีกหนึ่งเรื่องที่ทรงให้ความส�ำคัญ เป็นอย่างยิง่ ซึง่ ในปี ๒๔๙๔ ระบบการศึกษาของไทยอยูใ่ นสภาพ ย�ำ่ แย่ หม่อมหลวงปิน่ มาลากุล อดีตรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ศึกษาธิการเคยเขียนไว้ว่า หลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ จบลง (ปี ๒๔๘๘ ผูเ้ ขียน) การเรียนการสอนสะดุดลงเมือ่ คน หนีไปลีภ้ ยั ทีอ่ นื่ อาคารเรียนจ�ำนวนมากถูกระเบิดเสียหาย... และที่เสียหายไปพร้อมอาคาร คือ อุปกรณ์การศึกษาและ สื่อการเรียนการสอนจ�ำนวนมาก ที่เลวร้ายกว่านั้นคือ ครู ถูกบีบให้ต้องหางานอื่นเพื่อเอาตัวรอด จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้เริม่ มีการพัฒนาเริม่ ตัง้ แต่การสร้างโครงสร้าง พื้นฐาน เช่น ตั้งโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล และโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริต่าง ๆ ที่เป็นเสมือนสถานที่ เพื่อการศึกษาแก่ผู้ด้อยโอกาสเช่นกัน จากการทีผ่ เู้ ขียนได้เคยติดตามเสด็จในพืน้ ทีห่ า่ งไกล จะพบว่าพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จะเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมโรงเรียนในพื้นที่ ห่างไกลเสมอ และทุกคราจะพระราชทานสิ่งของเครื่องใช้ อุปการะการเงิน หนังสือ และเครื่องกีฬาต่าง ๆ ให้แก่ โรงเรียนนั้น ๆ ท�ำเป็นประจ�ำจนชินตา และเป็นเรื่องปกติ แต่ได้สร้างขวัญก�ำลังใจ และส่งต่อความห่วงใย ไปยังครู และเยาวชนทุ ก คนให้ ต ระหนั ก ถึ ง การศึ ก ษาที่ จ ะต้ อ งมี หน้าที่ในการศึกษาเพื่อจะได้น�ำความรู้มาพัฒนาประเทศ ต่อไป เส้นทางถนนเยาวราชของยุวกษัตริย์พระองค์นี้ สร้างคุณค่าให้แก่แผ่นดินอย่างมหาศาล นับเป็นบุญของ คนไทยที่เกิดใต้ร่มพระบารมีอย่างหาที่สุดมิได้

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

19


...ความเป็นไทยนั้นก็เป็นสมบัติอย่างหนึ่งที่มีค่าประดับโลกอยู่ ไม่ควรที่ใครจะละเลย ท�ำลายเสีย เพราะจะท�ำให้สูญเสียสมบัติมีค่านั้นไป คนที่จะรักษาความเป็นไทยได้ มั่นคงที่สุด ดีและเหมาะที่สุด ไม่มีใครอื่นนอกจากคนไทย. เพราะฉะนั้นไม่ว่าจะอยู่ ณ แห่งใด คนไทยมีหน้าที่ต้องรักษาความเป็นไทยเสมอ ทั้งทางวัตถุ ทางจริยธรรม และ ภูมิปัญญา... พระบรมราโชวาท พระราชทานสมาคมนักเรียนไทยในประเทศญี่ปุ่น ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในการประชุมสามัญประจำ�ปี ณ ห้องประชุมสมาพันธ์เยาวชนญี่ปุ่น กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗

สารบัญ


นวมินทร์ สารบัญ


...ความรูก้ บั ดวงประทีปเปรียบกันได้หลายทาง ดวงประทีปเป็นไฟทีส่ อ่ งแสงเพือ่ น�ำทางไป ถ้าใช้ไฟนี้ส่องในทางที่ถูก ก็จะไปถึงจุดหมายปลายทางได้โดยสะดวกเรียบร้อย แต่ถ้า ไม่ระวัง ไฟนัน้ อาจเผาผลาญให้บา้ นช่องพินาศลงได้ ความรูเ้ ป็นแสงสว่างทีจ่ ะน�ำเราไปสู่ ความเจริญ ถ้าไม่ระมัดระวังในการใช้ความรู้ ก็จะเป็นอันตรายเช่นเดียวกัน จะท�ำลาย เผาผลาญบ้านเมืองให้ล่มจมได้...

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๐๕

สารบัญ


ถนนนวมินทร์

ระมหากษัตริยท์ ี่ทรงคุณธรรมอยา่ งยิ่ง และมีพระปรีชา สามารถในศาสตร์ตา่ ง ๆ หลายแขนงสาขา ทีท่ รงนำ�พา ประชาชนได้ช่วยกันพัฒนาประเทศชาติกา้ วไปขา้ งหนา้ ดว้ ยดี ในพุทธศักราช ๒๔๙๓ ได้เสด็จนิวตั ประเทศไทย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ จั ด การพระราชพิ ธี ร าชาภิ เ ษกสมรสกั บ ม.ร.ว.สิ ริ กิ ติ์ กิ ติ ย ากร เมื่ อ วั น ที่ ๒๘ เมษายน ๒๔๙๓ และสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ครั้นเมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จดั พระราชพิธบี รมราชาภิเษกขึน้ และมีพระปฐมบรมราชโองการว่า

สารบัญ


“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”

ในเรื่องนี้ ทรงตอบค�ำถามผู้สื่อข่าวจากนิตยสารลีดเดอร์ เมื่อปี ๒๕๒๕ ว่า “...พระเจ้าแผ่นดินนั้นคล้ายอยู่ เหนือกฎหมาย แต่จริง ๆ แล้วอยู่ใต้กฎหมาย ใต้กฎที่เรียกว่า ทศพิธราชธรรม ธรรมะส�ำหรับพระมหากษัตริย์ ๑๐ ประการ หรือจะเรียกว่าเป็นบัญญัติ ๑๐ ประการ ส� ำหรับพระมหากษัตริย์ก็คงจะได้ เป็นธรรมะเก่าแก่มากตั้งแต่ครั้งสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า...”

24

ทศพิธราชธรรมนี้ เป็นธรรมะของพระราชาหรือผู้ปกครองมีด้วยกัน ๑๐ ข้อ ดังนี้ ๑. ทาน หรือ การให้ เป็นการช่วยเหลือผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ ๒. ศีล คือ การประพฤติที่ดีงาม โดยยึดธรรมะเป็นหลักใหญ่ ๓. บริจาค คือ ความเสียสละ ที่นอกเหนือจากทาน เป็นการเสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อประโยชน์ และความสงบสุขของประชาชน ๔. อาชวะ คือ ความสุจริต ซื่อตรง ๕. มัทวะ คือ ความอ่อนโยน คือการมีสัมมาคารวะ มีความอ่อนน้อม สุภาพนุ่มนวล ไม่แสดงอาการเย่อหยิ่ง ยกตนเหนือผู้อื่น ๖. ตบะ คือ การข่มกิเลสตัณหาหรือความเพียรในการก�ำจัดกิเลส ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


๗. อโกรธะ คือ ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา คือ ความไม่เบียดเบียนให้ผู้อื่นต้องเดือดร้อน ๙. ขันติ คือ ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ คือ ความเที่ยงธรรม คือความตั้งมั่นในธรรม ยึดหลักประเพณี ศีลธรรม กฎหมาย เป็นที่ตั้ง ตั้งแต่นั้นมาก็ทรงเริ่มการพัฒนา และมีพระราชด�ำริในการปรับปรุงเป็นอันดับแรกในหลาย ๆ เรื่องเกี่ยวกับการ สาธารณสุข และการศึกษา (รวมทัง้ การปกครองภายในประเทศซึ่งยังระส�่ำระสายอยู่หลายปี จนประเทศชาติเข้าสู่ความสงบ) แล้วจึงเสด็จฯ ไปทรงเยีย่ มเยียนประชาชนในทุกภาค ทุกจังหวัด เพือ่ ไปสัมผัสด้วยพระเนตรถึงสภาพความเป็นอยูข่ องพสกนิกร และศึกษาสภาพภูมิประเทศในแต่ละแห่งว่าเป็นอย่างไร ควรจะแก้ไข และมีแนวทางด�ำเนินการประการใด

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระอัจฉริยภาพและทรงพระปรีชาสามารถ ล�้ำเลิศหลายด้าน หรืออาจจะเรียกว่าแทบทุกด้านก็ว่าได้ ซึ่งเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าได้ทรงน�ำพาให้ประชาชนชาวไทย ไม่ว่า จะชาติเชือ้ อะไร หรือนับถือศาสนาอะไรค่อย ๆ คลายจากความทุกข์ยาก และสร้างความมัน่ คงให้แก่ประเทศชาติและประชาชน โดยทรงมุ่งมั่นเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาช่วยเหลือประชาชนทุกหมู่เหล่าให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นตามอัตภาพอย่างแท้จริง สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 25


พระปรีชาสามารถของพระองค์ฉายแสงมาตั้งแต่มีพระชนมพรรษาเพียงประมาณ ๔ - ๕ พรรษา ขณะนั้นประทับที่ วังสระปทุมและทรงเข้าเรียนชั้นอนุบาลที่โรงเรียนมาแตร์เดอี ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ และโปรดที่จะเล่นหลายสิ่ง หลายอย่างที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาในเวลาต่อมาทั้งนั้น หลังจากนั้นพระองค์ได้เสด็จฯ ไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ และมีพระราชด�ำรัสเมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๑๒ ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน ความตอนหนึ่งว่า “...บางคนไม่เข้าใจว่าท�ำไมฉันเองท�ำไมสนใจเรื่องชลประทานหรือเรื่องป่าไม้ จ�ำได้ว่าเมื่ออายุ ๑๐ ขวบ ที่โรงเรียน มีครูคนหนึ่งซึ่งเดี๋ยวนี้ตายไปแล้ว สอนเรื่องวิทยาศาสตร์ เรื่องการอนุรักษ์ดิน แล้วให้เขียนว่า ภูเขาต้องมีป่าไม้อย่างนั้น เม็ดฝนลงมาแล้วจะชะดินลงมาเร็วท�ำให้ไหลตามน�้ำไป ไปท�ำให้เสียหาย ดินหมดจากภูเขาเพราะไหลตามสายน�้ำไป ก็เป็น หลักของป่าไม้เรื่องการอนุรักษ์ดิน และเป็นหลักของชลประทานที่ว่า ถ้าเราไม่รักษาป่าไม้ข้างบน จะท�ำให้เดือดร้อนตลอด ตั้งแต่ดินบนภูเขาจะหมดไปกระทั่งการที่จะมีตะกอนลงมาในเขื่อน มีตะกอนลงมาในแม่นำ�้ ท�ำให้เกิดน�้ำท่วม...” พระอัจฉริยภาพนั้นทรงมีมากมาย เช่น ทรงเป็นครูหรือนักการศึกษาที่ผมเดินตามเสด็จไปหลายครั้งหลายหน ทุกครั้งก็จะได้ความรู้กลับมาทุกครั้งไป จนนึกว่าโอ้ทำ� ไมพระองค์ท่านทรงทราบในเรื่องต่าง ๆ ได้ดีละเอียดลึกซึ้ง กว้างขวาง เช่นนี้ ดังเช่นครั้งหนึ่งได้ตามเสด็จ ไปยังศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ จังหวัดเพชรบุรี มีพระราชกระแสในเชิงสอน อย่างละเอียดมากสรุปได้ว่า ท�ำไมฝนตกด้านนี้ ไม่ตกด้านนั้น เพราะพื้นที่ห้วยทรายลักษณะเป็นภูเขาอยู่ติดทะเลโดยมี ถนนเพชรเกษมขวางอยู่ เมือ่ ลมมาก็มากระทบยอดเขาแล้วก็จะพัดผ่านยอดเขาไปทางทะเลและพาฝนไปตกยังทะเลด้วย แสดงว่า ทรงทราบในเรื่องต่าง ๆ อย่างละเอียดและลึกซึ้ง จึงเป็นที่มาของการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง

เมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑ เสด็จฯ ไปติดตามความก้าวหน้าการพัฒนาดินดาน ส�ำนักงานคณะกรรมการพิ เศษเพืจัอ่ งประสานงานโครงการอั ณ ศูน26 ย์ศึกษาการพั ฒนาห้วยทรายฯ หวัดเพชรบุรี นเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


หลังจากเสด็จขึ้นครองราชย์ นอกจากจะได้ทรงปรับปรุงระบบสาธารณสุขแล้ว ก็ได้ทรงพัฒนาปรับปรุงระบบการ ศึกษาควบคูไ่ ปด้วย เช่น การสร้างโรงเรียนร่มเกล้าขึน้ เป็นแห่งแรกในอ�ำเภอนาแก จังหวัดนครพนม เมือ่ วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๑๖ ซึ่งในระยะนั้นเป็นเขตอิทธิพลของผู้ที่ฝักใฝ่ในลัทธิคอมมิวนิสต์ สร้างโรงเรียนราชประชาสมาสัยและอีกหลายโรงเรียน ในภูมิภาคต่าง ๆ

ภาพปัจจุบัน โรงเรียนร่มเกล้าแห่งแรก

อีกประการหนึ่ง ทรงเป็นช่างหลายศาสตร์หลายสาขา นอกจากการเป็นช่างชลประทาน และนักอนุรักษ์ดิน น�้ำ ป่าไม้ ก็ทรงเป็นอะไร ๆ อีกหลายอย่าง อาทิ ทรงเป็นช่างไม้ที่ต่อเรือใบเอง และเย็บใบของเรือด้วยพระองค์เอง เป็นที่ทราบ ของชาวไทยว่าทรงเป็นนักดนตรี โปรดเรื่องดนตรีมาก โดยสมเด็จพระบรมราชชนนีได้ทรงให้ครูฝรั่งมาสอนที่ประทับ ที่เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้ทรงศึกษาจนสามารถเขียนโน้ตแต่งเพลงได้ ทรงแซกโซโฟน คลาริเน็ต ฯลฯ ได้เป็นอย่างดีโดยเฉพาะแซกโซโฟน จนถึงปัจจุบันทรงพระราชนิพนธ์เพลงไว้ถึง ๔๘ เพลง สิ่งที่น่าภูมิใจและเป็นเกียรติยศของนักดนตรี คือ ทรงได้รับการถวายประกาศนียบัตรให้ทรงด�ำรงต�ำแหน่งสมาชิก กิตติมศักดิข์ องสถาบันการดนตรีและศิลปะ แห่งกรุงเวียนนา ทีม่ ชี อื่ เสียงทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของโลก และจารึกพระนามาภิไธยของ พระองค์ลงบนแผ่นหินสลักไว้ในอาคารของสถาบัน ขณะมีพระชนมายุเพียง ๓๗ พรรษา โดยทีส่ มาชิกคนอืน่ ๆ นัน้ มีอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไปทั้งนั้น และเป็นชาวเอเชียพระองค์แรกที่ได้รับเกียรติอันสูงส่งนี้

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 27


ทรงหว่านข้าวในแปลงนาสาธิต ทดลองปลูกข้าวโดยการใส่ปุ๋ยคอกและปุ๋ยเคมีในอัตราส่วนเท่า ๆ กัน เมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๐๔ ณ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต

สารบัญ


ส�ำหรับการกีฬา โปรดเทนนิส แบดมินตัน และเรือใบ ทรงได้เข้าสมัครเพื่อคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทย เหมือนนักกีฬาคนอื่น ๆ และก็ชนะการแข่งขันได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้แทนประเทศไทยในการแข่งขันเรือใบในกีฬา Seap games และทรงชนะเลิศน�ำเหรียญทองมาให้แก่ประเทศไทย และยังเป็นพระองค์แรกที่ทรงเรือใบข้ามอ่าวจากหัวหิน ไปพัทยาได้สำ� เร็จด้วย

ทรงเป็นนักโภชนาการที่ส่งเสริมให้ประชาชนรับประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ เช่น พระราชทานปลาหมอเทศ ปลานิล ให้ประชาชนไปเลี้ยงเป็นโปรตีนในอาหาร และส่งเสริมกิจการนมวัว ตลอดจนทรงส่งเสริมชาวบ้านปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ ไว้กนิ เอง และขายเป็นรายได้เมือ่ เหลือ ซึง่ เป็นรายได้ทสี่ ามารถบรรเทาความทุกข์ยากของประชาชนได้ในระดับหนึง่ ทีด่ ที เี ดียว ทรงเป็นนักปกครองที่พาชาติพ้นวิกฤตเนื่องจากความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศให้สงบได้ทุกคราว อย่างไม่เสียเลือดเนื้อ ทรงเป็นนักอุตุนิยมวิทยา ที่รู้ว่าพายุอะไรรุนแรงขนาดไหน จะเข้ามาประเทศไทยเมื่อไร และจังหวัดใด วัน เวลาอะไร และก็จะทรงให้ผู้เกี่ยวข้องรีบเตรียมตัวรับกับภัยนั้นอย่างทันการณ์ ท�ำให้ปัญหาต่าง ๆ ที่จะเกิดจากพายุนั้น บรรเทาเบาบางลง ทรงเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ทรงคิดค้นให้เกิดฝนหลวง และไบโอดีเซล เป็นอาทิ นอกจากนั้น ยังมีอีกหลายอย่างที่พอสรุปได้คือทรงเป็นนักอนุรักษ์พันธุ์พืช นักการศึกษา นักการสาธารณสุข ทรงเป็นนักประพันธ์ และนักภาษาศาสตร์ทที่ รงพระราชนิพนธ์ หนังสือเรือ่ งพระมหาชนก โดยใช้ภาษาไทยถูกต้อง ไวยากรณ์ สละสลวยที่อ่านแล้วเข้าใจได้ง่าย ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ โดยในหนังสือนี้ก็ทรงสอนเรื่องความเพียรเป็นหลัก ทรงเป็นนักประดิษฐ์ เช่น กังหันน�ำ้ ชัยพัฒนา ฯลฯ ทรงเป็นจิตรกรที่มีฝีพระหัตถ์ ได้ทรงวาดภาพด้วยสีนำ�้ มันและเป็นที่ชื่นชมของบรรดาจิตรกร ต่าง ๆ ที่มีชื่อเสียง สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

29


ทรงประชุมหารือเพื่อแก้ไขปัญหาน�ำ้ ท่วม เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๓๓ ณ อาคารชัยพัฒนา สวนจิตรลดา

ทีก่ ล่าวมานีย้ งั ไม่หมดเพราะพระองค์ทา่ นทรงได้ทำ� อะไรไว้มากมายเกินกว่ามนุษย์ธรรมดาจะมีความสามารถท�ำได้ ผู ้ เขี ย นเพี ย งแต่ ย กมาเฉพาะบางเรื่ อ งที่ เ ห็ น ว่ า ส� ำ คั ญ มาเขี ย นสรุ ป ให้ อ ่ า นเท่ า นั้ น เนื่ อ งจากมี ผู ้ เขี ย นหนั ง สื อ เกี่ ย วกั บ พระองค์หลายเล่มอย่างนับไม่ถ้วน โดยมีรายละเอียดเต็มไปหมดแทบจะทุกนาทีแห่งชีวิตแล้ว ผู้เขียนจึงขอไม่ขยายความ ให้มากออกไปนัก แต่ก็อยากให้ทราบว่าพระองค์ได้ทรงงานหนักมากที่สุดเพื่อประโยชน์ของประชาชนตลอดเวลา แม้ในเวลา ทรงพระประชวร คุณปราโมทย์ ไม้กลัด ผูซ้ งึ่ รับใช้ใกล้ชดิ มานานได้กล่าวว่า “...ครัง้ หนึง่ ทรงพระประชวร แต่พระองค์ทราบว่า จะมีพายุหนักเข้ามาในประเทศเรา พระองค์ท่านทรงเรียกผู้ที่เกี่ยวข้องไปประชุมหาทางแก้ไขปัญหาเพื่อบรรเทาทุกข์ให้แก่ ราษฎรทัง้ หลาย ทีห่ น้าห้องบรรทมนัน่ เอง หรือในยามทีท่ รงพระประชวรอยูโ่ รงพยาบาลศิรริ าชนัน้ ก็ทรงมีความเพียรอย่างมาก ทีจ่ ะทรงงานเพือ่ ประชาชนทุกวัน จนแพทย์มคี วามเห็นว่า ถ้าวันไหนไม่ทรงงานแสดงว่าวันนัน้ ผิดปกติตอ้ งตรวจเป็นพิเศษ...”

30

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


พระองค์ตรัสว่า “...ฉันท้อไม่ได้เพราะเดิมพันของเรานั้นสูงเหลือเกิน เดิมพันของเราคือบ้านคือเมือง คือความสุข ของคนไทยทั้งประเทศ...” ซึง่ เป็นการท�ำให้เรารูว้ า่ พระองค์ทรงแบกประเทศ ชาติและประชาชนไว้บนบ่าในลักษณะพีระมิดหัวกลับ คือ พระองค์อยู่ปลายแหลมสุดของพีระมิดอันมีประชาชนเป็น ฐานอยูข่ า้ งล่าง แต่สำ� หรับพระองค์ทา่ นนัน้ กลับอยูข่ า้ งล่างสุด ของพีระมิด และประชาชนอยูข่ า้ งบนอันเป็นพีระมิดหัวกลับ ท�ำให้เห็นภาพเลยว่าพระองค์นั้นทรงแบกประเทศชาติและ ประชาชนไว้บนบ่าด้วยทศพิธราชธรรมจริง ๆ ครัง้ หนึง่ ผูส้ อื่ ข่าวบีบซี ขี อพระราชทานสัมภาษณ์ ในปี ๒๕๒๒ โดยกราบบังคมทูลถามถึงพระราชทัศนะเกีย่ วกับ บทบาทหน้าทีข่ องพระมหากษัตริยไ์ ทย ทรงตอบว่า “...การ ที่จะอธิบายว่าพระมหากษัตริย์คืออะไรนั้นดูเป็นปัญหาที่ ยากพอสมควร โดยเฉพาะกรณีของข้าพเจ้า ซึ่งถูกเรียกโดย คนทั่วไปว่า พระมหากษัตริย์ แต่โดยหน้าที่ที่แท้จริงแล้ว ดูจะห่างไกลจากหน้าที่ที่พระมหากษัตริย์ที่เคยรู้จักหรือ เข้าใจกันมาแต่ก่อน หน้าที่ของข้าพเจ้าในปัจจุบันก็คือ ท�ำอะไรก็ตามที่เป็นประโยชน์ ถ้าถามว่าข้าพเจ้ามีแผนอะไร บ้างในอนาคต ค�ำตอบคือไม่มี เราไม่ทราบว่าอะไรจะเกิดขึน้ ในภายภาคหน้า แต่ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นก็ตาม เราก็เลือก จะท�ำแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ ซึ่งนั่นเป็นสิ่งที่เพียงพอแล้ว ส�ำหรับเรา...” นี่แหละครับที่ “ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน”

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

31


...การกีฬานั้น นอกจากจะให้ความสนุกสนานและความสมบูรณ์แก่ร่างกายแล้ว ยังให้ ผลดีทางจิตใจได้อย่างมากมาย นักกีฬาที่ได้รับการฝึกหัดอบรมอย่างดีแล้ว ย่อมมีใจ แน่วแน่ ตัดสินใจได้รวดเร็ว มีความเพียรพยายามไม่ทอ้ ถอย และมีความหนักแน่น รูจ้ กั แพ้ รู้จักชนะ รู้จักให้อภัย ผู้มีใจเป็นนักกีฬา จึงเป็นผู้ที่มีประโยชน์ต่อสังคม และน่าคบหา สมาคมด้วยอย่างยิ่ง...

พระบรมราโชวาท ในพิธีเปิดการแข่งขันกรีฑาประจำ�ปี ๒๕๐๗ ณ กรีฑาสถานแห่งชาติ กรมพลศึกษา วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๐๗

สารบัญ


บำ�รุงราษฎร์ สารบัญ


...แต่ละคนมีหน้าที่ที่จะต้องท�ำ ต้องท�ำให้ดีที่สุด แต่เท่านั้นยังไม่พอ ต้องนึกด้วยว่า งานของตัวจะต้องสัมพันธ์กับงานของคนอื่น เพราะถ้าไม่สัมพันธ์กับงานของคนอื่น งานทีต่ วั ท�ำอาจเปล่าประโยชน์กไ็ ด้ หรือถ้าไปปีนเกลียวกับหน่วยอืน่ ก็อาจเป็นผลร้าย ยิ่งขึ้นไปอีก...

พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ผู้เข้าเฝ้าฯ รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ณ พระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๑๒

สารบัญ


ถนนบำ�รุงราษฎร์

นนบำ � รุ ง ราษฎร์ เ ปรี ย บเสมื อ นสิ่ ง ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร ได้พระราชทานแนวทางในการปูพ้ืนฐานทางด้านการ ศึ ก ษาและสาธารณสุ ข เพื่ อ ให้ ป ระชาชนมี สุ ข ภาพ พลานามัย และการศึกษาที่พร้อมจะพัฒนาตนเองและ ประเทศชาติตอ่ ไป เมื่อเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวรแล้วทรงเริ่มงานที่จะช่วยให้ ประชาชนกินดีอยู่ดี เพื่อเป็นพลังช่วยกันพัฒนาประเทศชาติ แต่ประเทศไทย ในระยะนั้ น การสาธารณสุ ข ยั ง ไม่ ก้ า วหน้ า เท่ า ที่ ค วร การขาดสารอาหาร และประชาชนกำ�ลังถูกรุกเร้าด้วยโรคภัยต่าง ๆ เช่น อหิวาตกโรค ไข้เลือดออก โรคคุดทะราด โรคเรือ้ น โรคฝีดาษ โปลิโอ หรือโรคไขสันหลังอักเสบ โดยเฉพาะโรค ที่คนไทยกลัวมากที่สุดในขณะนั้น คือ วัณโรค ซึ่งเป็นโรคติดต่อและผู้ที่เป็นโรค สารบัญ


จะต้องตายแทบทุกคน พระองค์ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จำ�นวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อสร้างตึกมหิดล วงศานุสรณ์ แก่สภากาชาดไทย เพื่อสนับสนุนการผลิตวัคซีน ซึ่งเรียกว่า BCG. ขึ้นมาเองจนสามารถผลิตวัคซีนได้ดี สามารถ ป้องกันการระบาดของอหิวาตกโรคได้เป็นอย่างมาก วัคซีน BCG. ที่ผลิตมานั้น อยู่ในขั้นดีมีมาตรฐานจนยูนิเซฟหรือองค์กร สงเคราะห์แม่และเด็กแห่งสหประชาชาติ ได้สั่งซื้อวัคซีนดังกล่าวส่งไปให้หลายประเทศในทวีปเอเชียได้ใช้ด้วย

เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๐๓ เสด็จฯ ไปสถานพยาบาลพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

ครั้งนั้นได้พระราชทานพระราชด�ำรัสกับหลวงพยุงเวชศาสตร์ อธิบดีกรมสาธารณสุขในขณะนั้น ความตอนหนึ่งว่า “...ฉันอยากเห็นการแพทย์ของเมืองไทยเจริญมาก ๆ...” และทรงเห็นว่าการพัฒนาประเทศนั้น หากการสาธารณสุขเจริญก้าวหน้า ประชาชนก็จะมีสุขภาพดีและจะ สามารถช่วยกันพัฒนาประเทศชาติได้ต่อไป ในช่วงระยะเวลานั้นโรคเรื้อนก็ระบาดในประเทศอยู่ทั่วไป จึงพระราชทาน พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างอาคารสถานที่ฝึกบุคลากรที่จะออกปฏิบัติงานรักษาช่วยเหลือผู้ที่เป็นโรคเรื้อน ตลอดจนได้ตั้งสถานวิจัยเกี่ยวกับโรคเรื้อนขึ้นที่อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ และพระราชทานนามสถาบันว่า “ราชประชาสมาสัย” อันหมายถึงพระมหากษัตริย์ (ราช) และประชาชน (ประชา) ร่วมพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (สมาสัย) 36

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


อนึ่ง โรคเรื้อนนี้เป็นโรคที่สังคมรังเกียจไม่กล้าเข้าใกล้ตัวผู้ป่วย รวมทั้งบุตรหลานผู้ป่วยที่ไม่ได้เป็นโรคเรื้อนก็พลอย ถูกรังเกียจไปด้วย พระองค์ได้เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อนและทรงสัมผัสมือผู้ป่วยอย่างไม่ถือพระองค์ให้ราษฎรเห็น เป็นตัวอย่าง และยังสร้างโรงเรียนให้บุตรหลานผู้ป่วยโรคเรื้อนได้เรียนด้วย เรื่องโรคเรื้อนนี้องค์การอนามัยโลกและกระทรวง สาธารณสุขของไทยได้ท�ำการตกลงกันว่าจะพยายามขจัดโรคเรือ้ นให้หมดไปจากแผ่นดินไทยภายใน ๑๒ ปี แต่ดว้ ยพระปรีชา สามารถและการเอาพระทัยใส่ในการช่วยเหลืออย่างจริงจัง ท�ำให้ประเทศไทยท�ำส�ำเร็จได้ภายในเวลาเพียง ๙ ปี เท่านั้นเอง และประเทศไทยก็ไม่เคยน้อยหน้าใครในด้านการแพทย์สาธารณสุขและการอนามัยอันเป็นพื้นฐานมาจนทุกวันนี้

เสด็จฯ ไปทรงประกอบพิธีเปิดอาคารสถาบันราชประชาสมาสัย เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๐๓

จากการทีไ่ ด้ทรงสัมผัสกับปัญหาต่าง ๆ ด้านสาธารณสุข ท�ำให้ทรงเล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการศึกษาวิชาการแพทย์ โดยในปี ๒๔๙๘ ได้พระราชทานทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาแพทย์ และพระราชทานนามว่า "ทุนอานันทมหิดล" ให้แก่ บุคคลในสาขาการแพทย์ก่อน ต่อมาทรงเห็นว่าประเทศยังขาดผู้เชี่ยวชาญในสาขาอื่น ๆ อีกมาก จึงได้ขยายขอบเขตให้แก่ สาขาวิชาอื่น ๆ ด้วย และทุนนี้ไม่มีสัญญาผูกมัดว่าผู้รับทุนจะต้องกลับมาปฏิบัติงานเพื่อใช้ทุนแต่อย่างใด ทุกคนมีอิสระที่จะ เลือกท�ำอาชีพอะไรก็ได้ ซึ่งทรงเห็นว่าท�ำงานอะไรก็จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติโดยส่วนรวมเช่นกัน ต่อมาทรงเห็นว่าประเทศไทยเรายังมีผู้ป่วยทางจิตอยู่มาก หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกวิธีก็อาจมีความเสี่ยงที่จะ เป็นคนพิการสูงมาก จึงพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อให้จัดสร้างตึกวิจัยประสาท ซึ่งเป็นโรงพยาบาลประสาท ถนนราชวิถี กรุงเทพฯ ในปัจจุบัน และยังพระราชทานทรัพย์อีกจ�ำนวนหนึ่งให้แก่โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา สร้างอาคาร คนไข้พิเศษรักษาผู้ป่วยทางจิตขึ้นอีกด้วย

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 37


ส�ำหรับคนทีอ่ ยูห่ า่ งไกลทีก่ ารสาธารณสุขเข้าไม่ถงึ ได้โปรดเกล้าฯ ให้จดั ตัง้ โครงการด้านสาธารณสุขอีกหลายโครงการ เช่น โครงการหมอพระราชทาน “เรือเวชพาหน์” ซึง่ เป็นหน่วยแพทย์เคลือ่ นทีท่ ไี่ ปดูแลรักษาผูป้ ว่ ยทีต่ งั้ บ้านริมแม่นำ�้ ล�ำคลอง ต่าง ๆ โดยไม่คิดมูลค่าใด ๆ เช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในชนบทห่างไกลทุรกันดารก็มีโครงการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่หรือหน่วยแพทย์ พระราชทานออกไปรักษาพยาบาลให้โดยไม่คดิ ค่าใช้จา่ ยเช่นกัน หน่วยแพทย์เคลือ่ นทีน่ จี้ ะตามเสด็จทุกพระองค์ไปตามชนบท ห่างไกลเพือ่ ช่วยเหลือรักษาราษฎรและหากราษฎรคนใดทีเ่ จ็บป่วยมากซึง่ ควรไปรักษาตามโรงพยาบาลก็จะทรงรับไว้เป็นคนไข้ ในพระบรมราชานุเคราะห์

ที่ส�ำคัญคือทรงให้จัดตั้งหมอหมู่บ้านโดยคัดเลือกราษฎรมาอบรมหลักสูตรหมอหมู่บ้าน เพื่อให้มีความรู้เบื้องต้น ในการกลับไปช่วยเหลือราษฎรในท้องถิ่นของตนได้ในระดับหนึ่งก่อน ส่วนเรือ่ งทันตกรรมนัน้ เมือ่ ปี ๒๕๑๓ ก็พระราชทาน “รถทันตกรรมเคลือ่ นที”่ ออกไปรักษาประชาชนทีอ่ ยูห่ า่ งไกล โดยมีทันตแพทย์อาสาผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันมาช่วยให้การรักษา โดยใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ทั้งสิ้น ต่อมาท�ำให้ หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่ของประเทศไทยเป็นหน่วยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และยังมีทันตแพทย์ชาวต่างประเทศสนใจและมา สมัครท�ำงานในหน่วยนี้ด้วย อีกประการหนึ่ง ทรงให้ความส�ำคัญต่อโภชนาการเพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป เมื่อครั้ง ในปี ๒๔๙๔ ทรงเลี้ยงปลาหมอเทศ (Tilapia mossambica) โดยเริ่มจากทรงเลี้ยงในสระว่ายน�ำ้ หน้าพระที่นั่งอุดรในบริเวณ พระทีน่ งั่ อัมพรสถาน และในสวนจิตรลดา ตามล�ำดับ แล้วได้พระราชทานพันธุป์ ลาหมอเทศให้กบั ผูใ้ หญ่และก�ำนันทัว่ ประเทศ น�ำไปเลี้ยงเพื่อเป็นอาหารโปรตีน และในปี ๒๕๐๘ สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ เมื่อครั้งยังด�ำรงพระราชอิสริยยศเป็น 38

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น ได้น้อมเกล้าฯ ถวายลูกพันธุ์ปลา Tilapia nilotica จ�ำนวน ๕๐ ตัว โดยทรงเลี้ยงไว้ในบ่อปลา โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา และได้พระราชทานชื่อว่า “ปลานิลจิตรลดา” เมื่อเพาะเลี้ยงได้แล้วก็ได้พระราชทาน ให้แก่กรมประมงเพื่อน�ำไปขยายพันธุ์แจกจ่ายราษฎรทั่วไป จนเป็นที่แพร่หลายและนิยมอยู่ในประเทศจนถึงปัจจุบัน ประการต่อมาคือ การส่งเสริมผลิตภัณฑ์นม ทรงได้รับแรงบันดาลใจมาจากการเจริญสัมพันธ์ไมตรีกับราชวงศ์ เดนมาร์ก จึงได้ทรงก่อตั้งโครงการฟาร์มโคนมส่วนพระองค์ขนาดเล็กขึ้นในสวนจิตรลดา ปัจจุบันรู้จักกันทั่วไปว่าเป็น "โครงการฟาร์มโคนมสวนจิตรลดา" เป็นโครงการสาธิตให้เกษตรกรได้มาเรียนรู้วิธีเลี้ยงโคนมและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์นม ในไม่ช้าก็มีคนขี่จักรยานหรือจักรยานยนต์ไปส่งนมทั่วกรุงเทพฯ และแพร่หลายต่อไปจนทั่วประเทศในที่สุด

ทรงตระหนักว่าการศึกษาก็เป็นเรื่องที่สำ� คัญอย่างยิ่ง ผลจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ ที่ได้ทำ� ลายโรงเรียนและอุปกรณ์ การศึกษาไปเกือบหมดสิ้น จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เริ่มมีการพัฒนาเริ่มตั้งแต่การสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ตั้งโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล โดยพระราชทานพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานประกาศนียบัตรนักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๐ ความตอนหนึ่งว่า “...การที่เราศึกษาวิชาความรู้นั้น ความจริงไม่ใช่เพื่อใครเลย แต่เพื่อ ตัวเราเอง ในการที่จะได้ด�ำเนินชีวิตต่อไปในวันหน้า ถ้าเรียนดีก็จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมาประกอบกิจการให้เป็นประโยชน์ เป็นที่พึ่งแก่ตน และเป็นที่ชื่นชมแก่วงศ์ตระกูลต่อไปด้วย...”

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

39


โรงเรียนร่มเกล้า ทีต่ งั้ อยูต่ ามชายแดนหรือพืน้ ทีท่ อี่ ยูใ่ นเขตอิทธิพลของผูน้ ยิ มอุดมการณ์ตามลัทธิคอมมิวนิสต์ โดย โรงเรียนแรกสร้างที่บ้านหนองแคน อ�ำเภอนาแก จังหวัดนครพนม (ปัจจุบันเป็นจังหวัดมุกดาหาร) และที่ห่างไกลทุรกันดาร เป็นต้น เป็นผู้สอน

โรงเรียนสงเคราะห์เด็กยากจน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จดั ตัง้ ขึน้ ในวัดและขอความร่วมมือคณะสงฆ์ชว่ ยดูแล

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ซึง่ มีกำ� เนิดมาจากภาคใต้รวม ๑๒ จังหวัด ทีโ่ รงเรียนได้รบั ความเสียหายจากวาตภัย แหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราช และต่อมาก็ได้ขยายไปจังหวัดอื่นด้วยตามความเหมาะสม โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ เพื่อสอนหนังสือให้แก่ชาวเขาและประชาชนที่อยู่ห่างไกลโดยเฉพาะตามชายแดน โรงเรียนราชประชาสมาสัย เพือ่ ให้บตุ รหลานของผูป้ ว่ ยโรคเรือ้ น ซึง่ ไม่ได้เป็นโรคเรือ้ นแต่สงั คมรังเกียจได้เข้าศึกษา

40

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


โรงเรียนจิตรลดา ด้วยทรงเห็นว่า การที่จะส่งพระราชโอรสและพระราชธิดา ออกไปเรี ย นโรงเรี ย นข้ า งนอก อาจจะไม่ เหมาะสม และเกิดความยุ่งยากแก่โรงเรียน และคณาจารย์ของโรงเรียนนั้น ๆ ได้ จึงทรง ตั้งโรงเรียนจิตรลดาขึ้น เพื่อให้พระราชโอรส พระราชธิดา รวมทั้งบุตรหลานของพระบรม วงศานุวงศ์ มหาดเล็ก ข้าราชบริพาร ตลอดจน บุคคลทั่วไปได้เข้าเรียน โรงเรี ย นราชวิ นิ ต ได้ ใ ห้ บุ ต ร หลานของข้าราชการ ส�ำนักพระราชวัง และ ประชาชนทั่วไปได้ศึกษาเล่าเรียน โรงเรียนวังไกลกังวล อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เกิดขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล เพือ่ การศึกษาแก่บตุ รหลานของเจ้าหน้าทีใ่ นวังและบุคคลทีส่ นใจ ต่อมาได้อยูใ่ นพระบรมราชูปถัมภ์ของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เปิดสอนตัง้ แต่ชนั้ เด็กเล็กไปจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๖ และทรงให้เปิด หลักสูตรสอนถึงระดับสารพัดช่าง วิชาชีพระยะสัน้ ประกาศนียบัตรช่างฝีมอื และยังให้โรงเรียนวังไกลกังวลเป็นศูนย์กลางการ ศึกษาทางไกล โดยการออกอากาศผ่านดาวเทียมไปยังโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล ในหลักสูตรระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ๖ เพื่อให้เยาวชนที่ห่างไกลและขาดโอกาสให้ศึกษาเล่าเรียนที่เพียงพอแก่ตน โรงเรียนพระดาบส ได้เน้นผูท้ ไี่ ม่มปี ระกาศนียบัตรทางการศึกษาใด ๆ สามารถเข้าเรียนหลักสูตรวิชาชีพสาขาต่าง ๆ เพื่อที่เมื่อส�ำเร็จการศึกษาแล้วจะได้ไปประกอบอาชีพได้ ศาลารวมใจ ทรงริเริ่มจัดตั้ง "ศาลารวมใจ" เพื่อใช้เป็นห้องสมุดประจ�ำหมู่บ้าน โดยพระราชทานพระราชทรัพย์ ส่วนพระองค์ และหนังสือประเภทต่างๆ ให้ประชาชนเข้าไปศึกษาหาความรู้

สารบัญ


สารานุกรมไทย เมื่อครั้งยังทรงพระเยาว์ทรงได้อ่านหนังสือ The Book of Knowledge ที่สมเด็จพระบรมราช ชนนีทรงซือ้ ให้ ในประเทศไทยยังไม่มหี นังสือในลักษณะนี้ ซึง่ รวบรวมวิทยาการต่าง ๆ ไว้ทกุ ศาสตร์ ทุกสาขา จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้จดั ตัง้ โครงการสารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชนขึน้ โดยรวบรวมเอาผูท้ รงคุณวุฒผิ เู้ ชีย่ วชาญด้านต่าง ๆ มาช่วยกัน เขียนให้สอดคล้องกับความต้องการในประเทศ ซึ่งบทความที่เขียนในแต่ละบทนั้น แบ่งออกเป็น ๓ ระดับ ๑. ระดับแรก คือ ระดับง่ายที่สุดส�ำหรับเด็กอายุตำ�่ กว่า ๑๐ ปี ๒. ระดับสอง ส�ำหรับนักเรียนที่มีอายุตำ�่ กว่า ๑๕ ปี ๓. ระดับสาม ส�ำหรับนักศึกษาที่มีอายุมากกว่านั้นและเพื่อผู้ปกครองก็สามารถอ่านไว้สอนบุตรหลานได้ด้วย พร้อมกับได้ทรงอธิบายไว้วา่ สารานุกรมไทยนีเ้ ป็น“หนังสือทีเ่ กีย่ วข้องกับวิชาทัง้ หลายทีม่ นุษย์ได้ขวนขวาย มาตั้งแต่เมื่อโบราณกาลและประมวลขึ้นมาเพื่อที่จะให้อนุชนรุ่นหลังสามารถที่จะรับความรู้ต่าง ๆ ที่สะสมเอาไว้” และ อีกครั้งหนึ่งมีพระราชด�ำรัสความว่า “โครงการสารานุกรมนี้ก็เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่ง ส�ำหรับให้สามารถถ่ายทอดความรู้ นอกจากความรู้วัฒนธรรมและคุณธรรมต่าง ๆ ให้แก่ผู้ที่จะมาภายหลัง” คุณหญิงแม้นมาศ ชวลิต กรรมการบริหารโครงการ ได้กล่าวว่า “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงตรวจสอบสารานุกรมทุกเล่มและทรงละเอียดรอบคอบมาก ครัง้ หนึง่ ทรงส่งภาพวาดหมูกลับมา โดยทรงติงว่าหูหมูวาดผิดลู่ไปผิดทาง” ปัจจุบันนี้ก็ยังมีหนังสือสารานุกรมไทยออกมาให้ชาวไทยได้อ่านเป็นระยะ ๆ ซึ่งเป็น หนังสือที่ยังอยู่คู่ฟ้าไทยจนถึงบัดนี้ ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ เป็นการศึกษานอกระบบอย่างหนึง่ ทีจ่ ัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นศูนย์รวม ของการศึกษาวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับอาชีพและสภาพแวดล้อมของราษฎรในแต่ละท้องถิ่น ผู้ใดสนใจอาชีพอะไรก็เข้าไป ศึกษาหาความรู้ ทรงเรียกว่า “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” สามารถจับต้องได้และน�ำไปประกอบอาชีพของตนเองได้จริง มีทั้งหมด ๖ ศูนย์ กระจายอยู่ทั่วประเทศไทยในภาคต่าง ๆ ดังนี้ ๑. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดนราธิวาส ๓. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดจันทบุรี ๔. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดสกลนคร ๕. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเชียงใหม่ ๖. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเพชรบุรี

42

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดนราธิวาส

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 43


ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ จังหวัดจันทบุรี

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดสกลนคร ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเชียงใหม่

44

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเชียงใหม่

สารบัญ

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเพชรบุรี


โดยพระราชทานพระราชด�ำรัสเกี่ยวกับหลักการของศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๒๖ ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ ความตอนหนึ่งว่า “...ด้านหนึ่งก็เป็นจุดประสงค์ของศูนย์ศึกษาฯ ก็เป็นสถานที่ส�ำหรับค้นคว้าวิจัยในท้องที่ เพราะว่าแต่ละท้องที่ สภาพฝนฟ้าอากาศ และประชาชนในท้องที่ต่าง ๆ กัน ก็มีลักษณะแตกต่างกันมากเหมือนกัน…” อีกประการหนึ่งทรงเห็นว่าแม้คนจะเฉลียวฉลาดเพียงใดแต่หากขาดโอกาสและทุนทรัพย์แล้วก็ไม่มีประโยชน์ จึงได้พระราชทานทุนเกี่ยวกับด้านการศึกษาอีกมากมายหลายทุน อาทิ “ทุนภูมิพล” จัดตั้งเมื่อปี ๒๔๙๕ โดยให้ทุนแก่นักศึกษาแพทย์ที่เรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อมาก็ให้แก่ บัณฑิตที่สอบได้คะแนนยอดเยี่ยมในสาขาต่าง ๆ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

46

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


“ทุนอานันทมหิดล” จัดตั้งขึ้นในปี ๒๔๙๘ เป็นการมอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาแพทย์ และภายหลังได้ขยาย ขอบเขตถึงสายวิชาต่าง ๆ อีกหลายสาขา ทุนเล่าเรียนหลวง ซึ่งทุนนี้ ได้ทรงฟื้นฟูทุนจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มาเริ่มใหม่ โดย พระราชทานให้แก่นักเรียนที่สอบชั้นมัธยมปลายได้คะแนนดีเยี่ยมทั้งแผนกศิลปะ แผนกวิทยาศาสตร์ และแผนกทั่วไป แผนกละ ๓ ทุน รวมทั้งหมด ปีละ ๙ ทุน ทุนของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ เพื่อสร้างโรงเรียนราชประชานุเคราะห์และให้ทุนสงเคราะห์เด็กและเยาวชน ที่ครอบครัวประสบวาตภัยภาคใต้หรือผู้ที่ประสบสาธารณภัยอื่น ๆ ทุนมูลนิธิราชประชาสมาสัยในพระบรมราชูปถัมภ์ มีวัตถุประสงค์หลักคือ การสร้างโรงเรียนราชประชาสมาสัย เพื่อช่วยเหลือบุตรหลานของราษฎรที่ประสบภัยโรคเรื้อน ทุนนวฤกษ์ เพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่ขาดแคลนในชนบทด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์และสร้างโรงเรียน ตามวัดในชนบททั้งระดับประถมและมัธยมศึกษา เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๑๔ ได้พระราชทานพระบรมราโชวาท เนื่องในวันปิดภาคเรียน ปีการศึกษา ๒๕๑๓ ของ โรงเรียนจิตรลดา ความตอนหนึ่งว่า “...ผลที่ได้ที่เป็นคะแนน ที่เป็นประกาศนียบัตร หรือเป็นรางวัลนั้นมีประโยชน์อย่างไร ต้องเข้าใจว่าเราเป็นผู้เยาว์ เป็นเวลาทีจ่ ะต้องสะสมความรู้ ไม่ใช่การเรียนเพือ่ การเอาคะแนน เป็นการเรียนเพือ่ ทีจ่ ะเตรียมตัวส�ำหรับด�ำรงชีวติ อยูใ่ นโลกนี้ เพื่อเป็นประโยชน์แก่สังคมและเพื่อประโยชน์ของตัวเอง ไม่ใช่เรียนส�ำหรับให้พ่อแม่หรือผู้ปกครอง หรือครูปลื้มใจเท่านั้นเอง แต่ส�ำหรับที่จะให้ตัวเองมีชีวิตรอดต่อไปในอนาคต...”

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 47


...ศิลปะกับวัฒนธรรมไทยนี้ คู่กันไปเสมอ เพราะเหตุว่าประเทศไทยก็เป็นประเทศ ที่มีศิลปะ มีวัฒนธรรม และถ้าเรารักษาศิลปะวัฒนธรรมและความดีของเราไว้ ก็ท�ำให้ บ้านเมืองอยู่ดีได้ มีเกียรติได้...

พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะนาฏศิลป์จากกรมศิลปากร ซึ่งจะเดินทางไปเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรมไทย ณ ประเทศออสเตรเลีย ณ พระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๓

สารบัญ


พัฒนาการ สารบัญ


...การที่จะท�ำงานเพื่อความมั่นคงและก้าวหน้านั้น มิใช่ว่าจะก้มหน้าก้มตาท�ำหน้าที่ ของแต่ละคนเท่านั้นจะต้องมีความร่วมมือสัมพัน ธ์กันระหว่างหน่วยงานทุกหน่วย เพือ่ ให้งานรุดหน้าไป พร้อมเพรียงกัน ไม่มลี ดหลัน่ จึงขอให้ทกุ คนพยายามทีจ่ ะท�ำงาน ในหน้าที่อย่างเต็มที่ และมีการประสานสัมพันธ์กันให้ดีเพื่อให้งานทั้งหมดเป็น งาน ที่เกื้อหนุนสนับสนุนกัน ไม่ใช่ท�ำลายกัน...

พระบรมราโชวาท ในโอกาสพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ข้าราชการ ณ พระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๑๓

สารบัญ


ถนนพัฒนาการ

ารเริ่ ม การพั ฒ นาในทุ ก ด้ า นทั่ ว ทุ ก ภาคของประเทศ เพื่อบรรเทาความทุกข์ และความเดือดร้อนให้แกร่ าษฎร ทัว่ ทุกหัวระแหง เมื่อทรงวางรากฐานในการพัฒนาด้านสังคมในด้านการสาธารณสุข และ การศึกษาไว้เป็นรูปเป็นร่างโดยรวมตั้งแต่ต้นรัชกาลแล้ว จึงมีพระราชประสงค์ที่จะ ไปเยี่ยมประชาชนในจังหวัดต่าง ๆ เพื่อให้ทรงประสบพบเห็นความจริงของสภาพ ภูมปิ ระเทศความขาดแคลนขัดสนและความทุกข์ยากของประชาชน ซึง่ ส่วนใหญ่มอี าชีพ ท�ำการเกษตรตามมีตามเกิด ชีวิตขึ้นอยู่กับฝนฟ้าและแหล่งน�้ำธรรมชาติ เมื่อหน้าแล้ง ก็ไม่มีฝนเลย ดินแตกระแหง ฝุ่นตลบ และในพื้นที่หลายแห่งเมื่อถึงฤดูฝน ฝนก็ตกจน น�้ำท่วม ทรงคิดว่าเรื่องน�้ำการชลประทานส�ำคัญที่สุด และเกี่ยวเนื่องไปถึงปัญหา ทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งป่าต้นน�้ำล�ำธารที่เป็นต้นเหตุของปัญหาทั้งปวง ดังนั้น น�้ำ ป่าไม้ และดิน จึงเป็นปัญหาและปัจจัยหลักในการอยู่รอดของเกษตรกร ซึ่งเป็นประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ สารบัญ


ทรงเริ่มเยี่ยมเยียนประชาชนอย่างเป็นทางการ เมื่อปี ๒๔๙๘ โดยเสด็จฯ ไปภาคกลาง และภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ในปี ๒๕๐๑ เสด็จฯ ไปภาคเหนือ และในปี ๒๕๐๒ เสด็จฯ ไปภาคใต้ ตามล�ำดับ เพื่อทอดพระเนตรสภาพความ เป็นอยู่ การประกอบอาชีพของราษฎรในแต่ละพื้นที่ แต่ละแห่ง เพื่อน�ำมาศึกษาหาทางแก้ไข ทรงศึกษาทุกเรื่องอย่างละเอียด ลึกซึ้ง รอบคอบ จนทรงรู้ลึก รู้รอบ และรอบรู้ไปหมดทุกอย่างในการที่จะ สร้างคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรให้ดีขึ้นอย่างไร เรื่องนี้ผู้เขียนไม่ได้พูดเกินเลย เพราะได้เคยตามเสด็จไป ทรงงานพัฒนาตามชนบททั้งที่บางพื้นที่ก็ไม่มีใครไปกันเลย พระองค์ท่านเสด็จฯ ไปจนถึงแม้บางครั้งฝนตกหนักมาก อาจจะมากกว่าฝนพันปีด้วยซ�้ำ ก็ยังทรงกางแผนที่มองดูภูมิประเทศอยู่เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น เพื่อซึมซับและคิดว่าพื้นที่ นั้น ๆ ควรแก้ไขอย่างไร ซึ่งผู้เขียนเองก็ได้ยินด้วยหู รู้ด้วยตาว่าทรงปราดเปรื่องไปทุกด้าน และเมื่อจะท�ำโครงการอะไรก็ตาม จะทรงมีความสุขุมรอบคอบ ค่อย ๆ ท�ำเล็ก ๆ ก่อน เสียเงินน้อยประโยชน์คุ้มค่ามาก และทรงมีวิสัยทัศน์ล่วงหน้าว่าต่อไป ภายภาคหน้า ถ้าจะพัฒนาเพิ่มเติมอะไรต่อไปในแต่ละพื้นที่นั้น ควรท�ำอย่างไรต่อไปเมื่อมีประชากรมากขึ้นเพื่อทุกคนจะได้ ประโยชน์โดยทั่วกัน ทรงศึกษาต�ำราเอกสารต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเรื่องของทฤษฎี แต่เงื่อนไขในแต่ละพื้นที่นั้น ก็ไม่อาจปฏิบตั ไิ ด้ในทางทฤษฎี และพระองค์เองก็ทรงประสบพบปัญหาดังกล่าวมากมายอย่างยิง่ จนเป็นประสบการณ์ทยี่ งิ่ ใหญ่ ทีไ่ ด้ทรงวางแนวคิดในการแก้ไขปัญหาและทฤษฎีตา่ ง ๆ ในการพัฒนาให้สอดคล้องกับปัญหาในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ อย่างเช่น ทฤษฎีใหม่ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น โดยในระยะแรกคือการปูพื้นฐานในการพัฒนาจึงเริ่มจากปัจจัยหลัก คือ น�ำ้ ป่า ดิน อันเป็นปัจจัยส�ำคัญก่อน เพราะหากปัจจัยทั้ง ๓ นี้ เสื่อมโทรมแล้วการพัฒนาอะไร ๆ ก็คงส�ำเร็จได้ยาก

สารบัญ


"...เรื่องน�ำ้ นี้ก็เป็นปัจจัยหลักของมวลมนุษย์ ไม่ใช่มนุษย์เท่านั้นเอง แม้สิ่งที่มีชีวิตทั้งหลายทั้งสัตว์ทั้งพืชก็ต้องมีนำ�้ ถ้าไม่มีก็อยู่ไม่ได้ เพราะว่าน�้ำเป็นสื่อหรือเป็นปัจจัยส�ำคัญของการเป็นสิ่งมีชีวิต แม้สิ่งไม่มีชีวิตก็อาจต้องการน�้ำเหมือนกัน มิฉะนั้นก็จะกลายเป็นอะไรไม่ทราบ เช่นที่ในวัตถุต่างๆ ในรูปผลึกก็ต้องมีนำ�้ อยู่ในนั้นด้วย ถ้าไม่มีนำ�้ ก็ไม่เป็นผลึก กลายเป็น สิ่งที่ไม่มีรูป ฉะนั้นน�้ำนี้ก็เป็นสิ่งส�ำคัญ ที่กล่าวถึงข้อนี้ก็จะได้ให้ทราบถึงว่าท�ำไมการพัฒนาขั้นแรกหรือสิ่งแรกที่นึกถึง ก็คือ ท�ำโครงการชลประทาน แล้วก็โครงการสิ่งแวดล้อมท�ำให้น�้ำดี สองอย่างนี่ อื่นๆ ก็จะไปได้ถ้าหากว่าปัญหาของน�้ำนี้เราได้ สามารถที่จะแก้ไข หรืออย่างน้อยที่สุดก็ท�ำให้เราได้มีน�้ำใช้ได้อย่างเพียงพอ ฉะนั้นการพัฒนานั้นสิ่งส�ำคัญก็อยู่ที่ตรงนี้... " พระราชดำ�รัสพระราชทานเมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๓๒ ณ พระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ส่วนใหญ่จึงเป็นโครงการเกี่ยวกับการบริหารจัดการน�้ำ ทั้งน�ำ้ กิน น�ำ้ ใช้ น�้ำ เพื่อการเกษตร น�้ำเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาอุทกภัย ตลอดจนแก้ปัญหาน�้ำเน่าเสีย รวมทั้งทรงสร้างน�้ำฝนเทียมซึ่ง เรียกว่าฝนหลวงอีกด้วย การพัฒนาปัจจัยส�ำคัญในการประกอบอาชีพของประชาชน ซึ่งก็คือ น�ำ้ ป่าไม้ ดิน มีการบริหารจัดการตามแนว พระราชด�ำริ ดังนี้

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 53


"ฉันสนใจชลประทานมาตั้งแต่เล็ก"

การบริหารจัดการน้�ำ

ไปด้วย

“...ฉันสนใจชลประทานมาตั้งแต่เล็ก....” งานชลประทาน คือ งานพัฒนาแหล่งน�ำ้ และทรัพยากรธรรมชาติควบคู่

เนื่องจากประเทศไทยมีพื้นที่ที่อยู่นอกเขตชลประทานเป็นจ�ำนวนมาก ชาวชนบทที่เป็นเกษตรกรส่วนใหญ่ของ ประเทศต้องพึ่งพาอาศัยน�้ำฝนเป็นหลัก หากเกิดภัยแล้งแล้วก็จะได้ผลผลิตไม่เพียงพอ บางครอบครัวก็ไม่สามารถมีข้าว เพียงพอที่จะบริโภคได้ตลอดปีด้วยซ�้ำ จึงทรงสนพระทัยในเรื่องน�้ำเป็นอย่างยิ่ง ในการจัดหาแหล่งน�้ำจืดให้แก่ราษฎรและ มุ่งการฟื้นฟูป่าไม้ในผืนป่าต้นน�้ำที่เสื่อมโทรมอันเป็นบ่อเกิดของความแห้งแล้ง ในการพัฒนาแหล่งน�้ำของพระองค์นั้นมีหลากหลายจุดประสงค์ อาทิ การพัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการเพาะปลูกและ อุปโภคบริโภค โดยการสร้างอ่างเก็บน�้ำ ฝายทดน�้ำ หรือชะลอน�้ำ เพื่อการรักษาต้นน�้ำล�ำธารและสภาพแวดล้อมเพื่อการ ผลิตไฟฟ้าพลังน�้ำ และเพื่อการระบายน�้ำออกจากที่ลุ่ม ตลอดจนบรรเทาอุทกภัยแต่ทุกอย่างนี้ก็ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ในแต่ละพืน้ ทีด่ ว้ ย และทีส่ ำ� คัญถ้าพัฒนาแล้วจะต้องมีคนได้ประโยชน์และเสียประโยชน์ เช่นเสียทีด่ นิ เพือ่ การก่อสร้างอ่างเก็บ น�ำ้ เป็นต้น ผูไ้ ด้ประโยชน์และเสียประโยชน์ควรตกลงกันเอง เพือ่ ให้ทางราชการเข้าไปก่อสร้างได้โดยไม่ตอ้ งไปจัดซือ้ ทีด่ นิ ซึง่ จะท�ำให้ราษฎรรู้สึกมีส่วนร่วมและหวงแหนดูแลบ�ำรุงรักษาสิ่งก่อสร้างนั้น ๆ ต่อไปด้วย คราวหนึ่งในการเสด็จพระราชด�ำเนินไปอ�ำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ในปี ๒๔๙๘ ทรงเล่าพระราชทานว่า รถขับไปบนถนนฝุน่ ตลบแต่มองไปข้างบนเห็นมีเมฆด�ำอยู่ จึงคิดว่าท�ำอย่างไรถึงจะดึงเมฆนัน้ ให้ไปเป็นน�้ำฝนตกลงมา อันเป็น บ่อเกิดของฝนเทียม ซึ่งต่อมาภายหลัง เรียกว่า “ฝนหลวง” และในเรื่องนี้มีพระราชด�ำรัส เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๑๗ 54

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


เมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๒๗ เสด็จฯ ไปประทับเรือพายของราษฎร เพื่อทอดพระเนตรสภาพพื้นที่น�้ำท่วมขังและมีสภาพเป็นพรุ ณ บ้านบากง อ�ำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ก่อนจะพระราชทานพระราชด�ำริแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมพื้นที่ในฤดูฝน และแก้ไขปัญหาน�้ำแล้ง

สารบัญ


พระราชทานแก่ผู้แทนสมาคมอุตสาหกรรมทอกระสอบไทย สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ สมาคมพ่อค้าข้าวโพด และ พืชพันธุ์ไทย และเจ้าหน้าที่กระทรวงพาณิชย์ ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน ความว่า “...การท�ำฝนนี้ไม่ใช่สิ่งง่าย จะต้องมีเครื่องอุปกรณ์ วัสดุ และเจ้าหน้าที่ งานที่ท�ำนี้ก็ต้องสิ้นเปลืองไม่ใช่น้อย แต่ถา้ ผลทีไ่ ด้กค็ อื จะเป็นผลทีน่ า่ พอใจ การท�ำฝนนีเ้ ป็นสิง่ ทีล่ ำ� บากหลาย ๆ ประการ ทางด้านเทคนิคและในด้านจังหวะทีจ่ ะท�ำ เพราะว่าถ้าพูดถึงด้านเทคนิค ฝนทีท่ ำ� นีจ้ ะพลิกฤดูกาลไม่ได้ ไม่ใช่วา่ เวลาฝนแล้งจะบันดาลอย่างปาฏิหาริย์ ให้มฝี นพอเพียงกับ การเพาะปลูกมิได้ หรือจะแทนการชลประทานที่ขุดเรียบร้อยกว้างขวางก็ไม่ได้ แต่เป็นทางหนึ่งที่มีหวังส�ำหรับในฤดูกาล ที่ควรจะมีฝน และฝนเทียมจะช่วยให้ประคองพืชผลไม่ให้สิ้นไปพอได้ ก็ได้ประมาณสักเจ็ดสิบเปอร์เซ็นต์ แต่การที่ฝนนี้ เป็นสิ่งที่ใหม่ นับว่าใหม่ จึงต้องท�ำโครงการอย่างระมัดระวัง เพราะว่าสิ้นเปลือง ถ้าท�ำแล้วไม่ได้ผลจะสิ้นเปลืองโดยใช่เหตุ...” โครงการฝนหลวง เป็นเรื่องปัจจัยของน�้ำที่มาเสริมเพิ่มเติมน�้ำฝนอีกประการหนึ่ง ได้พระราชทานพระราชด�ำรัส เมื่อวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๔๙๘ ครั้งเสด็จฯ ไปภาคอีสาน ตอนนั้นหน้าแล้งเดือนพฤศจิกายน ที่ไปมีเมฆมากอีสานก็แล้ง แต่ มาเงยดูท้องฟ้ามีเมฆ ก็เคยได้ยินเรื่องท�ำฝน ก็มาปรารภกับ คุณเทพฤทธิ์ (ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล/ผู้เขียน) “...ฝนท�ำไดม้ ี หนังสือ เคยอ่านหนังสือท�ำได.้ ..” และในปี ๒๔๙๙ จึงได้ทรงให้มีการด�ำเนินการศึกษาอย่างจริงจังและพระราชทานชื่อว่า “โครงการพระราชด�ำริฝนเทียม” ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล รับไปด�ำเนินการ วันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๑๒ จึงได้เริ่มปฏิบัติการ ทดลองเป็นครั้งแรกที่บริเวณอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อ�ำเภอ ปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา แต่ครั้งนั้นสังเกตไม่เห็นว่า มีฝนตก พบเพียงกลุ่มเมฆสีเทาเข้มเท่านั้น จึงได้มีพระราช กระแสรับสั่งให้ย้ายจุดไปทดลองที่เขื่อนแก่งกระจาน จังหวัด เพชรบุรี ดังนั้น ในเดือนตุลาคม ๒๕๑๕ ก็มีการปฏิบัติการ ทดลองในบริเวณแก่งกระจานดังกล่าว เกิดผลให้มีฝนตกยัง จุดที่ก�ำหนดไว้อย่างแม่นย�ำตามเวลาที่ก�ำหนดรวม ๘ วัน จากนั้ น ก็ ท รงค้ น คว้ า ทดลองปรั บ ปรุ ง การใช้ ส ารผสมและ วิธีการต่าง ๆ อย่างมุ่งมั่นจนได้ผลเป็นอย่างดี และในที่สุด ในปี ๒๕๑๖ ก็ได้พระราชทานข้อสรุปกรรมวิธีการท�ำฝนเทียม (ฝนหลวง) โดยการโปรยสารเคมีทางเครื่องบิน ตามสภาวะ ต่าง ๆ คือ ต�ำราฝนหลวง

56

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ขัน้ ตอนที่ ๑ “ก่อกวน” เป็นการกระตุ้นให้เมฆรวมตัวเป็นกลุ่มก้อน เพื่อใช้เป็นแกนกลางในการสร้างกลุ่มเมฆฝน ในระยะต่อมา สารเคมีที่ใช้ ได้แก่ แคลเซียมคลอไรด์ แคลเซียมคาร์ไบด์ แคลเซียมออกไซด์ หรือส่วนผสมระหว่างเกลือแกง กับสารยูเรีย หรือสารผสมระหว่างสารยูเรียกับแอมโมเนียไนเตรต ซึ่งสารผสมดังกล่าวจะก่อให้เกิดกระบวนการกลั่นตัวของ ไอน�้ำในอากาศ ขัน้ ตอนที่ ๒ “เลีย้ งให้อว้ น” ใช้สารเคมี คือ เกลือแกง สารประกอบสูตร ๑ สารยูเรีย แอมโมเนียไนเตรต น�ำ้ แข็งแห้ง และอาจใช้สารแคลเซียมคลอไรด์ร่วมด้วยเพื่อให้เกิดแกนเม็ดไอน�ำ้ ให้กลุ่มเมฆมีความหนาแน่นเพิ่มขึ้น ขัน้ ตอนที่ ๓ “โจมตี” สารเคมีที่ใช้ในขั้นตอนนี้เป็นสารเย็นจัด คือ ซิลเวอร์ไอโอไดด์ และน�้ำแข็งแห้งเพื่อให้เกิด ภาวะไม่สมดุลมากที่สุด ซึ่งจะเกิดเป็นเม็ดน�ำ้ ที่มีขนาดใหญ่มากและตกลงเป็นฝนในที่สุด

ข้อควรระวังข้อหนึ่งในการท�ำฝนเทียม คือ ในทุกขั้นตอนจะต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์การตัดสินใจ ที่จะเลือกใช้สารเคมีในปริมาณที่พอเหมาะ และต้องค�ำนึงถึงสภาพอากาศ สภาพภูมิประเทศ ทิศทางและความเร็วของลม ตลอดจนการก�ำหนดบริเวณหรือแนวพิกัดที่จะโปรยสารเคมีด้วย ในระยะแรก ชาวบ้านยังไม่เชื่อมั่นว่าจะอุปโภคบริโภคน�้ำฝนจากโครงการฝนเทียมนี้ได้หรือไม่เพราะเกรงว่าจะ มีสารเคมีผสมอยู่ในน�้ำฝนนั้น ซึ่งแท้ที่จริงแล้วสารเคมีที่ใช้นั้น คือสารเคมีที่อยู่ในครัวเรือนแล้วทั้งนั้น เช่น เกลือแกง หรือ โซเดียมคลอไรด์ ใช้เป็นเครื่องปรุงอาหาร หรือสารยูเรียที่เรารู้จักกันที่ว่า ปุ๋ยยูเรีย ก็ไม่เป็นอันตรายต่อคน สัตว์ และพืช จึงพระราชทานชื่อสารเคมีที่ใช้ท�ำฝนเทียมนี้ว่า “สารฝนหลวง” เพื่อให้ชาวบ้านมั่นใจในฝนเทียมที่ตกลงมา จนต่อมา จึงได้เรียกฝนเทียมนี้ว่า “ฝนหลวง” นอกจากนี้ ยังทรงประดิษฐ์ภาพ “ต�ำราฝนหลวง” ด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อแสดงขั้นตอน และกรรมวิธีการดัดแปลงสภาพอากาศให้เกิดฝนจากเมฆอุ่น และเมฆเย็น พระราชทานแก่นักวิชาการฝนหลวงให้ถือปฏิบัติ ไปในแนวทางเดียวกันด้วย สารบัญ


ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

การบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ ป่าไม้ของประเทศไทยเราถูกตัดท�ำลายอย่างหนัก เมื่อประมาณ ๕๐-๖๐ ปีที่ผ่านมา ซึ่งรัฐมีโครงการต่าง ๆ ในการ พัฒนาที่จะน�ำความเจริญไปสู่ท้องถิ่นมากขึ้น โดยมีถนนหนทางเป็นตัวน�ำเข้าไปก่อนการบุกรุกป่าสองข้างทางของถนนเพื่อ เปลี่ยนเป็นพื้นที่ท�ำการเกษตร การสัมปทานป่าไม้ที่มีอยู่มากมาย ในขณะที่คนไทยยังไม่ได้มีความรู้หรือใส่ใจเรื่องป่าไม้กัน เช่นในปัจจุบัน ท�ำให้ป่าในที่ราบและป่าบนภูเขาถูกท�ำลายลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาภัยแล้ง ปัญหา อุทกภัย และปัญหาที่เกิดขึ้นกระเทือนไปทั่วโลกด้วย คือ ปัญหาภาวะโลกร้อน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงทราบถึงปัญหาป่าไม้ที่โยงกันไปถึงปัญหา น�ำ้ และดินเป็นอย่างดี จึงพระราชทานพระราชด�ำริถึงวิธีการฟื้นฟูป่าไว้หลายวิธี ดังสรุปโดยย่อ ดังนี้

58

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


วิธีปลูกป่าทดแทน ในพื้นที่เสื่อมโทรมทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะป่าทีเ่ ป็นต้นน�ำ้ ล�ำธาร ดังพระราชด�ำริทพี่ ระราชทาน ค�ำอธิบายไว้เมื่อวันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๒๐ สรุปความว่า “...การทีจ่ ะมีตน้ น�ำ้ ล�ำธารไปชัว่ กาลนานนัน้ ส�ำคัญอยู่ ทีก่ ารรักษาป่าและปลูกป่าบริเวณต้นน�ำ้ ซึง่ บนยอดเขา และเนิน เขาสูงขึ้น ต้องมีการปลูกป่าโดยไม้ยืนต้นและปลูกไม้ฟืน ซึ่งไม้ ฟืนนั้นราษฎรสามารถตัดไปใช้ได้ แต่ต้องมีการปลูกป่าทดแทน เป็นระยะ ส่วนไม้ยืนต้นนั้นจะช่วยให้อากาศมีความชุ่มชื้น เป็น ขัน้ ตอนหนึง่ ของระบบการท�ำให้ฝนตกแบบธรรมชาติ ทัง้ ยังช่วย ยึดดินบนเขาไม่ให้พังทลายเมื่อเกิดฝนตกอีกด้วย ซึ่งถ้ารักษา เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๒ เสด็จฯ ไปศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ สภาพป่าไม้ไว้ให้ดีแล้ว ท้องถิ่นก็จะมีนำ�้ ไว้ใช้ชั่วกาลนาน...” วิธีปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก พระราชทานพระราชด�ำรัสเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๗ ความว่า “...ทิง้ ป่านัน้ ไว้ ๕ ปี ตรงนัน้ ไม่ได้ทำ� อะไรเลย แต่ปา่ เจริญเติบโตขึน้ มาเป็นป่าอุดมสมบูรณ์ ไม่ตอ้ งไปปลูกสักต้นเดียว คือว่าการปลูกป่านี้ส�ำคัญอยู่ที่ปล่อยให้เขาขึ้นได้ คืออย่าไปตอแยต้นไม้ อย่าไปรังแกต้นไม้ เพียงแต่ว่าคุ้มครองเขาหน่อย เขาขึ้นเอง...” วิธีปลูกป่า ๓ อย่างให้ประโยชน์ ๔ อย่าง ได้พระราชทานพระราชด�ำริไว้สรุปความว่า “...การปลูกป่าถ้าจะให้ราษฎรมีประโยชน์ให้เขาอยูไ่ ด้ ให้ใช้วธิ ปี ลูกไม้ ๓ อย่าง แต่มปี ระโยชน์ ๔ อย่าง คือ ไม้ใช้สอย ไม้กินได้ ไม้เศรษฐกิจ โดยปลูกรองรับการชลประทาน ปลูกรับซับน�้ำ และปลูกอุดช่องไหลตามร่องห้วย โดยรับน�้ำฝน อย่างเดียว ประโยชน์ที่ ๔ คือได้ระบบอนุรักษ์ดินและน�้ำ...” วิธีป้องกันและอนุรักษ์ป่าชายเลน เป็นป่าที่ขึ้นอยู่ตามดินเลนตามแนวฝั่งทะเล โดยเฉพาะปากแม่น�้ำ เป็นที่อยู่ อาศัยเพาะพันธุแ์ ละเจริญเติบโตของสัตว์นำ�้ สัตว์ทะเลมากมาย เนือ่ งจากมีอาหารอุดมสมบูรณ์ แต่ในระยะต่อมาการท�ำนากุง้ นาเกลือ โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้เข้าไปท�ำลายป่าชายเลนอย่างรวดเร็ว จึงได้พระราชทานพระราชด�ำริเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๔ ความว่า “...ป่าชายเลนมีประโยชน์ตอ่ ระบบนิเวศของพืน้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเลและอ่าวไทย แต่ปจั จุบนั ป่าชายเลนของประเทศไทย เราก�ำลังถูกบุกรุกและท�ำลายลงไป โดยผู้แสวงหาประโยชน์ส่วนตน จึงควรหาทางป้องกันอนุรักษ์และขยายพันธุ์เพิ่มขึ้น โดย เฉพาะต้นโกงกางเป็นไม้ชายเลนที่แปลกและขยายพันธุ์ค่อนข้างยาก เพราะต้องอาศัยระบบน�ำ้ ขึ้นน�ำ้ ลงในการเติบโตด้วย...”

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

59


การป้องกันป่าไม้จากไฟป่า ซึ่งทรงคิดขึ้นมา และทรงเรียกว่า “ป่าเปียก” ในเรื่องนี้มีวิธีการคือ การสร้าง ความชุ่มชื้นให้แก่แนวร่องน�้ำต่าง ๆ โดยผันน�้ำจากอ่างเก็บน�้ำขึ้นไป และให้น�้ำไหลลงมา และให้ปลูกป่าตามแนวร่องน�้ำ โดยใช้ไม้โตเร็วจนเป็นป่าแล้วจะท�ำให้รอ่ งน�ำ้ มีความชุม่ ชืน้ มากขึน้ ก็ควรสร้าง “ฝายชะลอน�ำ้ ซึง่ เป็นฝายขนาดเล็ก ๆ เพือ่ ชะลอ ความชุ่มชื้นออกไปจากแนวร่องน�้ำทั้งสองข้างในลักษณะเป็นก้างปลาและสุดท้ายให้ปลูกต้นกล้วยซึ่งเป็นไม้อุ้มน�้ำไว้เป็น แนวปะทะกันไฟป่า และได้พระราชทานพระราชด�ำริสรุปความว่า “...ในการผันน�้ำขึ้นไปบนภูเขานั้นควรใช้เครื่องสูบน�้ำพลังงานธรรมชาติ เช่น พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ เพือ่ เป็นการประหยัดเชือ้ เพลิงด้วย...” ปลูกป่าในใจคน เนือ่ งจากคนเป็นต้นเหตุทอี่ าจจะท�ำให้ปา่ ถูกท�ำลายก็ได้ หรือเป็นต้นเหตุทที่ ำ� ให้ปา่ ทีถ่ กู ท�ำลาย พลิกฟื้นให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ขึ้นก็ได้ ดังพระราชด�ำริพระราชทานแก่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ณ หน่วยงานพัฒนาต้นน�้ำทุ่งจ๊อ เมือ่ ปี ๒๕๑๙ ความตอนหนึง่ ว่า “...เจ้าหน้าทีป่ า่ ไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านัน้ ก็จะพากันปลูกต้นไม้ ลงบนแผ่นดิน และรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง...” การบริหารจัดการดิน

ในปัจจุบันนี้อาจกล่าวได้ว่าพื้นที่ที่มีดินเหมาะสมกับการเพาะปลูกแทบจะไม่มีแล้วในประเทศไทย เพราะในอดีต ที่ผ่านมาเราใช้การขยายพื้นที่การเพาะปลูกมากกว่าการเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ เมื่อพื้นที่ที่ดินไม่เหมาะสมในการท�ำการเกษตร มีมากขึ้น ประชากรและเกษตรกรเพิ่มมากขึ้น เกษตรกรก็แสวงหาพื้นที่ใหม่ ๆ โดยอพยพย้ายไปอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ รวมทั้งพื้นที่ราบบนภูเขา เพื่อความอยู่รอดของตนแต่ก็ท�ำให้ป่าไม้ถูกท�ำลายลงไปเป็นอย่างมาก คุณภาพดินก็เสื่อมโทรมลง จนเป็นปัญหาต่อการพัฒนาประเทศ จึงทรงเร่งแก้ปัญหาโดยการหาวิธีจัดสรรที่ดินให้ราษฎรท�ำกินเป็นอันดับแรก 60

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเห็นความส�ำคัญในเรื่องนี้เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะประชาชนทีข่ าดแคลนทีด่ นิ ท�ำกิน ซึง่ เคยมีพระราชด�ำรัสไว้วา่ “...มีความเดือดร้อนอย่างยิง่ ว่าประชาชนในเมืองไทย จะไร้ที่ดินและถ้าไร้ที่ดินแล้วก็จะท�ำงานเป็นทาสเขา ซึ่งเราไม่ปรารถนาที่จะให้ประชาชนเป็นทาสคนอื่น แต่ถ้าเราสามารถที่ จะขจัดปัญหานี้ โดยเอาที่ดินจ�ำแนกจัดสรรอย่างยุติธรรม อย่างมีการจัดตั้งจะเรียกว่านิคมหรือจะเรียกว่าหมู่หรือกลุ่มหรือ สหกรณ์ก็ตาม ก็จะท�ำให้คนที่มีชีวิตแร้นแค้นสามารถที่จะพัฒนาตัวเองขึ้นมาได้...” ทัง้ นี้ ยังได้พระราชทานพระราชด�ำริสรุปความว่า ควรเอาป่าเสือ่ มโทรมทีร่ กร้างว่างเปล่า น�ำมาจัดสรรให้เกษตรกรที่ ไร้ทที่ ำ� กินได้ประกอบอาชีพในรูปของหมูบ่ า้ นสหกรณ์ ให้สทิ ธิทำ� กินชัว่ ลูกชัว่ หลาน แต่ไม่ให้กรรมสิทธิใ์ นการถือครอง พร้อมจัด ให้มีบริการขั้นพื้นฐานให้ตามสมควร อันเป็นที่มาของโครงการนิคมสหกรณ์หุบกะพง (ในพระบรมราชูปถัมภ์) อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี และนอกจากนี้ ยังมีการจัดพื้นที่ท�ำกินให้ชาวเขาได้ท�ำกินและอยู่เป็นหลักแหล่ง โดยไม่บุกรุกท�ำลายป่าอีก ต่อไปด้วย ต่อมาก็ทรงเริ่มงานที่ทรงให้ความส�ำคัญมากอีกเรื่องหนึ่ง คือ การอนุรักษ์และฟื้นฟูที่ดินที่มีสภาพธรรมชาติและ ปัญหาทีแ่ ตกต่างกันออกไปในแต่ละภูมภิ าค เช่น การศึกษาวิจยั เพือ่ แก้ปญ ั หาดินเค็ม ดินเปรีย้ ว ดินทราย ในภาคกลางและภาค สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

61


ทรงปลูกต้นหญ้าแฝก ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ

ตะวันออกเฉียงเหนือ ปัญหาดินพรุในภาคใต้ และที่ดินตามชายฝั่งทะเล ตลอดจนการปรับปรุงและฟื้นฟูดินที่เสื่อมโทรม จาก การพังทลายของการชะล้างหน้าดิน ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ประโยชน์ทจี่ ะให้เกษตรกรในแต่ละพืน้ ทีส่ ามารถใช้ประโยชน์จากดินได้ตอ่ ไปอีก อนึ่ง ทรงทราบว่าหญ้าแฝกเป็นหญ้าที่เหมาะสมมากในการอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรมได้เป็นอย่างดี สามารถป้องกันการชะล้างพังทลายของดินได้ เนื่องจากมีรากยาวมากสามารถยึดดินไว้ได้อย่างเหนียวแน่น (บางต้นรากยาว ประมาณ ๑.๕ - ๒ เมตร) และสามารถป้องกันการเสื่อมโทรมของดินได้ เพราะหญ้าแฝกซึ่งมีรากยาวนี้จะสามารถรักษาความ ชุม่ ชืน้ ไว้ในดินได้ และทีส่ ำ� คัญคือ เกษตรกรสามารถปลูกแฝกเองได้เพราะเป็นหญ้าทีข่ นึ้ ได้ทกุ ที่ และไม่ตอ้ งดูแลรักษามากนัก จนกระทั่งปัจจุบันหญ้าแฝกได้ถูกน�ำมาใช้อย่างแพร่หลาย เพราะถือว่าหญ้าแฝกนี้จะเป็นแนวทางการจัดการทรัพยากรดิน ป่าไม้ น�้ำ ไปพร้อม ๆ กันอย่างได้ประโยชน์ยิ่ง นอกจากปัจจัยหลักเรื่องน�้ำ ป่าไม้ และดินแล้ว ก็ทรงเริ่มทดลองโครงการต่าง ๆ เพื่อเป็นตัวอย่างแก่ราษฎรด้วย เช่น โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาได้เริ่มมาตั้งแต่ปี ๒๕๐๔ ด้วยเหตุที่มีพระราชประสงค์ที่จะให้ราษฎรทั้งหลาย โดยเฉพาะเกษตรกรได้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จึงทรงด�ำเนินงานโครงการดังกล่าวขึ้นเพื่อศึกษาทดลอง วิจัย เกี่ยวกับการ พัฒนาสาขาต่าง ๆ ให้เป็นต้นแบบหรือเป็นโครงการตัวอย่างที่ราษฎรจะสามารถมาดู หาความรู้ และน�ำไปประกอบอาชีพ 62

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ตามทีต่ นถนัดได้ โดยใช้สถานทีใ่ นสวนจิตรลดาส่วนหนึง่ เป็นพืน้ ทีด่ ำ� เนินงาน ซึง่ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เกษตรกร ผูส้ นใจ นิสติ นักศึกษา ประชาชนได้เข้ามาเรียนรูจ้ ากของจริง โครงการแรกทีท่ รงด�ำเนินการคือ โครงการแปลงนาสาธิต ซึง่ เริม่ ต้น มาจากทรงให้ฟื้นฟูพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญขึ้นมาใหม่ ในปี ๒๕๐๔ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน ข้าวชือ่ “นางมล” ซึง่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้นอ้ มเกล้าฯ ถวายลงปลูกในบริเวณสวนจิตรลดา เพือ่ เก็บเกีย่ วเมล็ดพันธุ์ ส�ำหรับพระราชทานแก่ประชาชนในพระราชพิธแี รกนาขวัญในปีตอ่ ๆ ไปพร้อมทัง้ ได้พระราชทานให้จงั หวัดทุกจังหวัดรับพันธุ์ ข้าวนี้ไปแจกจ่ายแก่ประชาชนในจังหวัดของตนด้วย โดยได้สาธิตการปลูกข้าวทั้งนาด�ำ นาหยอด นาหว่าน โดยใช้ทั้งปุ๋ยเคมี ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก เพื่อเปรียบเทียบว่าอย่างไรเหมาะสมกว่า เมื่อครั้งที่มีการเปิดการชุมนุมผู้น�ำชาวนาทั่วประเทศ ได้พระราชทานพระราชด�ำรัสความตอนหนึ่งว่า “...ข้าพเจ้ามีโอกาสได้ศกึ ษาและทดลองการท�ำนามาบ้าง และทราบดีวา่ การท�ำนานัน้ มีความยากล�ำบากเป็นอุปสรรค อยู่มิใช่น้อย จ�ำเป็นต้องอาศัยพันธุ์ข้าวที่ดี และต้องใช้วิธีการต่าง ๆ จึงจะได้ผลเป็นล�่ำเป็นสันอีกประการหนึ่ง ที่นานั้นเมื่อ สิ้นฤดูการท�ำนาแล้ว ควรจะปลูกพืชอื่น ๆ บ้างเพราะจะเพิ่มรายได้ให้อีกไม่น้อย ทั้งจะช่วยให้ดินร่วน ช่วยเพิ่มปุ๋ยรากพืช ท�ำให้ลักษณะเนื้อดินดีขึ้น เหมาะส�ำหรับจะท�ำนาในฤดูต่อไป ในการชุมนุมครั้งนี้ ข้าพเจ้าจึงใคร่จะขอให้ท่านทั้งหลายตั้งใจ ฟังค�ำบรรยาย ท�ำความเข้าใจกับวิชาการใหม่ ๆ ให้แจ่มแจ้งทุก ๆ ข้อ เพราะทางราชการพร้อมทีจ่ ะช่วยท่านอยูแ่ ล้ว ท่านจะได้นำ� วิชาการใหม่ ๆ นีไ้ ปใช้ปรับปรุงการท�ำนาของสมาชิกในกลุม่ ให้ได้ผลดียงิ่ ขึน้ ...” (จากหนังสือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั กับ การพัฒนาข้าวไทย : พฤษภาคม ๒๕๐๔, หน้า ๒) ต่อมาก็ทรงเริ่มโครงการต่าง ๆ อีกหลายโครงการ เช่น โครงการปลูกยางนา เป็นโครงการป่าไม้สาธิต และโครงการ ปลานิลที่ทรงได้รับการถวายจาก เจ้าฟ้าชายอากิฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งประเทศญี่ปุ่น และพระราชทานปลานิลนี้แก่ กรมประมง ๑๐,๐๐๐ ตัว เพื่อน�ำไปเลี้ยงเพาะขยายพันธุ์ให้แก่ราษฎรอันจะเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพที่ประชาชนจะได้รับ โปรตีนจากปลาได้มากขึ้นและพระราชทานชื่อปลานี้ว่า “ปลานิล” ซึ่งมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า “Oreochromis nilotica” ต่อมาได้มีโครงการมากขึ้น จึงทรงแบ่งประเภทของโครงการไว้ ดังผู้เขียนจะขอสรุปไว้ดังนี้ ๑. โครงการทีไ่ ม่ใช่ธรุ กิจ เป็นโครงการทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนจากหน่วยราชการและภาคเอกชน ส่วนใหญ่เป็นเรือ่ งการ พัฒนาด้านการเกษตร การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น โครงการนาสาธิต โครงการป่าไม้สาธิต โครงการ เพาะเลี้ยงปลานิล โครงการที่ศึกษาเกี่ยวกับกังหันลม โครงการปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช โครงการศึกษาเรื่องหวาย โครงการปลูกพืชไร้ดนิ โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืช โครงการศึกษาบ้านพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการศึกษาระบบผลิตน�ำ้ เย็น โดยใช้พลังงานความร้อนจากแกลบ โครงการสูบน�ำ้ ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ และโครงการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานลม ๒. โครงการกึ่งธุรกิจ ได้แก่ โครงการโรงโคนมสวนจิตรลดา โรงนมผงสวนดุสิต โรงสีข้าวตัวอย่าง โรงบดแกลบ โรงน�้ำผลไม้พาสเจอไรส์ โรงผลิตภัณฑ์อบแห้ง โรงงานผลิตแอลกอฮอล์ และผลิตภัณฑ์จากแอลกอฮอล์ โรงปุ๋ยอินทรีย์ การเพาะเลี้ยงและแปรรูปสาหร่ายเกลียวทอง โรงหล่อเทียนหลวง โรงงานเนยแข็งสวนจิตรลดา โรงเพาะเห็ด โรงผลิตภัณฑ์ น�ำ้ ผึง้ โรงกระดาษสา โครงการผลิตแก๊สโซฮอล์ และดีโซฮอล์ โรงน�้ำดืม่ จิตรลดา โรงกระถางผักตบชวา งานหัตถกรรมดิน โครงการ สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

63


เสด็ จ ฯ ไปไร่ ช าวเขาเผ่า ม้ งที่ ป ลู ก ถั่วแดงจากเมล็ดพันธุ์พระราชทาน สามารถท�ำรายได้ให้สูงกว่าการปลูก ฝิ่นแต่เดิม

ไม้สกั เก่า โครงการนมฟลูออไรด์ การผลิตไบโอดีเซล งานเกล็ดปลาและงานบุทอง งานเครือ่ งหอมและของช�ำร่วย โรงนมยูเอชที สวนจิตรลดาทุกโครงการดังกล่าวข้างต้น มีรายละเอียดมากมายที่มีผู้เขียนอื่น ๆ ได้เขียนไว้อย่างย่อและอย่างละเอียดแล้ว แต่ในที่นี้ผู้เขียนอยากจะกล่าวไว้ว่าโครงการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นประเภทที่ไม่ใช่ธุรกิจหรือประเภทกึ่งธุรกิจนั้น เป็นเรื่อง การด�ำเนินการศึกษา วิจยั ทดลองและการพัฒนาทีเ่ น้นเพือ่ ให้เป็นตัวอย่างแห่งความส�ำเร็จทีป่ ระชาชนสามารถน�ำไปใช้ได้จริง และหากเรื่องใดไม่ประสบความส�ำเร็จก็จะบอกแก่ประชาชนว่าอย่าไปท�ำแบบนี้แบบนั้น ซึ่งมันจะเสียเวลาและไม่ได้ผลอะไร ก็นับเป็นความส�ำเร็จในความไม่ส�ำเร็จอีกประการหนึ่งเช่นกัน โครงการหลวง

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ทรงก่อตั้งโครงการส่วนพระองค์ขึ้น ชื่อว่า “โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ชาวเขา” เมื่อปี ๒๕๑๒ ต่อมาโครงการนี้ได้เปลี่ยนชื่อไปอีกหลายชื่อ คือ โครงการหลวง พัฒนาชาวเขา เนื่องจากว่า ชาวเขาเรียกพระองค์ท่านว่า “พ่อหลวง” และก็ได้เปลี่ยนไปอีกเป็น โครงการหลวงภาคเหนือ และ “โครงการหลวง” ในที่สุด ต่อมาในปี ๒๕๓๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนสถานะเป็น “มูลนิธิโครงการหลวง” โดยมีเป้าหมายเพื่อ ๑. ช่วยเหลือชาวเขาเพื่อมนุษยธรรม ๒. ช่วยลดการท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติคือ ป่าไม้และต้นน�ำ้ ล�ำธาร ๓. ก�ำจัดการปลูกฝิ่น ๔. รักษาดินและใช้พื้นที่ให้ถูกต้องคือ ให้ป่าอยู่ในส่วนที่เป็นป่าและท�ำไร่ท�ำสวนในส่วนที่ควรเพาะปลูกไม่ให้ ทั้งสองส่วนรุกล�้ำซึ่งกันและกัน ๕. ผลิตพืชผลเพื่อเพิ่มผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจแก่ประเทศ 64

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ปัจจุบันพื้นที่ด�ำเนินการส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดทางภาคเหนือ โดยมีสถานีวิจัย ๔ แห่ง ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ๓๘ แห่ง ที่ท�ำการวิจัยมาแล้วกว่า ๕๔๐ โครงการ และรวมพืชพันธุ์ไม้ต่าง ๆ มากกว่า ๕๐ ชนิด รวมถึงยังมีหมู่บ้านชาวเขา ที่อยู่ในความดูแลพัฒนาและส่งเสริมอีก ๒๙๕ หมู่บ้าน มีผลผลิตมากมายคือ ผัก ผลไม้ กาแฟ ดอกไม้ ผลไม้เมืองหนาว สัตว์เลี้ยงต่าง ๆ รวมทั้งปลา นอกจากนี้ ยังมีผลิตภัณฑ์จากหัตถกรรมออกจ�ำหน่ายด้วย มูลนิธิโครงการหลวงมีโรงงานส�ำเร็จรูป ๓ แห่ง เพื่อรองรับผลิตภัณฑ์เหล่านี้และน�ำออกจ�ำหน่ายทั่วไปภายใต้ชื่อ “ดอยค�ำ” ซึ่งท่านทั้งหลายคงได้เห็นร้านดอยค�ำอยู่มากมายในปัจจุบันนี้ โครงการหลวงเป็นโครงการที่ทรงมีเจตนารมณ์ที่จะช่วยชาวเขาให้ช่วยตัวเองได้ โดยให้ชาวเขาหันมาปลูกพืชผัก เมืองหนาวเป็นหลักแทนเพื่อให้เขาเลิกปลูกฝิ่น เลิกการตัดไม้ท�ำลายป่า การท�ำไร่เลื่อนลอย และการค้าอาวุธผิดกฎหมาย จนได้รับความส�ำเร็จ และความส�ำเร็จต่าง ๆ นี้ ก็ได้ท�ำให้ประเทศโดยรวมมีความมั่นคงขึ้นด้วยพระปรีชาสามารถ จน “มูลนิธิ โครงการหลวง” ได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขา International Understanding ในปี ๒๕๓๑ และรางวัล Colombo Plan : Drug Advisory Programme (DAP) ของประเทศศรีลังกา ในปี ๒๕๔๘

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

65


ธนาคารขา้ ว เมื่อปี ๒๕๑๙ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมหมู่บ้าน ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง อ�ำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ทรงเห็นว่าชาวนายากจน มีหนี้สินเนื่องจากมีต้นทุนในการผลิตข้าว ที่สูง และยังถูกพ่อค้าคนกลาง นายทุนเอาเปรียบอีก จึงมีพระราชด�ำริให้จัดตั้ง “ธนาคารข้าว” ขึ้นเป็นครั้งแรกที่หมู่บ้านเผ่า กะเหรี่ยงแห่งนั้น และยังได้พระราชทานข้าวเปลือกให้เป็นทุนในการเริ่มต้นธนาคารข้าวด้วย หลักการบริหารธนาคารข้าวก็คือ ใช้ข้าวเปลือกเป็นสินทรัพย์ เพื่อให้ผู้กู้นำ� ไปเพื่อบริโภค หรือท�ำพันธุ์เพาะปลูก ซึ่ง ต้องเสียดอกเบีย้ กลับคืนมาเป็นข้าวเปลือกเช่นเดียวกัน แต่ในอัตราทีต่ ำ�่ ซึง่ ส่งผลดีให้แก่หมูบ่ า้ น คือลดภาระหนีส้ นิ เป็นแหล่ง อาหารส�ำรอง และยังสร้างความสามัคคีร่วมมือพึ่งพาอาศัยกันในชุมชนได้ด้วย ธนาคารโค-กระบือ เนื่องด้วย ทรงห่วงใยเกษตรกรที่ยากจนไม่มีโค กระบือ ไว้ใช้งาน ทั้ง ๆ ที่โค กระบือนั้นเป็นปัจจัยการผลิตที่สำ� คัญ มากในการผลิตข้าวทุกขั้นตอน (สมัยนั้นเครื่องจักรกลในการผลิตข้าวยังไม่แพร่หลาย) ต้องใช้โค กระบือ ทุกขั้นตอน ตั้งแต่ ไถ พรวน เทียมเกวียน ขนส่งข้าวหรือสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ใช้ฉุดลากเครื่องทุ่นแรงในการสูบน�้ำ ฯลฯ ท�ำให้ต้องเช่ามาใช้ใน ราคาที่แพงมาก จนบางคนเหลือผลผลิตให้ตนเองไม่เพียงพอเพราะต้องจ่ายเป็นค่าเช่าโค กระบือ ไปเกือบหมด

เมือ่ วันพืชมงคล ในวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๒๓ พระราชทานพระบรมราโชวาทแก่สมาชิกกลุม่ เกษตรกรทัว่ ประเทศ ณ บริเวณโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ความตอนหนึ่งว่า 66

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


“...ธนาคารโคและกระบือ ก็คือ การรวบรวมโคและกระบือโดยมีบัญชีควบคุมดูแลรักษา แจก จ่าย ให้ยืม เพื่อใช้ ประโยชน์ในการเกษตร และเพิ่มปริมาณโคและกระบือตามหลักการของธนาคาร ธนาคารโคและกระบือเป็นเรื่องใหม่ของ โลก ที่มีความจ�ำเป็นเกิดขึ้น เพราะปัจจุบัน มีความคิดแต่จะใช้เครื่องกลไกเป็นเครื่องทุ่นแรงในกิจการเกษตร แต่เมื่อราคา น�ำ้ มันเชื้อเพลิงแพงขึ้น ความก้าวหน้าในการใช้เครื่องกลไกเสียไป จ�ำเป็นต้องหันมาพึ่งแรงงานจากสัตว์ที่เคยใช้อยู่ก่อน เมื่อ หันกลับมาก็ปรากฏว่า มีปัญหามาก เพราะชาวนาไม่มีเงินซื้อโคกระบือมาเลี้ยง เพื่อใช้แรงงาน... ...ธนาคารโคและกระบือพอจะอนุโลมใช้ได้ เหมือนกับธนาคารที่ดำ� เนินการเกี่ยวกับการเงิน เพราะโดยความหมาย ทัว่ ไป ธนาคารก็ดำ� เนินการเกีย่ วกับสิง่ ทีม่ คี า่ มีประโยชน์ การตัง้ ธนาคารโคและกระบือก็มใิ ช่วา่ ตัง้ โรงขึน้ มาเก็บโคหรือกระบือ เพียงแต่มีศูนย์กลางขึ้นมา เช่น อาจจัดให้กรมปศุสัตว์เป็นศูนย์รวม ใครจะสมทบธนาคารโคและกระบือก็ไม่จำ� เป็นต้องน�ำโค หรือกระบือไปมอบให้ อาจบริจาคในรูปของเงิน…”

ครั้นเมื่อมีผู้บริจาคโค กระบือ หรือเงินเข้ามามากพอสมควร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมปศุสัตว์เป็น ศูนย์กลางในการด�ำเนินงาน แบ่งออกเป็น ๔ วิธี คือ วิธีที่ ๑ การให้เช่าเพื่อใช้งาน ธนาคารโค-กระบือ จะให้เกษตรกรที่ไม่มีโคกระบือใช้งานเป็นของตนเองมาติดต่อ ขอเช่าโค กระบือจากธนาคารได้ในราคาถูก โดยผู้เช่าจะต้องให้ผู้ใหญ่บ้านหรือก�ำนันหรือผู้ที่เชื่อถือได้ เป็นผู้ค�้ำประกันกับธนาคารในการเช่านั้น วิธีที่ ๒ การให้เช่าซื้อผ่อนส่งระยะยาว ธนาคารโค-กระบือ จะจัดหาโค กระบือมาจ�ำหน่ายให้เกษตรกรที่ยากจน และประสงค์จะเป็นเจ้าของโค กระบือในราคาถูก โดยผ่อนส่งเงินใช้คืนแก่ธนาคารโค-กระบือในระยะ เวลา ๓ ปี ผูเ้ ช่าซือ้ จะต้องให้ผใู้ หญ่บา้ นหรือก�ำนันหรือผูท้ เี่ ชือ่ ถือได้คำ�้ ประกันการผ่อนช�ำระเงินดังกล่าวนัน้ วิธีที่ ๓ การให้ยืมเพื่อท�ำการผลิต ธนาคารโค-กระบือ จะให้เกษตรกรที่ยากจนยืมโค กระบือเพศเมียจากธนาคาร ไปเลี้ยงเพื่อผลิตลูกโค กระบือ โดยเกษตรกรผู้ยืมจะต้องแบ่งลูกโค กระบือที่คลอดออกมาคนละครึ่ง กับธนาคาร คือ ลูกตัวที่ ๑ ที่ ๓ ที่ ๕ จะเป็นของธนาคาร ส่วนลูกตัวที่ ๒ ที่ ๔ ที่ ๖ จะเป็นของเกษตรกร สลับกันไป ทั้งนี้ เกษตรกรผู้ยืมจะต้องให้ผู้ใหญ่บ้านหรือก�ำนันหรือผู้ที่เชื่อถือได้ค�้ำประกันไว้กับธนาคาร วิธีที่ ๔ การให้ยมื ใช้งาน ธนาคารโค-กระบือจะให้ความช่วยเหลือเกษตรกรหรือทหารผ่านศึกทีย่ ากจน ไม่สามารถ จะช่วยตนเองได้จริง ๆ ยืมโค กระบือไปใช้งาน โดยธนาคารจะจัดเจ้าหน้าที่ออกไปพิจารณาให้ความ ช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษเป็นราย ๆ ไป สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

67


ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.)

ด้ ว ยเหตุ ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร เสด็ จ แปรพระราชฐานไป ทอดพระเนตรชีวิตความเป็นอยู่ และปัญหาการประกอบอาชีพของราษฎรในทุกภาคของประเทศเป็นประจ�ำทุกปี ภาคละ ประมาณ ๒ เดือน จึงทรงเห็นความทุกข์ยากของราษฎรเป็นอย่างยิง่ การทีจ่ ะมีพระราชด�ำริให้ดำ� เนินการใด ๆ ก็อาจขลุกขลักบ้าง เพราะไม่มีระบบใดจะมารองรับพระราชด�ำรินั้น ๆ ไปด�ำเนินงานให้ได้อย่างรวดเร็วทันการณ์ต่อปัญหาของราษฎร ที่ทรงพบเห็น บางครั้งสมมุติว่ามีพระราชด�ำริเห็นควรสร้างถนน แต่ผู้รับพระราชด�ำริกลับเป็นอธิบดีกรมป่าไม้ก็จะกลายเป็น กรมป่าไม้ต้องไปสร้างถนน ครัน้ ในปี ๒๕๒๔ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีในขณะนัน้ และได้ทราบถึงปัญหาเหล่านี้ จึงได้ด�ำเนินการ ก่อตั้งส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) ขึ้นมา โดยท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูต้ ดิ ตามเสด็จ ไปรับสนองพระราชด�ำริวา่ เป็นยังไง เรือ่ งอะไร และกรมกองไหนทีม่ หี น้าทีท่ จี่ ะต้องด�ำเนินการ อย่างเป็นระบบขึ้น พร้อมจัดงบประมาณส่วนหนึ่งให้ เพื่อจัดสรรให้โครงการพระราชด�ำริได้เริ่มด�ำเนินงานได้ในปีนั้น ๆ เลยทีเดียว ส่วนปีต่อไปกระทรวงและกรมต่าง ๆ ต้องขอรับการจัดสรรเป็นงบประมาณปกติประจ�ำปีของตนไปที่ส�ำนัก งบประมาณ จึงท�ำให้ราษฎรไม่ต้องรอไปเรื่อย ๆ อย่างไม่มีความหวัง 68

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ส�ำนักงาน กปร. จะจดบันทึกพระราชด�ำริไว้ทั้งหมดพร้อมเครื่องบันทึกพระสุรเสียง แล้วรวบรวมทั้งหมดว่าวันใด เสด็จฯ ไปที่ใด มีพระราชกระแสกับใคร เรื่องอะไร และก็จะน�ำบันทึกนี้ถวายให้ทอดพระเนตรว่าเป็นพระราชด�ำริ ทีถ่ กู ต้องหรือไม่ แล้วจึงจะให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับงานนัน้ ๆ ทราบและด�ำเนินการต่อไป จึงท�ำให้การรับสนองพระราชด�ำริ เป็นระบบมีระเบียบขึน้ มา จวบปัจจุบนั นี้ ส�ำนักงาน กปร . จึงเป็นหน่วยงานกลางในการประสานการด�ำเนินงานกับหน่วยงาน ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการสนองพระราชด�ำริ ปัจจุบนั มีโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริทไี่ ด้ดำ� เนินการแล้ว ๔,๖๘๕ โครงการ (กันยายน ๒๕๕๙) และยังมีโครงการที่ยังไม่ได้ด�ำเนินการหรืออยู่ระหว่างด�ำเนินการอีกไม่น้อย ทั้งนี้ ส�ำนักงาน กปร. นี้ ก็เป็นหน่วยงานที่จะรับสนองพระราชด�ำริแก่พระบรมวงศ์และพระอนุวงศ์ทุกพระองค์ด้วย อนึ่ง จะเห็นได้ว่าชื่อส�ำนักงาน กปร. นี้ เป็นการเริ่มต้นที่เรียกโครงการตามพระราชด�ำริว่า “...โครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริ..." เมื่อก่อนนั้นเราจะเคยได้ยินชื่อโครงการ เช่น โครงการตามพระราชประสงค์หุบกะพง อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี หรือโครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ (คือโครงการที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานข้อแนะน�ำและแนวพระราชด�ำริให้เอกชนรับไปด�ำเนินการ เช่น โครงการสารานุกรมไทยส�ำหรับ เยาวชน เป็นต้น) ทรงปรารภว่า “...ค�ำว่าตามพระราชด�ำริกบั ตามพระราชประสงค์มนั แรงเกินไปเสมือนว่าไปบังคับเขาว่าต้องท�ำ แต่คำ� ว่า ‘อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ’ นีเ้ ป็นด�ำริของพระองค์เท่านัน้ เอง ใครเห็นชอบก็น�ำไปท�ำ ใครไม่เห็นชอบก็ไม่เป็นไร...” “...ด�ำริ คือ ความเห็นที่จะท�ำ ไม่ใช่ค�ำสั่งแต่มันเป็นความเห็น มีทฤษฎีอะไรต้องบอกออกมา ฟังได้ฟังชอบใจ ก็เอาไป ใครไม่ชอบใจก็ไม่เป็นไร...”

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

69


...เราต้องข่มใจไม่กระท�ำสิง่ ใด ๆ ทีเ่ รารูส้ กึ ด้วยใจจริงว่าชัว่ ว่าเสือ่ ม เราต้องฝืนต้องต้าน ความคิดและความประพฤติทกุ อย่างทีร่ สู้ กึ ว่าขัดกับธรรมะ เราต้องกล้าและบากบัน่ ทีจ่ ะ กระท�ำสิ่งที่เราทราบว่าเป็นความดี เป็นความถูกต้อง และเป็นธรรม ถ้าเราร่วมกัน ท�ำเช่นนี้ให้ได้จริง ๆ ให้ผลของความดีบังเกิดมากขึ้น ๆ ก็จะช่วยค�ำ้ จุนส่วนรวมไว้มิให้ เสื่อมลงไป และจะช่วยให้ฟื้นคืนดีขึ้นได้เป็นล�ำดับ...

พระราชดำ�รัส พระราชทานเพื่อเชิญไปอ่านในพิธีเปิดการประชุมยุวพุทธิกสมาคมทั่วประเทศ ครั้งที่ ๑๒ ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๑๓

สารบัญ


เจริญกรุง สารบัญ


...แต่ละคนก็ตอ้ งท�ำหน้าทีท่ งั้ นัน้ หน้าทีน่ ี้จะต้องท�ำด้วยความบริสทุ ธิใ์ จ หมายความว่า ท�ำแล้วนึกถึงประโยชน์ของงานไม่ใช่ประโยชน์ของตัวนัก เพราะว่าถ้าประโยชน์ของตัว อาจท�ำให้งานเสียและลงท้ายส่วนรวมเสีย ส่วนตัวก็จะเสียเหมือนกัน ถ้านึกแต่สว่ นรวม ส่วนตัวไม่มีวันเสีย เพราะว่าถ้าท�ำส่วนรวมแล้วส่วนรวมดีส่วนตัวก็ดี...

พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ข้าราชการ นักเรียน พ่อค้า ประชาชน คณะกรรมการของมูลนิธิ สมาคม และสโมสรต่างๆ ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๑๔

สารบัญ


ถนนเจริญกรุง

รื่องการพัฒนาชนบทเป็ นเรื่องสำ�คัญ เพราะประชาชน ส่วนใหญ่อยู่ที่นั่น แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าปั ญหาที่คน กรุงเทพฯ เผชิญอยูจ่ ะทรงละทิง้ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร ทรงตระหนักถึงปัญหาที่ชาวกรุงเทพฯ เผชิญกันมาอย่างมากมาย ทรงถือว่า ปัญหา ดังกล่าวนอกจากจะท�ำให้ประชาชนเดือดร้อนแล้วยังเป็นเรื่องที่ท�ำให้ประเทศ ชาติเสียหายทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม จิตวิทยาเป็นอย่างยิ่ง ปัญหาดังกล่าวที่ ส�ำคัญ ๆ ก็คือปัญหาการจราจรที่คนกรุงเทพฯ นั่งหมดอาลัยอยู่บนถนนนานเกินไป และปัญหาน�้ำท่วม น�ำ้ เน่าเสีย ก็เพิ่มความเดือดร้อนให้แก่ราษฎรเป็นอย่างยิ่ง สารบัญ


เมือ่ ปี ๒๕๑๔ จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในสมัยนัน้ ได้เข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อกราบบังคมทูลเรื่องการจัดงานพระราชพิธีรัชดาภิเษก (ทรงครองราชย์ครบ ๒๕ ปี) โดยจะมี การสร้างพระราชานุสาวรีย์ ถวายเป็นพระบรมราชานุสรณ์ในโอกาสนี้ จึงได้มีพระราชกระแสเกี่ยวกับการจราจรในกรุงเทพฯ เป็นครั้งแรกว่าให้สร้างถนนเพิ่มขึ้นเป็นถนนวงแหวน เพื่อพระราชทานเป็นของขวัญแก่ประชาชนแทนการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ ความว่า “ขอเถิดอนุสาวรีย์อย่าเพิ่ง สร้าง สร้างถนนดีกว่า สร้างถนนเรียกว่าวงแหวน เพราะมันเป็นความฝัน เป็นความฝันมาตั้งนานแล้วเกือบ ๔๐ ปี อยากให้ สร้างถนนวงแหวน” และพระราชทานชื่อว่า “ถนนรัชดาภิเษก” หลังจากนั้น เมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๑๔ ได้เสด็จฯ ไปทรง เปิดถนนรัชดาภิเษกนี้ ที่บริเวณเชิงสะพานกรุงเทพตัดกับถนนเจริญกรุง

ชุมชนต่างระดับถนนกาญจนาภิเษกด้านตะวันตก

74

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ถนนนี้เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพฯ มีความยาวประมาณ ๔๕ กิโลเมตร ใช้เวลาก่อสร้างถึง ๑๙ ปี โดยเริม่ จากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ผา่ นสะพานกรุงเทพตัดผ่านถนนพระราม ๓ ถนนสุขมุ วิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม ๙ ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระรามที่ ๗ เข้าเขตอ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม ๖ เข้าเขตกรุงเทพฯ รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบทีส่ แี่ ยกท่าพระ ซึง่ ท�ำให้การจราจรคลีค่ ลายลงได้มาก การเดินทางของประชาชนมีความสะดวกรวดเร็วกว่าเดิม ต่อมาปัญหาการจราจรก็เริ่มจะวิกฤติอีก เพราะจ�ำนวนรถยนต์ที่มีมากเกินไปไม่สัมพันธ์กันกับความยาวของถนน ในกรุงเทพฯ ทั้งหมดรวมกัน จึงทรงห่วงใยเรื่องนี้เป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๖ ณ ศาลาดุสิดาลัย ได้พระราชทานพระราชด�ำรัสความตอนหนึ่งว่า "...ทุกคนขวัญเสีย ทุกคนอารมณ์ไม่ดี เรือ่ งการจราจร แต่กไ็ ด้พยายามทีจ่ ะให้ทกุ คนช่วยกันแก้ไข ดีใจทีเ่ ห็นคนเอะใจ ว่ามีทางช่วยกันแก้ได้ แล้วก็มีคนที่ช่วยกันไม่น้อย อย่างเช่นตอนแรก ที่ให้มีโครงการพระราชด�ำรินี้ ก็ท�ำ...” การแก้ปญ ั หาการจราจรในเมืองใหญ่ขนาดกรุงเทพมหานคร ซึง่ แออัดไปด้วยผูค้ นและพาหนะสัญจรอย่างมากมายนี้ ทรงเป็นห่วงเป็นอย่างยิ่ง โดยได้มีพระราชด�ำรัสอีกครั้งเมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๓๘ ว่า “...การจราจรคับคั่งนี้ เป็นปัญหาที่ยงุ่ ยาก และขอพูด คือประชาชนเดือดร้อน ประชาชนจะไปท�ำงาน ต้องเสียเวลา บนถนน ระหว่าง ๒-๑๐ ชั่วโมง ซึ่งท�ำให้ประสิทธิภาพของบุคคลด้อยลงไป...” และด้วยพระราชด�ำรัสนี้ จึงได้เกิดโครงการแก้ไขปัญหาการจราจรที่ยุ่งยากที่สุดของกรุงเทพฯ ที่ตามมาด้วยการ ก่อสร้างแก้ไขเส้นทางต่าง ๆ ตามมาอีกหลายโครงการ เช่น ขยายสะพานผา่ นฟ้าลีลาศ และสรา้ งสะพานคูข่ นานกับสะพาน มัฆวานรังสรรค์ และโครงการที่ช่วยลดความแออัดบริเวณถนนพระราม ๙ คือ ให้สร้างถนนพระราม ๙ ไปเชื่อมกับ ถนนเทียนรว่ มมิตรกับประชาอุทศิ และเชื่อมถนนพระราม ๙ กับถนนเพชรบุรตี ดั ใหมด่ ว้ ย ซึง่ เป็นจุดเริม่ ต้นของโครงการ แก้ไขปัญหาการจราจรในกรุงเทพมหานคร ซึ่งชาวกรุงได้รับพระมหากรุณาล้นพ้นที่ได้พระราชทานพระราชวินิจฉัยแนวทาง แก้ไขปัญหาที่ถูกต้องตรงจุดมาเป็นระยะ ๆ เสมอมาอย่างต่อเนื่อง

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 75


เมือ่ ครัง้ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงพระประชวรและประทับอยู่ ณ โรงพยาบาลศิรริ าช ได้เสด็จฯ ไป ทรงเยีย่ มพระอาการ และทอดพระเนตรเห็นความหนาแน่นของการจราจรบริเวณโรงพยาบาล จึงมีพระราชด�ำริให้สรา้ งถนน เลียบทางรถไฟสายใต้ (สายบางกอกนอ้ ย) จากปลายถนนอิสรภาพ ถึงถนนจรัญสนิทวงศ์ โดยปรับปรุงและขยายเส้นทาง เดินเท้า เลียบทางรถไฟเป็นถนนคอนกรีต ๒ ช่องจราจร เพื่อช่วยระบายการจราจรที่แออัด บริเวณถนนจรัญสนิทวงศ์ฯ ไปยังสามแยกไฟฉาย เข้าสู่ถนนพรานนกได้สะดวกขึ้น เป็นไปตามพระราชด�ำรัสที่ว่า “สร้างทางในทีท่ ไี่ มม่ ีทาง” อีกโครงการหนึ่งคือ การก่อสร้างที่เป็ นการปรับปรุงขยายผิวการจราจรถนนราชด�ำเนินกลาง ที่เรียกว่า “ถนนหยดน้�ำ” เนื่องจากทรงเล็งเห็นถึงปัญหาการจราจร บริเวณต้นถนนราชด�ำเนินกลาง หน้ากรมประชาสัมพันธ์เดิม ซึ่งคับคั่งด้วยรถจ�ำนวนมากจากฝั่งธนบุรีที่จะข้ามสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า และต้องมาหยุดรอสัญญาณไฟจราจร ที่เชิงลาดสะพานถึง ๔ จังหวะ และเมื่อสัญญาณไฟเขียว รถเหล่านั้นต้องแย่งทางและเบียดกันไปมา ผ่านไปได้ เพี ย งไม่ กี่ คั น ก็ ต ้ อ งหยุ ด อี ก ท� ำ ให้ มี ป ริ ม าณรถสะสม ทีเ่ ชิงลาดสะพานมากขึน้ เรือ่ ย ๆ จึงมีพระราชด�ำริให้ยกเลิก สัญญาณไฟจราจรแล้วจัดระเบียบเส้นทางจราจรเสียใหม่ พร้ อ มทั้ ง ได้ พ ระราชทานพระราชทรั พ ย์ ส ่ ว นพระองค์ จ�ำนวน ๕ ล้านบาท เพื่อเป็นทุนในการขยายผิวการจราจร ปรับปรุงพื้นที่หน้าตึกกรมประชาสัมพันธ์เดิมบางส่วน ให้ใช้เป็นผิวจราจรได้ โดยเพิม่ ช่องจราจรช่วงทางลงสะพาน สมเด็จพระปิ่นเกล้าให้เป็น ๔ ช่องจราจร และอีก ๑ ช่องทางซ้ายสุดให้สร้างเป็นทางวนกลับรถเข้าสูถ่ นนเจ้าฟ้า เพือ่ ให้ลอดใต้สะพานสมเด็จพระปิน่ เกล้าออกสูส่ นามหลวง ได้ส่งผลให้ในปัจจุบันการจราจรคล่องตัวขึ้นทันตาเห็น นอกจากนี้ ทรงเห็นว่าถนนบรมราชชนนีประสบกับปัญหาการจราจรคับคัง่ เมือ่ ต้องรองรับปริมาณรถจ�ำนวนมากจาก ถนนหลายสายในฝั่งธนบุรี ประกอบกับแนวสะพานข้ามแยกอรุณอมรินทร์ และแยกบรมราชชนนี ตัดกับถนนจรัญสนิทวงศ์ มีระยะทางใกล้กันมาก ท�ำให้การจราจรติดขัดอยู่เสมอ จึงได้มีพระราชด�ำรัสให้จัดท�ำโครงการถนนคูข่ นานลอยฟ้าถนน บรมราชชนนีขึ้น เป็นถนนขนาด ๔ ช่องจราจร ยกระดับคร่อมถนนบรมราชชนนี จากแยกสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า ถึงทางแยกต่างระดับฉิมพลี ระยะทาง ๔.๕ กิโลเมตร ด้วยพระมหากรุณาธิคณ ุ ในครัง้ นีส้ ง่ ผลให้วกิ ฤติจราจรในบริเวณดังกล่าว คลี่คลายลงได้เป็นอย่างมาก

76

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


สะพานพระราม ๘

“โครงการสะพานพระราม ๘” เป็นอีกโครงการหนึ่ง ซึ่งเป็นงานก่อสร้างสะพานข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา เพื่อช่วย แบ่งเบาปริมาณการจราจรของสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า เนื่องจากการจราจรบนทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนี แก้ปญ ั หาบริเวณเชิงสะพานสมเด็จพระปิน่ เกล้าทีเ่ ป็นคอขวด มีปญ ั หาการจราจรติดขัดตัง้ แต่ฝง่ั ธนบุรไี ปจนถึงถนนราชด�ำเนิน และบริเวณใจกลางเกาะรัตนโกสินทร์ จึงมีพระราชด�ำริให้สร้างขึ้นเพื่อคลี่คลายปัญหาจราจรบริเวณทางคู่ขนานลอยฟ้าถนน บรมราชชนนี และสะพานสมเด็จพระปิน่ เกล้า และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า สะพานพระราม ๘ มีขนาด ๔ ช่องจราจร “โครงการถนนจตุรทิศ” นี้ก็เกิดจากปัญหาการเดินทางระหว่างฝั่งตะวันตกกับฝั่งตะวันออกของกรุงเทพฯ ที่ต้อง ขับรถฝ่าเข้าไปในพื้นที่ ๑,๕๐๐ ตารางกิโลเมตร ใจกลางเมือง แม้แต่เดิมจะมีเส้นทางย่อยที่มีอยู่หลายสาย แต่ก็ไม่มีความ สะดวกและยังต้องใช้เวลาเดินทางนาน มีพระราชด�ำริในการพัฒนาโครงข่ายถนนจตุรทิศตะวันตก - ตะวันออก มีจุดเริ่มต้น จากทางคูข่ นานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนีขา้ มสะพานพระราม ๘ จากนัน้ จึงตรงเข้าสูถ่ นนจตุรทิศตะวันออกช่วง ก. ซึง่ เริม่ จาก ถนนราชด� ำ เนิ น นอก - แยกสวรรคโลก และถนนศรี อ ยุ ธ ยา เข้ า สู ่ ช ่ ว ง ข. ด้ ว ยการก่ อ สร้ า งสะพานข้ า มทางแยก ถนนศรีอยุธยา ตัดถนนราชปรารภ ต่อกับช่วง ค. คือถนนยกระดับเหนือบึงมักกะสัน ต่อเชื่อมถึงถนนประชาสงเคราะห์ และเข้าสู่ช่วง ง. คือ ถนนเลียบคลองบางกะปิ - ถนนพระรามที่ ๙ โดยการก่อสร้างถนนใต้ทางด่วนขั้นที่ ๒ รวมทั้ง สะพานลอยรถยนต์ข้ามถนนจากใต้ทางด่วนขั้นที่ ๒ ลงบนทางคู่ขนานพระรามที่ ๙ ซึ่งมีการปรับปรุงขยายผิวจราจรเดิม ซึง่ เมือ่ โครงข่ายถนนจตุรทิศตะวันตก - ตะวันออกเสร็จสมบูรณ์ ท�ำให้การเดินทางระหว่างทัง้ ๒ ฝัง่ โดยผ่านใจกลางเมืองท�ำได้ โดยสะดวกและใช้เวลาน้อยลง สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 77


“โครงการถนนวงแหวนอุตสาหกรรม” เกิดจากการทีพ่ นื้ ทีเ่ กษตรกรรมของจังหวัดสมุทรปราการในอดีตได้เปลีย่ น มาเป็นเขตอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศ ควบคู่ไปกับการเติบโตอย่างหนาแน่นของพื้นที่อยู่อาศัย ในขณะที่ โครงข่ายถนนเดิมไม่สามารถรองรับการล�ำเลียงขนถ่ายสินค้าและการเดินทางของประชาชนได้อย่างเพียงพอ จึงพระราชทาน พระราชด�ำริให้สร้างถนนวงแหวนอุตสาหกรรมขึน้ โดยเริม่ จากการปรับปรุงถนนหน้าการท่าเรือแห่งประเทศไทย ไปตามแนว ทางรถไฟสายเก่า ถึงบริเวณจุดตัดกับถนนปูเ่ จ้าสมิงพราย แล้วก่อสร้างสะพานข้ามแม่นำ�้ เจ้าพระยา ๒ ช่วง เพือ่ เชือ่ มโยงเข้ากับ ถนนพระราม ๓ และถนนสุขสวัสดิ์ และพระราชทานชื่อ ว่า “สะพานภูมิพล ๑ สะพานภูมิพล ๒” โครงการนี้นอกจาก เป็นเส้นทางเพื่อการล�ำเลียงขนถ่ายสินค้าแล้ว ยังช่วยแบ่งเบาปริมาณการจราจรที่เคยคับคั่งบนสะพานพระราม ๙ ได้อีกด้วย

นอกจาก การแก้ปัญหาการจราจรในกรุงเทพฯ และปริมณฑลแล้วยังพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ให้กรมต�ำรวจน�ำไปซื้อรถจักรยานยนต์เป็นหน่วยเคลื่อนที่เร็วท�ำหน้าที่สายตรวจจราจร ซื้อวิทยุสื่อสาร และเป็นค่า เบี้ยเลี้ยงต�ำรวจ รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่จำ� เป็น จนเกิดเป็นโครงการ “ต�ำรวจจราจรตามโครงการพระราชด�ำริ” ปฏิบัติภารกิจ เพือ่ สาธารณประโยชน์ดงั ทีป่ ระชาชนทัว่ ไปได้รบั ทราบว่าต�ำรวจจราจรตามโครงการพระราชด�ำรินไี้ ด้ชว่ ยเหลือผูใ้ ช้รถใช้ถนน โดยเฉพาะคนไข้วิกฤติหรือคนป่วยคลอดบุตร ก็ได้รับการบริการจากเจ้าหน้าที่ต�ำรวจจราจรโครงการตามพระราชด�ำรินี้ อย่างรวดเร็ว และสามารถช่วยเหลือประชาชนได้อย่างทันท่วงทีเสมอมา อนึ่ง นอกเหนือจากถนนต่าง ๆ ที่ได้กล่าวถึงแล้ว ยังได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์กว่า ๑๐ ล้านบาท เพื่อปรับปรุงขยายผิวจราจร สร้างทางเท้ารวมท่อระบายน�้ำบริเวณถนนราชด�ำเนินอีกด้วย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ อันใหญ่หลวง ที่ทรงมีต่อชาวกรุงเทพมหานครยิ่งนัก ที่ท�ำให้การจราจรได้คล่องตัวและคลี่คลายขึ้นเป็นอย่างมาก

78

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


เมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๒๓ เสด็จฯ ไปยังบริเวณที่เกิดน�้ำท่วมตามพื้นที่ต่าง ๆ อย่างไม่มีหมายก�ำหนดการและได้พระราชทานแนวพระราชด�ำริ การป้องกันและแก้ไขน�้ำท่วมกรุงเทพฯ และปริมณฑล

การแกป้ ั ญหาน้�ำทว่ ม น้�ำเนา่ เสียในกรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานครมีปญ ั หาหลัก ๆ อีกประการนอกเหนือจากปัญหาการจราจรแล้ว นัน่ ก็คอื ปัญหาน�ำ้ ท่วมกรุงเทพฯ และน�้ำเน่าเสีย ผู้เขียนเคยเป็นคนหนึ่งที่ร่วมอยู่ในขบวนเสด็จฯ ทรงคร�ำ่ เครียดต่อการแก้ปัญหาน�ำ้ ท่วมในกรุงเทพฯ เป็นอย่างมาก ในหลาย ๆ ครั้งด้วยกัน และบางครั้งก็เสด็จฯ ไปโดยไม่มีหมายก�ำหนดการ รถต่าง ๆ บนถนนที่ติดกันยาวเหยียด พระองค์ ท่านก็ทรงขับตามไปเรื่อย ๆ เจอไฟแดงก็หยุด พอไฟเขียวก็ไปเหมือนประชาชนทั่วไป โดยประชาชนไม่ค่อยรู้ว่าคนที่ขับรถ อยู่ด้วยในถนนนี้คือ “ในหลวง” ของเราก�ำลังจะเร่งไปแก้ปัญหาน�ำ้ ท่วมให้พวกเขานั่นเอง น�้ำจะไม่ไหลตรงไหน ไม่ระบายที่ใด ถ้าเรียกเป็นภาษาชาวบ้านก็คอื ทรงลงไป “ลุย” เองเลยแม้แต่ตน้ ไม้ตน้ เดียวทีล่ ม้ ขวางทางน�ำ้ อยู่ รับสัง่ ให้เอาต้นไม้นนั้ ออกไป เพื่อให้นำ�้ ไหลระบายออกได้ดีขึ้น ทั้ง ๆ ที่เรื่องแค่นี้เจ้าหน้าที่ในพื้นที่ก็น่าจะท�ำได้ ในประวัตินำ�้ ท่วมกรุงเทพฯ ที่ได้ค้นคว้ามาก็เห็นจะมีในปี ๒๔๘๕ ที่นำ�้ ท่วมกรุงเทพฯ หนักที่สุดและนานที่สุด คือ 3 เดือน จนผู้คนยังไปพายเรือเล่นรอบ ๆ พระบรมรูปทรงม้าได้เลย แต่สมัยนั้นบ้านเมืองยังไม่ค่อยมีความเจริญเติบโตในด้าน เศรษฐกิจมากนัก ความรุนแรงจึงไม่เสียหายเหมือนน�้ำท่วมหนักในปีต่อ ๆ มา สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

79


มีพระราชด�ำรัสอยูเ่ สมอว่า “กรุงเทพฯ ของเราอยูใ่ นทีล่ มุ่ ดังนัน้ โอกาสน�ำ้ ท่วมจึงมีมาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในฤดูฝน ที่มีพายุเข้ามา ประกอบกับน�ำ้ เหนือบ่าไหลลงมาสมทบ และน�้ำทะเลหนุนเข้ามาอีก การท�ำให้กรุงเทพฯ น�ำ้ ไม่ท่วมนั้นเป็นสิ่ง ที่ไม่ง่ายเลย” ถ้าหากจะนึกถึงนักปราชญ์เกีย่ วกับเรือ่ งการจัดการน�ำ้ แล้ว หลายคนจะต้องนึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นปราชญ์ที่แท้จริงในเรื่อง “น�ำ้ ” ซึ่งได้พระราชทานแนวพระราชด�ำริ หลักการ และ วิธีปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาไว้ตามเหตุการณ์และสภาพน�ำ้ ท่วมในแต่ละครั้ง เป็นระยะ ๆ ดังนี้

น�้ำท่วมกรุงเทพฯ เมื่อปี 2523

น้�ำทว่ มในกรุงเทพมหานคร

น้�ำทว่ มปี ๒๕๒๓ เกิดฝนตกชุกทั่วทุกภาคของประเทศ กรุงเทพมหานครประสบภาวะฝนตกหนักเป็นเวลาหลายวัน โดยเฉพาะ ในช่วงปลายเดือนกันยายน มีปริมาณน�ำ้ ฝนสูงถึง ๒๐๐ มิลลิเมตร ประกอบกับมีนำ�้ เหนือหลาก จึงท�ำให้เกิดน�ำ้ ท่วมขังในพืน้ ที่ เป็นเวลานาน จึงได้พระราชทานพระราชด�ำริเพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหา รวม ๕ ประการ ดังนี้

80

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


๑) ให้เร่งระบายน�้ำออกสู่ทะเลโดยผ่านแนวคลองทางฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานคร ๒) ก�ำหนดให้มีเขตพื้นที่สีเขียว (Green Belt) ซึ่งสามารถแปรสภาพเป็นทางระบายน�้ำได้ด้วยเมื่อมีน�้ำหลาก ๓) สร้างระบบป้องกันน�้ำท่วมในเขตชุมชนของกรุงเทพมหานคร ๔) สร้างสถานที่เก็บกักน�ำ้ ตามจุดต่าง ๆ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕) ขยายทางน�้ำ หรือเปิดทางน�้ำในจุดที่ผ่านทางหลวง หรือทางรถไฟในการด�ำเนินงานสนองพระราชด�ำริ ในการด�ำเนินงานทั้ง ๕ ประการข้างต้น ได้มีพระราชด�ำริให้พิจารณาในส่วนที่สามารถด�ำเนินการได้ก่อน และ ใช้งบประมาณน้อยที่สุด น้�ำทว่ มปี ๒๕๒๖ เกิดอุทกภัย สร้างความเสียหายในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (สถานการณ์ยังไม่รุนแรงเท่ากับปี ๒๕๓๘) จึงได้พระราชทานแนวพระราชด�ำริในการเร่งระบายน�้ำออกจากพื้นที่น�้ำท่วมขังลงสู่ทะเล เพื่อแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมขัง ๔ แนวทาง ดังนี้ ๑) เร่งด�ำเนินการก่อสร้างท�ำนบกั้นน�ำ้ ในคลองแสนแสบ บริเวณปากคลองบางกะปิ เพื่อให้สามารถเร่งระบายน�ำ้ จากพื้นที่น�้ำท่วมขังลงสู่คลองบางกะปิและคลองแสนแสบได้เต็มที่ ๒) เร่งระบายน�ำ้ ออกจากพืน้ ทีน่ ำ�้ ท่วมขังบริเวณฝัง่ ตะวันออกของกรุงเทพมหานคร โดยการปรับปรุงคลองธรรมชาติ ปรับปรุงท่อลอด-ทางระบายน�้ำ และติดตั้งเครื่องผลักดันน�้ำ เพื่อเร่งระบายน�้ำลงสู่ทะเล และเพื่อจะได้ไม่ไหลมาเสริมกับ น�ำ้ ท่วมขังอยู่ในพื้นที่ ๓) เร่งระบายน�้ำออกจากพื้นที่น�้ำท่วมขังบริเวณย่าน พระโขนง-บางนา โดยการขุดขยายคลองปรับปรุงท่อลอดถนน ติดตั้งเครื่องสูบน�้ำเพิ่มเติม พร้อมทั้งเสริมคันกั้นน�้ำป้องกันน�้ำท่วม ริมคลองพระโขนง ๔) เร่งระบายน�้ำออกจากพื้นที่น�้ำท่วมในเขตภาษีเจริญ เขตหนองแขม และเขตบางขุนเทียน โดยการปรับปรุงขุดขยาย คลองสายต่าง ๆ ติดตั้งเครื่องผลักดันน�้ำบริเวณท่อลอดถนน-ท่อ ลอดทางรถไฟ และที่ปลายคลองพระยาราชมนตรี

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

81


สถานีสูบน�้ำและคลองระบายน�้ำในพื้นที่ด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานคร

น้�ำทว่ มปี ๒๕๓๓ เมื่อวันพุธที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ หม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ องคมนตรี พลเอกเทียนชัย จั่นมุกดา รองสมุหราชองครักษ์ และผู้ที่เกี่ยวข้องรวมทั้งผู้เขียนด้วย เข้าเฝ้าฯ ณ อาคารชัยพัฒนา ในสวนจิตรลดา ได้พระราชทานพระราชด�ำริเกีย่ วกับการบรรเทาอุทกภัยพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานครด้านตะวันออกและปริมณฑล และการระบายน�ำ้ ออกจากพื้นที่ดังกล่าว โดยให้หน่วยราชการที่เกี่ยวข้องเร่งศึกษาวางโครงการในรายละเอียดและพิจารณา ด�ำเนินการโดยเร่งด่วนต่อไปตามความเหมาะสม มีรายละเอียดโดยสรุปดังนี้ ๑) ระบบการป้องกันอุทกภัยและการระบายน�ำ้ ส�ำหรับพืน้ ทีป่ ริมณฑล กรุงเทพมหานครด้านตะวันออก ควรด�ำเนินการ ในหลักการส�ำคัญดังนี้ - ก่อสร้างระบบระบายน�้ำในพื้นที่บริเวณเหนือคลองรังสิตลงสู่แม่น�้ำเจ้าพระยา - สร้างประตูบังคับน�้ำที่ต้นคลองส่งน�ำ้ ซึ่งขุดแยกจากคลองรังสิตมาลงคลองหกวาทุกสายตามความเหมาะสม - สร้างประตูระบายน�ำ้ ที่บริเวณชายทะเลและโรงสูบน�ำ้ ณ บริเวณต่าง ๆ เพิ่มเติม

82

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


- เพือ่ ให้นำ�้ ไหลลงสูพ่ นื้ ทีแ่ ถบชายทะเลได้สะดวก ควรวางแผนขุดลอกคลองต่าง ๆ ทุกสาย และขยายความกว้าง ของคลองเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งให้ครบถ้วนทุกคลอง และให้หน่วยราชการทีเ่ กีย่ วข้องร่วมกันขจัดสิง่ ทีก่ ดี ขวาง ทางน�ำ้ ไหล อาทิ ถนน ทางรถไฟ หรือแนวโครงการหมู่บ้านจัดสรร เป็นต้น ๒) ควรวางโครงการปรั บ ปรุ ง ถนนพร้ อ มกั บ สร้ า งอาคารบั ง คั บ น�้ ำ ที่ บ ริ เวณคลองต่ า ง ๆ ในพื้ น ที่ เขตมี น บุ รี เขตลาดกระบัง และอ�ำเภอบางพลี ๓) ควรศึกษาเรื่องทางระบายน�ำ้ ฉุกเฉินแบบ “Green Belt” ๔) ควรปรับปรุงพื้นที่ลุ่ม ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วไปขุดสระขนาดใหญ่สำ� หรับเก็บกักน�ำ้ ไว้ใช้ในฤดูแล้ง ๕) ประดิษฐ์เพิ่มและปรับปรุงเครื่องผลักดันน�ำ้ ให้มีประสิทธิภาพ ๖) ควรศึกษาและวางแผนก่อสร้างอ่างเก็บน�ำ้ ที่บริเวณดันน�ำ้ นครนายก ๗) ควรศึกษาและวางแผนก่อสร้างอ่างเก็บน�ำ้ ขนาดใหญ่ที่บริเวณต้นน�ำ้ ปราจีนบุรีและที่ลำ� น�ำ้ ขนาดใหญ่เหล่านั้น ๘) ควรทดสอบหาสาเหตุว่าพื้นที่บริเวณตัวจังหวัดสมุทรปราการที่ทรุดตัวลงไปเนื่องจากการขุดลอกสันดอนหรือ ขุดดินที่ก้นแม่นำ�้ เจ้าพระยาตรงปากแม่นำ�้ ให้ลึกเป็นประจ�ำหรือไม่ น้�ำทว่ มปี ๒๕๓๔ เมือ่ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๔ (วันพืชมงคล) ณ บริเวณสวนจิตรลดา ได้พระราชทานพระราชด�ำรัสแก่ รัฐมนตรีชว่ ย ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายโฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์) และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เกี่ยวกับงานด้านต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องน�ำไปพิจารณาด�ำเนินการตามความเหมาะสม มีประเด็นเกี่ยวข้องกับการป้องกัน และแก้ไขปัญหาน�้ำท่วม ซึ่งในด้านของการพัฒนาแหล่งน�้ำมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ๑) บริเวณจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้พระราชทานพระราชด�ำริว่า พื้นที่ลุ่มหลายแห่งมีน�้ำท่วมลึกถึง ๓ เมตร มีประโยชน์ในการช่วยรับน�้ำนองในฤดูน�้ำหลากมิให้ไหลบ่าเข้ามาท่วมในเขตชุมชนกรุงเทพมหานคร หรือพื้นที่ตอนล่าง ซึ่งพื้นที่บริเวณดังกล่าวเกษตรกรเพาะปลูกข้าวไม่ได้ผลดี สมควรหาทางใช้พื้นที่เหล่านี้เป็นที่เก็บน�้ำ และถ้าสามารถใช้พื้นที่ ขนาดใหญ่เก็บน�้ำไว้ได้ก็จะเกิดประโยชน์ได้หลายทาง คือ - เป็นที่เก็บกักน�ำ้ ในฤดูฝน ช่วยบรรเทาภาวะน�ำ้ ท่วมในที่ลุ่มทางตอนล่างได้ - อาจปรับปรุงเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ - มีประโยชน์ทางเศรษฐกิจ โดยน�ำ้ ที่เก็บไว้สามารถใช้ปลูกข้าวและพืชต่าง ๆ ในหน้าแล้ง หรือเลี้ยงสัตว์นำ�้

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 83


๒) การสร้างสนามบินหนองงูเห่ากับการระบายน�้ำจากที่ลุ่มบริเวณนั้นลงสู่อ่าวไทย เพื่อป้องกันมิให้มีผลกระทบ เกี่ยวกับการเกิดน�้ำท่วมต่อพื้นที่ด้านทิศตะวันออกตอนล่างของกรุงเทพมหานคร ได้พระราชทานพระราชด�ำริเกี่ยวกับการ สร้างสนามบินหนองงูเห่าในบริเวณพื้นที่ลุ่ม ซึ่งเป็นแนวทางระบายน�้ำลงสู่อ่าวไทยทางด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานคร จะมีผลกระทบต่อการระบายน�ำ้ ในเขตพืน้ ทีป่ ริมณฑลด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานคร ควรท�ำการศึกษาในเรือ่ งการรับน�ำ้ และการระบายน�ำ้ อย่างละเอียด โดยท�ำเป็นแผนแม่บทของโครงการเกีย่ วกับการระบายน�ำ้ ทัง้ หมด หน่วยราชการทีเ่ กีย่ วข้อง ได้แก่ กรมชลประทาน กระทรวงคมนาคม ควรศึกษาเรื่องนี้เพื่อด�ำเนินการต่อไปให้เหมาะสม น้�ำทว่ มปี ๒๕๓๗ เมือ่ วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๓๗ (วันพืชมงคล) ได้พระราชทานแนวพระราชด�ำริเกีย่ วกับงานด้านต่าง ๆ แก่รฐั มนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พร้อมด้วยคณะข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่มาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ในปะร�ำพิธีมีประเด็น อันเกี่ยวข้องกับแนวทางการแก้ไขปัญหาน�ำ้ ท่วม โดยสรุปดังนี้ เมือ่ คราวเกิดฝนตกหนักทีบ่ ริเวณกรุงเทพมหานคร วันที่ ๗ - ๘ พฤษภาคม ๒๕๓๗ เป็นเหตุให้นำ�้ ตามท่อและทางน�ำ้ ต่าง ๆ ระบายออกไม่ทัน คลองระบายน�้ำหลายคลองน�้ำไหลไปยังเครื่องสูบน�้ำไม่ทัน เช่น คลองบริเวณช่องนนทรี เป็นต้น ให้กรมชลประทานน�ำเครือ่ งผลักดันน�ำ้ ทีก่ รมชลประทานจัดท�ำไว้จำ� นวนหลายสิบเครือ่ ง ไปติดตัง้ ตามคลองต่าง ๆ โดยประสาน กับกรุงเทพมหานครโดยด่วน เพื่อผลักดันน�้ำให้ไหลเร็วขึ้น จะได้ดึงน�้ำที่ขังตามถนนและที่ลุ่มต่าง ๆ ให้ระบายหมดไปโดยเร็ว ส� ำ หรั บ การวางแผนรั บ มื อ น�้ ำ ท่ ว มขั ง ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตฤดู ฝ นปี นี้ กรมชลประทาน ควรวางแผนกั บ กรุงเทพมหานครเกีย่ วกับการติดตัง้ เครือ่ งผลักดันน�ำ้ ตามต�ำแหน่งทีเ่ หมาะสมให้พร้อมและจัดการซ่อมบ�ำรุงเครือ่ งผลักดันน�ำ้ ทั้งหมดให้พร้อมใช้งานได้ทันทีอย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะช่วยบรรเทาความเดือดร้อนเรื่องน�้ำท่วมบริเวณต่าง ๆ ได้ระดับหนึ่ง น้�ำทว่ มปี ๒๕๓๘ กรุงเทพมหานครและปริมณฑลเกิดปัญหาวิกฤติอุทกภัยอย่างหนัก เนื่องจากเป็นปีที่มีพายุดีเปรสชั่นจ� ำนวนมาก พัดเข้าสู่ประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๓๘ ได้พระราชทานแนวพระราชด�ำริ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร่งด่วน ดังต่อไปนี้ ๑) ให้เร่งระบายน�ำ้ จากทุ่งตะวันออก ออกทางบางปะกง หรือลงสู่ทะเลโดยตรง โดยวิธี ๑.๑ ขุดบ่อล่อน�้ำขนาดยักษ์ (sump) บริเวณโรงสูบน�้ำชายทะเล (คลองด่าน) เพื่อรับน�้ำจ�ำนวนมาก และเร่ง ระบายน�้ำออกสู่ทะเลให้เร็วที่สุด ด้วยการเสริมก�ำลังเครื่องสูบน�ำ้

84

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


๑.๒ ขยายคอสะพานให้กว้างขึ้น ปรับปรุงช่องทางระบายน�้ำที่มีถนนตัดผ่านให้สามารถระบายน�้ำได้ดีขึ้น และ ขุดลอกคลอง/ก�ำจัดเศษวัชพืชและเศษขยะที่ขวางทางน�้ำออกโดยเร่งด่วน ตลอดจนใช้เครื่องผลักดันน�้ำ ช่วยเร่งระบายน�ำ้ เป็นต้น ๒) เร่งระบายน�ำ้ ฝัง่ ตะวันตก ออกทางคลองซอยต่าง ๆ ลงสูแ่ ม่นำ�้ ท่าจีนและคลองสนามชัย เพือ่ ระบายต่อลงสูท่ ะเล ๓) การแก้ไขปัญหาวิกฤติบริเวณซอยเจริญนคร ๕๓ ซึง่ มีบา้ นเรือนหลายร้อยหลัง ให้ทำ� ทางเดินชัว่ คราวให้ประชาชน ใช้สัญจร และหลังน�ำ้ ลดให้ทำ� เขื่อนถาวร เมื่อเดือน พฤศจิกายน ๒๕๓๘ ได้ทรงศึกษาและพระราชทานแนวพระราชด�ำริ “แก้มลิง” เพื่อให้เป็นแนวทาง ส�ำหรับแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมเมื่อคราวเกิดวิกฤตการณ์น�้ำท่วมอย่างรุนแรงในพื้นที่ลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยาตอนล่างดังความ ตอนหนึ่งว่า “...ลิงโดยทั่วไป ถ้าเราส่งกล้วยให้ ลิงก็จะรีบปอกเปลือก แล้วเอาเข้าปากเคี้ยว ๆ แล้วเอาไปเก็บไว้ที่แก้ม ลิงจะกิน กล้วยเข้าไปไว้ที่กระพุ้งแก้มได้เกือบทั้งหวี โดยเอาไปเก็บไว้ที่แก้มก่อน แล้วจะน�ำออกมาเคี้ยวและกลืนกินเข้าไปภายหลัง ด้วยพฤติกรรมการน�ำกล้วยหรืออาหารมาสะสมไว้ที่กระพุ้งแก้มก่อนการกลืนกินนี้ จึงเป็นพฤติกรรมตัวอย่างที่จะน�ำมาใช้ ในการระบายน�ำ้ ท่วมออกจากพื้นที่นำ�้ ท่วมขังบริเวณด้านตะวันออกและตะวันตกของแม่น�้ำเจ้าพระยา...” โครงการแก้มลิง มีการด�ำเนินงานในลักษณะเป็นการระบายน�้ำออกจากพื้นที่ตอนบน โดยคลองในแนวเหนือใต้ ลงสูค่ ลองพักน�ำ้ ขนาดใหญ่ทอี่ ยูบ่ ริเวณชายทะเล เมือ่ ระดับน�้ำทะเลลดลงต�ำ่ กว่าระดับน�ำ้ ในคลองก็จะระบายน�้ำออกจากคลอง ดังกล่าวทางประตูระบายน�ำ้ โดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก และสูบน�ำ้ ออกเพื่อให้นำ�้ ในคลองพักน�ำ้ มีระดับต�ำ่ ซึ่งจะท�ำให้น�้ำ จากคลองตอนบนไหลลงสู่คลองพักน�ำ้ ได้ตลอดเวลา แต่เมื่อระดับน�ำ้ ทะเลสูงกว่า ระดับน�้ำในคลองก็จะปิดประตูระบายน�้ำ เพื่อไม่ให้น�้ำไหลย้อนกลับ ซึ่งลักษณะ การด�ำเนินงานโครงการแก้มลิงที่ส�ำคัญ ฝั่งตะวันออก ได้แก่ การขุดลอก-ขุด ขยายคลอง และช่องทางระบายน�้ำลงสู่ทะเล การปรับปรุงสถานีสูบน�้ำ ๔ แห่ง คือ คลองด่าน บางปลา บางปลาร้า และบางบ�ำหรุ พร้อมทั้งติดตั้งเครื่องสูบน�ำ้ เพิ่มเติมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเร่งระบายน�้ำและล่าสุด ซึ่งก�ำลังด�ำเนินการ ได้แก่ การก่อสร้างสถานีสูบน�้ำและประตูระบายน�้ำคลองบางปลา ฝั่งตะวันตก ได้แก่ โครงการแก้มลิงแม่น�้ำท่าจีนตอนล่าง และโครงการแก้มลิงสนับสนุนอีก ๒ โครงการ ได้แก่ โครงการแก้มลิงคลองมหาชัย-คลองสนามชัย และโครงการ แก้มลิงคลองสุนัขหอน ซึ่งองค์ประกอบส�ำคัญของโครงการจะเป็นการก่อสร้าง สถานีสูบน�ำ้ และประตูระบายน�้ำลงสู่ทะเลฝั่งตะวันตก

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 85


เสด็จฯ ลง ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พร้อมพระบรมวงศานุวงศ์ พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้คณะองคมนตรี คณะรัฐมนตรี ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่และคณะบุคคลต่างๆ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๘ ในการนี้ทรงบรรยายเกี่ยวกับการบริหารจัดการน�้ำ ตั้งแต่ตอนเหนือของประเทศไทยลงมาถึง โครงการแก้มลิงอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ กรุงเทพมหานคร สารบัญ


น้�ำทว่ มปี ๒๕๔๑ เมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๑ พระราชทานพระราชด�ำริ แก่ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ดังนี้ ๑) ป้องกันมิให้นำ�้ ไหลลงมาตามคลองแสนแสบมากเกินไป ท�ำทางน�ำ้ ลงไปชายทะเลและป้องกันมิให้นำ�้ ลงมาทีเ่ ขือ่ น มากเกินไป ๒) จากคลองส�ำโรงถึงคลองประเวศฯ นี้ลงไม่ดี ด้วยเหตุว่า คลองนี้ขุดไม่ได้เพราะจะท�ำให้ขอบของคลองถล่ม ลงมา เพราะฉะนั้นต้องหาวิธีอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่จะให้สายน�้ำนี้ระบายไป โดยที่อาจจะท�ำเป็นสถานีสูบที่นี่ ที่คลองส�ำโรงให้ ลงทะเลโดยตรง ๓) การก่อสร้างท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จะต้องสร้างเขื่อนโดยการถมคลองจ�ำนวน ๓ คลอง (คลองหนองปรือ คลองหนองคา และคลองหนองตะกร้า) ท�ำให้ทางระบายน�ำ้ ถูกปิดกั้น ๔) ถ้าปล่อยตามธรรมชาติ น�ำ้ จะลงทางตะวันตกเฉียงใต้ น�้ำจากคลองรังสิตจะลงมาทางตะวันตกทัง้ หมดท�ำให้เกิด น�ำ้ ท่วมที่กรุงเทพฯ ต้องไม่ยอมให้ลง ต้องกั้นเอาไว้และผันไปลงทะเลตรงคลองพระองค์ไชยานุชิต น้�ำทว่ มปี ๒๕๔๒ เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๔๒ พระราชทานแนวพระราชด�ำริแก่ เลขาธิการ กปร. อธิบดีกรมชลประทาน และ ผู้เกี่ยวข้อง โดยมีแนวพระราชด�ำริการบริหารจัดการน�้ำด้านฝั่งตะวันออกของแม่น�้ำเจ้าพระยา ดังต่อไปนี้ ให้คำ� นึงถึงความสัมพันธ์จากน�ำ้ ๒ ทาง คือ น�ำ้ เหนือจากเขือ่ นเจ้าพระยา ทีจ่ งั หวัดชัยนาท กับระดับน�ำ้ ทะเลทีห่ นุนสูง ซึ่งมักจะมาปะทะกันที่บริเวณตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ให้ค�ำนวณถึงความสัมพันธ์และสอดคล้องของปัจจัย ๒ ด้าน คือ ๑) การค�ำนวณระยะเวลาการเดินทางของน�้ำจากเขื่อนเจ้าพระยา ที่จะลงมาก่อนถึงตอนเหนือของกรุงเทพฯ เพื่อน�ำมาใช้ควบคุมการปล่อยน�้ำของเขื่อนฯ ให้สามารถหลีกเลี่ยงการปะทะกันของน�้ำ โดยพยายามผันน�้ำเหนือไปลงทาง แก้มลิงฝั่งตะวันออก ๒) การพิจารณาวัน-เวลา และปริมาณการขึ้น-ลง ของระดับน�้ำทะเล เพื่อสามารถปิดกั้นน�้ำทะเลที่หนุนสูง มิให้ มาสมทบกับน�ำ้ จากทางเหนือได้เช่นเดียวกัน ทัง้ นี้ เพือ่ ไม่ให้นำ�้ มารวมกันท�ำให้ปริมาณน�ำ้ มีระดับสูง จนกระทัง่ ท่วมพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร โดยให้พจิ ารณาระบาย น�ำ้ ออกทางด้านข้าง เช่น ฝั่งตะวันออกให้ระบายน�ำ้ ลงทะเลโดยผ่านทางคลองระพีพัฒน์ ปล่อยตรงไปทางคลอง ๑๔ ลงคลอง แสนแสบแล้วระบายออกไปทางแม่นำ�้ บางปะกง และคลองพระองค์ไชยานุชติ ไม่ให้ระบายผ่านเข้าพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ ผ่านไปทาง คลองประเวศบุรีรมย์ เทลงทางพระโขนงและแม่นำ�้ เจ้าพระยา ซึ่งจะเป็นผลให้เกิดน�้ำท่วมได้

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 87


เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จ พระราชด�ำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ได้พระราชทานพระราชด�ำริ แก่ นายเชาวน์ ณ ศีลวันต์ องคมนตรี ว่าควรจะมีโครงการศึกษาพฤติกรรมการไหลของน�ำ้ ในแม่นำ�้ เจ้าพระยา ในช่วงทีอ่ ยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลของน�ำ้ ทะเลหนุน เพือ่ ควบคุม ปริมาณน�ำ้ เหนือหลากให้สอดคล้องกับสภาพน�ำ้ ทะเลหนุน เพือ่ หลีกเลีย่ งสภาวะน�ำ้ ท่วมในฤดูฝนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยครอบคลุมตั้งแต่บริเวณปากน�ำ้ จังหวัดสมุทรปราการขึ้นไปทางเหนือจรดเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ ได้มีพระราชด�ำริเกี่ยวกับประโยชน์ของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ที่ได้ช่วยป้องกันน�้ำท่วม ในปี ๒๕๔๒ ที่ผ่านมา โดยสามารถเก็บกักน�ำ้ ไว้ได้ถึง ๘๐๐ ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่อมิให้ไหลลงมาสมทบกับแม่น�้ำเจ้าพระยา ในกรุงเทพฯ ดังความตอนหนึ่งที่ว่า “...น�้ำเกินท�ำให้มีความเสียหาย เสียหายทั้งทางการเกษตร ถ้าพื้นที่ที่เพาะปลูก ถูกน�้ำท่วม มันก็เน่า และเมื่อ เน่าแล้วเกษตรกรก็ไม่มีรายได้ ต้องช่วยเขา... เสียหายมากในด้านอื่น ในกรุงในเมืองก็มีนำ�้ มากเข้าท่วมถนนการจราจรติดขัด ธุรกิจต่าง ๆ หยุดชะงักเสียหาย อันความเสียหายเหล่านี้ที่เคยค�ำนวณดูก็หมื่นล้าน...” “...ถ้านับดูปนี นี้ า่ จะมีความเสียหายหมืน่ ล้าน ไม่ตอ้ งเสีย และทีไ่ ม่ตอ้ งเสียนี้ ก็ทำ� ให้เกิดมีผลผลิต โดยเฉพาะเกษตรกร เขาก็มผี ลผลิตได้ แม้จะปีนี้ ซึง่ เขือ่ นยังไม่ได้ทำ� งาน ไม่ได้ทำ� งานในด้านกิจการในด้านชลประทาน ก็ทำ� ให้ปอ้ งกันไม่ให้มนี ำ�้ ท่วม ท�ำให้เกษตรกรเพาะปลูกได้ ก็เป็นเงินหลายพันล้านบาท ฉะนั้นในปีเดียวเขื่อนป่าสักนี้ได้คุ้มแล้ว...”

88

เขื่อนป่าสักชลสิทธื์ ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


น้�ำทว่ มปี ๒๕๔๕ เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๕ เสด็จฯ ไปยังบริเวณพิธีเปิดสะพานพระราม ๘ กรุงเทพมหานคร ได้พระราชทาน แนวพระราชด�ำริแก่ นายอ�ำพล เสนาณรงค์ องคมนตรี และข้าราชการทีเ่ ข้าเฝ้าฯ สรุปได้ดังนี้ ๑) ให้ พิ จ ารณาลดปริ ม าณการปล่ อ ยน�้ ำ ของเขื่ อ นป่ า สั ก ชลสิ ท ธิ์ เพื่อความสบายใจของราษฎรบริเวณใต้เขื่อน อีกทั้งปริมาณน�้ำในเขื่อน เริ่มมี น้อยลงแล้ว ๒) ทรงพิจารณาการใช้ประโยชน์ของคลองลัดโพธิ์ จังหวัดสมุทรปราการ เมือ่ ประตูระบายน�้ำทีค่ ลองลัดโพธิเ์ สร็จจะเป็นทางลัดระบายน�้ำเหนือ ซึง่ จะท�ำให้ ช่วยระบายน�ำ้ ได้เร็ว เพราะมีระยะทางสัน้ เพียง ๖๐๐ เมตร ก็ออกทะเล ๓) ส่วนคลองด่าน ให้เร่งส�ำรวจโรงงานที่ปิดกั้นขวางทางไหลของน�ำ้ และให้พิจารณาหาแนวทางแก้ไขอย่างเร่งด่วน หลัก/แนวทางการด�ำเนินการป้องกันและแก้ไขปั ญหาน้�ำท่วมตามแนวพระราชด�ำริ (โดยเน้นพื้นที่ฝั่ง ตะวันออกของแมน้่ �ำเจ้าพระยา)

๑) เก็บน้�ำไวต้ อนบน หลักการ : เขือ่ นและอ่างเก็บน�ำ้ ขนาดใหญ่ในพืน้ ทีร่ บั น�ำ้ ตอนบนของลุม่ น�ำ้ เจ้าพระยาจะท�ำหน้าทีเ่ ก็บกักน�ำ้ ฝนที่ ตกบริเวณเหนือเขื่อนขึ้นไป อันเป็นการช่วยลดปริมาณน�ำ้ เหนือที่จะหลากลงท่วมพื้นที่ตอนล่าง อาทิ เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ และเขือ่ นป่าสักชลสิทธิ์ ทีไ่ ด้ชว่ ยเก็บกักน�ำ้ ปริมาณมหาศาล มิให้ลงมาเติมพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในช่วงวิกฤต ๒) แกม้ ลิง

“...น�้ำท่วมลงมา ถ้าไม่ทำ� โครงการแก้มลิง น�้ำท่วมนี้จะเปรอะไปหมด อย่างที่เปรอะปีนี้ เปรอะไปทั่วภาคกลาง จะต้องท�ำ แก้มลิง เพื่อที่จะเอาน�้ำนี้ไปเก็บไว้ เวลาน�้ำทะเลขึ้น ไม่สามารถที่จะระบายออก เมื่อไม่สามารถระบายออก น�ำ้ ทะเลก็ขนึ้ มา ดันขึน้ ไปตามแม่นำ�้ ขึน้ ไปเกือบถึงอยุธยา ท�ำให้นำ�้ ลดลงไปไม่ได้เวลาน�ำ้ ทะเลลง น�ำ้ ทีเ่ อ่อขึน้ มานัน้ ก็ไม่สามารถ ที่จะกลับเข้าในแม่น�้ำเจ้าพระยาก็ท่วมต่อไป จึงต้องมีแก้มลิง เราพยายามที่จะเอาน�้ำออกเมื่อมีโอกาส...” พระราชด�ำรัส เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

89


หลักการ : พื้นที่ท้ายน�้ำตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาลงไป เป็น บริเวณที่ได้รับอิทธิพลจาก “น�ำ้ ทะเลหนุน” อีกทั้ง ความลาดแบนของพื้นที่ทำ� ให้ ระบายน�้ำได้ไม่ดีนัก ดังนั้น จึงเป็นการยากที่จะมิให้เกิดน�้ำท่วม โดยหากในปีนั้น เป็นปีทมี่ ี “น�ำ้ เหนือ” มาก หรือเกิด “ฝน” ตกหนักติดต่อกันในพืน้ ทีด่ า้ นท้าย ช่วงเดือน พฤศจิกายน (เป็นช่วงที่มีระดับน�้ำทะเลหนุนสูงสุดของปี) น�ำ้ ทั้ง ๓ จะมาปะทะกัน ท�ำให้นำ�้ เอ่อท้นท่วมขัง เป็นบริเวณกว้าง ไม่สามารถระบายออกสู่ทะเลได้ ดังนั้น เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนจากน�้ำที่เอ่อท้นท่วมขัง จึงจ�ำเป็น ต้องหาวิธใี ห้นำ�้ ทีล่ งมาจากทางเหนือออกสูท่ ะเลให้ได้ โดยจัดท�ำ “โครงการแก้มลิง” ที่มีลักษณะดังนี้ - จัดหาคลองพักน�้ำขนาดใหญ่ที่อยู่บริเวณชายทะเล (หรือพื้นที่เก็บน�้ำขนาดใหญ่ที่อยู่ในพื้นที่ท้ายน�้ำ) ซึ่งมีประตู ปิด-เปิด ควบคุมการพักน�ำ้ จ�ำนวนมากที่หลากมาช่วงวิกฤต - รักษาระดับน�้ำในคลองพักน�ำ้ ให้ตำ�่ เพื่อสามารถรับน�ำ้ จากพื้นที่ตอนบนได้ตลอดเวลา และเปิดประตูระบายน�ำ้ ออกหรือสูบออกเมื่อระดับน�ำ้ ทะเลต�่ำกว่าระดับน�ำ้ ในคลองพักน�ำ้ - ปิดประตูระบาย เมื่อระดับน�้ำทะเลสูงกว่าระดับน�ำ้ ในคลองพักน�ำ้ เพื่อป้องกันมิให้น�้ำไหลย้อนกลับ โครงการแกม้ ลิง ประกอบด้วยโครงการใน ๓ ลักษณะ ดังต่อไปนี้

- แกม้ ลิงพื้นทีท่ งุ่ ตอนบน : การพิจารณาใช้พื้นที่ทุ่งการเกษตร (โดยมากเป็นพื้นที่นาข้าว) ตอนบนริมฝั่งแม่นำ�้ เจ้าพระยาตัง้ แต่จงั หวัดพระนครศรีอยุธยาขึน้ ไปเป็นพืน้ ทีร่ บั น�ำ้ หลากชัว่ คราว หรือการจัดท�ำแหล่งเก็บกักน�ำ้ อาทิ สระเก็บน�ำ้ บริเวณพระราชานุสาวรียส์ มเด็จพระศรีสรุ โิ ยทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และสระเก็บน�ำ้ พระราม ๙ จังหวัดปทุมธานี เป็นต้น - แกม้ ลิงตามธรรมชาติ : เพิ่มศักยภาพการเก็บกักของหนอง คลอง บึง ที่มีอยู่เดิมตามธรรมชาติ - แกม้ ลิงชายทะเล : ทางด้านฝัง่ ตะวันออกของแม่นำ�้ เจ้าพระยาได้ปรับปรุง “คลองชายทะเล” ซึง่ เป็นแนวคันคลอง ที่เลียบ คันกั้นน�้ำทะเล (ถนนสุขุมวิทสายเดิม) ให้เป็นคลองพักน�้ำ เพื่อท�ำหน้าที่รองรับน�้ำที่ลงมาจากพื้นที่ตอนบน โดยอาศัยคลองในแนวเหนือ-ใต้ (มีคลองสายหลักคือ คลอง ๑๓ คลอง ๑๔ คลองพระองค์เจ้าไชยานุชิต คลองบางโฉลง และ คลองบางปลา เป็นต้น) และประกอบด้วยประตูระบายน�ำ้ ทีส่ ามารถเร่งสูบน�ำ้ ออกทะเลได้โดยตรงจ�ำนวน ๙ แห่ง ฝัง่ ตะวันตก ได้ดำ� เนินการจัดท�ำโครงการแก้มลิงคลองมหาชัย-สนามชัย

90

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


๓) การบริหารจัดการน้�ำหลากบริเวณลุม่ น้�ำเจ้าพระยาตอนลา่ ง

- ลดภาระการระบายของแม่น�้ำเจ้าพระยาในช่วงฤดูนำ�้ หลาก

๑. ให้ระบายน�ำ้ ออกทางด้านข้าง เพื่อลดภาระการระบายน�ำ้ ของแม่นำ�้ เจ้าพระยา ๒. หลีกเลี่ยงการระบายน�้ำผ่านพื้นที่กรุงเทพมหานครชั้นใน เพราะจะท�ำให้เกิดความเสียหายที่รุนแรง และยากต่อการระบายออก ๓. เพิ่มประสิทธิภาพการระบาย เพื่อเร่งระบายน�ำ้ ออกจากพื้นที่ท่วมขังให้ลงสู่ทะเลได้โดยเร็วที่สุด

- การค�ำนวณความสัมพันธ์ของ “น�ำ้ ” และ “เวลา”

ให้ค�ำนวณหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน�้ำและระยะเวลาในการเคลื่อนที่ของน�้ำ รวมถึงช่วงเวลา การขึ้น - ลงของน�้ำทะเล เพื่อสามารถน�ำมาบริหารจัดการปริมาณน�้ำที่ไหลผ่านเขื่อนชัยนาทและเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ให้ สอดคล้องกับปริมาณน�ำ้ หนุนบริเวณปากแม่น�้ำเจ้าพระยา เพื่อหลีกเลี่ยงสภาวะน�้ำท่วมขังในช่วงวิกฤติ การแกไ้ ขปั ญหาน้�ำเสียในกรุงเทพมหานคร ระบบบ�ำบัดน้�ำเสียดว้ ยวิธีการเติมอากาศ

เครื่องกลเติมอากาศของมูลนิธิชัยพัฒนาที่ทรงคิดค้นและให้ท�ำขึ้นมาทั้งหมดมีหลายแบบ ซึ่งเป็นเครื่องที่ช่วยเติม อากาศให้กับน�ำ้ เสีย ซึ่งมีรูปแบบต่าง ๆ ๙ แบบคือ ๑. เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน�้ำหมุนช้าแบบ “ทุ่นลอย” หรือ “กังหันน�้ำชัยพัฒนา” เป็นแบบทุ่นลอยมีซองวิดน�้ำ และใบพัดขับเคลื่อนน�้ำหมุนรอบเป็นวงกลม ส�ำหรับขับเคลื่อนน�้ำ และวิดน�้ำขึ้นไป สาดกระจายเป็นฝอยเพือ่ ให้สมั ผัสกับอากาศได้อย่างทัว่ ถึง เป็นผลให้ออกซิเจนในอากาศสามารถละลายผสมกับน�ำ้ ได้เร็ว และ ในช่วงทีน่ ำ�้ เสียถูกยกขึน้ มากระจายสัมผัสกับอากาศตกลงไปยังผิวน�ำ้ จะท�ำให้เกิดฟองอากาศจมตามลงไป ก่อให้เกิดการถ่ายเท ออกซิเจนอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งกังหันน�้ำชัยพัฒนาจะใช้ประโยชน์ได้ทั้งการเติมอากาศ การกวนแบบผสมผสาน และการท�ำให้เกิด การไหลตามทิศทางที่ก�ำหนดจากการทดสอบประสิทธิภาพปรากฏว่าสามารถถ่ายเทออกซิเจนได้เท่ากับ ๐.๙ กิโลกรัม ของออกซิเจนต่อแรงม้าต่อชั่วโมง ทั้งนี้ได้มีการน�ำไปใช้ทดลองที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า วัดบวรนิเวศวิหาร รวมทั้งได้ทำ� การติดตั้งในระบบบ�ำบัดอีกหลายพื้นที่ เช่น วัดเทพศิรินทราวาส หนองสนม จังหวัดสกลนคร และบริเวณสระแก้ว เทศบาล เมืองลพบุรี เป็นต้น

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

91


๒. เครื่องกลเติมอากาศระบบเป่าอากาศลงไปใต้น�้ำและกระจายฟอง เป็นเครือ่ งกลเติมอากาศระบบเป่าอากาศลงไปใต้นำ�้ และกระจายฟองทีอ่ อกแบบแผงท่อเติมอากาศให้กบั น�ำ้ เสีย ใช้วธิ อี ดั อากาศเข้าไปทีท่ อ่ น�ำอากาศแล้วแบ่งแยกออกไปกระจายตามท่อกระจายซึง่ เจาะรูเล็ก ๆ ไว้ รูทเี่ จาะไว้จะปล่อยอากาศ ออกมาเติมให้กบั น�ำ้ เสีย ในขณะเดียวกันก็จะท�ำให้นำ�้ เสียเกิดการปัน่ ป่วนและการเติมอากาศจะดีขนึ้ แต่ขณะนีไ้ ด้เลิกใช้แบบ นี้แล้ว เนื่องจากประสิทธิภาพต�่ำและมีปัญหาการอุดตันของท่อกระจายฟองอากาศ

๓. เครื่องกลเติมอากาศระบบเป่าอากาศหมุนใต้น�้ำ หรือ “ชัยพัฒนาซุปเปอร์ฟองแอร์” เป็นแบบทุน่ ลอยใช้วธิ อี ดั อากาศลงไปแล้วแยกกระจายเป็น ๘ ท่อ ตามแนวนอน ท่อกระจายฟองอากาศนีจ้ ะหมุน เคลื่อนที่ได้โดยรวม ท�ำให้การเติมอากาศเป็นไปอย่างทั่วถึง จากการทดลองแล้วพบว่า ประสิทธิภาพการถ่ายเทออกซิเจนได้ เท่ากับ ๐.๗๕ กิโลกรัมของออกซิเจนต่อแรงม้าต่อชั่วโมง ๔. เครื่องกลเติมอากาศแรงดันน�้ำ หรือ “ชัยพัฒนาเวนจูรี่” เป็นเครือ่ งทีใ่ ช้ปม๊ั แบบจุม่ หรือเรียกว่าไดโวร์เป็นตัวขับเคลือ่ นน�ำ้ ให้ออกไปตามท่อจ่าย โดยทีป่ ลายท่อจะท�ำเป็น คอคอด เพือ่ ดูดอากาศจากข้างบนผสมกับน�ำ้ ทีอ่ ดั ลงด้านล่างเครือ่ ง น�ำ้ ทีไ่ ด้มกี ารทดสอบประสิทธิภาพในการถ่ายเทออกซิเจน แล้วได้เท่ากับ ๐.๕๕ กิโลกรัมของออกซิเจนต่อแรงม้าต่อชั่วโมง

92

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


๕. เครื่องกลเติมอากาศระบบอัดและดูดอากาศลงใต้น�้ำ หรือ “ชัยพัฒนาแอร์เจท” โดยใช้ใบพัดหมุนอยู่ใต้น�้ำส�ำหรับขับเคลื่อนน�้ำ ให้เกิดการปั่นป่วนและมีความเร็วสูง สามารถดึงอากาศจาก ภายนอกให้ลงไปสัมผัสกับน�้ำด้านล่างได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้มกี ารติดตัง้ ใช้ทวี่ ดั ประยุรวงศาวาสวรวิหาร สถานสงเคราะห์ คนชราบ้านบางแค เป็นต้น ๖. เครื่องกลเติมอากาศแบบตีน�้ำสัมผัสอากาศ หรือ “เครื่องตีน�้ำชัยพัฒนา” มักกะสัน

ใช้ใบพัดตีนำ�้ ให้กระจายเป็นฝอย เพือ่ ให้นำ�้ สัมผัสกับอากาศด้านบน เครือ่ งชนิดนีไ้ ด้มกี ารติดตัง้ ใช้อยูท่ บี่ ริเวณบึง ๗. เครื่องกลเติมอากาศแบบดูดและอัดน�้ำลงไปที่ใต้ผิวน�้ำ หรือ “ชัยพัฒนาไฮโดรแอร์”

เป็นเครื่องกลเติมอากาศแบบดูดและอัดน�ำ้ ลงไปที่ใต้ผิวน�้ำ โดยใช้ปั๊มดูดน�้ำจากใต้น�้ำขึ้นมาสัมผัสกับอากาศแล้ว ขับดันน�ำ้ ดังกล่าวลงสู่ใต้นำ�้ อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งจะท�ำให้น�้ำด้านล่างเกิดการปั่นป่วน ๘. เครื่องมือจับเกาะจุลินทรีย์ หรือ “ชัยพัฒนาไบโอ” เป็นเครื่องที่ใช้ร่วมในกระบวนการบ�ำบัดน�้ำเสียโดยใช้เส้นเชือกเป็นวัสดุตัวกลาง ส�ำหรับให้จุลินทรีย์ใช้เป็น ที่อยู่อาศัย ๙. เครื่องกลเติมอากาศแบบกระจายน�้ำสัมผัสอากาศ หรือ “น�้ำพุชัยพัฒนา” เป็นเครือ่ งทีต่ ดิ ตัง้ มอเตอร์ไว้ดา้ นบนแล้วต่อเพลาขับเคลือ่ น เพือ่ ไปหมุนปัม๊ น�้ำทีอ่ ยูใ่ ต้น�้ำ เมือ่ เครือ่ งท�ำงานปัม๊ จะ ดูดน�้ำแล้วอัดเข้าเส้นท่อส่งไปยังหัวกระจายน�้ำ ซึ่งมีลักษณะเป็นวงกลมเจาะรูไว้โดยรอบ โดยแรงดันของน�ำ้ ที่สูงนี้เองที่ทำ� ให้ น�ำ้ สกปรกพุ่งออกผ่านรูเจาะด้วยความเร็วสูงขึ้นไป สาดกระจายสัมผัสกับอากาศด้านบนได้เป็นอย่างดี

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

93


การแกไ้ ขปั ญหาน้�ำเสียดว้ ยวิธีการใช้ “น้�ำดีไลน้่ �ำเสีย”

พระราชทานแนวพระราชด�ำริ ดังนี้ “...น�้ำนี้จะต้องใช้ให้ดี คือน�้ำมันมีคุณอย่างที่เราใช้นำ�้ ส�ำหรับบริโภค น�้ำส�ำหรับการเกษตร น�้ำส�ำหรับอุตสาหกรรม ทั้งหมดนี้ต้องใช้นำ�้ ที่ดี หมายความว่า สะอาด...” ซึ่งพระองค์ท่านทรงมีวิธีการที่จะบ�ำบัดน�้ำเน่าเสียให้เป็นน�้ำที่สะอาดพอที่จะใช้ได้ตามความเหมาะสม “...การจัดระบบควบคุมระดับน�ำ้ ในคลองสายต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การจัดระบบระบายน�ำ้ ในกรุงเทพมหานคร นัน้ สมควรวางระบบให้ถกู ต้องตามสภาพการณ์และลักษณะภูมปิ ระเทศ ซึง่ ควรแบ่งออกเป็น ๒ แผนด้วยกัน คือ แผนส�ำหรับ ใช้กบั ในฤดูฝนหรือในฤดูนำ�้ มากนี้ ก็เพือ่ ประโยชน์ในการป้องกันน�ำ้ ท่วมและเพือ่ บรรเทาอุทกภัยเป็นส�ำคัญ แต่แผนการระบาย 94

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


น�ำ้ ในฤดูแล้งนั้น ก็ต้องจัดอีกแบบหนึ่งต่างกันไป เพื่อการก�ำจัดหรือไล่น�้ำเน่าเสียออกจากคลองดังกล่าวเป็นหลัก ซึ่งทั้งสอง ระบบนี้ควรจะพิจารณาถึงวิธีการระบายน�้ำ โดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกให้มากที่สุด ทั้งนี้เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการ ควบคุมระดับน�ำ้ ตามล�ำคลองเหล่านี้...” จากแนวพระราชด� ำ ริ ดั ง กล่ า ว จึ ง บั ง เกิ ด กรรมวิ ธี ใ นการบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย ๒ ประการ ตามแนวพระราชด� ำ ริ “น�ำ้ ดีไล่นำ�้ เสีย” คือ วิธีทหี่ นึ่ง ให้เปิดประตูอาคารควบคุมน�้ำ รับน�้ำจากแม่น�้ำเจ้าพระยาในช่วงจังหวะน�้ำขึ้น และระบายออกสู่แม่นำ�้ เจ้าพระยาตอนระยะน�้ำลง ซึ่งมีผลท�ำให้น�้ำตามล�ำคลองมีโอกาสไหลถ่ายเทกันไปมามากขึ้นกว่าเดิม เกิดมีการหมุนเวียนของ น�ำ้ ที่มีสภาพเน่าเสีย กลิ่นเหม็น กลายเป็นน�ำ้ ที่มีคุณภาพดีขึ้น เช่น

สระน�้ำพระรามเก้าอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี พื้นที่โครงการ ๓,๐๓๒ ไร่ พืน้ ทีส่ ระน�ำ้ (ผิวน�ำ้ ) ๒,๕๘๐ ไร่ กักเก็บน�ำ้ ได้ประมาณ ๓๖ ล้านลูกบาศก์เมตร ก็เป็นสระทีท่ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขดุ ขึน้ มีพื้นที่รับน�ำ้ จ�ำนวน ๒,๕๘๐ ไร่ น�ำ้ ในสระพระราม ๙ นี้ นอกจากจะเป็น “แก้มลิง” แล้วยังจะช่วยชาวนาในหน้าแล้งได้เป็น บางส่วนของอ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี แล้วก็ยังสามารถน�ำน�ำ้ ที่สระพระราม ๙ นี้ ปล่อยลงมาล้างกรุงเทพฯ ตามคลอง ต่าง ๆ ในลักษณะน�้ำดีไล่นำ�้ เสียโดยใช้แรงโน้มถ่วงของโลกเช่นกัน ซึ่งทรงเรียกว่า “ระบบชักโครก” โดยสามารถส่งน�้ำเข้าไป ในคลองต่าง ๆ เช่น คลองบางเขน คลองบางซื่อ คลองแสนแสบ คลองเทเวศร์ คลองบางล�ำพู เป็นต้น โดยกระแสน�ำ้ จะไหล แผ่กระจายไปตามคลองที่เชื่อมกับแม่น�้ำเจ้าพระยาอีกด้านหนึ่ง แต่จะต้องมีระบบการจัดการ เปิด - ปิดประตูระบายน�้ำที่ดี ให้เหมาะสมกับเวลาที่น�้ำในแม่น�้ำเจ้าพระยาขึ้น-ลงด้วย ก็จะช่วยเจือจางน�้ำเน่าเสียได้มากโดยเฉพาะในฤดูแล้ง วิธีทสี่ อง เมื่อวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๓๑ เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ไปทอดพระเนตรทีบ่ ริเวณปากคลองเปรมประชากร ต�ำบลบางกระสัน้ อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แล้วเสด็จฯ โดยรถยนต์พระทีน่ งั่ เลียบคลองเปรมประชากร ตลอดช่วงคลองตอนบนถึงคลองรังสิต กระทัง่ ถึงปากคลองวัดหลักสี่ เขตบางเขน กรุงเทพฯ ได้พระราชทานพระราชด�ำริเกี่ยวกับการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ว่า

“...คลองเปรมประชากรช่วงตอนล่างเป็นคลองสายหนึง่ ทีส่ ามารถรับน�ำ้ จากแม่นำ�้ เจ้าพระยาไปช่วยบรรเทาน�ำ้ เสีย โดยส่งกระจายไปตามคลองต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร จึงควรขุดลอกคลองนี้พร้อมก�ำจัดวัชพืชเพื่อให้เป็นคลองสายหลัก ในการผันน�ำ้ คุณภาพดีไปช่วยบรรเทาให้นำ�้ เสียให้เจือจางลง...” “...ให้หาวิธีรับน�้ำเข้าคลองเปรมประชากรตอนบนเป็นปริมาณมากภายในเวลาอันรวดเร็วเพื่ออัดเพิ่มระดับน�้ำให้ สูงขึ้น จะได้สามารถกระจายน�ำ้ เข้าทุ่งบางไทร-บางปะอิน ส�ำหรับใช้เพาะปลูกอย่างเพียงพอ อย่างไรก็ตาม จะต้องด�ำเนินการ

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

95


ขุดลอกหนองน�้ำธรรมชาติไปพร้อมกันจะได้สามารถเก็บส�ำรองน�ำ้ ไว้ใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ ส�ำหรับเส้นทางน�ำ้ ที่เชื่อมกับ แม่น�้ำเจ้าพระยาเส้นอื่น ๆ เช่น คลองเชียงรากน้อยนั้นต้องรีบรับน�้ำเข้ามาเมื่อน�้ำขึ้น และปิดประตูบังคับน�้ำไม่ให้ไหลย้อน กลับเมื่อน�้ำลง ทั้งนี้เพื่อเก็บกักน�้ำคลองเปรมประชากรตอนบนในลักษณะ “อ่างเก็บน�้ำ” เพื่อใช้ผลักดันน�้ำเน่าเสียในคลอง เปรมประชากรตอนล่างต่อไป...” แนวพระราชด�ำริสองประการนี้ แสดงถึงพระปรีชาสามารถ ทรงเชี่ยวชาญในด้านการแก้ไขปัญหาน�้ำเน่าเสียที่มี ผลถึงการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วย การแก้ปญ ั หาน�ำ้ เสียแบบ “สระเติมอากาศชีวภาพบ�ำบัด” (โดยใช้กระบวนการทางชีววิทยาผสมผสานกับเครือ่ งกล เติมอากาศ) เช่น บึงพระราม ๙ จัดได้วา่ เป็นบึงขนาดใหญ่อยูใ่ จกลางกรุงเทพมหานคร มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ ๑๓๐ ไร่ ซึง่ อยูต่ ดิ กับ คลองลาดพร้าวทางฝัง่ ตะวันตก-ตะวันออกเฉียงใต้ ในบริเวณทีค่ ลองลาดพร้าวบรรจบกับคลองแสนแสบในท้องทีเ่ ขตห้วยขวาง ซึ่งมีปัญหาภาวะมลพิษน�้ำเน่าเสียอย่างรุนแรงเพิ่มขึ้นเป็นล�ำดับ เนื่องจากคลองลาดพร้าวเป็นคลองระบายน�้ำหลักคลองหนึ่ง ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งรับน�้ำเสียมาจากแหล่งชุมชนที่อยู่สองฝั่งคลอง คุณภาพน�ำ้ มีสภาพความเน่าเสียมาก มีสีค่อนข้างด�ำ และมีกลิ่นเน่าเหม็นของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ตลอดเวลา ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่บึงพระราม ๙ เป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริที่พระราชทานพระราชด�ำริว่า “การใช้วธิ กี ารทางธรรมชาติแต่เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอในการบ�ำบัดน�ำ้ เสียให้ดขี นึ้ จ�ำเป็นต้องใช้เครือ่ งเติมอากาศลงไปในน�ำ้ โดยท�ำเป็นระบบสระเติมอากาศ (Aerated Lagoon)” มาช่วยเพิม่ ออกซิเจนละลายน�ำ้ เพือ่ ใช้แบคทีเรียชนิดทีใ่ ช้ออกซิเจนช่วย ย่อยสลายสารอินทรีย์ในน�้ำ จึงท�ำให้สระเติมอากาศสามารถรับภาระบรรทุก (Loading) ได้มากกว่าบ่อเขียวซึ่งใช้ออกซิเจน ตามธรรมชาติจากพืชน�้ำและสาหร่าย

บึงพระราม ๙

96

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ระบบการบ�ำบัดน้�ำเสียดว้ ยผักตบชวา เช่น บึงมักกะสัน

ทรงเปรียบบึงมักกะสันว่าเป็นเสมือนไตของกรุงเทพมหานคร จึงมีพระราชด�ำริว่า “...ในกรุงเทพฯ ต้องมีพื้นที่หายใจ แต่ที่นี่เราถือเป็นไตก�ำจัดสิ่งสกปรกและโรค สวนสาธารณะถือเป็นปอดแต่นี่ เหมือนไตฟอกเลือด ถ้าไตท�ำงานไม่ดีเราตาย อยากให้เข้าใจหลักความคิดอันนี้...” บึงมักกะสันเป็นบึงขุดขนาดใหญ่ใจกลางกรุงเทพฯ เพื่อ ใช้เป็นแหล่งน�้ำและรองรับน�้ำเสีย มีเนื้อที่ผิวน�้ำประมาณ ๙๒ ไร่ เป็นแหล่งระบายน�้ำเสียและรองรับน�้ำเสียจากคลองสามเสน จน บึงเน่ากลายเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค ในปี ๒๕๒๘ จึงพระราชทาน พระราชด� ำ ริ ใ นการปรั บ ปรุ ง และบ� ำ บั ด บึ ง มั ก กะสั น โดยใช้ วิ ธี อย่างประหยัด คือใช้ธรรมชาติช่วย ซึ่งเรียกว่าเป็นเครื่องกรองน�้ำ ธรรมชาติ โดยเฉพาะการใช้ผักตบชวาดูดสารพิษ และใช้สายลม แสงแดด และสาหร่ายเพิ่มออกซิเจนในน�ำ้ ให้จุลินทรีย์ย่อยสลาย อินทรียสาร ปัจจุบนั น�ำ้ ในบึงมักกะสันกลับมามีสภาพดีกว่าเดิม เป็นตัวอย่างความส�ำเร็จทีเ่ กิดจากพระปรีชาสามารถให้สถานที่ ซึ่งประสบปัญหาน�้ำเน่าเสียอื่น ๆ น�ำแนวพระราชด�ำริไปใช้ต่อไป ทรงเรียกว่า “แถลงการณ์” มักกะสัน วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๓๐ ภารกิจหลัก : หน้าแล้ง ก�ำจัดน�้ำโสโครกด้วยผักตบชวา หน้าน�้ำ เก็บกักและระบายน�้ำ ภารกิจรอง : ท�ำปุ๋ยหมัก เชื้อเพลิง เยื่อสานจากผักตบชวา ปลูกผักน�้ำอื่น ๆ ผักบุ้ง เป็นต้น เลี้ยงปลา (สวนสาธารณะไม่เกี่ยว) ยกคัน รวมบึง ๘๐ ซม. คลองสามเสน ๕๐ ซม.

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน

97


...การเลือกทางเดินนี้บางทีกไ็ ม่อาจเลือกทางทีใ่ กล้ทสี่ ดุ ลัดทีส่ ดุ ได้เสมอไป เพราะทาง ที่ใกล้นั้นอาจมิใช่ทางสะดวกและปลอดภัย จึงจ�ำเป็นต้องเลือกทางที่อ้อมที่ไกลกว่า. บางทีเลือกเดินทางหนึ่งแล้ว ต่อมาพิจารณาเห็นว่ามิใช่ทางที่ถูกต้องจ�ำต้องย้อนกลับ มาขึ้นต้นใหม่จึงจะถูก ก็ต้องท�ำ มิฉะนั้นจะไปไม่ถึงจุดหมาย...

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำ�เร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๒๘

สารบัญ


นิมิตใหม่ สารบัญ


...การท�ำงานให้สำ� เร็จขึน้ อยูก่ บั ความสามารถสองอย่างเป็นส�ำคัญ คือสามารถในการ ใช้วชิ าความรูอ้ ย่างหนึ่ง สามารถในการประสานสัมพันธ์กบั ผูอ้ นื่ อีกอย่างหนึ่ง. ทัง้ สอง ประการนี้ ต้องด�ำเนิน คู่กันไป และจ�ำเป็น ต้องกระท�ำด้วยความสุจริตกายสุจริตใจ ด้วยความคิดความเห็นทีเ่ ป็นอิสระปราศจากอคติ และด้วยความถูกต้องตามเหตุตามผล ด้วย จึงจะช่วยให้งานบรรลุจดุ หมายและประโยชน์ทพี่ งึ ประสงค์โดยครบถ้วนแท้จริง...

พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน เนื่องในวันข้าราชการพลเรือน พระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๒๘

สารบัญ


ถนนนิมิตใหม่

ระสบการณห์ ลายสิบปี ทที่ รงทำ�ให้ประชาชน ไดก้ อ่ ให้เกิด แนวคิดทฤษฎีและปรัชญาการดำ�รงชีวิตอันเป็ นนิมิตใหม่ ทีพ่ ระราชทานแกป่ ระชาชน

๑. การจัดตัง้ ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ

เสด็จฯ ไปทั่วประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร ท�ำให้ ทรงมี ความเข้าพระทัยในความหลากหลายของปัญหาอย่างชนิดที่จะหาผู้ใดมา เทียบเคียงและจากโครงการต่าง ๆ ทีท่ รงด�ำเนินการแล้วส�ำเร็จประกอบกับทรงได้รบั ประสบการณ์เกี่ยวกับปัญหาต่าง ๆ กันในแต่ละพื้นที่ จึงมีพระราชด�ำริให้จัดตั้งศูนย์ ศึกษาการพัฒนาขึ้นในภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศ

สารบัญ


ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เป็นการด�ำเนินการในลักษณะย่อส่วนภูมิประเทศของแต่ละ ภูมิภาคให้เล็กลง เพื่อที่จะได้มีการศึกษา ทดลองและเผยแพร่การพัฒนาเป็นตัวอย่างให้แก่บุคลากรของรัฐด้านต่าง ๆ และประชาชนสามารถมาดูงานและน�ำไปใช้ประกอบอาชีพของตนเองได้ ดังพระราชด�ำริสรุปความตอนหนึง่ ว่า “...เป็นการสาธิต การพัฒนาเบ็ดเสร็จ หมายถึงว่า ทุกสิ่งทุกอย่างทุกด้านของประชาชนที่จะหาเลี้ยงชีพในท้องที่จะท�ำอย่างไร และได้เห็น วิทยาการแผนใหม่ ที่จะสามารถหาดูวิธีการจะท�ำมาหากินให้มีประสิทธิภาพ...” โดยทรงเรียกว่าศูนย์ศึกษาการพัฒนานี้ เป็นเสมือน “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” นอกจากนี้ ยังมีพระราชด�ำริให้กรมกองต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้มาร่วมปฏิบัติงาน เป็นศูนย์รวมในที่แห่งเดียวกัน เพื่อประชาชนสามารถเข้ามารับการบริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (one stop service for the farmers) สามารถมาขอรับความช่วยเหลือในทุกด้าน ตั้งแต่ น�้ำ ดิน ป่าไม้ และพืชสวน พืชไร่ พืชผัก พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย โดยศูนย์ฯ จะท�ำหน้าที่เป็นศูนย์กลางประสานงาน หน่วยงานต่าง ๆ ในการให้ความช่วยเหลือด้วย ดังมีพระราชด�ำริที่ว่า “...แต่ละฝ่ายต้องมีศูนย์ที่รวบรวมก�ำลังทั้งหมด ของเจ้าหน้าที่ทุกกรม กอง ทั้งในด้านการเกษตรหรือด้านสังคม ทั้งในด้านหางาน การส่งเสริมการศึกษามาอยู่ด้วยกัน ก็หมายความว่า ประชาชน ซึง่ จะต้องใช้วชิ าการ ทัง้ หลาย ก็สามารถทีจ่ ะมาดู ส่วนเจ้าหน้าทีจ่ ะให้ความอนุเคราะห์แก่ประชาชน ก็มาอยูพ่ ร้อมกัน ในทีเ่ ดียวกันเหมือนกัน ซึง่ เป็นสองด้านก็หมายถึงว่า ทีส่ ำ� คัญปลายทางคือ ประชาชน จะได้รบั ประโยชน์...”

102

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ปัจจุบันศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ มีอยู่ 6 แห่ง กระจายอยู่ในแต่ละภูมิภาค ดังนี้

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำาริ อำาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

๔ ๑

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจาก พระราชดำาริ อำาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร

“ต้นทางคือป่าไม้ ปลายทาง คือประมง ระหว่างทางคือ เกษตรกรรม”

“สร้างน้ำา เพิ่มป่า พัฒนาชีวิต แบบพอเพียง”

ก่อตั้ง วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๕

ก่อตั้ง วันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๕

๖ ๒

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก พระราชดำาริ อำาเภอชะอำา จังหวัดเพชรบุรี

“ฟื้นดิน คืนป่า พัฒนาคุณภาพชีวิต”

ก่อตั้ง วันที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๖

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจาก พระราชดำาริ อำาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

“ป่าหาย น้ำาแห้ง ดินเลว...ก็พัฒนาได้” ก่อตั้ง วันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๒

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ อำาเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี

“การฟื้นฟูและจัดการทรัพยากรชายฝั่งทะเล จากยอดเขาสู่ท้องทะเล” ก่อตั้ง วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๔

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจาก พระราชดำาริ อำาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส

“ป่าพรุเสื่อมโทรม สะสมดินเปรี้ยว แกล้งดินอย่างเดียว พัฒนาได้ยั่งยืน” ก่อตั้ง วันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๔

หมายเหตุ: ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำาริทั้ง ๖ แห่ง เรียงตามลำาดับการก่อตั้ง

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 103


พื้นที่ป่าพรุจ�ำลองภายในศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ

หญ้าแฝกที่ปลูกเป็นระดับขั้นก�ำลังได้รับการดูแลการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ

104

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำรินี้ ทรงมุง่ หวังทีจ่ ะให้ราษฎรหรือบุคคลทีใ่ ห้ศกึ ษามาดูและสามารถ น�ำไปประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองได้ พระราชทานพระราชด�ำริ ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ ความตอนหนึ่งว่า “...พืน้ ทีข่ องศูนย์ศกึ ษาทุกแห่ง ก็คอื การย่อส่วนภูมปิ ระเทศของแต่ละท้องถิน่ ซึง่ มีลกั ษณะแตกต่างกันแล้วท�ำการ ศึกษาการพัฒนาด้านเกษตรกรรมสาขาต่าง ๆ ... ...เมื่อด�ำเนินการทดลองเป็นผลส�ำเร็จแล้ว จึงจัดแสดงสาธิตผลการทดลองวิจัยภายในศูนย์ศึกษาการพัฒนาใน ท�ำนองพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ เพือ่ เป็นการยืนยันว่า งานศึกษาการพัฒนาทุกงานทีส่ าธิตให้ประชาชนนัน้ สามารถน�ำไปปฏิบตั ิ ได้ผลจริง...”

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 105


๒. เศรษฐกิจพอเพียง

เมื่อประเทศไทยประสบปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ในปี ๒๕๔๐ หรือที่เรียกกันว่า “วิกฤติ ต้มย�ำกุง้ ” นัน้ ท�ำให้คนไทยรูส้ กึ ถึงความไม่ยงั่ ยืนในระบบเศรษฐกิจเสรี ธุรกิจมากมายก็ลม่ สลาย ผูค้ นตกงานกันมากจนรัฐบาล ต้องขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund) หรือที่เรียกขานกันว่า IMF เพราะวิกฤติครั้งใหญ่นี้ส่งผลกระทบสังคมไทยตั้งแต่นักธุรกิจขนาดใหญ่จนถึงชาวชนบท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานปรัชญาของ “เศรษฐกิจ พอเพียง” เพือ่ เป็นแนวทางการด�ำเนินชีวติ ของคนไทยให้สามารถฟันฝ่าผ่านพ้นวิกฤติครัง้ นีไ้ ปให้ได้ ดังพระราชด�ำรัส เมือ่ วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐ ตอนหนึ่งความว่า “...การเป็นเสือนั้นไม่ส�ำคัญ ส�ำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้นหมายความว่า อุ้มชู ตัวเองได้ ให้มพี อเพียงกับตัวเอง อันนีก้ เ็ คยบอกว่าความพอเพียงนีไ้ ม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัว จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอ�ำเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างที่ ผลิตได้มากกว่าความต้องการ ก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไหร่ ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก...” ในความเป็นจริงพระองค์ท่านได้พระราชทานแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมานานแล้ว ดังเคยมี พระราชด�ำรัสเกี่ยวกับเรื่องนี้ เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗ “...การพัฒนาประเทศนั้นจ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ของ ประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐาน มั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยล�ำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะ ของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลย์ในเรื่องต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยาก ล้มเหลวได้ในที่สุด...” 106

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


และในวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๗ พระราชทานพระราชด�ำรัสอีกครั้งความว่า “...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่ แต่เราอยู่ พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความสงบ และท�ำงานตั้งจิตอธิษฐานปณิธาน จุดมุ่งหมายในแง่นี้ในทางนี้ ที่จะให้เมืองไทยอยู่พออยู่พอกิน ไม่ใช่รุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่าพออยู่พอกิน มีความสงบนั้น ถ้าจะเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนั้นได้ เราก็จะยอดยิ่งยวด...” จนกระทั่งในปี ๒๕๔๐ ที่ประเทศประสบวิกฤติทางเศรษฐกิจดังได้กล่าวแล้วนั้น จึงได้พระราชทานพระราชด�ำรัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2540 และทรงใช้คำ� ว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” อย่างชัดเจนเป็นครั้งแรก ความว่า “...SELF-SUFFICIENT ECONOMY คือเศรษฐกิจพอเพียงแบบพอเพียงกับตัวเอง เราก็อยูไ่ ด้ ไม่ตอ้ งเดือดร้อน... ...แต่ถา้ สามารถทีจ่ ะเปลีย่ นไป ท�ำให้กลับเป็นเศรษฐกิจแบบพอเพียง ไม่ตอ้ งทัง้ หมด แม้แค่ครึง่ ก็ไม่ตอ้ ง อาจจะ สักเศษหนึ่งส่วนสี่ ก็จะสามารถอยู่ได้...” ในปีตอ่ มา เมือ่ วันที่ 4 ธันวาคม 2541 ได้พระราชทานพระราชด�ำรัสเพือ่ ทรงอธิบายขยายความหมายของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ความว่า “...ค�ำว่าพอเพียงมีความหมายอีกอย่างหนึง่ มีความหมายกว้างออกไปอีก ไม่ได้หมายถึงการมีพอส�ำหรับใช้เองเท่านัน้ แต่มีความหมายว่าพอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ ถ้าใครได้มาอยู่ที่นี่ ในศาลานี้ เมื่อ เท่าไหร่ ๒๐ ๒๔ ปี เมื่อปี ๒๕๑๗ ๒๕๑๗ ถึง ๒๕๔๑ นี้ ก็ ๒๔ ปี ใช่ไหม วันนั้นได้พูดว่า เราควรจะปฏิบัติให้พอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็แปลว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถ้าแต่ละคนพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี และประเทศไทยเวลานั้น ก็เริ่มจะไม่พอมีพอกิน บางคน ก็มีมาก บางคนก็ไม่มีเลย สมัยก่อนนี้พอมีพอกิน มาสมัยนี้ชักจะไม่พอมีพอกิน จึงต้องมีนโยบายที่จะท�ำเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อที่จะให้ทุกคนมีพอเพียงได้ ให้พอเพียงนี้ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่าพอ แม้บางอย่างจะ ดูฟุ่มเฟือย แต่ถ้าท�ำให้มีความสุข ถ้าท�ำได้ก็สมควรที่จะท�ำ สมควรที่จะปฏิบัติ อันนี้ก็ความหมายอีกอย่างของเศรษฐกิจ หรือ ระบบพอเพียง เมือ่ ปีทแี่ ล้วตอนทีพ่ ดู พอเพียง แปลในใจ แล้วก็ได้พดู ออกมาด้วย ว่าจะแปลเป็น Self-sufficiency (พึง่ ตนเอง) ถึงได้บอกว่าพอเพียงแก่ตนเอง แต่ความจริงเศรษฐกิจพอเพียงนี้ กว้างขวางกว่า Self-sufficiency คือ Self-sufficiency นั้น หมายความว่า ผลิตอะไรมีพอที่จะใช้ ไม่ต้องไปขอซื้อคนอื่น อยู่ได้ด้วยตนเอง (พึ่งตนเอง)...” อีกตอนหนึ่งความว่า “...คือค�ำว่าพอก็เพียงพอ เพียงนีก้ พ็ อดังนัน้ เอง คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มคี วามโลภน้อย เมือ่ มีความโลภ น้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าท�ำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่ไป เบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ท�ำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง...”

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 107


ต่อมา วันที่ 23 ธันวาคม 2542 พระราชทานพระราชด�ำรัส ความว่า “...ค�ำว่า Sufficiency Economy นี้ ไม่มใี นต�ำราเศรษฐกิจ จะมีได้อย่างไร เพราะว่าเป็นทฤษฎีใหม่ เป็นต�ำราใหม่ ...Sufficiency Economy นัน้ ไม่มใี นต�ำรา เพราะหมายความว่าเรามีความคิดใหม่ และโดยทีท่ า่ นผูเ้ ชีย่ วชาญสนใจ ก็หมายความว่า เราก็สามารถทีจ่ ะคิดอะไรได้ จะถูกจะผิดก็ชา่ ง ถ้าเขาสนใจเขาก็จะสามารถทีจ่ ะไปปรับปรุง หรือไปใช้หลักการ เพือ่ ทีจ่ ะให้เศรษฐกิจของประเทศและของโลกพัฒนาดีขนึ้ ...” ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติได้สรุปหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงไว้ว่า ประกอบด้วยหลักคุณสมบัติสามข้อและ เงื่อนไขสองประการ ดังนี้

สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

หลักคุณสมบัตขิ องความพอเพียงมีสามขอ้ คือ

พอประมาณ มีเหตุผล

เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)

มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี

เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน สติปัญญา แบ่งปัน) น�ำสู่

- ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไม่น้อยไม่มากเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น การพัฒนาอย่างมีขนั้ ตอน ค่อยเป็นค่อยไป ไม่กา้ วกระโดด อย่างเสี่ยง ไม่ละโมบ - ความมี เ หตุ ผ ล หมายถึ ง การใช้ เ หตุ ผ ล พิจารณาปัจจัยต่าง ๆ และผลลัพธ์ของการปฏิบัติอย่าง รอบคอบ ให้เกิดความเหมาะสมกับสภาพของแต่ละคน - การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง ความไม่ ประมาท การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในอนาคต มีการออม การกระจาย ความเสี่ยงและการร่วมมือช่วยเหลือแบ่งปันกัน

ชีวิต / เศรษฐกิจ / สังคม / สิ่งแวดล้อม สมดุล / มั่นคง / ยั่งยืน

เงื่อนไขของการตัดสินใจและการด�ำเนินกิจกรรมให้อยูใ่ นความพอเพียงมีสองประการ คือ

ความรู้หมายถึง การสร้างความตระหนักในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร และใช้ สติปญ ั ญาในการด�ำเนินชีวติ ผลลัพธ์ของการปฏิบตั ติ ามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความสมดุล ความมัน่ คง และความยัง่ ยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี

108

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


การใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแบง่ เป็ นสองระดับ

- เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน คือ ความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัว - เศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า คือ ความพอเพียงในระดับชุมชน องค์กรและประเทศ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนี้คือ การด�ำเนินชีวิตที่เรียบง่าย มีความพอเพียงในตนเอง ครอบครัว และชุมชน ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ไม่เบียดเบียนกัน มีคุณธรรม มีความเข้มแข็ง สามัคคีกลมเกลียว ซึ่งถ้าหากขยายวงกว้างไปใน ระดับหมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ จังหวัดแล้ว ประเทศชาติก็จะเข้มแข็งและประชาชนก็จะมีความเป็นอยู่อย่างเพียงพอ มีความ สงบร่มเย็นในชีวิต

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 109


๓. ทฤษฎีใหม่

เมือ่ ปี ๒๕๓๕ ได้เสด็จฯ ไปทรงเยีย่ มเยียนประชาชนทีบ่ า้ นกุดต่อแก่น อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ทรงพบ ว่าข้าวทีร่ าษฎรปลูกนัน้ เมล็ดลีบมากแทบไม่มเี นือ้ ข้าวเลย เมือ่ ทรงหยิบเมล็ดข้าวมาดู แล้วรับสัง่ กับราษฎรคนปลูกข้าวนัน้ ว่า มันไม่มีน�้ำหรือเมล็ดจึงลีบนิดเดียว ราษฎรก็กราบบังคมทูลว่าไม่มีน�้ำ แต่มันอยู่ได้เพราะน�ำ้ ค้าง และนี่ที่น่าจะเป็นจุดเริ่มของ แนวพระราชด�ำริเกี่ยวกับ “ทฤษฎีใหม”่ ซึ่งในเวลาต่อมา จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาไปด�ำเนินการตามทฤษฎีใหม่ นี้ที่วัดมงคล (ภายหลังเปลี่ยนเป็นวัดชัยมงคล) อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี ทฤษฎีใหม่นี้มี ๓ ขั้นตอน คือ ทฤษฎีใหมข่ นั้ ที่ ๑ เป็นการจัดที่ดินแปลงขนาดเล็กส�ำหรับเกษตรกรที่มีที่ดินน้อยประมาณ ๑๕ ไร่ แล้วแบ่ง ทีด่ นิ ออกเป็นสัดส่วนทีช่ ดั เจน ซึง่ จะเป็นประโยชน์สงู สุดแก่เกษตรกรโดยทีไ่ ม่เคยมีใครคิดมาก่อน โดยจัดสรรทีด่ นิ ออกเป็น ๔ ส่วน คือ ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ สว่ นที่ ๑ ๓๐% ส�ำหรับขุดสระเก็บน�ำ้ โดยพระองค์ทรงค�ำนวณให้สระมีความกว้าง ยาว ลึกขนาดไหน จึงจะ พอให้เกษตรกรมีน�้ำพอใช้ตลอดทั้งปี ทั้งนี้ ทรงค�ำนวณการระเหยของน�้ำโดยเฉพาะในหน้าแล้งไว้ด้วย เพื่อการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์น�้ำหรือพืชน�ำ้ ต่าง ๆ ส่วนที่ ๒ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝน เพื่อใช้เป็นอาหารให้เพียงพอตลอดทั้งปี เป็นการลดค่าใช้จ่ายและ พึ่งตนเองได้ สว่ นที่ ๓ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก และสมุนไพรต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นอาหารประจ�ำวัน หากมี เหลือก็น�ำไปจ�ำหน่าย สว่ นที่ ๔ ๑๐% เป็นที่อยู่อาศัยเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนต่าง ๆ เช่น ยุ้งฉาง คอกเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น อัตราส่วนของพื้นที่ดังกล่าวเป็นการค�ำนวณโดยประมาณเท่านั้น สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ของภูมิศาสตร์ สภาพดิน สภาวะของฝน เช่น ภาคใต้ฝนตกชุกมากกว่าที่อื่น ๆ ก็อาจลดขนาดของสระน�ำ้ ได้ เพื่อเก็บพื้นที่ได้ ใช้ประโยชน์อย่างอื่นต่อไป ทฤษฎีใหมข่ นั้ ที่ ๒ เป็นพื้นที่เกษตรกรสามารถมีความเป็นอยู่อย่างพอมีพอกินแล้วก็ให้รวมพลังกันในรูปกลุ่ม หรือสหกรณ์ ด�ำเนินการในด้านต่าง ๆ เพื่อให้ชุมชนมีความสามัคคีเข้มแข็ง อาทิ ๑. การผลิต เช่น การหาพันธุ์พืช การเตรียมดิน และการชลประทาน เป็นต้น ๒. การตลาด เช่น การจัดหายุ้งฉาง เครื่องสีข้าว รวมกันจ�ำหน่ายผลผลิตเพื่อให้ได้ราคาดีและลดค่าใช้จ่าย ๓. การเป็นอยู่ การจัดการด้านปัจจัยพื้นฐานในการด�ำรงชีวิตให้พอเพียง เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม และอื่น ๆ ๔. สวัสดิการ แต่ละชุมชนควรมีบริการที่จ�ำเป็น เช่น ด้านสาธารณสุข หรือมีกองทุนให้กู้ยืมเพื่อท�ำกิจกรรม ที่เป็นประโยชน์ ฯลฯ 110

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


๕. การศึกษา เช่น มีโรงเรียน มีทุนการศึกษาให้แก่ เยาวชนในชุมชน ๖. สังคมและศาสนา เช่น ให้ชุมชนร่วมกันพัฒนา สังคมโดยมีศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ทฤษฎีใหมข่ ั้นที่ ๓ คือ เมื่อผ่านขั้นที่ ๒ แล้ว กลุ่ม เกษตรกรจะสามารถติดต่อร่วมมือกับแหล่งทุน เช่น ธนาคาร หรือ บริษัทเอกชน และกลุ่มธุรกิจอื่น ๆ เพื่อร่วมท�ำธุรกิจในลักษณะที่ ทุกฝ่ายจะได้ประโยชน์ร่วมกัน ขั้นตอนที่ ๓ เป็นขั้นตอนที่อยู่ใน การสร้างเครือข่ายระหว่างชุมชนและภาคราชการ ภาคธุรกิจ การธนาคาร เพื่อด�ำเนินกิจการให้เป็นธุรกิจที่อยู่ในระดับสูงและ กว้างใหญ่ขึ้น อาจกล่าวได้ว่า ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑ เป็นการสร้าง ความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัว ขั้นที่ ๒ เป็นการสร้าง ความพอเพียงในระดับชุมชน ขั้นที่ ๓ เป็นการสร้างความพอเพียง ในระดับประเทศ ทฤษฎีใหม่จึงเป็นแนวทางของความพอเพียง พออยูพ่ อกิน ความร่วมมือร่วมใจ ท�ำให้ประเทศเป็นสังคมเครือข่าย ของชุมชนและองค์กรต่าง ๆ ที่มีความเข้มแข็ง พึ่งพาตัวเอง และ แบ่งปันช่วยเหลือกัน

นักวิชาการหลายท่านเห็นว่าทฤษฎีใหม่ เป็นแนวคิดที่เป็นวิทยาศาสตร์ปฏิบัติได้จริง เป็นระบบความคิดใหม่ที่ ไม่เคยมีผคู้ ดิ มาก่อนทัง้ ยังล�ำ้ หน้าหรือก้าวพ้นวิธคี ดิ ทีม่ อี ยูม่ าก่อนด้วย

๔. มูลนิธิชัยพัฒนา

มูลนิธิชัยพัฒนาเป็นมูลนิธิที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชด�ำริ ให้ตงั้ ขึน้ เมือ่ วันที่ ๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๓๑ เป็นมูลนิธสิ ว่ นพระองค์ทที่ รงก่อตัง้ ขึน้ และทรงด�ำเนินการด้วยพระองค์เอง แม้กระทัง่ ตราประจ�ำมูลนิธิก็ทรงออกแบบเอง และทรงเป็นนายกกิตติมศักดิ์ของคณะกรรมการมูลนิธิด้วย ทั้งนี้ได้ทรงเล็งเห็นว่าการ ท�ำงานตามระเบียบของราชการนั้น จ�ำเป็นต้องมีการปฏิบัติงานตามแบบแผนขั้นตอน ซึ่งในบางครั้งอาจช่วยเหลือประชาชน ไม่ทันท่วงที จึงทรงก่อตั้งมูลนิธิชัยพัฒนาขึ้น นับเป็นนิมิตใหม่ที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนที่มีองค์กรภาคเอกชนเข้ามาเป็นองค์กร ที่สามารถสนองพระราชด�ำริ เพื่อช่วยเหลือประชาชนได้ด้วยความรวดเร็ว คล่องตัวไม่ตกอยู่ภายใต้ข้อจ�ำกัดของทางราชการ กฎระเบียบปฏิบตั หิ รืองบประมาณ เพือ่ พัฒนาให้ประชาชนชาวไทยมีความสมบูรณ์พนู สุขยิง่ ขึน้ ตามความหมายของชือ่ มูลนิธิ ชัยพัฒนา ซึ่งแปลว่า “ชัยชนะแห่งการพัฒนา”

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 111


เครื่องหมายของมูลนิธิชัยพัฒนา

พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร องค์ น ายกกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ข องมู ล นิ ธิ ชัยพัฒนา ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ก�ำหนดแบบตราสัญลักษณ์ พร้อมทัง้ ความหมายด้วยพระองค์เอง และได้พระราชทาน เป็นเครื่องหมายประจ�ำมูลนิธิชัยพัฒนา ซึ่งประกอบด้วย

๑. พระแสงขรรค์ชัยศรี มีความหมายถึง พระราชอ�ำนาจ พระบารมีและก�ำลังแผ่นดินที่จะฟันฝ่าให้เกิดการด�ำเนินการต่าง ๆ อันเป็นผลไปสู่ความมั่นคงแห่งพระราชอาณาจักร

๒. ธงกระบี่ธุช เป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะในการต่อสู้ เพื่อ ป้องกันอาณาประชาราษฎร์ และพระราชอาณาจักรให้พ้นภยันตราย ทั้งปวงและประสบความส�ำเร็จในการต่อสู้นั้น ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิ

๓. ดอกบัว มีความหมายถึง ศักดิศ์ รี ความสงบร่มเย็น ความ เจริญงอกงามและความบริบูรณ์แห่งพืชพันธุ์ธัญญาหาร และบรรดา ทรัพยากรทั้งปวงอันจะน�ำไปสู่ความอยู่ดีกินดี และความสงบสันติสุข ของประชาชนโดยทั่วหน้ากัน ๔. สังข์ มีความหมายถึง น�้ำที่จะสร้างความชุ่มชื้น ชโลม แผ่นดินให้เกิดความอุดมสมบูรณ์และความร่มเย็นเป็นสุข

112

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


วัตถุประสงค์

๑. เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริและโครงการพัฒนาอื่น ๆ ๒. เพื่อส่งเสริม การพัฒนาสงเคราะห์และช่วยเหลือประชาชนในด้านเศรษฐกิจและสังคมให้มีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น และให้สามารถช่วยตัวเองและพึ่งตนเองได้ ๓. ด�ำเนินการใด ๆ อันเป็นประโยชน์ต่อประชาชนและประเทศชาติเป็นส่วนรวม ๔. ร่วมมือกับส่วนราชการและองค์กรการกุศลอื่น ๆ เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือด�ำเนินการเพื่อเน้นในการ สนับสนุนสาธารณประโยชน์ ๕. ไม่ด�ำเนินการเกี่ยวข้องกับการเมือง ในเรื่องนี้อาจกล่าวได้ว่าถึงแม้จะมีส� ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) ที่เป็นหน่วยงานกลางประสานการด�ำเนินงานต่าง ๆ กับทุกหน่วยทั่วประเทศแล้วก็ตาม แต่ยงั มีปญ ั หาทีส่ ำ� นักงาน กปร. ก็ยงั เป็นหน่วยราชการหนึง่ ในส�ำนักนายกรัฐมนตรีขนึ้ ตรงต่อนายกรัฐมนตรี ทีจ่ ะต้องใช้ระเบียบ ราชการเช่นกัน โดยเฉพาะเรื่องการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นตัวหลักส�ำคัญที่จะท�ำให้โครงการด�ำเนินไปได้รวดเร็วเพียงใด ทันกับการแก้ปัญหาทุกข์ร้อนให้ประชาชนได้ทันท่วงทีหรือไม่ เช่น ปัญหาการจัดซื้อที่ดินเพื่อด�ำเนินการโครงการ ซึ่งจ�ำเป็น ต้องซือ้ ทันที รัฐไม่สามารถจัดซือ้ ได้ทนั ทีทนั ใด เพราะติดระเบียบขัน้ ตอนต่าง ๆ แต่มลู นิธฯิ ในฐานะเป็นองค์กรเอกชนสามารถ ท�ำได้ทันที ดังพระราชด�ำรัสเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2539 พระราชทานแก่กรรมการมูลนิธิฯ ความว่า “...งานของมูลนิธิชัยพัฒนานั้นต้องท�ำเร็ว คิดเร็ว แก้ปัญหาเร็ว... ...เรื่องเช่นนี้ไม่อาจท�ำได้ในระบบระเบียบของทางราชการ เนื่องจากราชการมีขั้นตอน ระเบียบแบบแผนที่ยุ่งยาก พอสมควร จะไม่ทันกับเวลาและปัญหาที่ต้องใช้ความรวดเร็ว ...มูลนิธิฯ ด�ำเนินการเป็นตัวอย่างก่อน หากรัฐบาลเห็นสมควร ว่ามีประโยชน์ก็น�ำไปท�ำต่อ หรือจะน�ำแบบอย่างไปทดลองที่อื่นก็ได้...” มูลนิธิชัยพัฒนานี้มีกิจกรรมหลัก ๆ ในการพัฒนาการเกษตร การพัฒนาสังคม การพัฒนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ การทดลองวิจัยศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น กังหันน�้ำชัยพัฒนา การใช้หญ้าแฝก ปรับปรุงบ�ำรุงดิน การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่าง ๆ เป็นต้น จึงมีพระราชด�ำรัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2537 ตอนหนึ่งว่า “...ชัยชนะของประเทศนี้ โดยงานของมูลนิธิชัยพัฒนานั้นก็คือ ความสงบ...เป็นเมืองไทยที่มีความเจริญก้าวหน้า จนเป็นชัยชนะของการพัฒนา ตามที่ได้ตั้งชื่อ “มูลนิธิชัยพัฒนา” ชัยของการพัฒนานี้ มีจุดประสงค์คือ ความสงบ ความเจริญ ความอยู่ดีกินดี...”

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 113


มูลนิธชิ ยั พัฒนา โดยมีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นนายกกิตติมศักดิ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นประธานกรรมการ และนายสุเมธ ตันติเวชกุล เป็นกรรมการและ เลขาธิการ การด�ำเนินงานของมูลนิธิชัยพัฒนาในปัจจุบันได้ร่วมมือกันกับส�ำนักงาน กปร. ซึ่งเป็นองค์กรทางราชการขึ้นกับ นายกรัฐมนตรี ยังไม่อาจด�ำเนินการได้ทนั การณ์กบั ความเดือดร้อนของราษฎรแล้ว มูลนิธชิ ยั พัฒนาก็จะเข้าไปด�ำเนินการได้ทนั ที หรือในบางกรณีก็ได้ร่วมมือกันท�ำโดยแยกส่วนงานและแบ่งกันท�ำในโครงการเดียวกันตามความเหมาะสม งานของมูลนิธิ ชัยพัฒนาส่วนใหญ่จะเป็นการส่งเสริมอาชีพในสิง่ ทีร่ าษฎรขาด การให้ความช่วยเหลือทางด้านการศึกษา การพัฒนาสังคมและ เศรษฐกิจ การจัดการเรือ่ งสิง่ แวดล้อม การบรรเทาทุกข์ผปู้ ระสบภัยต่าง ๆ ปัจจุบนั มูลนิธฯิ มีโครงการต่าง ๆ รวมทัง้ สิน้ ๑๓๕ โครงการ (ข้อมูล พฤศจิกายน ๒๕๕๙) แบ่งเป็น

114

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ภาคกลาง ๔๕ โครงการ

รวม ๑๓๕ โครงการ

ภาคใต้ ๒๒ โครงการ

ภาคตะวันออก ๒๕ โครงการ

โครงการพิเศษ-ทั่วประเทศ ๑๗ โครงการ ภาคเหนือ ๒๑ โครงการ

ระหว่างประเทศ ๕ โครงการ

รวม ๑๓๕ โครงการ

ด้านการเกษตร ๗๙ โครงการ

ด้านสังคม ๒๓ โครงการ

ด้านสิ่งแวดล้อม ๑๗ โครงการ

สารบัญ

ด้านพลังงาน ทดแทน ๑๐ โครงการ

ด้านการส่งเสริม ธุรกิจชุมชน ๖ โครงการ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 115


สารบัญ


สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 117


...เด็กต้องหัดท�ำตัวให้สุภาพอ่อนโยน หมั่นขยัน เอาการเอางาน เอื้อเฟื้อช่วยเหลือ ผู้อื่นด้วยความเต็มใจอยู่เสมอให้ติดเป็นนิสัย จักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดี มีประโยชน์ และมีความเจริญมั่นคงในชีวิต...

พระบรมราโชวาท พระราชทานเพื่อเชิญลงพิมพ์ในหนังสือวันเด็ก ประจำ�ปี ๒๕๒๙ ภูพานราชนิเวศน์ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๒๘

สารบัญ


มิตรไมตรี สารบัญ


...งานที่ท�ำเพื่อประโยชน์อันยั่งยืนของแผ่นดินอย่างแท้จริง แม้จะไม่มีผู้ใดรู้เห็นหรือ ยกย่องสรรเสริญก็ตาม แต่ผลของงานทีป่ รากฏเป็นความเจริญมัน่ คงของประเทศชาติ นั้น เป็นสิ่งที่ผู้กระท�ำจะชื่นชมยินดีได้ทุกเมื่อ...

พระราชดำ�รัส พระราชทานเพื่อเชิญลงพิมพ์ในหนังสือ เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากรมทางหลวงครบ ๘๔ ปี พระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๓๙

สารบัญ


ถนนมิตรไมตรี

ระเทศก็เหมือนมนุษยค์ นหนึ่งที่จำ�เป็ นต้องมีเพื่อนคบหา สมาคมกั น ช่ ว ยเหลื อ หรื อ พึ่ ง พากั น มี มิ ต รจิ ต มิ ต รใจ ตอ่ กัน อันเป็ นสิง่ ทีส่ ากลโลกเขาประพฤติปฏิบัติกัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จนิวัตประเทศไทยอย่างถาวรในปี ๒๔๙๔ แม้จะมีพระราชกิจต่างๆ มากมาย ก็ยังเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมเยือนราษฎรอยู่เสมอ จนกระทั่งในปี ๒๕๐๒ จึงเริ่มเสด็จฯ ไปทรงเยือนต่างประเทศเป็นทางการตามกราบบังคมทูลเชิญของประเทศต่าง ๆ หลายประเทศ ภาพประกอบ : เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยือนนครรัฐวาติกัน เมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๓ สารบัญ


“...การไปเมืองต่างประเทศคราวนี้ ก็ไปเป็นราชการแผ่นดิน เป็นการท�ำหน้าทีข่ องข้าพเจ้า ในฐานะเป็นประมุขของ ประเทศ เป็นทีท่ ราบกันอยูแ่ ล้ว ว่าในสมัยนีป้ ระเทศต่าง ๆ ไม่วา่ ใหญ่หรือเล็ก ต่างต้องพึง่ พาอาศัยกันอยูเ่ สมอ จะว่าชนทุกชาติ เป็นญาติพี่น้องกันก็ว่าได้ จึงควรพยายามให้รู้จักนิสัยใจคอกัน ทั้งต้องผูกน�ำ้ ใจกันไว้ให้ดีด้วย การผูกน�ำ้ ใจกันไว้นนั้ ธรรมดาญาติพนี่ อ้ งก็ไปเยีย่ มเยียนถามทุกข์สขุ ซึง่ กันและกัน แต่สำ� หรับประเทศนัน้ ประชาชน นับแสนนับล้าน จะไปเยี่ยมเยียนกันก็ยาก เขาจึงยกให้เป็นหน้าที่ประมุขของประเทศในการไปเยี่ยมประเทศต่าง ๆ ข้าพเจ้า ก็จะแสดงต่อประชาชนของประเทศเหล่านั้น ว่าประชาชนชาวไทยมีมิตรจิตมิตรใจต่อเขาและข้าพเจ้าจะพยายามเต็มที่ เพื่อให้ฝ่ายเขารู้จักเมืองไทย และให้เกิดน�้ำใจดีต่อชาวไทย...” ประเทศแรกทีเ่ สด็จฯ เยือนคือสาธารณรัฐเวียดนาม ในระหว่างวันที่ ๑๘ - ๒๑ ธันวาคม ๒๕๐๒ และประเทศสุดท้าย ที่เสด็จฯ เยือน คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ระหว่างวันที่ ๘ - ๙ เมษายน ๒๕๓๗ ซึ่งครั้งนี้เป็นการเสด็จฯ เยือนต่างประเทศที่ห่างจากการเสด็จฯ ครั้งก่อนหน้านั้นในปี ๒๕๑๐ ถึง ๒๗ ปี หลังจากนั้นก็มิเคยเสด็จฯ เยือนต่างประเทศ อีกเลย

เสด็จฯ เยือนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๓๗

ในการเสด็จฯ เยือนต่างประเทศทุกครั้ง ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในฐานะประมุขและตัวแทนของคนไทย ทั้งประเทศ ในการน�ำไมตรีและความปรารถนาดีไปมอบให้แก่มิตรประเทศ ในแต่ละวันต้องทรงพบปะผู้คนต่างเชื้อชาติ ต่างวัฒนธรรมตามหมายก�ำหนดการ และมีพระราชด�ำรัสในโอกาสต่าง ๆ ซึ่งไม่เพียงแต่พระองค์จะตรัสได้หลายภาษา ยังทรงพระปรีชาสามารถในการใช้ถ้อยค�ำสร้างความประทับใจและความเชื่อถือแก่ชาวต่างประเทศ ในการพระราชทาน สัมภาษณ์แก่สื่อมวลชนต่างประเทศ ทรงให้ความเป็นกันเอง และมีพระราชด�ำรัสอย่างตรงไปตรงมา ท�ำให้สื่อมวลชนลงข่าว แสดงความชื่นชมเป็นอย่างยิ่ง 122 ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


สารบัญ


สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ ได้ทรงพระราชนิพนธ์ “ความทรงจ�ำในการเสด็จ ตา่ งประเทศทางราชการ” โดยได้ทรงบันทึกถึงเรื่องที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงก�ำชับคณะผู้ตามเสด็จว่า “...ทุกครัง้ ก่อนทีจ่ ะออกเดินทางไปต่างประเทศ พระเจ้าอยูห่ วั จะมีรบั สัง่ ให้ทกุ คนทีจ่ ะตามไปในขบวนเสด็จมาเฝ้า แล้วทรงเตือนว่า ‘การไปครัง้ นีข้ องพวกเรา ทุกคนเปรียบเสมือนผูแ้ ทนคนไทยทัง้ ชาติ ใครมีเรือ่ งราวทุกข์รอ้ นหนักหนาอย่างไร ก็ให้หนักเอาเบาสู้ อย่านึกวาดภาพว่าจะได้ไปเที่ยวสนุกสนาน จะได้ไม่ผิดหวัง’ ...” นอกจากนี้ ในพระราชนิพนธ์เรือ่ ง “ความทรงจ�ำในการเสด็จตา่ งประเทศทางราชการ” ของสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ ยังได้บันทึกถึงเรื่อง การเตรียมร่างพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร โดยทรงให้ความส�ำคัญอย่างมาก ดังตอนหนึ่งความว่า “... ประทั บ อยู ่ ที่ ง านจนถึ ง สองทุ ่ ม กว่ า จึ ง เสด็ จ ขึ้ น เครื่ อ งบิ น เสวยพระกระยาหารค�่ ำ บน เครื่ อ งบิ น เครื่ อ งบิ น ออกจากฮอนโนลู ลู เวลา สองทุ ่ ม ครึ่ ง กว่ า จะเสวยเสร็ จ ก็ ห ้ า ทุ ่ ม ข้ า พเจ้ า ทูลถามว่า ‘เมื่อคืนนี้บรรทมหลับสักเท่าไหร่ ระหว่าง กรุงเทพฯ ไปฮาวาย’ ทรงตอบว่า ‘ได้ราว ๆ ๔๐ นาที’ ข้าพเจ้าจึงทูลว่า ‘บรรทมเสียเถิด’ รับสั่งว่า ‘ไม่ได้ ต้องเตรียม Speech ต่อไปอีก’ เกี่ยวกับการที่จะมี พระราชด�ำรัสนี้รับสั่งว่า ‘ความจริง ต้องเตรียมไว้ ให้พร้อมเสมอ แต่บางครั้งก็ไม่ได้ใช้ เพราะเวลาเขา กล่าวสุนทรพจน์สด ๆ มา ใครจะมาควักกระดาษ ขึน้ มาอ่านได้ เราก็ตอ้ งว่าสด ๆ ตอบเขาไปเหมือนกัน’...”

เสด็จพระราชด�ำเนินไปยังพระราชวังคริสเตียนสเบิร์ก ประเทศเดนมาร์ก เมื่อวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๐๓

124

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จเยือนประเทศต่าง ๆ หลายประเทศ ประเทศแรกที่เสด็จฯ​ อย่างเป็นทางการ คือ ประเทศเวียดนามใต้ ระหว่างวันที่ ๑๘-๒๑ ธันวาคม ๒๕๐๒ และประเทศ สุดท้ายคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ระหว่างวันที่ ๘-๙ เมษายน ๒๕๓๗ การเสด็จเยือนต่างประเทศครั้งใหญ่ คือ การเสด็จพระราชด�ำเนินสหรัฐอเมริกาและประเทศในยุโรปรวม ๑๔ ประเทศกับ ๑ รัฐ ระหว่างวันที่ ๑๔ มิถุนายน ถึง 18 พฤศจิกายน 2503 ปี 2503 สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ระหว่างวันที่ 8 - 16 กุมภาพันธ์ 2503 สหภาพพม่า ระหว่างวันที่ 2 - 5 มีนาคม 2503 สหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน - 15 กรกฎาคม 2503 ประเทศอังกฤษ ระหว่างวันที่ 19 - 23 กรกฎาคม 2503 สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม 2503 สาธารณรัฐโปรตุเกส ระหว่างวันที่ 22 - 25 สิงหาคม 2503 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 29 - 31 สิงหาคม 2503 ประเทศเดนมาร์ก ระหว่างวันที่ 6 - 9 กันยายน 2503 ประเทศนอร์เวย์ ระหว่างวันที่ 19 - 21 กันยายน 2503 ประเทศสวีเดน ระหว่างวันที่ 23 - 25 กันยายน 2503 สาธารณรัฐอิตาลี ระหว่างวันที่ 28 กันยายน - 1 ตุลาคม 2503 นครรัฐวาติกัน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2503 ประเทศเบลเยียม ระหว่างวันที่ 4 - 7 ตุลาคม 2503 สาธารณรัฐฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 11 - 14 ตุลาคม 2503 ประเทศลักเซมเบิร์ก ระหว่างวันที่ 17 - 19 ตุลาคม 2503 ประเทศเนเธอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 24 - 27 ตุลาคม 2503 ประเทศสเปน ระหว่างวันที่ 3 - 8 พฤศจิกายน 2503 ปี 2505 สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน ระหว่างวันที่ 11 - 22 มีนาคม 2505 สหพันธรัฐมลายา ระหว่างวันที่ 20 - 27 มิถุนายน 2505 ประเทศนิวซีแลนด์ ระหว่างวันที่ 18 - 26 สิงหาคม 2505 ประเทศออสเตรเลีย ระหว่างวันที่ 26 สิงหาคม - 12 กันยายน 2505

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 125


ปี 2506 ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 27 พฤษภาคม - 5 มิถุนายน 2506 สาธารณรัฐจีน ระหว่างวันที่ 5 - 8 มิถุนายน 2506 สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ระหว่างวันที่ 9 - 14 กรกฎาคม 2506 ปี 2507 สาธารณรัฐออสเตรีย ระหว่างวันที่ 29 กันยายน - 5 ธันวาคม 2507 ปี 2509 สาธารณรัฐเยอรมัน ระหว่างวันที่ 22 - 28 สิงหาคม 2509 สาธารณรัฐออสเตรีย ระหว่างวันที่ 29 กันยายน - 2 ตุลาคม 2509 ปี 2510 ประเทศอิหร่าน ระหว่างวันที่ 23 - 30 เมษายน 2510 สหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 6 - 20 มิถุนายน 2510 ประเทศแคนาดา ระหว่างวันที่ 21 - 24 มิถุนายน 2510 แต่ที่น่าจะประทับใจที่สุด ก็คือการเสด็จฯ เยือนสหรัฐอเมริกา ซึ่งหม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต (ต่อมาได้รับสถาปนาพระอิสริยศักดิ์เป็นพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต) ได้ทรงบันทึกถึงความประทับใจของผู้ฟังที่มีต่อพระราชด�ำรัสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานต่อรัฐสภาของสหรัฐอเมริกา เมือ่ วันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๐๓ ใน หนังสือ “เสด็จพระราชด�ำเนินสหรัฐอเมริกา” ตอนหนึ่งว่า “นับว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจเป็นผลส�ำเร็จ อย่างยอดเยี่ยมในการเจริญสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศ ท�ำให้ชื่อเสียงของประเทศไทย และชาวไทยทั้งมวลเลื่องลือไปทั่วโลก โดยเฉพาะท�ำให้ชาติอื่น ๆ เข้าใจ “ความเป็นไทย” อย่างแท้จริงของเรา จะเห็นได้จากเหตุการณ์อันแสดงความชื่นชมของที่ประชุมรัฐสภา ของสหรัฐอเมริกา ในวันทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พระราชทานพระราชด�ำรัสต่อทีป่ ระชุม

126

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ตามทีท่ รงได้รบั ค�ำกราบบังคมทูลเชิญให้มพี ระราชด�ำรัส ในขณะทีม่ พี ระราชด�ำรัสแก่ทปี่ ระชุมนัน้ สมาชิกรัฐสภาถึงกับปรบมือ ถวายพระเกียรติเป็นตอน ๆ รวมทั้งสิ้นถึง ๑๗ ครั้ง และเมื่อพระราชทานกระแสพระราชด�ำรัสจบลง สมาชิกรัฐสภาทั้งหมดก็ ยืนขึ้นปรบมือถวายพระเกียรติเสียงสนั่นไปทั่วรัฐสภาอันกว้างใหญ่มโหฬารนั้น” นอกจากนี้ พระราชด�ำรัสหลายครั้งยังแสดงถึงพระราชอารมณ์ขันและพระราชปฏิภาณอันฉับไว ดังเช่นนักข่าว ชาวอเมริกนั กราบบังคมทูลถามว่าทรงรูส้ กึ อย่างไรกับการเสด็จฯ เยือนสหรัฐอเมริกาครัง้ แรก มีพระราชด�ำรัสตอบว่า “ก็ตนื่ เต้น ที่ได้กลับมาเยี่ยมบ้านเกิด เพราะข้าพเจ้าเกิดที่นี่ ที่เมืองบอสตัน” ผู้สื่อข่าวรู้สึกประทับใจในพระองค์ทันที และเมื่อมีค�ำถาม ตอนใกล้จบการพระราชทานสัมภาษณ์ว่าจะทรงมีสิ่งใดฝากถึงอเมริกันชนทั่ว ๆ ไปบ้าง มีพระราชด�ำรัสว่า “คนอเมริกัน ดูช่างรีบร้อนกันเหลือเกิน ถ้าหากจะ go slow จะท�ำให้มีความสุขยิ่งกว่านี้” หลังจากที่เสด็จฯ เยือนประเทศต่าง ๆ แล้ว ก็ไม่เคยเสด็จฯ ไปประเทศไหนอีกเลย จนกระทั่งในปี ๒๕๓๗ ได้เสด็จฯ เยือนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นเวลา ๑ วัน เพื่อไปทอดพระเนตรศูนย์พัฒนาและบริการด้านการเกษตร ห้วยซอน - ห้วยซัว้ แขวงเวียงจันทน์ ทีไ่ ด้พระราชทานโครงการตามหนังสือกราบบังคมทูลขอพระราชทานความช่วยเหลือของ ท่านไกสอน พมวิหาน ประธานประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ความว่า

และจากพระราชนิพนธ์ความทรงจ�ำในการเสด็จต่างประเทศทางราชการดังกล่าวข้างต้น ได้ทรงเล่าไว้อีกตอนหนึ่ง

“...เพราะพระเจ้าอยูห่ วั ทรงตัง้ พระทัยไว้อย่างแน่วแน่วา่ จะไม่เสด็จออกนอกประเทศ ถ้าไม่ทรงมีเหตุผลทีส่ ำ� คัญพอ ในฐานะทีท่ รงเป็นประมุขของชาวไทย สมควรทีจ่ ะประทับอยูใ่ นบ้านเมืองเพือ่ อยูใ่ กล้ชดิ กับราษฎรของท่านให้มากทีส่ ดุ ถึงแม้ เมื่อเสด็จแปรพระราชฐาน ก็ทรงแปรอยู่ในประเทศเรานี่เอง ทางเหนือบ้าง ทางใต้บ้าง แล้วแต่โอกาสจะอ�ำนวย ไม่ได้เคยทรง คิดทีจ่ ะเสด็จไปทรงสกีนอกประเทศตอนหน้าหนาว หรือเสด็จเมืองใกล้เคียงเพือ่ ทรงเทีย่ วเตร่ ซือ้ ของ หรือเปลีย่ นบรรยากาศ อย่างคนอื่นในฐานะเดียวกันนี้เลย...” แม้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จะไม่ได้เสด็จพระราชด� ำเนินเยือน ต่างประเทศอีก แต่ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ ตลอดจน พระบรมวงศานุ ว งศ์ เ สด็ จ พระราชด� ำ เนิ น แทนพระองค์ ไ ปทรงเจริ ญ พระราชไมตรี ต ลอดจนไปร่ ว มพระราชพิ ธี และ พิธีที่ประมุขต่างประเทศกราบบังคมทูลพระกรุณาเชิญเสด็จพระราชด�ำเนินมาด้วยไมตรีจิตอยู่เนือง ๆ

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 127


...การพูดดี คือดีด้วยเนื้อหาสาระ พอดีกับกาละเทศะ เหมาะสมกับฐานะและบุคคล ไม่มากหรือน้อยเกินไป คนฟังสบาย จับเรือ่ งราวได้ชดั และถูกต้องตามความประสงค์. เมื่อพูดจาสื่อสารกันได้ไม่ติดขัด ก็จะมีความเข้าอกเข้าใจกัน และสามารถร่วมมือกัน ทำ�งานสร้างสรรค์ความสุขความเจริญให้เกิดขึ้นได้. ปัญหาต่างๆ ก็จะไม่เกิดขึ้น หรือ หากจะเกิดขึ้นบ้าง ก็สามารถพูดจาทำ�ความเข้าใจกันได้โดยไม่ยากนัก...

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ณ ศาลาอ่างแก้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๓๘

สารบัญ


ประชาชื่น สารบัญ


...สังคมใด ๆ ก็ตามย่อมต้องมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ตามเหตุปัจจัยต่าง ๆ ที่ผลักดันให้เป็นไป ถ้าปล่อยให้เป็นไปโดยไร้จุดหมาย ปราศจากการควบคุมดูแล และการปรับปรุงให้เข้าระเบียบอันเหมาะสม ก็อาจเปลี่ยนแปลงไปเป็นสังคมที่เสื่อม และวุน่ วายสับสนได้. จึงเป็นการจำ�เป็นทีบ่ คุ คลในสังคมจะต้องช่วยกันจัดวางแนวทาง การเปลี่ยนแปลงให้ถูก ให้ดี ให้เป็น การสร้างสรรค์ เพื่อควบคุมประคับประคอง การเปลี่ยนแปลงนั้นให้พัฒนาไปอย่างมีระเบียบและหลักเกณฑ์ สู่เป้าหมายที่พึง ประสงค์ คือความผาสุก ความมั่นคง และความก้าวหน้าของทุกคนในสังคม อันรวม เรียกว่าการพัฒนาสังคม...

พระบรมราโชวาท เพื่อเชิญไปอ่านในพิธีเปิดการสัมมนาเรื่อง “วิถีชีวิตอิสลามกับการพัฒนาสังคม” ณ สำ�นักงานมูลนิธิช่วยเหลือเด็กกำ�พร้าของสตรีไทยมุสลิมแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ ๗ - ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๓๑

สารบัญ


ถนนประชาชื่น

มื่อมีผใู้ ห้ดว้ ยใจบริสุทธิ์ ผูร้ ับยอ่ มยินดีมีความสุข ประชาชื่นความหมายของผู้เขียนในที่นี้คือ ประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า เกิดความปีติยินดีและมีความสุข อันเป็นผลจากการทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่ง มหาชนชาวสยามอย่างแท้จริง

สุขที่ได้รับจากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ๔,๖๘๕ โครงการ สุขจากปราชญ์ที่ปราดเปรื่อง สุขที่ได้รับความเมตตาห่วงใยต่อพสกนิกรเยี่ยงลูกเยี่ยงหลาน สุขอันเป็นผลที่พระองค์ทรงท�ำให้คนไทยบรรเทาความทุกข์ยาก และประเทศชาติเกิดความมั่นคง สุขจากการที่พระองค์ทรงแก้ไขปัญหาให้แก่ชาติและประชาชน ตั้งแต่ระดับปัจเจกบุคคลจนถึงระดับชาติ

ที่มาข้อมูล : ส�ำนักงาน กปร. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จ�ำนวน ๔,๖๘๕ โครงการ ข้อมูล ณ กันยายน ๒๕๕๙ สารบัญ


สุขเพราะพระองค์ทรงรอบรู้ รู้รอบในวิชาการต่าง ๆ และวิธีปฏิบัติที่หลากหลายที่ได้มาช่วยเหลือประชาชน ทรงมี ประสบการณ์ในเรื่องต่าง ๆ มากมายเพราะทรงเป็น ๑. นักปกครอง (รัฐศาสตร์)

๒. นักกฎหมาย

๓. นักวิทยาศาสตร์

๔. นักเศรษฐศาสตร์

๕. นักปรัชญา

๖. ปราชญ์แห่งน�้ำ

๗. นักวิชาการสิ่งแวดล้อม

๘. นักวิชาการป่าไม้

๙. นักอนุรักษ์ดิน

๑๐. นักภาษาศาสตร์

๑๑. นักประดิษฐ์

๑๒. นักประพันธ์

๑๓. นักอุตุนิยมวิทยา

๑๔. นักวิชาการและบริหารงานเกษตรกรรม

๑๕. นักวิศวกรรมศาสตร์

๑๖. นักสาธารณสุขศาสตร์

๑๗. นักภาษาศาสตร์

๑๘. นักการศาสนา

๑๙. นักดนตรี

๒๐. นักกีฬา

๒๑. จิตรกรวาดภาพ

๒๒. นักออกแบบสร้างสรรค์

ฯลฯ

ในชีวิตคนคนหนึ่งที่ท�ำงานอยู่แต่ในพระราชวังตลอดชีวิต ไม่มีวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ หรือวันนักขัตฤกษ์ ไม่เคยเข้า ศูนย์การค้าไปเตร็ดเตร่หาซื้อเสื้อผ้าอาภรณ์เครื่องประดับตามศูนย์การค้า หรือหาอาหารอร่อย ๆ ไม่ได้ไปดูหนังฟังเพลงแบบ พวกเรา อย่างดีก็แค่ไปเปลี่ยนบรรยากาศที่วังไกลกังวล แม้กระนั้นก็ยังทรงงานไปด้วย งานที่ทรงท�ำ ผู้เขียนไม่สามารถบรรยายได้หมด เพราะเป็นเรื่องสุดวิสัยโดยแท้ แต่ก็พยายามรวบรวมสิ่งที่ทรงท�ำให้ คนไทยได้รับอะไรขนาดไหนบ้าง ดังผู้เขียนได้รวบรวมข้อมูลได้ดังนี้ โครงการพระราชด�ำริหรืออันเนื่องจากพระราชด�ำริ ตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๙๕ ถึง ๒๕๕๙ (เดือนกันยายน) มีจ�ำนวน ๔,๖๘๕ โครงการ แยกเป็น ๑. โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำ ๓,๒๐๔ โครงการ ๒. โครงการด้านการเกษตร ๑๖๙ โครงการ ๓. โครงการด้านสิ่งแวดล้อม ๑๗๗ โครงการ

132 ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


๔. โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ๓๔๑ โครงการ ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข ๕๗ โครงการ ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคมและสื่อสาร ๘๖ โครงการ ๗. โครงการพัฒนาด้านสวัสดิการสังคมและการศึกษา ๓๙๓ โครงการ ๘. โครงการพัฒนาด้านบูรณาการและอื่น ๆ ๒๕๘ โครงการ โดยเฉพาะโครงการพัฒนาแหล่งน�้ำ หรือน�้ำคือชีวิตนั้น จะเห็นได้ว่ามีมากที่สุดถึง ๓,๒๐๔ โครงการ กระจาย ตามภาคต่าง ๆ ได้ดังนี้ จ�ำนวนโครงการ

ประชาชนได้รับประโยชน์ (ครัวเรือน)

พื้นที่การเกษตร (ไร่)

ภาคเหนือ

๑,๒๓๓

๙๑,๔๑๑

๒,๖๙๒,๓๔๘

ภาคกลาง

๕๐๓

๕๐,๗๒๕

๓,๗๖๔,๘๔๕

ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ

๘๔๑

๑๕๔,๘๕๗

๑,๙๙๕,๑๗๙

ภาคใต้

๖๒๗

๑๓๒,๓๙๘

๑,๐๖๔,๘๙๑

รวม

๓,๒๐๔

๔๒๙,๓๙๑

๙,๕๑๗,๒๖๓

ที่มา/อ้างอิง ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ, กันยายน ๒๕๕๙

จะเห็นได้วา่ น�ำ้ ซึง่ เป็นสิง่ ตัง้ ต้นแห่งชีวติ ทัง้ มนุษย์ สัตว์และพืชพรรณทัง้ หลายนัน้ มีถงึ ๓,๒๐๔ โครงการ สามารถท�ำการ เกษตรได้ ๙,๕๑๗,๖๒๓ ไร่ ยังประโยชน์ให้ชาวบ้านได้ ๔๒๙,๓๙๑ ครัวเรือน (ถ้าหากนับครัวเรือนเป็นประชากรครัวเรือนละ ๔ คน) ผู้ที่ได้ประโยชน์จากแหล่งน�้ำที่ทรงสร้างไว้มีถึง ๑,๗๑๗,๕๖๔ คน ผู้เขียนไปตามต่างจังหวัดที่มีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริอยู่บ่อยครั้ง ได้ไปพบปะพูดจากับชาวบ้านที่อยู่ใน โครงการหรือรอบ ๆ โครงการก็มแี ต่คนพูดว่าตัง้ แต่มโี ครงการของในหลวงหมูบ่ า้ นเราก็ดขี นึ้ และผูเ้ ขียนเองก็เห็นผลเป็นประจักษ์ ว่าชาวบ้านเหล่านั้นดีขึ้นกว่าเดิมที่เคยเป็นอยู่ไม่มากก็น้อย โดยเฉพาะแนวพระราชด�ำริเรื่องทฤษฎีใหม่ เรื่องเกษตรผสมผสาน ไม่ว่าใครลงมือท�ำก็จะเห็นผลได้ไม่นานนัก คือ สามารถปลดหนี้สินได้ มีกินมีใช้ได้ตลอดปี บางครัวเรือนก็มีผลผลิตเหลือขาย และมีเงินส�ำหรับเก็บออมได้ด้วย

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 133


อีกส่วนหนึ่งคือ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ที่ได้ขยายผลไปทั่วประเทศในลักษณะศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงหรือทฤษฎีใหม่นั้น ท�ำให้ชาวบ้านที่ท�ำส�ำเร็จก็จะเผยแพร่ข่าวสารออกไป จนมีผู้คนมาดูงานมากมายและเมื่อ เห็นว่าได้ผลจริง ๆ แนวพระราชด�ำริต่าง ๆ ก็แพร่กระจายขยายไปเป็นล�ำดับ จนเป็นผลที่ประจักษ์อย่างเด่นชัด ถึงแม้ยังไม่มี หน่วยงานใดไปประเมินผลอย่างเป็นวิชาการก็ตาม แต่ผลงานเป็นที่ประจักษ์แล้ว และสามารถรับรู้ได้โดยทั่วไปจากค�ำพูดของ ชาวบ้านที่ว่า “ลืมตาอ้าปากได้แล้ว” ดินที่ไหนไม่ดีก็ไปท�ำจนกลายเป็นดินดีได้ เช่น โครงการที่เขาชะงุ้ม จังหวัดราชบุรี เมื่อมีคนน�ำเอาบ่อลูกรังที่ขุด ไปขายบ้างแล้วมาถวาย ก็ทรงรับไว้ด้วยความยินดี และพระองค์ก็ทรงด�ำเนินการให้เกิดป่าเขียวชอุ่ม ดินก็กลับมาดีได้ ปลูกพืช ได้ในเวลาไม่กี่ปี ดินที่จังหวัดนราธิวาสเปรี้ยวจนปลูกอะไรไม่ค่อยได้ผลหรือปลูกไม่ได้เลย ก็ทรงศึกษาหาทฤษฎีขึ้นมาอีกทฤษฎีหนึ่ง ชื่อว่า “แกล้งดิน” ซึ่งท�ำให้ดินที่เปรี้ยวมีกรดจัด สามารถปลูกข้าวที่ชาวบ้านเคยปลูกได้ไร่ละ ๕-๑๐ ถังต่อไร่ขึ้นมาเป็น ๔๐-๕๐ ถังต่อไร่ ทรงมีศาสตร์และวิธีการมากมายในการช่วยเหลือประชาชนในทุกสายอาชีพขอเพียงให้ขยันหมั่นเพียร มีมานะอดทน หน่อยก็ไม่มีทางที่จะ “อดตาย” ทีศ่ นู ย์ศกึ ษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ผูเ้ ขียนได้รว่ มอยูใ่ นคณะทีไ่ ปส�ำรวจพืน้ ทีท่ มี่ ี พระราชด�ำริให้จดั ตัง้ เป็นศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ ส�ำหรับเป็นตัวแทนของภูมภิ าคทางเหนือ พอเข้าไปในพืน้ ทีเ่ บือ้ งแรก ทีเ่ ห็นเลยคือดินแดงไม่มอี ะไรขึน้ นอกจากใบไม้แห้ง ๆ ทีร่ ว่ งลงมาเต็มพืน้ ดินไปหมด ต้นไม้กม็ แี ต่กงิ่ ไม่มใี บยืนแห้งตายอยูเ่ ป็นแถว ยังคิดอยูเ่ ลยว่าจะเอาพืน้ ทีน่ มี้ าพัฒนาได้ยงั ไง ไม่มสี งิ่ มีชวี ติ อยูซ่ กั ตัวยกเว้นพวกเรา ๖-๗ คน ทีเ่ ป็นคณะส�ำรวจเดินเข้าไป แต่มาทราบ ภายหลังว่ายิ่งพื้นที่เสื่อมโทรมมากเท่าไหร่ก็ยิ่งอยากไปพัฒนาให้เป็นตัวอย่าง และแล้วภายในประมาณ ๑๐ กว่าปี ศูนย์ศึกษา การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ นี้ก็กลายเป็นป่าเบญจพรรณ มีนกยูงเข้ามาอาศัยอยู่เป็นฝูง รวมทั้งสัตว์อื่น ๆ อีกมากมาย นี่ก็เป็น ผลเชิงประจักษ์อย่างชัดเจนทางด้านสิ่งแวดล้อม ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเชียงใหม่

134

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


นอกจากนี้ การปลูกต้นชานำ�้ มันของมูลนิธชิ ยั พัฒนาทีอ่ �ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย มีพนื้ ทีเ่ ป็นป่าอนุรกั ษ์และป่าไม้ ใช้สอย มีพื้นที่รวม ๓๕,๐๑๙ ไร่ ก่อนอื่นต้องขออธิบายว่า ต้นชาน�้ำมันนี้ไม่ใช่เป็นต้นลักษณะเตี้ย ๆ ตามที่เคยเห็น คนไทยและ ชาวไทยภูเขาสะพายตะกร้าออกเด็ดยอดใบในตอนเช้า ๆ ซึง่ หลังผ่านกระบวนการผลิตแล้วก็ได้ใบชามาชงดืม่ กัน แต่ตน้ ชานำ�้ มัน นัน้ เป็นต้นไม้ใหญ่พอสมควร สูงเต็มทีป่ ระมาณ ๒ - ๓ เมตร เราอาศัยเมล็ดจากต้นชานำ�้ มันมาท�ำประโยชน์ตา่ ง ๆ เช่น เป็นนำ�้ มัน ปรุงอาหาร น�ำมาใช้ท�ำเครื่องส�ำอางต่าง ๆ เป็นยา ฯลฯ และชาวไทยภูเขาก็จะเก็บเมล็ดชา ซึ่งเป็นผลผลิตจากต้นมาจ�ำหน่าย ให้แก่โรงงานผลิตน�้ำมันเมล็ดชาของมูลนิธิชัยพัฒนา ที่อยู่ที่อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย การท�ำลายป่าจึงหมดไป เพราะ เขาหวงแหนต้นชานำ�้ มันทีท่ �ำรายได้ให้พวกเขา เพราะฉะนัน้ อย่างน้อยโครงการนีข้ องมูลนิธชิ ยั พัฒนาก็สามารถสร้างป่าให้เพิม่ ขึน้ อีกประมาณ ๓๕,๐๐๐ ไร่ โดยมีชาวไทยภูเขาเป็นผู้ดูแลไม่ต้องไปจ้างใคร และสิ่งที่เราได้จากโครงการนี้ด้วย คือ ๑) ลดความสูญเสียน�้ำในดินจากแสงแดด ๒) ลดความเสียหายจากการสูญเสียหน้าดิน ๓) ลดความสูญเสียธาตุอาหารและความอุดมสมบูรณ์ของดิน ๔) ลดความเสียหายจากสภาวะโลกร้อน ๕) เป็นแหล่งดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ ๖) ปริมาณคาร์บอนที่ถูกกักเก็บเฉลี่ย ๓๓,๒๖๘ ตันต่อปี (ระหว่างปี ๒๕๕๙-๒๕๐๒) และคาดการณ์ว่าจะ ขายได้ ๖.๖๕ ล้านบาทต่อปี ส่วนผลประโยชน์ที่ชาวบ้านได้รับอย่างชัดเจน คือ ๑) การจ้างงานในพื้นที่ ๒) การเข้าถึงแหล่งน�้ำอุปโภคบริโภคตลอดปี ๓) การใช้ประโยชน์จากไม้ใช้สอย (แหล่งอาหาร/ไม้ใช้สอย ฯลฯ) ๔) โอกาสการเข้าถึงการศึกษาและทางเลือกในการประกอบอาชีพ ๕) บรรเทาปัญหายาเสพติดและความมั่นคงของชาติ ที่มา/อ้างอิงจากการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของทรัพยากรป่าไม้ โดย ๑) สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ๒) กรมป่าไม้และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๓) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๔) กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ๕) ส�ำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโดยประเมินมูลค่าทรัพยากรป่าไม้ที่ปลูกทดแทนใหม่ปีที่ ๑๐ ที่ ๒,๖๖๘,๙๒๐ บาทต่อไร่ และ ๖) การค�ำนวณตามแนวทางขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์กรมหาชน) สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 135


ส�ำหรั บ โครงการศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นาสิ่ ง แวดล้ อ ม แหลมผักเบีย้ อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัด เพชรบุรี ซึ่งเป็นโครงการศึกษาวิจัยหาเทคโนโลยีที่เหมาะสม ในการแก้ไขปัญหาน�้ำเน่าเสีย และขยะชุมชนที่ประหยัด สะดวก ท�ำง่าย ปรากฏว่าผลพลอยได้จากการด�ำเนินโครงการฯ ทีผ่ า่ นมานัน้ นอกจากจะได้ น�้ ำ ที่ ผ ่ า นการบ�ำบั ด แล้ ว มี คุ ณ ภาพตามเกณฑ์ มาตรฐานก�ำหนด สามารถน�ำกลับมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้ และเมื่อถูกปล่อยผ่านพื้นที่ป่าชายเลน เพื่อระบายลงสู่ทะเล เป็น ที่ประจักษ์แล้วว่า ช่วยท�ำให้พื้นที่ป่าชายเลนมีความอุดมสมบูรณ์ มากยิ่งขึ้น ประกอบกับพื้นที่ของโครงการฯ ได้ครอบคลุมพื้นที่ ป่าชายเลนที่ยื่นออกไปในทะเลเป็นบริเวณกว้างและเชื่อมต่อกับ ชายฝั่งทะเลอ่าวไทยตอนบนฝั่งตะวันตก ซึ่งเป็นรอยต่อของน�้ำจืด ที่ไหลมาจากแม่น�้ำเพชรบุรี ท�ำให้เกิดเป็นระบบนิเวศน�้ำกร่อย มีหาดเลนยาว มีธาตุอาหารและอินทรียวัตถุอุดมสมบูรณ์ จึงท�ำให้ ป่าชายเลนของโครงการฯ มีความอุดมสมบูรณ์สามารถเป็นแหล่ง วางไข่และเพาะพันธุ์สัตว์น�้ำ เป็นที่อยู่อาศัยของสรรพสัตว์และ เป็นแนวกันลมกันคลื่นโดยธรรมชาติได้อย่างดี จากการศึกษา ผลพลอยได้จากการใช้ประโยชน์ทรัพยากรบริเวณพืน้ ทีป่ า่ ชายเลน และหาดเลนของโครงการ เพือ่ ศึกษาถึงปริมาณและชนิดของสัตว์นำ�้ รวมถึงรายได้ของประชาชนในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร สัตว์น�้ำทางเศรษฐกิจที่จับได้บริเวณหาดเลนและป่าชายเลนของ โครงการฯ พบว่าสัตว์น�้ำทางเศรษฐกิจที่จับได้มีน�้ำหนักรวมตลอด ทั้งปีเท่ากับ ๒๖๔,๔๒๗ กิโลกรัม ประชาชนที่เข้ามาใช้ประโยชน์ ในพื้นที่โครงการฯ ปีละประมาณ ๒๓,๐๒๖ คน เมื่อค�ำนวณ ราคาของสัตว์น�้ำทุกชนิดรวมกันตลอดทั้งปีจะเป็นจ�ำนวนเงิน ๒,๔๔๔,๔๒๐ บาท และโดยเฉลี่ยประชาชนจะมีรายได้เพิ่มขึ้น เดือนละ ๓,๒๕๐ บาทต่อเดือน

136

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


นอกจากนี้ในการศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยวิธีธรรมชาติช่วยธรรมชาติ รวมถึงการฟื้นฟูสภาพป่าชายเลน ท�ำให้บริเวณพื้นที่โครงการแหลมผักเบี้ยฯ มีความอุดมสมบูรณ์จนกลายเป็นแหล่งอาศัยของนกนานาชนิด เหมาะแก่การศึกษา ความหลากหลายของชนิดพันธุ์นกในพื้นที่ต�ำบลแหลมผักเบี้ย พบว่ามีนกในบริเวณโครงการและพื้นที่ใกล้เคียงถึง ๒๔๒ ชนิด ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมได้ดีขึ้นเป็นอย่างมาก ส�ำหรับการสาธารณสุขคนที่เป็นโรคเรื้อนหายไปเกือบหมดประเทศไทย อหิวาตกโรคก็แทบจะไม่มีระบาดอีกแล้ว เหมือนสมัยก่อน วัคซีน BCG เราก็สามารถผลิตได้เองอย่างมีคณ ุ ภาพมาตรฐาน ประหยัดงบประมาณในการซือ้ จากต่างประเทศ ไปได้มาก การสาธารณสุขพัฒนาขึ้นอย่างมาก ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นโดยเฉพาะชาวชนบทที่พระองค์ทรงส่ง หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ หมอหมู่บ้านไปช่วยรักษาพยาบาล ส่วนการศึกษาก็ได้กระจายไปชนบทอย่างกว้างขวาง โดยการตัง้ โรงเรียนต่าง ๆ ตลอดจนทรงให้ทนุ การศึกษาในระดับ และสาขาต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อชาติประชาชนเป็นอย่างมากอย่างที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบันก็เพราะทรงสร้างรากฐานไว้ให้ เป็นส�ำคัญ

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 137


…คนจำ�นวนมากย่อมมีความคิดที่แตกต่างกันไป ตามพื้น ฐานภูมิรู้และภูมิธรรม ของแต่ละคน. ปัญหาข้อขัดแย้งต่าง ๆ ในการทำ�งาน ก็อาจเกิดขึน้ ได้เสมอ. เมือ่ มีปญ ั หา เกิดขึน้ ทุกคนชอบทีจ่ ะทำ�ความคิดความเห็นให้สอดคล้องกัน ร่วมกันพิจารณาหาทาง แก้ไขด้วยเหตุและผลตามเป็นจริงบนพืน้ ฐานอันเดียวกัน ก็จะเห็นแนวทางปฏิบตั แิ ก้ไข ได้อย่างเที่ยงตรง ถูกต้อง และเหมาะสม...

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๓๗

สารบัญ


เทิดราชัน สารบัญ


...เกี ย รติ แ ละความสำ � เร็ จ เกิ ด จากผลการปฏิ บั ติ ง านและปฏิ บั ติ ตั ว ของแต่ ล ะคน ที่ ส ามารถปฏิ บั ติ ง านในความรั บ ผิ ด ชอบให้ ไ ด้ ผ ลสมบู ร ณ์ ต รงตามวั ต ถุ ป ระสงค์ และปฏิบัติตัวให้สุจริต เที่ยงตรงพอควรพอดีแก่ต�ำ แหน่งหน้าที่ที่ด�ำ รงอยู่...

พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน เนื่องในวันข้าราชการพลเรือน พระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๓๑

สารบัญ


ถนนเทิดราชัน

ลงานที่คนไทยและคนทัว่ โลกมองเห็นคุณคา่ แห่งความดี ความเพียร ความมุ่งมั่นที่จะให้ประชาชน ประเทศชาติ และประชาคมโลกพบแตค่ วามเจริญและสันติสุข ด้วยการที่ทรงงานหนักมาตลอดระยะเวลา ๗๐ ปี ทรงมีผลงานที่เป็น ผลสัมฤทธิ์มากมาย และแพร่หลายไปทั่วโลก ดังจะเห็นได้ว่า พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นผู้ที่ได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิ์มากเป็นสถิติโลก ทั้งจากมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและ ต่างประเทศจ�ำนวนถึง ๑๘๔ ฉบับ (พ.ศ. ๒๕๕๕) รวมทั้งรางวัลที่เป็นถ้วยรางวัล เป็นเหรียญอีก แต่ที่น่าสนใจคือ รางวัลการพัฒนามนุษย์ของสหประชาชาติที่ เลขาธิการสหประชาชาติน�ำมาทูลเกล้าฯ ถวายด้วยตัวเอง และการแพร่กระจายไป ทัว่ โลกด้านเศรษฐกิจพอเพียง Efficiency Economic ซึง่ นับได้วา่ เป็นทฤษฎีใหม่อกี ทฤษฎีหนึ่งในด้านเศรษฐศาสตร์ที่สามารถใช้ได้ดีในทุกประเทศทั่วโลก โดยเฉพาะ

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 141


กลุ่มประเทศที่ยังด้อยพัฒนาหรือก�ำลังพัฒนาพระองค์เคยตรัสว่าถ้าคนเราอยู่แบบพอเพียง หมู่บ้านพอเพียง คนในต�ำบล พอเพียง อ�ำเภอ จังหวัด ประเทศพอเพียงและถ้าประเทศทุกประเทศอยู่กันแบบพอเพียงได้ โลกนี้จะอยู่กันอย่างสันติสุข ด้วยทรงเชีย่ วชาญในงานหลายแขนงด้วยความรูล้ กึ ซึง้ และรูจ้ ริง จนทรงได้รบั การทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิ์ และรางวัลต่าง ๆ มากมาย ดังต่อไปนี้

ปริญญากิตติมศักดิใ์ นประเทศไทย ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิ์ในประเทศไทยเป็นจ�ำนวน มากและหลากหลายสาขา (พ.ศ. ๒๔๙๓ - ๒๕๕๕) รวม ๑๘๔ ฉบับ จาก ๓๓ มหาวิทยาลัย อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๑ ฉบับ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๑๑ ฉบับ, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ๒๐ ฉบับ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ๙ ฉบับ, มหาวิทยาลัยมหิดล ๑๑ ฉบับ, มหาวิทยาลัยศิลปากร ๔ ฉบับ, มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๙ ฉบับ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๖ ฉบับ, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ๔ ฉบับ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ๒ ฉบับ, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ๑ ฉบับ, มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ๓ ฉบับ, มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ๒ ฉบับ, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๔ ฉบับ, สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ๖ ฉบับ, มหาวิทยาลัยบูรพา ๔ ฉบับ, มหาวิทยาลัยนเรศวร ๒ ฉบับ, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ๒ ฉบับ, มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ๑ ฉบับ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ๒ ฉบับ, มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี ๑ ฉบับ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๓๖ แห่ง เป็นต้น

ปริญญากิตติมศักดิใ์ นตา่ งประเทศ ทรงได้รบั การทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิใ์ นต่างประเทศ (พ.ศ. 2502 - 2555) รวม 25 ฉบับ จากมหาวิทยาลัย ในประเทศต่าง ๆ ดังนี้ ประเทศเวียดนาม ๑ ฉบับ, ประเทศอินโดนีเซีย ๑ ฉบับ, ประเทศปากีสถาน ๑ ฉบับ, ประเทศฟิลปิ ปินส์ ๑ ฉบับ, ประเทศสหรัฐอเมริกา ๗ ฉบับ, ประเทศออสเตรเลีย ๕ ฉบับ, ประเทศสหราชอาณาจักร ๓ ฉบับ, ประเทศแคนาดา ๑ ฉบับ, ประเทศคอสตาริกา ๑ ฉบับ, ประเทศนิวซีแลนด์ ๑ ฉบับ, ประเทศญี่ปุ่น ๑ ฉบับ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย/ ประเทศไทย ๒ ฉบับ รายชื่อสถาบันที่ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล รางวัลต่าง ๆ ที่ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายมีดังนี้

142

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ประเทศ

พุทธศักราช

สถาบัน

เบลเยียม

๒๕๑๘

รัฐสภายุโรป (European Parliament)

เหรียญรัฐสภายุโรป

เกาหลี

๒๕๒๙

สมาคมอธิการบดีระหว่าง ประเทศ (International Association of University Presidents)

รางวัลสันติภาพ (IAUP Peace Award)

ไทย

๒๕๓๐

สถาบันเทคโนโลยี แห่งเอเชีย

เหรียญทองเฉลิมพระเกียรติ คุณในการน�ำชนบทให้พัฒนา

สหรัฐอเมริกา

๒๕๓๐

องค์การโอเอสเอส (Office of เหรียญโดโนแวน (William J. Strategic Services) Donovan Medal)

สวิตเซอร์แลนด์

๒๕๓๐

คณะกรรมการโอลิมปิกสากล เหรียญทองดุษฎีกิตติมศักดิ์

สหราชอาณาจักร

๒๕๓๒

ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่ง อังกฤษ (Royal College of Surgeons of England)

เหรียญทองเฉลิมฉลองการ ประชุมร่วมกันระหว่างราช วิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งไทย และราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ แห่งอังกฤษ

สหรัฐอเมริกา

๒๕๓๔

โรตารีสากล

เหรียญทองสดุดี พระเกียรติคุณในการท�ำให้ ประเทศพัฒนาและก่อให้ เกิดความเข้าใจอันดีระหว่าง ประเทศ

ฝรั่งเศส

๒๕๓๔

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์แห่ง สหประชาชาติ

เหรียญฟีแล (Philae Medal)

สารบัญ

รางวัล

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 143


144

ประเทศ

พุทธศักราช

เคนยา

๒๕๓๕

โครงการสิ่งแวดล้อมแห่ง สหประชาชาติ

เหรียญทองสดุดี พระเกียรติคุณในฐานะที่ทรง บ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจดีเด่น เป็นที่ยอมรับของนานาชาติ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

สวิตเซอร์แลนด์

๒๕๓๕

องค์การอนามัยโลก

เหรียญทองสาธารณสุขเพื่อ มวลชน

สหรัฐอเมริกา

๒๕๓๖

สมาคมนานาชาติด้าน นิเวศวิทยาทางเคมี (International Society of Chemical Ecology)

เหรียญรางวัลเทิดพระเกียรติ ในการสงวนรักษาความ หลากหลายทางชีวภาพ

สหรัฐอเมริกา

2536

สมาคมควบคุมการกัด เซาะผิวดินนานาชาติ (The international erosion control association)

รางวัลประกาศพระเกียรติคุณ นานาชาติใน การใช้หญ้าแฝกเพื่อการ อนุรักษ์ดินและปรับปรุง สิ่งแวดล้อม

สหรัฐอเมริกา

2536

ธนาคารโลก

รางวัลหญ้าแฝกชุบส�ำริด

ออสเตรีย

2537

โครงการควบคุมยาเสพติด เหรียญทองค�ำสดุดี พระเกียรติคุณด้านการป้องกัน ระหว่างประเทศแห่ง แก้ไขปัญหายาเสพติด สหประชาชาติ (United Nations International Drug Control Programme)

อิตาลี

2538

องค์การอาหารและ เหรียญแอกริโคลา สดุดี การเกษตรแห่งสหประชาชาติ พระเกียรติคุณในด้านการ พัฒนาการเกษตร

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สถาบัน

สารบัญ

รางวัล


ประเทศ

พุทธศักราช

สถาบัน

ฟิลิปปินส์

2539

สถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ (International Rice Research Institute)

รางวัลข้าวนานาชาติ

สหรัฐอเมริกา

2539

โรตารีสากล

รางวัลสดุดีพระเกียรติคุณด้าน การบ�ำเพ็ญประโยชน์ เพื่อมนุษยธรรม

สหรัฐอเมริกา

2539

วิทยาลัยแพทย์รักษาโรค ทรวงอกแห่งสหรัฐอเมริกา (American College of Chest Physicians)

รางวัล The Partnering for World Health

สวิตเซอร์แลนด์

2540

องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก

รางวัลสดุดีพระเกียรติคุณด้าน อุตุนิยมวิทยา

แคนาดา

2540

องค์การสภาการควบคุม การขาดไอโอดีนนานาชาติ (Council for the Control of Iodine Deficiency Disorders)

เหรียญทอง ICCIDD

ไทย

2540

คณะกรรมการรางวัล วรรณกรรมสร้างสรรค์ ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน

รางวัลสดุดีพระเกียรติคุณด้าน วรรณกรรม

ฝรั่งเศส

2541

สหพันธ์องค์การต่อต้าน วัณโรคและโรคปอดนานาชาติ (International Union Against Tuberculosis and Lung Disease)

เหรียญทองสดุดี พระเกียรติคุณในฐานะที่ทรง อุทิศพระองค์เพื่อการรณรงค์ เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพปอด ระดับโลก

สหรัฐอเมริกา

2542

สโมสรไลออนส์สากล (Lions Clubs International)

รางวัล Lions Humanitarian

สารบัญ

รางวัล

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 145


146

ประเทศ

พุทธศักราช

สถาบัน

อิตาลี

2542

องค์การอาหารและเกษตร แห่งสหประชาชาติ

เหรียญ TeleFood

สหรัฐอเมริกา

2543

คณะการดนตรี มหาวิทยาลัยเยล

เหรียญ Sanford (Sanford Medal)

สวิตเซอร์แลนด์

2543

คณะกรรมการโอลิมปิกสากล ถ้วย Lalaounis

สวิตเซอร์แลนด์

2543

องค์การอนามัยโลก

รางวัล WHO

เบลเยียม

2543

Belgian Chamber of Investors

เหรียญรางวัล Merite de l'Invention

สหรัฐอเมริกา

2543

มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์

เหรียญเบิร์กลีย์ (The Berkeley Medal)

เบลเยียม

2544

Brussels Eureka 2000, 49th World Exhibition of Innovation, Research and New Technology

รางวัลสิ่งประดิษฐ์ ยอดเยี่ยมระดับโลกจาก ผลงาน "เครื่องเติมอากาศที่ ผิวน�้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอย" - เหรียญรางวัล Prix OMPI และประกาศนียบัตร - เหรียญรางวัล Gold Medal with Mention - ถ้วยรางวัล Grand Prix International - ถ้วยรางวัล Minister J.CHABERT - ถ้วยรางวัล Yugosiavia

เม็กซิโก

2544

สภามวยโลก

รางวัล Golden Shining Symbol of World Leadership

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ

รางวัล


ประเทศ

พุทธศักราช

สถาบัน

เบลเยียม

2545

Brussels Eureka 2001, 50th World Exhibition of Innovation, Research and New Technology

เคนยา

2547

โครงการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่ง รางวัล UN HABITAT scroll สหประชาชาติ of Honour Award (Special (United Nations Citation) Human Settlements Programme)

ไทย

2548

สมาคมสินเชื่อการเกษตรและ รางวัลรวงข้าวทองค�ำ ชนบทภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก

สหรัฐอเมริกา

2549

ส�ำนักงานโครงการพัฒนาแห่ง รางวัลความส�ำเร็จสูงสุด สหประชาชาติ ด้านการพัฒนามนุษย์

สวิตเซอร์แลนด์

2549

องค์การลูกเสือโลก

อิสริยาภรณ์สดุดีลูกเสือโลก (Bronze Wolf Award)

ฮ่องกง

2549

นิตยสารไทม์เอเชีย

รางวัลวีรชนแห่งเอเชีย

สารบัญ

รางวัล - รางวัลผู้ให้แนวคิดใหม่ เพื่อการพัฒนาประเทศไทย - เหรียญรางวัล Prix OMPI ด้านการคิดค้นทฤษฎีใหม่ น�้ำมันปาล์ม และฝนหลวง - เหรียญทองด้านการประดิษฐ์ คิดค้นโครงการ น�้ำมันไบโอดีเซล สูตรสกัดจาก น�้ำมันปาล์ม - เหรียญทองด้านการประดิษฐ์ คิดค้นโครงการทฤษฎีใหม่ - เหรียญทองด้านการประดิษฐ์ คิดค้นโครงการ ฝนหลวง

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 147


ประเทศ

พุทธศักราช

สถาบัน

สวิตเซอร์แลนด์

2550

สหรัฐอเมริกา

2550

ไทย

2550

สวิตเซอร์แลนด์

2552

รัฐบาลสหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์ ร่วมกับองค์การ อุตุนิยมวิทยาโลก มูลนิธิเวิลด์ฟู้ดไพรซ์ (The World Food Prize Foundation) สหพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ องค์การทรัพย์สินทางปัญญา โลก สมาพันธ์ศัลยแพทย์นานาชาติ

ไทย

สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร

2554

ออสเตรเลีย

2555 มาเลเซีย

148

2555

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่ง ประเทศไทย วิทยาลัยศัลยแพทย์แห่ง สหรัฐอเมริกา ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ แห่งเอดินบะระ (Royal College of Surgeons of Edinburgh) ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ แห่งออสเตรเลีย (Royal Australasian College of Surgeons) สหภาพวิทยาศาสตร์ทางดิน นานาชาติ (International Union of Soil Sciences) สหพันธ์แบดมินตันโลก (Badminton World Federation)

สารบัญ

รางวัล รางวัล UAE ด้านการศึกษา วิจัยการท�ำฝนเทียมและพัฒนา ดัดแปรสภาพอากาศ เหรียญรางวัลบอร์ล็อก (The Norman E. Borlaug Medallion) SEA Games Federation Merit Award เหรียญรางวัลผู้น�ำโลกด้าน ทรัพย์สินทางปัญญา

เหรียญสดุดีด้านศัลยศาสตร์

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดิน เพื่อมนุษยธรรม The President’s Medal


พระเกียรติยศของพระองค์ทรงก้องก�ำจายไปทั่ว ทุกมุมโลก เช่น เมือ่ ครัง้ เสด็จประพาสสหรัฐอเมริกาอย่างเป็น ทางการและเสด็จฯ ไปรัฐสภา โดยได้มีพระราชด�ำรัสแก่ สมาชิ ก รัฐ สภาทั้ ง มวล ปรากฏว่ าสมาชิก รั ฐ สภาทั้ งหมด ได้ปรบมืออย่างพร้อมเพรียงกันเป็นระยะ ๆ ถึง ๑๗ ครัง้ และ พอจบพระราชด�ำรัสแล้วสมาชิกรัฐสภาต่างก็ยืนขึ้นปรบมือ ถวายพระเกียรติอีกเป็นเวลานาน เมื่ อ เสด็ จ ฯ ไปเยื อ นประเทศออสเตรี ย ก็ ไ ด้ รั บ การถวายเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ ของสถาบันดนตรี ประเทศ ออสเตรียซึ่งมีชื่อเสียงดังไปทั่วโลก โดยเป็นพระมหากษัตริย์ พระองค์แรกและทรงเป็นสมาชิกที่มีอายุน้อยที่สุด ทั้ง ๆ ที่ นักดนตรีทเี่ ก่งฉกาจเป็นทีย่ อมรับของนักดนตรีทวั่ โลกคนอืน่ ๆ ที่ได้เป็นสมาชิกนั้นมีอายุเกิน ๖๐ ปี ทุกคน รางวัลทีน่ า่ ภาคภูมใิ จต่อประเทศไทยเป็นอย่างมาก น่าจะเป็นเหรียญทองการแข่งเรือใบ ซึ่งพระองค์ทรงสร้าง เรือเอง เย็บใบเอง เข้าแข่งขันทดสอบเพือ่ คัดเลือกเป็นผูแ้ ทน ประเทศไทยตามกฎเกณฑ์ของสมาคมเรือใบ ทรงเข้าค่ายฝึก และรับเบี้ยเลี้ยงเหมือนนักกีฬาคนอื่น ๆ และแล้วก็ทรง ชนะเลิศได้รับรางวัลที่ ๑ เหรียญทอง ให้แก่ประเทศไทย โดยสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ ๙ เป็นผู้ทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญรางวัล เมื่อพระองค์ท่านเสด็จสวรรคต บรรดาผู้น�ำประเทศต่าง ๆ ได้ร่วมแสดงความไว้อาลัย และเทิดพระเกียรติยศแด่ พระองค์ต่าง ๆ กัน อาทิ ในการประชุมสมัชชาสหประชาชาติวาระพิเศษ ได้มีการถวายราชสดุดีและแสดงความอาลัยแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เมือ่ วันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๙ นอกจากนี้ ผูน้ �ำประเทศต่าง ๆ ก็ได้แสดงความไว้อาลัยไว้ดังนี้

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 149


Peter Thomson ประธานสมัชชาสหประชาชาติ

ท่านเลขาธิการ ท่านเอกอัครราชทูต ท่านสุภาพสตรี และท่านสุภาพบุรุษ ในเช้าวันนี้ พวกเราได้รว่ มกันกล่าวสดุดเี พือ่ แสดงความอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ พระองค์ครองราชย์มานาน ๗๐ ปี โดยเป็นพระมหากษัตริยท์ คี่ รองราชย์ยาวนานทีส่ ดุ พระองค์หนึง่ ในประวัตศิ าสตร์ ของมนุษยชาติ พระองค์เป็นทีเ่ ทิดทูนของพสกนิกรของพระองค์และทรงได้รบั การยกย่องจากทัว่ โลกในพระเกียรติยศ พระจริยวัตร อันงดงาม และการอุทิศพระองค์อย่างมุ่งมั่นให้กับประเทศและประชาชนของพระองค์ เมือ่ เสด็จขึน้ ครองราชย์ พระองค์มพี ระราชด�ำรัสว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพือ่ ประโยชน์สขุ ของประชาชน ชาวสยาม” นั่นคือพระราชปณิธานที่พระองค์ทรงมุ่งปฏิบัติพระราชกรณียกิจอย่างไม่ทรงเหน็ดเหนื่อยตลอดพระชนม์ชีพ ของพระองค์ พระองค์เป็นที่รักในฐานะ “พระราชาของประชาชน” และโครงการพัฒนาหลายพันโครงการที่มีพระราชด�ำริขึ้น ตลอดพระชนม์ชพี ของพระองค์ได้น�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างใหญ่หลวงทัว่ ประเทศ โดยได้ปรับปรุง ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนชาวไทยให้ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด พระองค์ยังทรงเป็นพลังส�ำคัญที่น�ำมาซึ่งสันติภาพและความเป็นเอกภาพทั้งในประเทศไทยและในภูมิภาค และ ทรงเป็นผู้สนับสนุนระบบพหุภาคีอย่างแข็งขัน ความส�ำเร็จในด้านต่าง ๆ ตลอดพระชนม์ชีพของพระองค์ ท�ำให้ทรงได้รับ รางวัลเฉลิมพระเกียรติจ�ำนวนมากจากสหประชาชาติและองค์กรอื่น ๆ เช่น รางวัล UN Development Program (UNDP) Human Development Lifetime Achievement Award เมื่อปี ๒๕๔๙ นอกจากนั้น พระองค์ยังทรงเป็นนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่มุ่งมั่น และทรงมีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริมด้าน ปฐพีศาสตร์ และทรงเป็นผู้น�ำในการบริหารจัดการทรัพยากรดินอย่างยั่งยืน ในรัชสมัยของพระองค์ ประเทศไทยได้ท�ำให้โลกได้ตระหนักรูถ้ งึ ความส�ำคัญของดินว่าเป็นทรัพยากรทีจ่ ะลดปัญหาความยากจน การปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การพัฒนาและความมั่นคงอย่างยั่งยืน ในปี ๒๕๕๖ สมัชชาใหญ่ได้รับรองพระราชกรณียกิจ โดยก�ำหนดให้วันที่ ๕ ธันวาคม ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระบรม ราชสมภพของพระองค์ เป็น “วันดินโลก” รวมทั้งให้ปี ๒๕๕๘ เป็น “ปีดินสากล”

150

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในผู้น�ำโลกที่ได้รับการเทิดทูนมากที่สุดในยุคของเรา พระคุณูปการอันใหญ่หลวงที่ทรงมีต่อ พสกนิกรและประเทศไทย ตลอดจนโลกโดยรวมจะเป็นที่จดจ�ำอย่างไม่เสื่อมคลาย ในนามของสมัชชาใหญ่ ข้าพเจ้าขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อรัฐบาล พระราชวงศ์ และประชาชนชาวไทย ขณะที่เราร่วมกันแสดงความอาลัยต่อการเสด็จสวรรคตของพระองค์ ความรักและความระลึกถึงของพวกเราจะอยู่กับประชาชนชาวไทยในช่วงเวลานี้ บัดนี้ ข้าพเจ้าขอให้สมัชชาใหญ่ได้ยืนสงบนิ่งเป็นเวลาหนึ่งนาที เพื่อร�ำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพระบรมโกศ

Ban Ki-mook เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวยกย่องพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ว่า ทรงทุ่มเทปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้วยพระวิริยอุตสาหะ เพื่อปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน และน�ำพาประเทศให้ทันสมัยทรงน�ำ ความมั่นคงและเสถียรภาพมาสู่ประเทศในช่วงที่บ้านเมืองเกิดวิกฤต ความเศร้าโศกของประเทศเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็น ว่า พระองค์ทรงมีความส�ำคัญต่อประชาชนของพระองค์อย่างยิ่งใหญ่เพียงใด ความมุ่งมั่นของพระองค์ที่ทรงงานเพื่อการ พัฒนาทีย่ งั่ ยืนและความพร้อมรับมือกับสถานการณ์ตา่ ง ๆ ท�ำให้ประเทศไทยเจริญรุง่ เรือง สหประชาชาติจะร่วมท�ำงานเป็น หุ้นส่วนกับรัฐบาลและประชาชนไทยต่อไป

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 151


Kaha Imnadze เอกอัครราชทูตผูแ้ ทนถาวรจอร์เจียประจ�ำสหประชาชาติ ผูแ้ ทนกลุม่ ประเทศยุโรปตะวันออก ได้ย�้ำถึงการที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นที่เคารพรักและเทิดทูน ของประชาชนทัง้ ประเทศ ทรงได้รบั การชืน่ ชมและเคารพจากประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลก ทรงเป็นผูน้ �ำทีแ่ ท้จริงทีเ่ ป็นแรงบันดาล ใจของประเทศไทยและของโลก พระองค์ทรงทุ่มเทปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ยกระดับความเป็นอยู่ของพสกนิกรชาวไทย ในทุกด้าน และทรงเป็นแรงบันดาลใจให้ผู้คนท�ำงานเพื่อสันติภาพและความเจริญรุ่งเรือง ดังที่มีพระราชกระแสรับสั่งว่า “คนดีย่อมท�ำให้คนอื่นเป็นคนดีความดีจะกระตุ้นให้เกิดความดีในสังคมและท�ำให้ผู้อื่นเป็นคนดี” พระองค์จะเป็นที่จดจ�ำ ในฐานะทรงเป็นผู้น�ำที่โดดเด่น เสียสละทุ่มเทเพื่อประเทศ เป็น “กษัตริย์นักพัฒนา” เป็นนักคิดผู้มีวิสัยทัศน์ ที่มีบทบาท ส�ำคัญขับเคลื่อนการพัฒนาระดับโลก อีกทั้งยังทรงใช้พระอัจฉริยภาพด้านดนตรี เป็นสะพานสานสัมพันธ์และหล่อหลอม มิตรภาพด้วย

Cristian Barros Melet เอกอัครราชทูตผูแ้ ทนถาวรชิลีประจ�ำสหประชาชาติ ผูแ้ ทนกลุม่ ประเทศลาตินอเมริกาและแคริบเบียน แสดงความชื่นชมในพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ตลอดช่วงเจ็ดทศวรรษของการครองราชย์ นับแต่ปี พ.ศ.๒๔๘๙ พระองค์ทรงได้รบั ความเคารพรักและเทิดทูนจากประชาชน เพราะพระองค์ให้ความส�ำคัญกับความเป็นอยูท่ ดี่ แี ละความก้าวหน้าของประชาชนเสมอ UN Development Programme (UNDP) จึงได้ทลู เกล้าฯ ถวายรางวัล “Human Development Lifetime Achievement Award” เมือ่ ปี ๒๕๔๙ นอกจากนัน้ ทรงได้รับการยอมรับในระดับโลก ในฐานะประมุขแห่งรัฐ ที่เป็นศูนย์รวมจิตใจ สร้างเอกภาพและสันติภาพให้กับคนในชาติ

152

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


Abdallah Wafy เอกอัครราชทูตผูแ้ ทนถาวรไนเจอร์ประจ�ำสหประชาชาติ ผูแ้ ทนกลุม่ ประเทศแอฟริกา ได้ยำ�้ ถึงการทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทย ทัง้ ชาติ ทีท่ มุ่ เทพระวรกายปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจ เพือ่ ประโยชน์สขุ ของประชาชน ทรงเป็นกษัตริยน์ กั พัฒนาทีป่ ระจักษ์ได้ จากโครงการทีท่ รงริเริม่ กว่า ๔,๐๐๐ โครงการ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ สัง่ สมจากประสบการณ์ดา้ นการพัฒนา ที่ทรงด�ำเนินการมาตลอดพระชนม์ชีพ และเป็นแนวทางที่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ในประเทศต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง มรดกของพระองค์จะเป็นแรงบันดาลใจให้กับประเทศไทยและประชาคมระหว่าง ประเทศ โดยเฉพาะการด�ำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

ManSour Ayyad Alotaibi เอกอัครราชทูตผูแ้ ทนถาวรคูเวตประจ�ำสหประชาชาติ ผูแ้ ทนกลุม่ ประเทศเอเชียแปซิฟิก แสดงความชื่นชมพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในฐานะพระมหากษัตริย์ ผู้ยิ่งใหญ่ ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในโลก และทุ่มเทพระวรกายด้วยความรักในพสกนิกร ตลอดรัชสมัย พระองค์มีบทบาท ในการสร้างสันติภาพและแก้ไขความขัดแย้ง และการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งท�ำให้ไทย ก้าวขึน้ มาเป็นเศรษฐกิจขนาดใหญ่อนั ดับต้น ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พระราชกรณียกิจทีเ่ ป็นทีป่ ระจักษ์ตอ่ ชาวโลก น�ำไปสูก่ ารทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล “Human Development Lifetime Achievement Award” จาก UN Development Programme (UNDP) การสวรรคตของพระองค์ นับเป็นความสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ของไทยและของโลก

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 153


Matthew Rycroft เอกอัครราชทูตผูแ้ ทนถาวรสหราชอาณาจักรประจ�ำสหประชาชาติ ผูแ้ ทนกลุม่ ประเทศยุโรปตะวันตก แสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้ง ขณะเดียวกันแสดงความชื่นชมต่อการ ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร เป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในโลก โดยขึ้นครองราชย์ในช่วงหนึ่งปีหลังจาก การก่อตั้งสหประชาชาติ ซึ่งไทยเข้าเป็นสมาชิกล�ำดับที่ ๕๕ ทรงปกครองประเทศด้วยวิสัยทัศน์ สร้างเอกภาพและน�้ำหนึ่ง ใจเดียวกันของปวงชนตลอดรัชกาล ประชาคมระหว่างประเทศจะน้อมร�ำลึกถึงพระองค์ในฐานะพระมหากษัตริย์ผู้ปฏิบัติ พระราชกรณียกิจเพือ่ ประชาชน ผูส้ นับสนุนการพัฒนา พระอัจฉริยภาพด้านศิลปะ ดนตรี และการถ่ายภาพ อีกทัง้ จะทรงเป็น สัญลักษณ์แห่งเสถียรภาพของพสกนิกรชาวไทยตลอดไป ผลงานของพระองค์ได้สร้างประวัติศาสตร์ครั้งส�ำคัญอย่างแท้จริง

บารัค โอบามา ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงพระปรีชาสามารถและทุม่ เทพระองค์ อย่างมิทรงเหน็ดเหนือ่ ย ในการยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนชาวไทย”

สี จิน้ ผิง ประธานาธิบดีจีน “การเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช เป็นการสูญเสียอันยิง่ ใหญ่ของทัง้ ชาวไทย และจีน แต่พระองค์จะทรงสถิตอยู่ในหัวใจของประชาชนทั้ง ๒ ประเทศนิรันดร”

154

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ชินโสะ อาเบะ นายกรัฐมนตรีญปี่ ่ นุ “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นผู้ที่มีพรสวรรค์สูง และทรงเป็นสุภาพบุรุษ จะร�ำลึก จดจ�ำพระองค์ในฐานะกษัตริย์ที่เปี่ยมไปด้วยพระจริยวัตรอันงดงาม”

แองเกลา แมร์เคิล นายกรัฐมนตรีเยอรมนี “พระองค์ได้สร้างความทันสมัยและสร้างความแข็งแกร่งต่อเศรษฐกิจไทยในช่วงการครองราชย์นาน ๗๐ ปี ยิ่งไปกว่านั้น พระองค์ยังทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจอย่างมิรู้จักเหน็ดเหนื่อยเพื่อความผาสุกของปวงชนชาวไทย”

วลาดิเมียร์ ปูติน ประธานาธิบดีรัสเซีย “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นผู้อยู่เบื้องหลังความส�ำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ และทรงมีส่วนในการเสริมความแข็งแกร่งของสถานะประเทศไทยในเวทีโลก ชาวรัสเซียจะจดจ�ำพระองค์ที่ทรงสนับสนุน มิตรภาพและความร่วมมือระหว่างทั้ง ๒ ประเทศ”

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 155


มิลคอลม์ เทิร์นบูลล์ นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย “การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงท�ำให้เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย เกิดการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด”

ปาร์ค กิน เฮ ประธานาธิบดีเกาหลีใต้ “พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงเป็ น พระมหากษั ต ริ ย ์ ที่ อ ยู ่ ใ นฐานะพ่ อ ของแผ่ น ดิ น และศูนย์รวมจิตใจของประชาชนทุกหมู่เหล่า”

สมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัคดิน วัดเดาละห์ พระราชาธิบดีแห่งบรูไน “การเสียสละและความรักอย่างไร้ขีดจ�ำกัดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ต่อปวงประชา ไม่เพียงแต่เป็นสิ่งที่ตราตรึงในจิตใจของประชาชนชาวไทย แต่ยังได้รับการเคารพยกย่องไปทั่วโลก”

156

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ซามานธา เพาเวอร์ เอกอัครราชทูตผูแ้ ทนถาวรสหรัฐอเมริกาประจ�ำสหประชาชาติ อรุณสวัสดิค์ ะ่ ทุกท่าน วันนีเ้ ป็นอีกหนึง่ วันทีด่ ฉิ นั รูส้ กึ เป็นเกียรติอย่างยิง่ ทีไ่ ด้เป็นตัวแทนประเทศทีต่ งั้ ของส�ำนักงาน ใหญ่องค์การสหประชาชาติจึงได้มีโอกาสกล่าวต่อทุกท่านในวาระส�ำคัญเช่นนี้ ในนามของสหรัฐอเมริกา ดิฉนั ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึง้ ด้วยใจจริงยิง่ ต่อสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรม ราชินนี าถ พระบรมวงศานุวงศ์ ตลอดจนประชาชนชาวไทยต่อการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ผู้ทรงเป็นมิตรและหุ้นส่วนพันธมิตรของสหรัฐอเมริกามาตลอดช่วงพระชนม์ชีพ ทั้งยังทรงมี สายสัมพันธ์ส่วนพระองค์ผูกพันลึกซึ้งกับประเทศของเรา สมเด็จพระบรมราชชนกและสมเด็จพระบรมราชชนนีของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพบกันทีเ่ มืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ ขณะทัง้ สองพระองค์ทรงก�ำลังศึกษาวิชาการแพทย์ โดยสมเด็จ พระบรมราชชนกศึกษาที่ฮาร์วาร์ด ส่วนสมเด็จพระบรมราชชนนีทรงศึกษาที่วิทยาลัยซิมมอนส์ ถึงแม้ว่าพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ประทับที่เมืองเคมบริดจ์เพียงช่วงที่ทรงพระเยาว์ กระนั้น เมืองนี้ยังคง มีบรรยากาศแห่งการเป็นสถานที่ที่พระองค์เคยประทับอยู่โดยไม่เสื่อมคลาย ดิฉันอยู่ในฐานะที่สามารถพูดถึงเรื่องนี้ได้พอสมควร ด้วยก่อนที่ดิฉันจะได้รับเกียรติให้มาร่วมงานภายใต้รัฐบาล ประธานาธิบดีโอบามานี้ ดิฉันเคยเป็นอาจารย์ที่ Kennedy School of Government ของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ในเมืองเคมบริดจ์ และเมื่อเดินไปกลับมหาวิทยาลัยดิฉันมักจะผ่านจัตุรัสภูมิพลอดุลยเดชซึ่งอยู่ติดกับ Kennedy School อยูเ่ ป็นประจ�ำ จัตรุ สั แห่งนีไ้ ด้รบั การตัง้ ชือ่ ตามพระนามของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อร�ำลึกถึงการเสด็จพระราชสมภพของพระองค์ ขณะที่เดินผ่านจัตุรัสภูมิพลอดุลยเดช ไม่ใช่เรื่องแปลกที่จะเห็นชาวไทยมาถวายสักการะแด่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และถ่ายภาพข้างแท่นจารึกพระนามของพระองค์ซึ่งตั้งอยู่ในจัตุรัส แห่งนี้ เมืองเคมบริดจ์ยังมีสถานที่ลักษณะเช่นนี้อีกหลายแห่ง ที่โรงพยาบาล Brigham and Women’s Hospital ซึ่งอยู่ ไม่ห่างออกไปนักคือสถานที่ที่สมเด็จพระบรมราชชนนีเคยทรงงาน และแทบไม่มีวันไหนเลยที่จะไม่มีชาวไทยแวะมาพร้อม ของที่ระลึก ดอกไม้ หรือกระดาษเล็ก ๆ เขียนข้อความแสดงความรู้สึก นั่นคือความรู้สึกจงรักภักดีที่พสกนิกรไทยมีต่อ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ราวสองทศวรรษทีแ่ ล้ว นักข่าวคนหนึง่ ทูลถามพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ว่าทรงปรารถนาให้ผคู้ นจดจ�ำพระองค์อย่างไร พระองค์ตรัสตอบว่าทรงไม่สนพระทัยนักว่าประวัตศิ าสตร์จะบันทึกถึงพระองค์ เช่นไร พระองค์ตรัสว่า “หากพวกเขาอยากเขียนถึงข้าพเจ้าในแง่ดี พวกเขาควรเขียนว่าข้าพเจ้าได้ทำ� สิง่ ทีก่ อ่ ประโยชน์อย่างไรบ้าง”

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 157


ในสายพระเนตรของพระองค์ การท�ำสิ่งที่มีประโยชน์หมายถึงการแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ส่งผลกระทบ ต่อชีวิตของประชาชนอย่างแท้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มคนที่อ่อนแอ ดั่งพระราชด�ำริที่ว่า หนทางเดียวที่จะท�ำให้รู้ได้ว่า สิง่ ใดมีประโยชน์ และหนทางเดียวทีจ่ ะเข้าใจถึงปัญหาทีป่ ระชาชนก�ำลังเผชิญอยูน่ นั้ คือการออกไปลงพืน้ ทีจ่ ริง ไปยังพืน้ ทีท่ ี่ ประชาชนอยูอ่ าศัย ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จึงเสด็จพระราชด�ำเนินไปยัง พืน้ ทีต่ า่ งๆ ในประเทศอยูเ่ ป็นนิจ โดยเฉพาะพืน้ ทีช่ นบทยากไร้หา่ งไกลความเจริญ โดยตลอดช่วงแห่งการครองราชย์ พระองค์ มีพระราชด�ำริก่อตั้งโครงการพัฒนาหลายพันโครงการ ทว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ไม่เพียงแค่เสด็จพระราชด�ำเนินไปยัง พื้นที่เหล่านั้นเท่านั้น ด้วยเราได้เห็นผู้น�ำจ�ำนวนไม่น้อยปฏิบัติตนเช่นเดียวกันนี้ แต่ประเด็นส�ำคัญยังอยู่ที่ว่า พระองค์เสด็จ อย่างไร พระองค์ทรงพยายามพบกับผู้คนในท้องถิ่นโดยตรง ไม่ว่าจะเป็นชาวประมง ชาวสวนยาง ชาวนา หรือนักเรียนชั้น ประถม ในโอกาสทีท่ รงพบกับข้าราชการพระองค์ทรงเลือกพบกับเจ้าหน้าทีท่ ที่ �ำงานในระดับฐานราก เช่น นักวิชาการเกษตร ครู หรือเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีสายพระเนตรทีเ่ ฉียบแหลมยิง่ การ ด�ำรงตนให้เป็นประโยชน์หมายถึงการช่วยแก้ไขปัญหาทีพ่ ระองค์ทรงพบเห็น พร้อมทัง้ ส่งเสริมศักยภาพพสกนิกรไทยให้ด �ำเนิน รอยตาม พระองค์ทรงกอปรด้วยพระปัญญาอันแตกฉานในปฏิภาณ พร้อมวิจารณญาณสรรค์สร้างบนพืน้ ฐานแห่งวิทยาศาสตร์ อย่างที่พวกเราเคยได้รับฟังมาตลอดช่วงพระชนม์ชีพ พระองค์ทรงจดสิทธิบัตรและเครื่องหมายการค้าเกือบ ๔๐ รายการ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนวัตกรรมที่พระองค์ทรงสร้าง ทดสอบและปรับแต่งด้วยพระองค์เอง และโดยส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดการแก้ปัญหาในชีวิตประจ�ำวันของผู้ยากไร้ นี่เป็นเรื่องที่พิเศษยิ่ง ดิฉันขอยกตัวอย่างนวัตกรรมหนึ่งที่มีชื่อเล่นเรียกกันว่า “แก้มลิง” ซึ่งพระองค์ทรงออกแบบมาเพื่อรับมือปัญหา อุทกภัยทีป่ ระเทศไทยเผชิญอยูเ่ ป็นประจ�ำ พระองค์ทรงระลึกถึงเมือ่ ครัง้ ทรงพระเยาว์ทไี่ ด้ทอดพระเนตรเห็นวิธที ลี่ งิ เก็บกล้วย ที่เคี้ยวแล้วไว้ในกระพุ้งแก้มเพื่อส�ำรองไว้กินภายหลัง จึงได้ทรงคิดค้นระบบอ่างเก็บน�้ำขนาดเล็กโดยใช้หลักการเดียวกันนั้น กักเก็บน�้ำส่วนเกินจากฝนตกหนักเพื่อน�ำมาใช้ในระบบชลประทานภายหลัง ระบบ “แก้มลิง” นี้ยังคงมีใช้งานอยู่ ทัว่ ประเทศไทยจวบจนทุกวันนี้ สิง่ ประดิษฐ์ของพระองค์หลายชิน้ เป็นไปตามแนวทางเดียวกันนี้ นัน่ คือการผสานการอนุรกั ษ์ เข้ากับการพัฒนามนุษย์ ด้วยวิสยั ทัศน์ทยี่ าวไกลล�ำ้ กาลเวลาหลายทศวรรษ พระองค์ทรงตระหนักว่าสิง่ ทีย่ งั่ ยืนต่อสิง่ แวดล้อม คือสิ่งที่จ�ำเป็นต่อประโยชน์สุขของชุมชนในระยะยาว สุดท้ายนี้ ดิฉันขอกล่าวถึงเหตุการณ์เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๓ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชด�ำเนินไปยังสหรัฐอเมริกาอีกครัง้ ตามค�ำกราบบังคมทูลเชิญของ ท่านดไวต์ ดี.ไอเซนฮาวร์ ซึง่ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานาธิบดีในขณะนัน้ ในโอกาสนี้ พระองค์ได้รบั ค�ำกราบบังคมทูลขอพระราชทานกระแสพระราชด�ำรัส ต่อสภาคองเกรสด้วย ขณะนั้น พระองค์ทรงเจริญพระชนมพรรษาเพียง ๓๒ พรรษาเท่านั้น

158

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ในตอนหนึง่ ของพระราชด�ำรัสทีพ่ ระราชทานแก่สภาคองเกรส พระองค์ตรัสว่า ทรงตอบรับค�ำกราบบังคมทูลเชิญนี้ ส่วนหนึง่ เนือ่ งด้วย “ความปรารถนาตามปกติวสิ ยั ของมนุษย์ปถุ ชุ นทีจ่ ะได้เห็นสถานทีเ่ กิดของตนเอง” ซึง่ คือเมืองเคมบริดจ์ที่ ซึง่ พระองค์เสด็จฯ เยือนด้วยในครัง้ นัน้ นอกจากนีพ้ ระองค์ตรัสด้วยว่า การเสด็จฯ ครัง้ นีย้ งั เพือ่ ยืนยันถึงมิตรภาพอันมีความ พิเศษเฉพาะ และค่านิยมร่วมกันของชาติทั้งสอง กระนั้น มิตรภาพของชนชาติหนึ่งที่มีต่ออีกชนชาติหนึ่งต่างหากที่จักเป็น หลักประกันมั่นคงซึ่งสันติภาพและความเจริญก้าวหน้า” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชด�ำรัสต่อสมาชิกสภาคองเกรสว่า ประเทศไทยมีประเพณีอย่างหนึง่ ทีค่ นไทยยกย่องกว่าสิง่ ใด นัน่ คือหน้าทีร่ บั ผิดชอบต่อครอบครัว พระองค์ตรัสว่า “ย่อมเป็น ที่เข้าใจกันว่าสมาชิกในครอบครัวนั้นจะให้ความช่วยเหลือแก่กันและกันเมื่อผู้ใดผู้หนึ่งต้องการความช่วยเหลือ การหยิบยื่น ความช่วยเหลือย่อมเป็นคุณความดีอยู่ในตัวเอง ผู้ให้นั้นก็มิได้คาดหวังที่จะได้ฟังค�ำสรรเสริญชื่นชมอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ทั้งยังมิได้ประสงค์สิ่งใดตอบแทน อย่างไรก็ดี ผู้รับก็ย่อมรู้สึกซาบซึ้งในบุญคุณอยู่นั่นเอง และเมื่อถึงคราวของเขา เขาก็ จักท�ำหน้าที่ที่ตนพึงท�ำต่อครอบครัวเช่นกัน” พระราชด�ำรัสของพระองค์ในขณะนั้นกล่าวถึงสายสัมพันธ์และน�้ำใจเอื้ออารีในครอบครัวไทย ทว่าเมื่อมองย้อน กลับไป พระราชด�ำรัสของพระองค์นั้นสามารถบ่งบอกถึงแนวทางด�ำรงพระชนม์ชีพของพระองค์ได้เช่นกัน พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงด�ำเนินพระชนม์ชพี เพือ่ แสวงหาหนทางทีจ่ ะสร้างประโยชน์ตอ่ ผูข้ ดั สน เพื่อให้และเพื่อดูแลพสกนิกรทุกวันเวลา โดยมิทรงปรารถนาค�ำสรรเสริญใด ๆ มิได้ทรงหวังสิ่งใดตอบแทน ทว่าพระองค์ ทรงท�ำทุกอย่างเพียงเพราะนี่คือสิ่งที่คนในครอบครัวท�ำเพื่อกันและกัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงถือว่าพสกนิกรชาวไทยคือครอบครัวของพระองค์ ประชาชนชาวไทยโชคดีที่ได้มีพระองค์เป็นหนึ่ง ในสมาชิกครอบครัวของตน และเป็นโชคของพวกเราเช่นกันที่ได้มีโอกาสเรียนรู้จากแนวการด�ำรงพระชนม์ชีพของ พระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่พระองค์นี้

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 159


นายวีรชัย พลาศรัย เอกอัครราชทูตผูแ้ ทนถาวรไทยประจ�ำสหประชาชาติ ในฐานะผู้แทนประเทศไทย แสดงความขอบคุณและรู้สึกซาบซึ้งใจที่สมัชชาสหประชาชาติได้จัดวาระพิเศษเพื่อ ถวายราชสดุดีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ขึ้นในวันนี้ สะท้อนให้เห็นว่าพระราช กรณียกิจและสิ่งที่พระองค์ทรงทุ่มเทเพื่อปวงชนชาวไทยตลอด ๗๐ ปีของการครองราชย์เป็นที่รับรู้ไม่เพียงแต่ในหัวใจของ ประชาชนไทย แต่ยงั เป็นทีย่ อมรับของประชาคมระหว่างประเทศ ซึง่ ได้ทลู เกล้าฯ ถวายรางวัลทีท่ รงคุณค่าเพือ่ เทิดพระเกียรติ ส�ำหรับความส�ำเร็จที่ได้ทรงทุ่มเทด้วยพระวิริยอุตสาหะ เพื่อประชาชนของพระองค์ ได้แก่ เหรียญ Agricola ขององค์การ อาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) เมื่อปี ค.ศ. ๑๙๙๕ รางวัล UN-HABITAT Scroll of Honour Award ปี ค.ศ. ๒๐๐๓ รางวัล Human Eevelopment Lifetime Achievement Award ของ United Nations Development Programme (UNDP) เมื่อปี ค.ศ. ๒๐๐๖ และรางวัล WIPO’s Global LeadersAward ปี ค.ศ. ๒๐๐๙ นอกจากนี้ เพือ่ น้อมร�ำลึกในพระราชกรณียกิจด้านการวิจยั และพัฒนาดิน องค์การสหประชาชาติยงั ได้ก�ำหนดให้วนั ที่ ๕ ธันวาคมซึง่ เป็น วันคล้ายวันพระบรมราชสมภพเป็นวันดินโลก (World Soil Day) มาตัง้ แต่ปี ค.ศ. ๒๐๑๔ อีกด้วย จากโครงการพัฒนาหลายพัน โครงการทัว่ ประเทศ ได้สงั่ สมและพัฒนาเป็น“หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซึง่ เป็นของขวัญอันลำ�้ ค่าทีไ่ ด้พระราชทาน ให้กับปวงชนชาวไทยเพื่อเป็นหลักในการด�ำเนินชีวิตและเป็นกรอบในการตัดสินใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยังได้รับการยอมรับในฐานะแนวทางที่สามารถประยุกต์ใช้เพื่อบรรลุการพัฒนาที่ยั่งยืนด้วย

สารบัญ


พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้นายโคฟี อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติ และคณะ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลความส�ำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์ ซึ่งเป็นรางวัลเกียรติยศที่ริเริ่มขึ้นใหม่โดยองค์การสหประชาชาติ เพื่อเฉลิมพระเกียรติเป็นกรณีพิเศษในโอกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี

“รางวัลความส�ำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์” ลักษณะของรางวัลเป็นพานทรงกลมท�ำด้วยเงินบริสุทธิ์ ด้านในของพานขัดมันผิวเรียบ ส่วนด้านนอกมีลักษณะเป็นคลื่นคล้ายสายน�้ำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๙.๘๕ นิ้ว สูง ๘.๖๖ นิ้ว ตั้งอยู่บนฐานที่ท�ำจากหินอ่อน มีแผ่นค�ำจารึกติดที่ฐาน ความว่า “To His Majesty King Bhumibol Adulyadej In Recognition of Lifetime Achievement in Human Development May 2006”

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 161


เสด็จพระราชด�ำเนินไปในพิธีทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญานิติศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ณ มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ออสเตรเลีย เมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๕

162

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


นายจาร์ค ดิอุฟ ผู้อ�ำนวยการองค์การอาหารและเกษตร แห่งสหประชาชาติ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเหรียญสดุดี พระเกียรติคุณ ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันพุธที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๕

เหรียญเทเลฟูด ที่องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย เพื่อเป็นการสดุดีพระเกียรติคุณในฐานะที่ทรงบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจ ทางการพัฒนาการเกษตรของประเทศไทย เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรและสร้างความมั่นคงด้านอาหาร

ผู้แทนของคณะกรรมการการบริหารสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเหรียญแอกริโคลา ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง เมื่อวันพุธที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๓๙

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 163


ภาคผนวก

สารบัญ


บทความพิเศษ บทความต่อไปนี้ ผูเ้ ขียนได้รบั ความกรุณาจากนักวิชาการ และผูเ้ ชีย่ วชาญในด้านต่าง ๆ ซึง่ จะเขียนถึงพระคุณปู การ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ดังนี้ ๑. ดร.คุรุจิต นาครทรรพ อดีตปลัดกระทรวงพลังงาน บทความ “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร กับงานด้านพลังงานของไทย” ๒. ดร.สีลาภรณ์ (นาครทรรพ) บัวสาย รองผูอ้ �ำนวยการส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) เขียนเกีย่ วกับ บทความ “เศรษฐกิจพอเพียง (ระเบิดจากข้างใน)” ๓. ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ อาจารย์ประจ�ำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตสมาชิกสภาปฏิรปู แห่งชาติด้านการศึกษา บทความ “การพัฒนาการศึกษา” ซึ่งผู้เขียนใคร่ขอขอบคุณท่านทั้งสามเป็นอย่างยิ่งไว้ ณ ที่นี้ด้วย

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 165


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร กับการพัฒนาพลังงานของไทย โดย ดร.คุรุจิต นาครทรรพ

ตลอดระยะเวลาของการครองราชย์ ๗๐ ปี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ของพสกนิกรชาวไทย ได้เสด็จพระราชด�ำเนินไป ทรงเยีย่ มราษฎรในพืน้ ทีต่ า่ ง ๆ ทัว่ ทัง้ ประเทศ ทรงอุทศิ พระวรกายประกอบพระราชกรณียกิจในทุกด้านทีก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์สขุ และความเจริญรุ่งเรืองแก่ราษฎรและประเทศชาติ พระราชจริยวัตร พระราชกรณียกิจ และพระราชอัจฉริยภาพ ใน ด้านการปกครอง ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านการศึกษา การพัฒนาพลังงานการชลประทาน การพัฒนาทรัพยากรน�้ำ การอนุรกั ษ์ปา่ ไม้ รวมทัง้ ด้านศิลปวิทยาและการดนตรี ล้วนเป็นแรงบันดาลใจต่อประชาชนคนไทยทุกหมูเ่ หล่าในการด�ำเนิน ชีวิต การพัฒนาตนเอง และการพัฒนาชาติและสังคมโดยส่วนรวม โดยเฉพาะในด้านการพัฒนาพลังงาน ด้วยพระปรีชาสามารถและพระวิสัยทัศน์อันกว้างไกล ศาสตร์พระราชา ได้ส่งผลให้เกิดการพัฒนาพลังงาน อย่างแพร่หลาย ได้แก่ การพัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการผลิตไฟฟ้าและเกษตรกรรม การพัฒนาพลังงานทดแทน โดยเฉพาะคือ เชื้อเพลิงชีวภาพ เพื่อทดแทนน�้ำมันและลดการน�ำเข้าพลังงานจากต่างประเทศและการอนุรักษ์และประหยัดพลังงาน นอกจากนั้น หลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ยังเป็นแนวทางอันทรงคุณค่าในการพัฒนาพลังงานของชาติด้วยความ มีเหตุผล รู้จักพอประมาณ และมีภูมิคุ้มกัน ดังขออัญเชิญ พระราชด�ำรัสในการเสด็จออกมหาสมาคมในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๒๙ ตอนหนึง่ ว่า “...ทุกวันนีป้ ระเทศไทยยังมีทรัพยากรพร้อมมูล ทัง้ ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรบุคคล ซึ่งเราสามารถน�ำมาใช้เสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์และเสถียรภาพอันถาวรของบ้านเมืองได้เป็นอย่างดี ข้อส�ำคัญเราจะ ต้องรู้จักใช้ทรัพยากรทั้งนั้นอย่างฉลาด คือไม่นำ� มาทุ่มเทใช้ให้สิ้นเปลืองโดยไร้ประโยชน์ หรือได้ประโยชน์ไม่คุ้มค่า หากแต่ ระมัดระวังใช้ด้วยความประหยัดรอบคอบ ประกอบด้วยความคิดพิจารณาตามหลักวิชา เหตุผล และความถูกต้องเหมาะสม โดยมุ่งถึงประโยชน์แท้จริงที่เกิดแก่ประเทศชาติ ทั้งในปัจจุบันและอนาคตอันยืนยาว...” เมื่อพูดถึง “ในหลวง” รัชกาลที่ ๙ กับการพัฒนาพลังงานไทย และโครงการตามแนวพระราชด�ำริเกี่ยวกับกิจการ พลังงาน สิ่งแรก ๆ ที่ฉายภาพเข้ามาอยู่ในจิตใจเราก็คือ ในหลวงกับพลังงานน�้ำ เขื่อนภูมิพลเปิดศักราชแห่งการพัฒนา พลังงานไทย พสกนิกรชาวไทยต่างส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อประเทศชาติ ในการพัฒนาทรัพยากรน�้ำเพื่อ การชลประทานและผลิตพลังงาน โครงการเขื่อนน้อยใหญ่เพื่อผลิตไฟฟ้าจากพลังงานน�้ำ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ และ โครงการฝนหลวง ทรงสนพระทัยค้นคว้าและติดตามความคืบหน้าของโครงการนั้น ๆ อย่างจริงจัง และทุกโครงการบังเกิด ประโยชน์แก่คนไทยอย่างแท้จริง 166

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


พระมหากรุณาธิคุณเป็นที่ประจักษ์ ยังได้พระราชทานนามของพระองค์ท่าน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินนี าถ พระราชโอรส พระราชธิดาให้เป็นชือ่ ของเขือ่ นต่าง ๆ เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล และเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรกิจการ เขื่อนเหล่านั้นหลายครั้ง ได้แก่

เขื่อนภูมิพล

จังหวัดตาก

เขื่อนสิริกิต ิ์

จังหวัดอุตรดิตถ์

เขื่อนอุบลรัตน์

จังหวัดขอนแก่น

เขื่อนวชิราลงกรณ์

จังหวัดกาญจนบุรี

เขื่อนสิรินธร

จังหวัดอุบลราชธานี

เขื่อนจุฬาภรณ์

จังหวัดชัยภูมิ

นอกจากนี้ ยังพระราชทานชื่อให้แก่เขื่อนต่าง ๆ อีกหลายเขื่อน ได้แก่ เขื่อนศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรี เขื่อนรัชชประภา จังหวัดสุราษฎร์ธานี และพระราชทานชื่อให้แก่โรงไฟฟ้าพลังน�้ำแบบสูบกลับที่เขื่อนล�ำตะคอง อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ว่า “โรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนา” อนึ่ง ส�ำหรับโครงการพระราชด�ำริที่เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรแี ละจังหวัดสระบุรี ก็เป็นโครงการทีน่ อกจากจะยังประโยชน์ดา้ นชลประทานแก่เกษตรกรแล้วยังเป็นโครงการ ที่มีประโยชน์ด้านการป้องกันน�้ำท่วมได้อย่างชัดเจนอีกด้วย การพัฒนาพลังงานไทยของ “ในหลวง” รัชกาลที่ ๙ ทีค่ วรน�ำมาเล่าให้ฟงั เป็นเรือ่ งต่อไปก็คอื การพัฒนาเชือ้ เพลิง ชีวภาพ (Biofuels) อันได้แก่ เอทานอนทีน่ �ำไปผสมเป็นน�ำ้ มันแก๊สโซฮอล์ และไบโอดีเซล เพือ่ ใช้ทดแทนน�ำ้ มันเบนซินและ น�้ำมันดีเซลที่เราเติมเป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์ เอทานอลและไบโอดีเซลเป็นเชื้อเพลิงที่มิได้ผลิตมาจากน�้ำมันดิบที่มาจากฟอสซิล แต่เป็นเชื้อเพลิงที่ผลิตมาจาก พืชพลังงาน อันได้แก่ อ้อยและมันส�ำปะหลัง น�ำไปผลิตเป็นเอทานอล และปาล์มน�้ำมันน�ำไปผลิตเป็นไบโอดีเซล ถ้าใครได้เคยมีโอกาสเข้าไปเยี่ยมชมโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เราจะได้เห็นและตระหนักซาบซึ้งใน พระปรีชาสามารถของพระเจ้าอยู่หัว มีสายพระเนตรอันยาวไกลในการแก้ปัญหาต่าง ๆ หนึ่งในนั้นก็คือเรื่องพลังงาน อย่างเรื่องเอทานอลนี้ ก็ทรงค้นคว้าทดลองมาตั้งแต่ก่อนปี ๒๕๒๘ ก่อนที่เราจะรู้จักค�ำว่า วิกฤตพลังงานน�้ำมันแพงเสียอีก สมัยก่อนเอทานอลผลิตขึน้ มาแล้วเอาไปใช้ทดแทนน�ำ้ มันเบนซินทีใ่ ช้ในรถเก๋ง มันดูไม่คมุ้ ค่าเพราะเอทานอลมีราคาแพง เพราะว่า เมื่อก่อนเราใส่ตะกั่วในน�้ำมันเพื่อเพิ่มค่าออกเทน ต่อมาเรายกเลิกไม่ใส่สารตะกั่วในน�้ำมัน หันไปเติมสาร MTBE (หรือ Methyl Tertiary Buryl Ether) ซึ่งต้องไปซื้อจากเมืองนอก พอมาเทียบราคาเอทานอลกับ MTBE ก็ใกล้เคียงกัน เพราะฉะนั้นจึงไม่มีเหตุผลอะไรที่เราจะไม่ใช้ของที่ผลิตในประเทศแทนการน�ำเข้า โครงการทดลองผลิตเอทานอลจาก

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 167


พืชพลังงานของพระเจ้าอยู่หัว เริ่มมาตั้งแต่ปี ๒๕๒๘ ทดลองใช้ในรถยนต์ในโครงการส่วนพระองค์ แต่เริ่มเป็นรูปเป็นร่างขึ้น มากก็ในปี ๒๕๔๔ เป็นต้นมา ตอนนั้นทั้งบริษัท ปตท. และบริษัทบางจาก ร่วมกันรับซื้อและน�ำเอทานอลมาผสมกับน�้ำมัน เบนซิน ผลิตเป็นน�้ำมันแก๊สโซฮอล์จ�ำหน่าย กระทรวงพลังงานก็สนองพระราชด�ำริโดยจัดท�ำมาตรฐานหรือ Specification ของน�้ำมันแก๊สโซฮอล์ พร้อมทั้งรณรงค์สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ใช้รถยนต์ให้มั่นใจในคุณภาพและประสิทธิภาพของน�้ำมัน แก๊สโซฮอล์ จนปัจจุบันน�้ำมันแก๊สโซฮอล์ได้รับการยอมรับและใช้กันอย่างแพร่หลาย ส่งผลให้เกิดโรงงานผลิตเอทานอล เพือ่ เป็นเชือ้ เพลิงขึน้ หลายแห่งในประเทศ โรงงานเหล่านีใ้ ช้กากน�ำ้ ตาลทีไ่ ด้มาจากอ้อยหรือมันส�ำปะหลัง มาหมักและกลัน่ เป็น เอทานอล สร้างผลต่อเนื่องท�ำให้ราคาพืชผลทางการเกษตรที่เกษตรกรได้รับจากราคาอ้อยและมันส�ำปะหลังดีขึ้นด้วย ทุกวันนี้เรามีการใช้เอทานอลเพื่อผสมเป็นน�้ำมันแก๊สโซฮอล์ เฉลี่ยกว่า ๓ ล้านลิตรต่อวัน น�้ำมันแก๊สโซฮอล์ เป็นที่ยอมรับและนิยมใช้แพร่หลาย ประเทศไทยของเราเป็นผู้น�ำในอาเซียนในการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพจากเอทานอลนี้ ส�ำหรับไบโอดีเซลที่ผลิตจากพืชปาล์มน�้ำมัน ในปี ๒๕๔๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กองงานส่วนพระองค์ ที่วังไกลกังวล อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ด�ำเนินการวิจัยและพัฒนาทดลองการน�ำน�้ำมันปาล์มล้นตลาด ราคาตกต�่ำ ท�ำให้เกษตรกรเดือดร้อน ในข้อเท็จจริงพระราชด�ำริเรื่องไบโอดีเซลพระราชทานมาตั้งแต่ปี ๒๕๒๖ แล้ว โดยโปรดให้มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์สร้างโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ขนาดเล็กที่สหกรณ์นิคมอ่าวลึก จังหวัดกระบี่ และยังได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ขนาดเล็ก ก�ำลังผลิตวันละ ๑๑๐ ลิตร ที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดนราธิวาสอีกด้วย จากการทดลองและทดสอบอย่างต่อเนือ่ ง นำ�้ มันปาล์มบริสทุ ธิ์ ๑๐๐% สามารถใช้เป็นเชือ้ เพลิงส�ำหรับเครือ่ งยนต์ ดีเซลโดยไม่ต้องผสมกับน�้ำมันเชื้อเพลิงอื่น ๆ หรืออาจผสมกับน�้ำมันดีเซลได้ตั้งแต่ ๐.๐๑% ขึ้นไปจนถึง ๙๙.๙๙% จากผลความส�ำเร็จของการทดลองดังกล่าว เมือ่ วันที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายอ�ำพล เสนาณรงค์ องคมนตรี ในขณะนั้นเป็นผู้แทนพระองค์ไปยื่นขอจดสิทธิบัตรการใช้น�้ำมันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์เป็นน�้ำมัน เชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล ซึ่งได้รับการถวายจดสิทธิบัตรจากกรมทรัพย์สินทางปัญญา เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๔ และส�ำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ ยังได้อญ ั เชิญผลงานโครงการนำ�้ มันไบโอดีเซล สูตรสกัดจากนำ�้ มันปาล์มไปร่วมแสดง ในงานนิทรรศการสิง่ ประดิษฐ์นานาชาติ Brussels Eureka 2001 ณ ประเทศเบลเยียม และโครงการนีไ้ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง และประกาศนียบัตรสดุดีพระเกียรติคุณอีกด้วย ปัจจุบันรัฐบาลได้รับสนองพระราชด�ำริและน�ำไบโอดีเซล (B100) มาผสมใช้ในน�้ำมันดีเซลในสัดส่วน ๕-๗% เป็นทีย่ อมรับและใช้กนั อย่างแพร่หลาย ส่งผลดีตอ่ การส่งเสริมพลังงานทดแทนให้ไทยเป็นผูน้ �ำในอาเซียนเรือ่ งนี้ รวมทัง้ ช่วย พยุงราคาพืชผลปาล์มน�้ำมันแก่เกษตรกรชาวสวนปาล์มอีกด้วย

168

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ที่กล่าวมาเหล่านี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงประโยชน์ของศาสตร์พระราชาที่มีต่อการพัฒนาพลังงาน ในประเทศไทย นอกจากจะทรงสนพระทัยในกิจการไฟฟ้าจากพลังน�้ำ และการผลิตพลังงานทดแทน คือ เอทานอลและ ไบโอดีเซลแล้ว ยังมีพระมหากรุณาธิคุณต่อกิจการพลังงานทุกสาขาของประเทศ ดังจะเห็นได้จากการเสด็จฯ ไปทรงเปิด เขื่อนผลิตไฟฟ้าจากพลังน�้ำหลาย ๆ แห่งแล้วนั้น ยังเสด็จฯ ไปทรงเปิดโรงแยกก๊าซธรรมชาติโรงแรกของประเทศที่จังหวัด ระยอง ซึ่งด�ำเนินงานโดยการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปทต.) ในปี ๒๕๒๘ ได้เสด็จฯ ไปทรงเปิดโรงไฟฟ้าพลังความร้อน ร่วมก๊าซธรรมชาติโรงแรกของประเทศ ที่ด�ำเนินการโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ที่โรงไฟฟ้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และโรงไฟฟ้าพระนครใต้ จังหวัดสมุทรปราการ ตลอดจนเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมเหมืองแม่เมาะ และทรง เปิดโรงไฟฟ้าลิกไนต์แม่เมาะ หน่วยที่ ๔-๗ ที่จังหวัดล�ำปาง และได้เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์ทบี่ า้ นผาบ่อง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน นับเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ ต่อวงการพลังงานของชาติอย่างหาทีส่ ดุ มิได้ สมกับ ที่ทรงได้รับการยกย่องเป็น “พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย” อย่างแท้จริง

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 169


“ระเบิดจากข้างใน” โดย ดร.สีลาภรณ์ (นาครทรรพ) บัวสาย

เมื่อปี ๒๕๕๐ ผู้เขียนได้เริ่มโครงการวิจัยที่ใหญ่ที่สุดที่เคยท�ำมาเรื่องหนึ่ง คือ โครงการความร่วมมือเพื่อแก้ปัญหา ความยากจน พัฒนาสังคมและสุขภาวะ ซึง่ ได้ด�ำเนินการต่อเนือ่ งราว ๔ ปี ในพืน้ ที่ ๑๗ จังหวัดทัว่ ทุกภูมภิ าคของประเทศไทย เรื่องเล่าต่อไปนี้เป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นจากโครงการวิจัยนี้ เกษตรกรรายหนึง่ ทีจ่ งั หวัดชัยนาท เล่าว่าเขามีหนีส้ ะสมอยู่ ๓๘๐,๐๐๐ บาท จากการท�ำนา ราว ๖๐ ไร่ จริง ๆ แล้ว เขามีที่นาอยู่เพียง ๒๗ ไร่ แต่ไปเช่าเพิ่มมาเพราะคิดว่ายิ่งท�ำมากก็จะได้มาก เพื่อหาเงินมาใช้หนี้ หลังจากเขาเริ่มจดบัญชี ครัวเรือน เขาเริ่มเอาตัวเลขมาบวกกันเพื่อดูค่าใช้จ่ายทั้งหมด และพบว่ามีค่าใช้จ่ายหลายรายการที่เขาคิดว่าน่าจะสามารถ ลดได้ เช่น ปลูกผักกินเองเพื่อลดการซื้อมากิน เปลี่ยนจากขี่จักรยานยนต์ไปดูนา เมื่อพบว่าค่าใช้จ่ายเติมน �้ำมันตลอด ฤดูท�ำนารวมกันก็เป็นพันบาท และที่ส�ำคัญ เขาพบว่าเมื่อเช่านามาท�ำมาก ก็ต้องจ้างแรงงานมาช่วยทั้งในการไถ หว่าน และ เก็บเกีย่ ว ต้นทุนค่าแรงสูงมาก เขาจึงตัดสินใจเลิกเช่านา และท�ำเฉพาะทีด่ นิ ทีต่ วั เองมี เพือ่ ให้สามารถใช้แรงงานในครอบครัว ไม่ต้องจ้างได้ ผลปรากฏว่านอกจากต้นทุนค่าเช่าที่ดินและค่าจ้างแรงงานจะลดลงแล้ว ผลผลิตต่อไร่ก็สูงขึ้นด้วยเพราะการ ดูแลเองที่ให้เขาสามารถท�ำนาได้อย่างประณีต เกษตรกรรายนี้ใช้เวลาราว ๔ ปี สามารถปลดหนี้ได้หมด เกษตรกรอีกรายหนึ่งที่จังหวัดนครปฐม ปลูกมะลิบนที่ดิน ๕๐ ไร่ เกษตรกรรายนี้อายุมากแล้ว เขาบอกว่าพอเขา จดบัญชีค่าใช้จ่ายก็พบว่าต้นทุนค่าปุ๋ย และค่ายาก�ำจัดศัตรูพืชสูงมาก เมื่อถามว่าเท่าไหร่ เขาบอกว่าเวลาปกติไม่มีโรคหรือ แมลงลง ก็ราวเดือนละ ๓๐,๐๐๐-๔๐,๐๐๐ บาท แม้ต้นทุนจะสูง แต่เวลาหน้าหนาวมะลิขายได้ราคาแพงถึงลิตรละ ๙๐๐ บาท เขาก็จะได้จับเงินเป็นกอบเป็นก�ำ ก่อนหน้านี้ เขาไม่เข้าใจว่าหนี้ของเขามาจากไหน ทั้งที่ได้เงินเยอะ เกษตรกรรายนี้ มีหนีส้ ะสมอยูก่ ว่า ๙๐๐,๐๐๐ บาท เมือ่ เขาเห็นต้นทุนการผลิตของตัวเอง จึงพยายามหาทางลดการใช้สารเคมีโดยหาความรู้ และทดลองใช้สารชีวภาพต่าง ๆ ท�ำให้ต้นทุนค่าปุ๋ยและยาลดลงมาเหลือเดือนละ ๕,๐๐๐-๖,๐๐๐ บาท เท่านั้น เกษตรกร รายนี้ใช้เวลาเพียงไม่ถึง ๓ ปีปลดหนี้เกือบล้านบาทได้ทั้งหมด

170

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


เด็กผู้หญิงคนหนึ่งที่จังหวัดอุบลราชธานี อายุเพียง ๑๑ ปีมาช่วยแม่จดบันทึกบัญชีครัวเรือนเพื่อลดรายจ่าย เกิดแรงบันดาลใจอยากหารายได้เพิม่ จึงขอให้แม่ท�ำกับข้าวถุงแล้วตนเองน�ำไปขายทีต่ ลาดก่อนไปโรงเรียน ต่อมาเพิม่ การขาย ผลไม้ด้วย ภายในเวลา ๒ ปี เด็กคนนี้เก็บเงินได้ถึง ๖,๐๐๐ บาท โดยบอกว่าจะเก็บไว้เป็นทุนการศึกษาเล่าเรียนต่อไป ส่วนแม่ของเธอก็บอกด้วยความภูมใิ จว่าตัวแม่เองก็สามารถเก็บเงินไปซือ้ ทีด่ นิ เพิม่ ได้ ๑ ไร่ ราคา ๑ แสนบาท โดยจ่ายเป็นเงินสด ผูเ้ ขียนฟังเด็กเล่าแล้วรูส้ กึ ได้เลยว่า เด็กคนนีค้ งจะเติบโตไปเป็นคนทีม่ วี นิ ยั ทางการเงิน มีความรับผิดชอบ และมีอนาคตแน่ ๆ เพราะเธอคิดถึงการหาทุนการศึกษาได้ด้วยตัวเองตั้งแต่อายุเพียงเท่านี้ได้ การน�ำข้อมูลจากบัญชีครัวเรือนมาสร้างการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม สามารถส่งผลต่อการสร้างให้เกิดวิสาหกิจ ชุมชนได้ ตามหลักทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม มีกลุ่มเกษตรกรที่จังหวัดชัยภูมิ เอาข้อมูลจากบัญชีครัวเรือนที่จดมาตั้งวงคุยกันว่า มีคา่ ใช้จา่ ยรายการไหนบ้างทีน่ า่ จะท�ำเป็นวิสาหกิจชุมชนได้ เขาเลือกการเลีย้ งไก่ไข่เพราะคนในหมูบ่ า้ นกินไข่กนั ทุกครัวเรือน เฉลี่ยคนละ ๑ ฟองต่อวัน เกษตรกรกลุ่มนี้ก้าวหน้ามากเพราะมีนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลมาช่วยหนุน สามารถ ค�ำนวณได้วา่ ความต้องการบริโภคต่อวันเป็นเท่าไร และควรเลีย้ งไก่กตี่ วั เพือ่ ให้พอกับตลาดภายในชุมชน ต่อมากลุม่ ได้ขยาย ไปผลิตอาหารไก่จากวัตถุดิบในท้องถิ่นเพื่อลดต้นทุนค่าอาหารสัตว์ ท�ำให้กลุ่มมีผลก�ำไรสูงขึ้น พัฒนาการของกลุ่มหลังจาก นัน้ กลายเป็นกลุม่ ผลิตอาหารไก่และอาหารหมูขายให้กบั หมูบ่ า้ นและต�ำบลใกล้เคียง สมาชิกกลุม่ มีรายได้เพิม่ ขึน้ ทัง้ จากการ ขายไข่ไก่ และจากการท�ำวิสาหกิจขายอาหารสัตว์

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 171


เรื่องเล่าเหล่านี้เป็นปรากฏการณ์จริงที่เกิดขึ้นภายใต้โครงการวิจัย ที่ใช้บัญชีครัวเรือนเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการ สร้างการเรียนรูข้ องชาวบ้านซึง่ ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรทีป่ ระสบปัญหาหนีส้ นิ โดยให้เจ้าของครัวเรือนเป็นคนเก็บข้อมูลด้วย แบบบันทึกทีน่ กั วิชาการสร้างขึน้ เมือ่ ครบเดือนก็มคี นไปเก็บเอามาบันทึกลงโปรแกรมประมวลผลทีอ่ งค์กรปกครองท้องถิน่ มีวิทยากรกระบวนการไปเปิดเวทีสร้างการเรียนรู้เอาข้อมูลที่เก็บมานั้นมาเรียนรู้ร่วมกัน ในหลายพื้นที่กล่าวได้ว่าเป็น ครั้งแรกที่ชาวบ้านได้เห็นตัวเลขการบริโภคและต้นทุนการผลิตของตน ตลอดจนรายจ่ายที่ไม่จ�ำเป็น ทั้งในระดับครัวเรือน ระดับหมูบ่ า้ นและระดับต�ำบล ท�ำให้เกิดการคิดวิเคราะห์ถงึ สาเหตุทเี่ ชือ่ มโยงกับปัญหาหนีส้ นิ และสามารถเห็นข้อมูลภาพรวม เชิงเปรียบเทียบระหว่างหมูบ่ า้ นและต�ำบลได้ น�ำไปสูก่ ารคิดหาทางแก้ปญ ั หาทีท่ กุ คนประสบเหมือนกัน ร่วมกัน ในโครงการนี้ มีคนที่เข้าร่วมกระบวนการเรียนรู้จากการจดบันทึกรายรับ - รายจ่ายครัวเรือนรวมทั้งสิ้นกว่าแสนครัวเรือน มีครัวเรือนที่ เป็นต้นแบบได้ ๔,๒๘๔ ครัวเรือน พลังการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นมหาศาลมาก สามารถท�ำให้ครัวเรือนทั้งหมดที่จดบัญชีครัวเรือน อย่างต่อเนื่องปรับพฤติกรรมการบริโภคและการผลิต สามารถลดหนี้สินได้ไปจนถึงหลักหลายแสนบาท ค่าเฉลี่ยความ สามารถในการปลดหนี้ของครัวเรือนที่ได้จากการวิจัย สูงถึงปีละ ๓๕,๔๒๐ บาทต่อครัวเรือน ซึ่งนับว่าสูงมากเมื่อพิจารณา ถึงว่าปกติเกษตรกรท�ำการเกษตรมีแต่หนี้สินพอกพูนขึ้นทุกปี แต่นี่มีเงินเหลือเก็บจนสามารถน�ำไปใช้หนี้ได้ถึงปีละกว่า ๓๐,๐๐๐ บาท ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้ชี้ว่า จริง ๆ แล้วเกษตรกรสามารถจัดการปัญหาหนี้สินได้ด้วยตนเอง ด้วยเครื่องมือที่ สร้างการเรียนรู้ให้กับเขา นั่นคือบัญชีครัวเรือน ในเรื่องบัญชีครัวเรือนนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชด�ำรัส เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๒๒ พระราชทานแก่สมาชิกสหกรณ์ ว่า “...แต่ที่พูดถึงทางเศรษฐกิจ หมายความว่าทางการค�ำนวณดูว่ารายได้ รายจ่ายเป็นยังไง รายได้จะมากทุกคนก็ บอกว่า เรามีผลผลิตมาก ๆ เราก็รวยสิ จริงสิรวย เราขายได้มาก แต่ว่าก็ต้องจ่ายมากเหมือนกัน ...ฉะนั้น ทุกคนก็จะต้องรู้ดี เกี่ยวกับการท�ำบัญชีรายจ่ายรายรับให้ดี ก็ต้องรู้เศรษฐกิจ รู้บัญชีมากขึ้น...” นอกจากนี้ ในคราวเสด็จพระราชด�ำเนิน ทอดพระเนตรการด�ำเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑ พระราชทานพระราชด�ำรัสความว่า

172 ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


“...การท�ำบัญชีให้เห็นว่าสมดุล ไม่ขาดทุน ถ้าทุกคนสามารถทีจ่ ะท�ำให้พอดี ไม่ขาดทุน ประเทศชาติไม่ขาดทุนแน่ และประเทศชาติไม่ขาดทุน อยูร่ อด ข้อส�ำคัญเป็นอย่างนี้ ทีว่ า่ เศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่วา่ พอเพียงในการบริโภค แต่ให้พอเพียง ในการมีชีวิตอยู่ บางคนก็อาจจะรวยได้ทีเดียว...” การใช้บัญชีครัวเรือนสร้างการเรียนรู้ให้กับเกษตรกรนั้น เป็นการน�ำพาเกษตรกรเข้าสู่ความมีเหตุผล การใช้ข้อมูล ในการตัดสินใจ การท�ำให้เขาฉุกคิดด้วยการตัง้ ค�ำถามจากข้อมูลท�ำให้เกษตรกรเริม่ หันมาทบทวนถึงแบบแผนการใช้ชวี ติ และ การท�ำมาหากิน เช่นชาวนาปลูกข้าว แล้วท�ำไมจึงยังซือ้ ข้าวกิน ค่าใช้จา่ ยรายการซือ้ ข้าวเป็นตัวทีฟ่ อ้ ง ต้นทุนการผลิตรายการ ไหนสูงสุด ค่าใช้จา่ ยรายการไหนสามารถลดได้ดว้ ยตนเอง รายการไหนควรจะมารวมกลุม่ เพือ่ หาทางลดต้นทุนร่วมกัน เป็นต้น ผูเ้ ขียนพบว่าข้อมูลจากบัญชีครัวเรือนทีช่ าวบ้านจดเองนี้ เป็นเสมือนดินปืน เมือ่ มีค�ำถามเป็นชนวนเข้าไปจุดระเบิด ท�ำให้เกิด การระเบิดจากภายในทีช่ าวบ้านเรียนรูไ้ ด้เอง พลังการเรียนรูน้ ที้ �ำให้ชาวไร่ชาวนาสามารถสร้างการเปลีย่ นแปลงให้ตนเองได้ อย่างมหาศาล บางคนถึงกับร้องไห้เมื่อพบว่าทางออกของชีวิตที่เคยมืดมนมองไม่เห็นทางเลย อยู่ใกล้ ๆ และง่าย ๆ เพียงแค่นี้เอง เมื่อเขารู้จักใช้ข้อมูล ความมีเหตุมีผล ความพอประมาณ การไม่เสี่ยง และเครื่องมือง่าย ๆ ก็คือ บัญชีครัวเรือน ซึ่งทั้งหมดนี้ ล้วนปรากฏใน "ค�ำพ่อสอน" ที่ได้พระราชทานมาโดยตลอด โครงการนี้ นับเป็นโครงการที่เป็นบทพิสูจน์ที่มีหลักฐานชัดเจนที่สุดของสิ่งที่จะเกิดขึ้นได้หากเราด�ำเนินชีวิตตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการทรงงาน แนวคิดและแนวทางการด�ำเนินชีวิตดังกล่าวอาจจะฟังดูเป็นนามธรรม เมื่อพูดถึงความเป็นแนวคิดเชิงปรัชญา ท�ำให้คนมักจะเริ่มต้นไม่ถูกว่าจะเดินอย่างไร การน�ำไปปฏิบัติจริงต้องการเครื่องมือ เพื่อสร้างรูปธรรม เครื่องมือหนึ่งที่ได้พระราชทานไว้คือเรื่องของบัญชีครัวเรือน ที่จะเป็นเครื่องน�ำพาชาวบ้านเข้าสู่การ ใช้ข้อมูล และใช้เหตุผลในการตัดสินใจ การปรับพฤติกรรมการบริโภค การออม การลงทุนและการใช้จ่ายต่าง ๆ ให้เข้าสู่ ความพอประมาณและไม่เสีย่ งเกินก�ำลังได้ ชาวบ้านสามารถพิสจู น์ผลลัพธ์ทที่ �ำให้ชวี ติ ของตนและครอบครัว ตลอดจนชุมชน ของตนดีขึ้นได้จริงจากการลงมือปฏิบัติ ผู้เขียนในฐานะศิษย์เก่าโรงเรียนจิตรลดา ซึ่งได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้ได้เล่าเรียนในโรงเรียนที่ให้การศึกษา ที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ ได้กล่อมเกลาให้ผู้เขียนได้เห็นแบบอย่างของการเป็นคนดีและการท�ำความดีเพื่อประโยชน์ ส่วนรวม การได้มีโอกาสท�ำงานวิจัยในโครงการที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้นนั้น นอกจากจะเป็นการพยายามเดินตามรอย พระยุคลบาทและการสนองพระมหากรุณาธิคุณด้วยการน�ำค�ำแนะน�ำที่ได้พระราชทานไว้ในโอกาสต่าง ๆ มาสร้างให้เห็น ผลที่พิสูจน์ได้ทั้งด้วยตัวเลขข้อมูล และด้วยคนที่มีตัวจริงเสียงจริงแล้ว ผู้เขียนยิ่งตระหนักว่าพระมหากรุณาธิคุณนี้ยิ่งใหญ่ เหลือเกิน น�้ำพระทัยที่ทรงมีแก่อาณาประชาราษฎร์นั้นแผ่กว้างขวางไม่มีที่สิ้นสุด อยู่ที่ประชาราษฎร์จะเข้าใจ เข้าถึงและ น�ำไปลงมือท�ำเองหรือไม่ หากใครน�ำไปท�ำก็จะประสบผลดีได้ด้วยตนเอง และก็จะเข้าใจเองว่าค�ำสอนของพระองค์ท่าน คืออะไร และเพื่อประโยชน์ของใคร

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 173


“หลักการทรงงาน...หลักการปฏิรูปการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่” ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ

การจัดการศึกษาเชิงพื้นที่หรือ Area-Based Education เป็นแนวคิดที่มีมานานในวงการศึกษาไทย นับตั้งแต่ รายงาน “การศึกษาเพือ่ ชีวติ และสังคม” ของคณะกรรมการวางพืน้ ฐานเพือ่ การปฏิรปู การศึกษาทีต่ พี มิ พ์ออกมาในช่วงหลัง เหตุการณ์รัฐประหาร ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ก็ได้ให้ความส�ำคัญแก่เรื่องการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองสภาพชีวิต และความมั่นคงผาสุกของชุมชนท้องถิ่น รวมถึงได้เน้นย�้ำถึงหลักการกระจายอ�ำนาจและการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดการศึกษา (คณะกรรมการวางพื้นฐานเพื่อการปฏิรูปการศึกษา, ๒๕๑๘) หลักการดังกล่าวได้ถูกให้ความส�ำคัญ มาโดยตลอดในหมู่นักการศึกษาและนักวิชาการที่เกี่ยวข้อง ในหนังสือ “ความฝันของแผ่นดิน” ที่ตีพิมพ์ในปี ๒๕๓๙ อันเป็นงานวิชาการในโครงการการศึกษาไทยในยุคโลกาภิวตั น์ โดยศาสตราจารย์ ดร.สิปปนนท์ เกตุทตั เป็นประธานคณะศึกษา ก็ได้กล่าวถึงเรื่องนี้รวมทั้งได้ให้ข้อเสนอไว้อย่างชัดเจนว่า “การจัดการศึกษาในอนาคตจ�ำเป็นต้องใช้รูปแบบการบริหารโดยกลุ่มสถานศึกษาและชุมชน เพื่อให้ชุมชน หรือองค์กรชุมชนเข้ามามีสว่ นร่วมในกระบวนการจัดการ ตัง้ แต่การวางแผนและก�ำหนดจุดมุง่ หมายของการศึกษา การจัดท�ำ หลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น ตลอดจนการตรวจสอบคุณภาพและการสนับสนุนทรัพยากร เพื่อให้การ ศึกษาเป็นการศึกษาที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้น การจัดการในรูปแบบกลุ่ม สถานศึกษาและชุมชนจะช่วยเกื้อหนุนให้เกิดการกระจายอ�ำนาจของรัฐสู่สถานศึกษา และจะน�ำไปสู่การปรับบทบาทของ หน่วยงานของรัฐในส่วนกลางให้เป็น “หน่วยงานอ�ำนวยการ” ที่ดูแลเฉพาะการก�ำหนดนโยบาย การจัดท�ำแผนแม่บท ระยะยาว การติดตามประเมินผล การส่งเสริมสนับสนุนและตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา” “การจัดให้มโี ครงการน�ำร่องเป็นต้นแบบการกระจายอ�ำนาจบริหารการศึกษาลงไปสูร่ ะดับจังหวัด จะเป็นมาตรการ ส�ำคัญที่ช่วยผลักดันเรื่องนี้ให้เกิดขึ้นโดยเร็ว ทั้งนี้ ควรเน้นการมีส่วนร่วมของฝ่ายต่าง ๆ ตั้งแต่ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการทางการศึกษาและที่เกี่ยวข้อง หัวหน้าสถานศึกษา กลุ่มโรงเรียน ตลอดจนผู้น�ำชุมชน... นอกจากนี้ ควรมีการตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นส�ำหรับจังหวัดนั้น ๆ ควบคู่ไปด้วย... ...ภายใต้บรรยากาศของการมี ส่วนร่วมนีจ้ ะต้องส่งเสริมให้เอกชน องค์กรสาธารณประโยชน์ และสถาบันศาสนาเข้ามามีสว่ นร่วมกับภาครัฐในการจัดการศึกษา และฝึกอบรมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ให้มากขึ้น...” (อมรวิชช์ นาครทรรพ, ๒๕๓๙) แนวคิดดังกล่าวได้ถูกให้การยอมรับอย่างเป็นทางการยิ่งขึ้นในเวลาต่อมา ทั้งในสาระบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ที่ต่างเน้นย�้ำสิทธิของ ชุมชนท้องถิน่ ในการมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา รวมถึงงานวิชาการทีเ่ กีย่ วข้องในช่วงเวลานัน้ (ส�ำนักงานปฏิรปู การศึกษา, ๒๕๔๔; ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาแห่งชาติ, ๒๕๔๕) ก็ได้เน้นความจ�ำเป็นของการกระจายอ�ำนาจลงสู่ฐานพื้นที่

174

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


เช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ความพยายามกระจายอ�ำนาจลงสูร่ ะดับพืน้ ทีแ่ ละสถานศึกษาก็ยงั ไม่ประสบความส�ำเร็จ เต็มทีน่ กั แม้จะมีการปรับโครงสร้างการบริหารงานของกระทรวงศึกษาธิการให้มี “เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา” เกิดขึน้ ในปี ๒๕๔๓ แต่ก็มีลักษณะเป็นการแบ่งอ�ำนาจ (Deconcentration) มากกว่าการกระจายอ�ำนาจ (Decentralization) อย่างแท้จริง กระทั่งในปี ๒๕๕๘ เมื่อมีการตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติขึ้นในรัฐบาลคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้มีการหยิบยก เรื่องการกระจายอ�ำนาจทางการศึกษานี้ขึ้นมาเป็นวาระการปฏิรูปการศึกษาอย่างจริงจังอีกครั้งหนึ่ง “..ให้ถอื ว่าการกระจายอ�ำนาจเป็นยุทธศาสตร์หลักในการปฏิรปู การศึกษา ดังนัน้ ยุทธศาสตร์และมาตรการอืน่ ๆ ต้องก�ำหนดให้เป็นไปเพือ่ ตอบสนองต่อการกระจายอ�ำนาจ โดยมีเป้าหมายหลักคือการปฏิรปู ระบบบริหารจัดการการศึกษา โดยลดขนาดของการจัดการการศึกษาทุกระดับจากภาครัฐ เปลี่ยนบทบาทภาครัฐจาก “ผู้จัดการศึกษา” (Education service providers) ไปเป็น “ผู้จัดให้มีการศึกษา” (Education service deliverers) ควบคู่กับการเพิ่มขีดความสามารถ และขยายพื้นที่การจัดการศึกษาของภาคประชาชนและชุมชน เสริมพลังอ�ำนาจเพื่อให้สังคม ผู้ปกครอง ผู้ใช้บัณฑิต และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบทุกระดับ แยกบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายก�ำหนดนโยบาย (Regulator) และฝ่ายปฏิบัติ (Operator) ออกจากกันให้ชัดเจน.. ..รวมถึงให้มีการพัฒนากลไกคณะกรรมการการศึกษา จังหวัดและสมัชชาการศึกษาจังหวัดเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและตรวจสอบถ่วงดุลกับภาครัฐ” (สภา ปฏิรูปแห่งชาติ, ๒๕๕๘) หลังจากมีข้อเสนอของสภาปฏิรูปแห่งชาติออกมาไม่นาน ในเดือนมีนาคม ๒๕๕๙ รัฐบาลก็ได้มีค�ำสั่งหัวหน้า คณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๑๐ และ ๑๑ เรื่องการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค โดยให้มีการแต่งตั้ง “คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด” ขึ้นในทุกจังหวัดโดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน นับเป็น ก้าวส�ำคัญที่เป็นรูปธรรมอีกก้าวหนึ่งในกระบวนการขับเคลื่อนเรื่องการกระจายอ�ำนาจการจัดการศึกษาลงสู่ระดับพื้นที่ที่มี ความพยายามมาก่อนหน้านั้นหลายทศวรรษ ผู้เขียนเองมีส่วนอยู่ทั้งในฐานะกรรมาธิการปฏิรูปการศึกษาของสภาปฏิรูป แห่งชาติที่จัดท�ำข้อเสนอเรื่องการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่จังหวัดต่อรัฐบาล นอกจากนี้ ยังท�ำหน้าที่หัวหน้าโครงการวิจัย ถอดบทเรียนเชิงนโยบายการจัดการศึกษาเชิงพืน้ ทีจ่ ากโครงการ “จังหวัดปฏิรปู การเรียนรู”้ โดยการสนับสนุนของส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ที่เริ่มต้นโครงการ มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๗ โดยมีจังหวัดเข้าร่วมโครงการถึง ๑๔ จังหวัด ได้แก่ แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ น่าน ล�ำปาง สุโขทัย สุรินทร์ อ�ำนาจเจริญ พระนครศรีอยุธยา กาญจนบุรี ชลบุรี ตราด สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต และยะลา ซึ่งในปัจจุบันจังหวัดเหล่านี้ก็ยังมี คณะท�ำงานที่พยายามขับเคลื่อนงานอยู่อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความพยายามเชื่อมโยงการท�ำงานที่ผ่านมาของแต่ละจังหวัด เข้ากับโครงสร้างใหม่ทเี่ กิดขึน้ ตามค�ำสัง่ คสช.ที่ ๑๐ และ ๑๑ คือคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด เพือ่ ให้สามารถบูรณาการ การท�ำงานให้มีเอกภาพและสามารถใช้ทุนการท�ำงานเดิมในโครงการ “จังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้” ให้เป็นประโยชน์สูงสุด ต่อการพัฒนาการศึกษาของจังหวัดต่าง ๆ ในระยะยาว ดังที่กล่าวมาถึงความเป็นมาของความพยายามกระจายอ�ำนาจและการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ที่ผ่านมาทั้งหมด จนถึงปัจจุบนั นัน้ ก็เพือ่ ให้ผอู้ า่ นเข้าใจภาพรวมของการขับเคลือ่ นการปฏิรปู การศึกษาด้านนี้ ทีน่ า่ จะเป็น“คานงัด” ส�ำคัญทีส่ ดุ

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 175


ด้านหนึ่งในความพยายามปฏิรูปการศึกษาของประเทศในภาพรวม อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ผู้เขียนใคร่ขอเน้นในบทความนี้ คือ การน�ำหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร หรือในหลวงของเรามา เป็นกรอบในการมองการท�ำงานของจังหวัดต่าง ๆ ในระยะต่อไป ซึ่งผู้เขียนเชื่อว่าจะเป็นมุมมองที่ช่วยให้จังหวัดต่าง ๆ มีความชัดเจนขึ้นทั้งในเป้าหมายและทั้งในแนวทางการท�ำงานไปสู่เป้าหมายการพัฒนาการศึกษาของแต่ละจังหวัดต่อไป ทั้งนี้ ผู้เขียนในฐานะอาจารย์ประจ�ำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่รับหน้าที่สอนวิชา “การศึกษา กับกระบวนทัศน์การพัฒนาที่ยั่งยืน” ถือว่าผู้เขียนโชคดีที่ได้มีโอกาสพานิสิตไปดูงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติ ทีค่ ลองหลวงอยูห่ ลายต่อหลายครัง้ ซึง่ โซนหนึง่ ของพิพธิ ภัณฑ์ทเี่ ป็นโซนโปรดโซนหนึง่ ของผูเ้ ขียนกับนิสติ คือ โซนทีแ่ สดงถึง หลักการทรงงาน ๒๓ ข้อ หลักการทรงงานเหล่านี้เดิมทีผู้เขียนก็เพียงแต่น�ำมาถกเถียงต่อกับนิสิตในห้องเรียน หรือมิฉะนั้น ก็น�ำบางข้อไปให้นิสิตอภิปรายหรือประยุกต์ใช้ในข้อสอบปลายภาค แต่ช่วงหลังเมื่อได้เข้าไปร่วมงานกับจังหวัดต่าง ๆ ในโครงการจังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้ดังที่กล่าวไป ก็ยิ่งเห็นถึงคุณค่าของ “หลักการทรงงาน” ที่หลายเรื่องประยุกต์ได้ เป็นอย่างดีกับการส่งเสริมการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ให้เป็นไปอย่างถูกทาง เป็น “หลักคิด” ส�ำหรับทีมประสานงานจังหวัด ภาคประชาสังคม ผู้น�ำท้องถิ่น ไปจนถึงผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัดในการก่อรูปกระบวนการท�ำงานการศึกษาให้ เหมาะสมตามบริบทพื้นที่ที่แตกต่างกันไป โดยเฉพาะการท�ำงานของ “คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด” หรือ “กศจ.” ให้สามารถรองรับการกระจายอ�ำนาจจากส่วนกลางอย่างถูกทาง เพื่อให้กลไกจังหวัดที่ถูกจัดให้มีขึ้นนี้สามารถตอบสนอง ความต้องการโอกาสทางการศึกษาของพี่น้องประชาชนในแต่ละพื้นที่จังหวัดอย่างแท้จริง ผู้เขียนขอยกเรื่องหลักการทรงงานข้อต่าง ๆ ที่คิดว่าส�ำคัญมาชวนท่านผู้อ่านร่วมกันพิจารณาในบริบทด้านการ ศึกษา ดังนี้ ๑) หลักการทรงงานข้อที่ ๕ “ภูมิสังคม” “การพัฒนาใด ๆ จะต้องเป็นไปทั้งตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และ ภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ คือนิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่นไม่ได้ เข้าไปช่วยโดยคิดให้เขาเข้ากับ เราไม่ได้ แต่ถา้ เข้าไปแล้วไปดูวา่ เขาต้องการอะไรจริง ๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนา ก็จะเกิดประโยชน์ อย่างยิ่ง” นี่คือหลักการส�ำคัญที่สุดในการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ การจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ตลอดจนสภาพเด็กเยาวชนในแต่ละพื้นที่ ค�ำว่า “ภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์” ผู้เขียนน�ำมาใช้โดยตีความ ครอบคลุมวิถีชีวิตทุก ๆ ด้านของประชาชนในแต่ละพื้นที่ ทั้งวิถีชีวิต วิถีการผลิตและอาชีพ ไปจนถึงวิถีวัฒนธรรม และจารีตประเพณีของการอยู่ร่วมกัน นี่คือหลักคิดในการออกแบบระบบการศึกษาให้มีความยืดหยุ่นสอดคล้องหรือ มีเป้าหมายจุดเน้นที่เหมาะกับสภาพหรือ “วิถี” ของแต่ละพื้นที่ ๆ ย่อมจะมี “วิธี” จัดการศึกษาที่ต่างกันไป จังหวัด ชลบุรีที่เป็นจังหวัดอุตสาหกรรมใหญ่ในระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor) ก็น่าจะมีระบบ การศึกษาและพัฒนาก�ำลังคนที่ต่างจากจังหวัดน่านที่เป็นจังหวัดที่เล็กกว่าผู้คนยังมีวิถีชีวิตอยู่กับการเกษตรแบบเดิม เป็นส่วนใหญ่ จังหวัดนครราชสีมาที่เป็นจังหวัดขนาดใหญ่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมสูงก็น่าจะมีวิธีจัดการศึกษา 176

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ต่างจากจังหวัดยะลาที่ประชากรกว่าร้อยละ ๘๐ เป็นชาวมุสลิม เป็นต้น คนที่เข้าไปท�ำงานปฏิรูปการศึกษาเชิงพื้นที่ หากไม่เข้าใจไม่ตระหนักให้กระจ่างชัดบางทีกอ็ าจใช้ความเคยชินเอาวิธคี ดิ และวิธกี ารจัดการศึกษาแบบเดิมเข้าไป “ครอบ” คนในพืน้ ทีไ่ ด้ เช่น อาจเผลอไปส่งเสริมให้เด็กได้มโี อกาสเรียนต่อสูง ๆ ในมหาวิทยาลัยในจังหวัดทีเ่ ป็นโซนอุตสาหกรรมทีต่ อ้ งการ ก�ำลังคนระดับ ปวช. ปวส. เป็นส่วนใหญ่ หรือไปเน้นรูปแบบการประเมินผลสัมฤทธิท์ างการเรียนทีด่ แู ต่คะแนนสอบทางวิชาการ อย่างเดียวในจังหวัดที่เป็นพื้นที่ยากจน ซึ่งในพื้นที่แบบนี้ทักษะการท�ำงานและทักษะการใช้ชีวิตอาจเป็น “ผลสัมฤทธิ์” ทีพ่ งึ คาดหวังและพึงปลูกฝังให้เด็กเยาวชนมากกว่าคะแนนสอบด้วยซำ�้ และนีค่ อื เหตุผลส�ำคัญทีท่ �ำให้เป้าหมายการพัฒนาการ ศึกษาของแต่ละจังหวัดที่ร่วมโครงการ “จังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้” มีการตั้งเป้าหรือจุดเน้นแตกต่างกันไปตาม “ภูมิสังคม” แต่ละจังหวัด ตั้งแต่การศึกษาเพื่อการสร้างแรงงานระดับสูงที่ชลบุรี การลดความเหลื่อมล�้ำในโอกาสแก้ปัญหาเด็ก ออกกลางคันที่สุรินทร์ การพัฒนาการอ่านที่ยะลา การจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและการค้าชายแดนที่ตราด เป็นต้นในทัศนะผู้เขียนนี่คือความสวยงามของความหลากหลายที่จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการจัดการศึกษาให้ตอบสนอง สภาพความเป็นจริงของแต่ละพื้นที่ต่อไป ๒) หลักการทรงงานข้อที่ ๒ “ระเบิดจากข้างใน” “ต้องสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชนที่เข้าไปพัฒนาให้มี สภาพพร้อมทีจ่ ะรับการพัฒนาเสียก่อนแล้วจึงค่อยออกสูส่ งั คมภายนอก มิใช่การน�ำความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอก เข้าไปหาชุมชนหมู่บ้านที่ยังไม่มีโอกาสเตรียมตัวหรือตั้งตัว” จากประสบการณ์ในโครงการจังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้ หลักการทรงงานประการนี้ก็ได้ถูกพิสูจน์อย่างชัดเจนว่า มีความหมายและความส�ำคัญต่อความส�ำเร็จในการขับเคลื่อนงานของจังหวัดต่าง ๆ อย่างมาก จังหวัดที่ด�ำเนินงานไปได้ ค่อนข้างมากและเร็วกว่าจังหวัดอืน่ ๆ มักเป็นจังหวัดทีเ่ ห็นการ “ระเบิดจากข้างใน” นีค้ อ่ นข้างชัดเจน นัน่ คือการด�ำเนินการ ไม่ได้ยึดโยงกับอ�ำนาจรัฐหรือแรงกระตุ้นส่งเสริมจากภายนอกอย่างเดียว แต่เป็นการด�ำเนินการบนฐานความเข้มแข็งของ “ภาคประชาสังคม” ในแต่ละพื้นที่เองด้วยที่เป็นแรงขับเคลื่อนที่มีพลังยั่งยืนกว่า ตัวอย่างของ “ภาคีการศึกษาเชียงใหม่” “สภาการศึกษาจังหวัดอ�ำนาจเจริญ” “สภาการศึกษาจังหวัดภูเก็ต” “สมัชชาการศึกษาจังหวัดล�ำปาง” เป็นตัวอย่าง ส่วนหนึ่งของกลไกภาคประชาชนที่เกิดขึ้นในโครงการ และสะท้อนถึงพลังของ “คนใน” ที่จะเป็นความหวังที่แท้จริง ต่อการท�ำงานในระยะยาวให้มีความยั่งยืนในทุกพื้นที่ ๓) หลักการทรงงานข้อที่ ๑๐ “การมีส่วนร่วม” “การรู้จักรับฟังอย่างฉลาดนั้นแท้จริงคือการระดมสติปัญญา และประสบการณ์อันหลากหลาย มาอ�ำนวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบความส�ำเร็จที่สมบูรณ์” ในกระบวนการท�ำงานของทุกจังหวัดที่ได้มีการออกแบบการท�ำงานร่วมกันมาตั้งแต่ต้นนั้น องค์ประกอบส�ำคัญ องค์ประกอบหนึ่งคือการจัดให้มี “เวทีบูรณาการ” เป็นส่วนส�ำคัญในการท�ำงานของทุกจังหวัด เพื่อสร้างการมีส่วนร่วม ของทุกฝ่ายในการเข้ามาร่วมรับรู้ร่วมตระหนัก และร่วมวางแผนแก้ปัญหาการศึกษาในพื้นที่ด้วยกัน หลักการทรงงาน เรื่องการมีส่วนร่วมนี้ได้กลายเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้หลายจังหวัดสามารถขยายเครือข่ายภาคีต่าง ๆ ที่เข้ามามีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ได้ส�ำเร็จ และก็ได้กลายเป็น “ปัจจัยความส�ำเร็จ” ในการสร้างส�ำนึกของ

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 177


“การเป็นเจ้าของปัญหาร่วมกัน” ของทุกฝ่ายในพื้นที่ทั้งภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ชุมชน พ่อแม่ผู้ปกครอง ไปจนถึงภาควิชาการ และหน่วยงานองค์กรต่าง ๆ ในพื้นที่ที่มีบทบาทเกี่ยวข้อง “ศาสตร์และศิลป์ของการสร้างการมีส่วนร่วม” ในแต่ละพื้นที่ ย่อมมีแตกต่างกันไป แต่หัวใจส�ำคัญคือการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงตามหลักการทรงงานประการนี้ได้เป็นที่ประจักษ์ชัด ในทุกพื้นที่จังหวัดที่ร่วมโครงการ ๔) หลักการทรงงานข้อที่ ๑ “ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ” “การที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ง ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบ จากข้อมูล เอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และราษฎรในพืน้ ที่ ให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง เพื่อพระราชทานความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วตามความต้องการของประชาชน” เช่นเดียวกับเรื่องหลักการมีส่วนร่วมที่กล่าวไปแล้ว เรื่องการศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบเป็นหลักการทรงงานอีก ประการหนึง่ ทีท่ กุ จังหวัดได้น�ำมาใช้เป็นหลักในการท�ำงานพัฒนาการศึกษาของพืน้ ที่ ทัง้ นี้ โดยการสนับสนุนของ สกว. และ สสค. ร่วมกับสถาบันวิชาการ ได้เข้าไปช่วยเป็นพี่เลี้ยงให้จังหวัดต่าง ๆ พัฒนาให้เกิด “ระบบข้อมูลการศึกษาจังหวัด” ขึ้นเพื่อใช้ ในการวางแผนแก้ปญ ั หาการศึกษาได้ตรงจุด การส�ำรวจเด็กออกกลางคันทัง้ พืน้ ทีข่ องจังหวัดสุรนิ ทร์เป็นตัวอย่างหนึง่ ทีส่ ะท้อน ให้เห็นการน�ำหลักการทรงงานประการนี้ไปใช้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพื่อแก้ปัญหาความเหลื่อมล�้ำในโอกาส การศึกษาในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ การมีระบบข้อมูลทางการศึกษาที่ดียังเป็นส่วนส�ำคัญในการติดตามผลการด�ำเนินงานของ แต่ละจังหวัดให้สามารถ “ชี้ชัดวัดได้” เป็นรูปธรรมเพื่อการพัฒนาแผนงานแต่ละจังหวัดไปได้อย่างถูกทางและต่อเนื่อง ๕) หลักการทรงงานข้อที่ ๓ “แก้ปัญหาที่จุดเล็ก” “ทรงมองปัญหาในภาพรวม (Macro) ก่อนเสมอ แต่การ แก้ปัญหานั้นทรงเริ่มจากจุดเล็ก ๆ (Micro) คือการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่คนมักจะมองข้าม” การ “คิด Macro ท�ำ Micro” เป็นหลักการทรงงานที่มีส่วนช่วยอธิบายความส�ำเร็จของการขับเคลื่อนงาน ของหลายจังหวัด รวมทัง้ การช่วยสร้าง “ก�ำลังใจ” ของคณะท�ำงานจังหวัดในหลายพืน้ ทีท่ นี่ �ำหลักการนีไ้ ปใช้ นัน่ คือแทนทีจ่ ะ ตั้งเป้าการพัฒนาเต็มพื้นที่ทั้งจังหวัด หลายจังหวัดกลับเริ่มด้วยงานน�ำร่องในบางอ�ำเภอหรือต�ำบลเพื่อทดลองและสร้าง ตัวแบบความส�ำเร็จก่อนที่จะขยายผลต่อไปยังพื้นที่อื่น ๆ ของจังหวัด ตัวอย่างเช่น การแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กในพื้นที่ จังหวัดเชียงใหม่และล�ำปางก็เริม่ ต้นคิดจากพืน้ ทีท่ มี่ คี วามเป็นไปได้สงู ๓ - ๕ อ�ำเภอ หรือในกรณีการวางระบบดูแลช่วยเหลือ เด็กที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ (Learning Disability) ในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีก็เริ่มจากเครือข่ายโรงเรียนน�ำร่อง เพียง ๒๐ แห่ง เป็นต้น การคิด Macro ท�ำ Micro หรือทีผ่ เู้ ขียนแปลว่าคือการ “คิดใหญ่ เริม่ เล็ก” เป็นทัง้ กลยุทธ์การด�ำเนินงาน อย่างรอบคอบรัดกุมและหวังผลได้ในระยะเริ่มแรกของจังหวัดต่างๆ และเป็นทั้งก�ำลังใจจากความส�ำเร็จที่จุดเล็ก ๆ เพื่อ การก้าวไปสูก่ ารขยายผลหรือด�ำเนินการในเรือ่ งทีย่ ากขึน้ ต่อไป ๖) หลักการทรงงานข้อที่ ๖ “องค์รวม” “ทรงมีวธิ คี ดิ อย่างองค์รวม (Holistic) หรือมองอย่างครบวงจร ทรงมอง เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง” การวางแผนการศึกษาระดับจังหวัดที่คิดอย่างเชื่อมโยงเป็นองค์รวมตามหลักการทรงงาน ข้อนี้ ผู้เขียนได้เห็น ด้วยความดีใจในกระบวนการท�ำงานของหลายจังหวัดเช่นกัน ตั้งแต่ “องค์รวมของการพัฒนาคน” ทุกช่วงวัยตั้งแต่แรกเกิด 178

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


จนถึงผู้สูงอายุในกรอบคิดของการพัฒนาก�ำลังคนจังหวัดตราด ไปจนถึง “องค์รวมของการพัฒนาเชิงระบบ” ในกรอบคิด ของการพัฒนาก�ำลังคนสู่โลกการท�ำงานในพื้นที่ชลบุรีที่มีการเตรียมคุณลักษณะเด็กตั้งแต่ระดับประถม การแนะแนวและ เตรียมความพร้อมด้านทักษะในระดับมัธยมและอาชีวศึกษา ตลอดจนการประสานความร่วมมือกับภาคเอกชนเพือ่ สร้างงาน รองรับ เป็นต้น ทั้งนี้ การมองอย่างเชื่อมโยงเป็นองค์รวมเป็นแนวทางส�ำคัญที่ช่วยให้การแก้ปัญหาการศึกษาในหลายพื้นที่ จังหวัดประสบความส�ำเร็จโดยราบรื่น จังหวัดสุโขทัยเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของการวางแผนเชื่อมโยงเป็นองค์รวมบนโจทย์ การส่งเสริมการอ่านของเด็กระดับประถมศึกษา ที่มีการเชื่อมโยงการท�ำงานตั้งแต่การเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวัย การช่วยเหลือดูแลเด็กที่มีความต้องการพิเศษ การท�ำงานร่วมกับครอบครัวและชุมชน เป็นต้น เพื่อเป็นหลักประกันความ ส�ำเร็จว่า ในกระบวนการส่งเสริมการอ่านของเด็กทีม่ คี วามหลากหลายแตกต่างกันไปนัน้ โรงเรียนจะมี “ตัวช่วย” เพือ่ รองรับ เด็กบางกลุ่มที่อาจมีความต้องการพิเศษ หรืออาจขาดความพร้อม โดยดึงพลังจากทุกภาคส่วนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมใน กระบวนการขับเคลื่อนงานดังกล่าว ๗) หลักการทรงงานข้อที่ ๙ “ท�ำให้ง่าย” “ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุง และแก้ไขงานพัฒนาประเทศตามแนว พระราชด�ำริให้ด�ำเนินไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่และระบบนิเวศน์โดยรวม ตลอดจน สภาพทางสังคมของชุมชนนั้น ๆ” ตัวอย่างการท�ำงานเรื่องระบบข้อมูลในโครงการเป็นตัวอย่างอันดีในเรื่องนี้ โดยในจังหวัดน�ำร่อง ๔ จังหวัด เรื่องระบบข้อมูล ได้แก่ ล�ำปาง สุโขทัย นครราชสีมา และภูเก็ต ภายใต้ความช่วยเหลือจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรร่วมกับนักวิชาการของ สสค. ต่างช่วยกัน "ท�ำให้ง่าย" ในเรื่องระบบข้อมูลเพื่อการพัฒนาการศึกษา ของจังหวัดนีเ้ ช่นกัน โดยเฉพาะกระบวนการจัดท�ำข้อมูลระดับสถานศึกษาทีพ่ ยายามท�ำให้เรียบง่ายไม่เป็นภาระเพิม่ เติมแก่ คณะครู ในทางตรงกันข้ามยังออกแบบระบบข้อมูลให้ “กรอกครัง้ เดียวตอบสนองการท�ำรายงานได้หลายรูปแบบ” ท�ำให้เรือ่ ง ระบบข้อมูลที่มักเป็นยาขมของสถานศึกษาที่มีภาระการจัดท�ำข้อมูลให้หน่วยงานต่าง ๆ มากอยู่แล้ว สามารถที่จะยอมรับ แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลในโครงการนีไ้ ด้งา่ ยขึน้ มาก ทัง้ นี้ ก็ดว้ ยการประยุกต์หลักการทรงงานเรือ่ งความเรียบง่ายนีน้ เี่ อง ๘) หลักการทรงงานข้อที่ ๗ “ไม่ติดต�ำรา” “การพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริมีลักษณะการพัฒนาที่อนุโลมและ รอมชอมกับสภาพธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม สภาพของสังคมจิตวิทยาแห่งชุมชน คือไม่ตดิ ต�ำรา ไม่ผกู มัดติดกับวิชาการและ เทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริงของคนไทย” อันที่จริงโครงการจังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้นี้ก็ “ติดต� ำรา” พอสมควรโดยการน�ำทฤษฎีเชิงระบบมาใช้ในการ ขับเคลื่อนงานของทุกจังหวัดให้ด�ำเนินไปอย่างมีแบบแผนเดียวกันเป็นขั้นเป็นตอน ตั้งแต่การพัฒนากลไกจังหวัด การ พัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการวางแผนของกลไกจังหวัด การจัดเวทีบูรณาการเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผน การติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามแผนเพื่อเป็นข้อมูลป้อนกลับให้เกิดวงจรการวางแผนที่สมบูรณ์ รวมถึงการรณรงค์ สื่อสารภายในจังหวัดอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างปัจจัยเกื้อหนุนการท�ำงานในทุกขั้นตอน ดูเผิน ๆ การใช้ทฤษฎีหรือแนวคิด เชิงระบบมาเป็นกรอบการท�ำงานร่วมกันก็นา่ จะเป็นเรือ่ งทีเ่ หมาะสมแล้ว อย่างไรก็ตาม โดยข้อเท็จจริงของการท�ำงานในแต่ละ

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 179


ขั้นตอนของแต่ละจังหวัดมีรายละเอียดปลีกย่อยของกระบวนการท�ำงานที่แตกต่างกันอยู่พอสมควร จนแทบจะกล่าวได้ว่า การท�ำงานในโครงการจังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้นี้ ความส�ำเร็จอาจขึ้นอยู่กับการ “มีกรอบแต่ไม่ติดกรอบ” และการมอง กระบวนการขับเคลื่อนงานทุกขั้นตอนให้เป็นทั้ง “ศาสตร์และศิลป์” ที่ต้องปรับประยุกต์ให้เข้ากับบริบทความเป็นจริง และเงื่อนไขตัวบุคคล องค์กร หรือแม้แต่ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมที่แตกต่างกันไปในแต่ละที่ การไม่ติดกรอบหรือ ติดต�ำราเกินไป แต่สร้างความเข้าใจร่วมกันว่านี่คือกระบวนการขับเคลื่อนเพื่อสร้างระบบความสัมพันธ์ทางสังคมขึ้นมาใหม่ ในทุกพื้นที่ที่จะมาร่วมกันเกื้อหนุนงานการศึกษา และต้องอาศัยมุมมองวิธีคิดทางสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์มากเท่า ๆ กับ ทางบริหารศาสตร์จะเป็นปัจจัยความส�ำเร็จที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่งของทุกจังหวัด ตัวอย่างบริบททางสังคมวัฒนธรรมและ ระบบความสัมพันธ์ที่ต่างกันชัดเจนระหว่างยะลา เชียงใหม่ ชลบุรี สุรินทร์ อาจเป็นตัวอย่างที่ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพชัดขึ้น ถึงความส�ำคัญของการไม่ติดกรอบไม่ติดต�ำรา แต่สามารถที่จะมีศิลปะของการท�ำงานในการประยุกต์แนวทางและขั้นตอน ที่เป็นกรอบหลวม ๆ นั้นให้เข้ากับลักษณะของแต่ละพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม ๙) หลักการทรงงานข้อที่ ๑๗ “การพึ่งตนเอง” “การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพและ ตัง้ ตัวให้มคี วามพอกินพอใช้กอ่ นอืน่ เป็นสิง่ ส�ำคัญยิง่ ยวด เพราะผูม้ อี าชีพและฐานะเพียงพอทีจ่ ะพึง่ พาตนเองได้ ย่อมสามารถ สร้างความเจริญในระดับสูงขั้นต่อไป” หลักคิดประการนี้ก็ปรากฏเป็นจริงในการตั้งโจทย์การพัฒนาการศึกษาของแทบทุกจังหวัด โดยเฉพาะเมื่อได้มี การจัดเวทีบูรณาการสร้างการมีส่วนร่วมระดมความเห็นจากทุกฝ่ายแล้ว โจทย์เรื่อง “การศึกษาเพื่อการมีงานท�ำ” หรือ “การศึกษาเพื่ออาชีพ” กลายเป็นโจทย์หลักหรือโจทย์ส�ำคัญในแทบทุกจังหวัด ตั้งแต่จังหวัดที่เขตเศรษฐกิจพิเศษหรือพื้นที่ การพัฒนาพิเศษอย่างชลบุรแี ละตราด ไปจนถึงจังหวัดทางภาคอีสานอย่างสุรนิ ทร์และอ�ำนาจเจริญ หรือทางใต้อย่างจังหวัด ภูเก็ตและสุราษฎร์ธานี ไปจนถึงจังหวัดขนาดใหญ่ที่เศรษฐกิจเติบโตไปมากแล้วอย่างเชียงใหม่และนครราชสีมา หรือแม้แต่ จังหวัดเล็ก ๆ อย่างน่านและแม่ฮ่องสอน แทบทุกจังหวัดต่างหยิบยกเรื่อง “สัมมาชีพ” “การมีงานท�ำในพื้นที่” “การรักษา ก�ำลังคนไว้กับท้องถิ่น” “การสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ของจังหวัด” มาเป็นประเด็นพูดคุยและกลายไปเป็นเป้าหมาย การท�ำงานที่ส�ำคัญแทบทั้งสิ้น หลายจังหวัดยังได้สร้างวาทกรรมน�ำการพัฒนาและรณรงค์เรื่องนี้ เช่น วาทกรรมของการ เป็นจังหวัด “พุทธเกษตร” ที่อ�ำนาจเจริญ วาทกรรม “เด็กสุรินทร์เก่ง ดี มีงานท�ำ” ของสุรินทร์ วาทกรรม “ไม่ต้องเรียน ปริญญาตรีกเ็ ป็นเศรษฐีได้” ของตราด เป็นต้น เป็นสัจธรรมความจริงตามทีใ่ นหลวงได้พระราชทานหลักคิดไว้วา่ “ผูม้ อี าชีพ และฐานะเพียงพอที่จะพึ่งพาตนเองได้ ย่อมสามารถสร้างความเจริญในระดับสูงขั้นต่อไป” จังหวัดที่มุ่งสร้างงานสร้าง อาชีพสร้างโอกาสการมีรายได้พึ่งตนเองได้ของเยาวชนผ่านระบบการศึกษาที่ให้ความส�ำคัญเรื่องการท�ำงานมากกว่าแค่ เรื่องผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ อาจกลายเป็นจังหวัดที่ไม่เพียงให้การเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชีวิตจริงของคนรุ่นใหม่เท่านั้น แต่ยงั อาจเป็นจังหวัดทีค่ น้ พบค�ำตอบส�ำคัญของการใช้การศึกษาเป็นเครือ่ งมือสร้างและรักษาก�ำลังคนรุน่ ใหม่ให้สามารถเติบโต ขึ้นมาอย่างมีความรู้ ความสามารถ ความหวัง และแรงบันดาลใจของการท�ำงานหรือริเริ่มการสร้างเนื้อสร้างตัวในถิ่นฐาน บ้านเกิดของตนเองได้ แทนการหลัง่ ไหลเข้าเมืองใหญ่เพือ่ มาเป็นแรงงานแปลกถิน่ อย่างทีเ่ ป็นมายาวนานในประเทศของเรา ๑๐) หลักการทรงงานข้อที่ ๑๖ “ขาดทุนคือก�ำไร” “การที่คนอยู่ดีมีสุขนั้นเป็นการนับที่เป็นมูลค่าเงินไม่ได้.. เราท�ำอะไรที่เราเสีย แต่ในที่สุดเป็นการได้ทางอ้อม.. เงินของรัฐบาลหรืออีกนัยหนึ่งคือเงินของประชาชน ถ้าอยากให้ 180

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ประชาชนอยู่ดีกินดีก็ต้องลงทุน ต้องสร้างโครงการ ซึ่งต้องใช้เงินเป็นร้อน พัน หมื่นล้าน.. เป็นการจ่ายเงินของรัฐบาล แต่ในไม่ช้าประชาชนจะได้รับผล ราษฎรอยู่ดีกินดี ราษฎรได้กำ� ไรไป” หลักการทรงงานข้อนี้เป็นข้อปิดท้ายที่ผู้เขียนคิดว่ามีความส�ำคัญต่ออนาคตของการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เช่นกัน ดังทีไ่ ด้เคยมีขอ้ เสนอเกีย่ วกับการตัง้ กองทุนพัฒนาการศึกษาของจังหวัดหรือท้องถิน่ มาแล้ว (อมรวิชช์ นาครทรรพ, อ้างแล้ว) รวมทัง้ ข้อเสนอของสภาปฏิรปู แห่งชาติให้มกี ารลงทุนสมทบกันระหว่างภาครัฐกับท้องถิน่ เพือ่ ให้มเี ม็ดเงินในการริเริม่ โครงการ พัฒนาการศึกษาลักษณะต่าง ๆ ตามความต้องการจ�ำเป็นของแต่ละพื้นที่ (สภาปฏิรูปแห่งชาติ, ๒๕๕๘) หากภาครัฐ มองเห็นทั้งความส�ำคัญและโอกาสของการปฏิรูปการศึกษาผ่านการจัดการเชิงพื้นที่จังหวัดที่มีโครงสร้างใหม่คือคณะ กรรมการศึกษาธิการจังหวัดรองรับอยูแ่ ล้ว และลงทุนงบประมาณทีเ่ คยเป็นสิทธิอ�ำนาจ (Authority) ของภาครัฐแต่ฝา่ ยเดียว ให้มีการจัดสรรลงมาเป็นงบประมาณของพื้นที่ที่ฝ่ายต่าง ๆ ที่เป็นภาคีเครือข่ายหรือสมัชชาการศึกษาของจังหวัดสามารถ เข้ามามีสว่ นร่วมในการวางแผนเพือ่ ใช้งบประมาณดังกล่าวตอบสนองเป้าหมายการพัฒนาการศึกษาเพือ่ อนาคตของลูกหลาน ในพื้นที่ของตนเอง ก็จะเป็นมิติใหม่ เป็นก้าวการเปลี่ยนแปลงใหญ่ที่จะเติมทั้งพลังและความยั่งยืนให้แก่กลไกการจัดการ ศึกษาของทุกจังหวัดต่อไป และหากคิดให้ได้ตามหลักการทรงงานเรื่อง “ขาดทุนคือก�ำไร” นี้ ก็จะเห็นถึงก�ำไรระยะยาว ทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการพัฒนาคุณภาพก�ำลังคนให้แก่ทกุ จังหวัดโดยการระดมสรรพก�ำลังดังกล่าว ทีแ่ ม้อาจมีบางส่วนทีเ่ ป็นการ ลงทุนเพิ่มเติมของภาครัฐ แต่ในระยะยาวก็คงเป็นดังแนวค�ำสอนที่ “ในหลวง” พระราชทานไว้นั่นคือ “การที่คนอยู่ดีมีสุข นั้นเป็นการนับที่เป็นมูลค่าเงินไม่ได้.. เราท�ำอะไรที่เราเสีย แต่ในที่สุดเป็นการได้ทางอ้อม..” ดังนั้น การลงทุนเพิ่มเติม ของภาครัฐกับการเสริมพลังจังหวัดและท้องถิ่นในการพัฒนาการศึกษาอย่างเหมาะสมตามบริบทของตนเอง รัฐควรจะ เล็งเห็นซึ่งผลตอบแทนทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมที่คุ้มค่าในระยะยาว นอกจากหลักการทรงงานทั้ง ๑๐ ข้อที่ผู้เขียนยกมาเป็นหลักในการมองทิศทางการท�ำงานของจังหวัดต่าง ๆ ในการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ให้มีความคมชัดถึงลู่ทางการท�ำงานและรูปแบบการบริหารจัดการให้ประสบความส�ำเร็จแล้ว อันที่จริงก็มีหลักการทรงงานอีกหลายประการที่แม้จะไม่ใช่กลยุทธ์ในการท�ำงานโดยตรง แต่ก็เป็นปัจจัยส�ำคัญที่เอื้อต่อ ความส�ำเร็จของการจัดการศึกษาเชิงพืน้ ทีไ่ ด้ ไม่วา่ จะเป็นหลักการทรงงานข้อที่ ๒๓ “รูร้ กั สามัคคี” ทีเ่ ป็นหลักคุณธรรมพืน้ ฐาน ที่ทีมประสานงานและภาคีเครือข่ายทุกจังหวัดพึงมีร่วมกัน ไม่แบ่งฝักแบ่งฝ่าย ไม่ถือเขาถือเรา ไม่ระแวงแคลงใจต่อกัน ระหว่างหน่วยงาน การรวมพลังทุกฝ่ายในพืน้ ทีเ่ ข้ามาร่วมคิดร่วมท�ำงานการศึกษาจึงจะเป็นไปได้ ดังพระราชด�ำรัส ความว่า “การที่จะลงมือปฏิบัตินั้น ควรค�ำนึงเสมอว่าเราจะท�ำงานคนเดียวไม่ได้ ต้องท�ำงานร่วมมือร่วมใจเป็นองค์กร เป็นหมู่คณะ จึงจะมีพลังเข้าไปแก้ปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี” ที่ผู้เขียนหวังว่าจะเป็นพื้นฐานจิตส�ำนึกร่วมของเครือข่ายผู้ปฏิบัติงาน ในทุกจังหวัดในโครงการ เช่นเดียวกับหลักการทรงงานข้อที่ ๒๐ “ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน” ดังพระบรมราโชวาทที่ว่า “ผู้ที่มีความสุจริตและความมุ่งมั่นเท่านั้นจึงจะท�ำงานส�ำคัญยิ่งใหญ่เป็นคุณ เป็นประโยชน์แท้จริงได้ส�ำเร็จ” ก็เป็นหลัก คุณธรรมที่จะเกื้อหนุนการท�ำงานด้วยความมุ่งมั่นร่วมกันของทุกฝ่ายในพื้นที่อีกเช่นกัน รวมถึงหลักการทรงงานข้อที่ ๒๒ “ความเพียร” และ หลักการทรงงานข้อที่ ๑๑ “ประโยชน์ส่วนรวม” ก็เป็นหลักส�ำคัญที่น่าพิจารณา ภายใต้ข้อเท็จจริง ว่าความพยายามของจังหวัดต่าง ๆ ในโครงการจังหวัดปฏิรปู การเรียนรูย้ งั มีเส้นทางอีกยาวไกลและยังต้องอาศัยเวลาอีกมาก สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 181


พอสมควรกว่าที่จะเกิดแรงขับเคลื่อนที่มีพลังพอที่จะไปส่งผลกระทบต่อโครงสร้างการจัดการศึกษาของประเทศใน กระบวนการนี้ “ความเพียร” “ความไม่ย่อท้อ” โดยยึดมั่นในประโยชน์ส่วนรวมที่จะเกิดกับลูกหลานและพี่น้องประชาชน ในจังหวัดจะเป็นแรงใจในการท�ำงานการศึกษาเชิงพื้นที่ให้บรรลุเป้าหมายของการปฏิรูปเชิงโครงสร้างได้ในระยะยาว และ ในการนี้ “ขอให้คิดว่าคนที่ให้เพื่อส่วนรวมนั้น มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพื่อตัวเองสามารถที่จะมีส่วนรวม ที่จะอาศัยได้” (คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๙) อย่างไรก็ตาม หลักการทรงงานที่ผู้เขียนรู้สึกว่าส�ำคัญที่สุดต่อจิตใจคนท�ำงาน และขอน�ำมาเป็นฐานคิดใน ตอนท้ายนีค้ อื หลักการทรงงานข้อที่ ๒๑ “ท�ำงานอย่างมีความสุข” ดังพระราชด�ำรัสทีว่ า่ “ท�ำงานกับฉัน ฉันไม่มอี ะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกันในการท�ำประโยชน์ให้กบั ผูอ้ นื่ ” ผูเ้ ขียนเชือ่ ว่าเพือ่ นร่วมงานในทุกจังหวัดในโครงการจังหวัด ปฏิรปู การเรียนรูท้ รี่ ว่ มงานกันมาเป็นเวลายาวนานกว่าสามปีได้ ก็ดว้ ยแรงใจทีเ่ กิดจาก “ความสุขของการให้” และความรูส้ กึ ที่ดีของการได้มีส่วนท�ำประโยชน์ส่วนรวมให้พื้นที่บ้านเกิดของตนเอง เป็นทั้งความสุขและเป็นแรงบันดาลใจที่จะช่วย ทีมงานทุกจังหวัดให้สามารถก้าวข้ามและฝ่าฟันปัญหา อุปสรรค และข้อจ�ำกัดต่างไปได้ดว้ ยดี และไปสูจ่ ดุ หมายปลายทางของ การสร้างการเรียนรู้ที่มีความหมายให้กับเด็ก ๆ เยาวชนในพื้นที่ของตนต่อไป ท้ายนี้ อยากจะกล่าวว่าผู้เขียนได้เคยอ่านพระบรมราโชวาทและพระราชด�ำริเกี่ยวกับการศึกษาอยู่หลายครั้ง ส่วนใหญ่มักจะพระราชทานในงานพระราชทานปริญญาของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ หรือมิเช่นนั้นก็พระราชทานแก่คณะครู อาจารย์จากที่ต่าง ๆ ที่ได้มีโอกาสเข้าเฝ้าฯ สิ่งที่สะท้อนจากพระบรมราโชวาทหรือพระราชด�ำรัสเหล่านั้น ท�ำให้ผู้เขียนรู้สึก ซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีให้แก่การศึกษาเสมอมา หลาย ๆ โอกาสที่ทรงย�้ำให้ผู้ มีหน้าที่จัดการศึกษา กับ ผู้ที่ได้รับการศึกษา พึงสังวรไว้ถึงความส�ำคัญยิ่งยวด ในหน้าทีข่ องตนว่าการศึกษาใด ๆ จะเป็นเครือ่ งก�ำหนดอนาคตบ้านเมือง ให้ตระหนักใน “หน้าที”่ ที่จะต้องน�ำความรู้ความ สามารถและการศึกษาที่ได้รับ ออกไปท�ำประโยชน์แก่ส่วนรวมและประเทศชาติ สิ่งส�ำคัญที่ผู้เขียนจดจ�ำใส่ใจไว้เสมอคือ ความรูก้ บั ความดีนนั้ ต้องมีคกู่ นั หากปราศจากความดีกำ� กับแล้ว ความรูค้ วามสามารถนัน้ ก็อาจไม่ถกู ใช้ หรือใช้ไปในทาง ที่ไม่เหมาะไม่ควรหรือไม่ก่อประโยชน์ส่วนรวม อย่างไรก็ตาม ในทัศนะของผู้เขียนสิ่งที่มีคุณูปการยิ่งใหญ่ต่อการศึกษาอีกเรื่องหนึ่งที่หลายคนอาจมองข้ามไป นัน่ คือ “หลักการทรงงาน” ทีห่ ลายเรือ่ งมีความลึกซึง้ และเป็นหลักให้การปฏิรปู การศึกษาได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะหลักการ จัดการศึกษาเชิงพื้นที่ที่ก�ำลังเป็นความหวังต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการศึกษาของชาติในอนาคต ผู้เขียนในฐานะที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการขับเคลื่อนงานของจังหวัดต่าง ๆ ในโครงการ “จังหวัดปฏิรูป การเรียนรู้” รู้สึกส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณและจะน้อมน�ำแนวพระราชด�ำริและหลักการทรงงานดังที่ได้กล่าวมา ในบทความนี้มาย�้ำเตือนใจเตือนความคิดเตือนวิธีการท�ำงานให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาการศึกษาเชิงพื้นที่ต่อไป

182 ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ภาคเบ็ดเตล็ด

สารบัญ


หมอกเหนือ เมฆใต้ โดย พิมลศักดิ์ สุวรรณทัต

อากาศยามเช้าของเดือนตุลาคมที่ดอยตุง เมื่อครั้งกระโน้น ก�ำลังเย็นสบาย ละอองน�้ำที่จับอยู่กับกลุ่มหมอก ก่อนดวงอาทิตย์จะแทรกตัดขึ้นจากหุบเขา สร้างความรู้สึกสดชื่นเมื่อลมพัดปะทะใบหน้า วันนัน้ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๓๖ เราได้มาเฝ้าฯ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าทีพ่ ระต�ำหนักดอยตุง จังหวัดเชียงราย ด้วยเหตุที่ต้องมาประสานงานร่วมกับ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล ราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระ ศรีนครินทราบรมราชชนนี และเจ้าหน้าทีอ่ กี หลายฝ่ายเกีย่ วกับโครงการพัฒนาดอยตุงทีพ่ ระองค์มพี ระราชด�ำริให้ด�ำเนินการ เพื่อให้ราษฎร โดยเฉพาะชาวเขาได้มีอาชีพเป็นหลักฐานเลิกตัดต้นไม้ ท�ำลายป่า และเลิกปลูกฝิ่นเป็นประการส�ำคัญ ครั้งนั้น ม.ร.ว.ดิศนัดดาได้พาพวกเรา ประกอบด้วย ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล คุณมนูญ มุกข์ประดิษฐ์ และผม พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่อีก ๓ - ๔ คน เข้าเฝ้าฯ สมเด็จย่า เพื่อถวายรายงานเกี่ยวกับการด�ำเนินงานในโครงการนี้ด้วย คืนนั้น เราพักแรมที่เรือนรับรองในบริเวณโครงการดอยตุง ดอยที่สงบร่มรื่นท่ามกลางแมกไม้ แสงเดือนและแสงดาว รุ่งขึ้นก็เก็บ ข้าวของใส่กระเป๋าเพื่อเตรียมตัวไปตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการทรงงานที่จังหวัดนราธิวาส “สมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี จะฝากดอกไม้ที่ปลูกบนดอยตุงไปถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้วย” ม.ร.ว.ดิศนัดดาบอกกับคุณสุเมธช่วงอาหารเช้า เพราะพระองค์ท่านทรงทราบว่าเย็นวันนี้พวกเราจะไปตามเสด็จ พระเจ้าอยู่หัวที่จังหวัดนราธิวาส เราไปสนามบินเชียงรายเพื่อขึ้นเครื่องบินเที่ยวแรก มุ่งหน้าไปกรุงเทพมหานครและนั่งรถ ต่อไปนราธิวาส “กล่องอะไรใหญ่โตขนาดนี้ จะหิ้วขึ้นเครื่องได้ยังไง ท�ำไมไม่โหลดใส่ท้องเครื่องบินไป” เสียงดังมาจากเจ้าหน้าที่ เอกซเรย์สัมภาระของผู้โดยสาร เมื่อเห็นเราหิ้วกล่องที่ยาว ๑ วา กว้าง ๒ คืบ หนา ๑ คืบ โดยประมาณ ซึ่งข้างในบรรจุ ดอกไม้หลายชนิดที่ผลิดอกออกผล ณ บริเวณพระต�ำหนักดอยตุง เข้า ไป เราจึง เอากล่อ งที่ เจ้ าหน้ าที่ เห็น ว่ าไม่ค วรจะน�ำติด ตัว ขึ้นเครื่องบินไปวางบนสายพานของเครื่องเอกซเรย์ พนักงาน ทีต่ รวจเอกซเรย์ได้วงิ่ หายเข้าไปในห้องห้องหนึง่ เข้าใจว่าเป็นห้อง หัวหน้า แล้วก็ออกมาพร้อมกันและมายืนดูกล่องดอกไม้ ในที่สุด เรื่องก็ผ่านพ้นไปได้ด้วยดีด้วยพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม โดยที่กล่องนี้มีป้ายเขียนไว้ว่า “สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช ชนนี ฝากทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ” พนักงาน

184

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


การบินไทยอัญเชิญดอกไม้กล่องนั้นไปวางบนเก้าอี้แถวหน้าสุดของเครื่อง (เก้าอีแ้ ถวแรกนี้ คนระดับนายกรัฐมนตรี และวีไอพีนงั่ ทัง้ นัน้ ครับ) โดยวางพาดไว้ บนเก้าอี้ ๒ ตัว มีพวกเรานั่งแถวหลังในบริเวณใกล้ ๆ กันนั้น พอมาถึงดอนเมือง ผมก็กงึ่ หิว้ กึง่ แบกกล่องดอกไม้ลงมาจากเครือ่ งบิน ทันใดนั้นเองก็มีพนักงานการบินไทย น�ำรถตู้มารับเป็นพิเศษ พร้อมกับพูดว่า “ดอกไม้เชิญทางนี้ครับ” ท�ำให้ผมได้นั่งรถตู้มากับดอกไม้เป็นกรณีพิเศษด้วย โดยไม่มีใครเชิญ เพราะเขาเชิญเฉพาะดอกไม้ พวกเรานั่งรอที่อาคารผู้โดยสาร ภายในประเทศในสนามบินประมาณชั่วโมงก็ได้เวลาบินต่อไปหาดใหญ่ พอ รับประทานอาหารเทีย่ งทีเ่ สิรฟ์ บนเครือ่ งบินเสร็จแล้วผมก็นงั่ นึกทบทวนงานต่าง ๆ ทีไ่ ด้มพี ระราชด�ำริไว้วา่ อะไรท�ำไปถึงไหน อย่างไรบ้าง เรือ่ งนีค้ งต้องบอกว่า สมัยนัน้ ผมเป็นผูร้ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการประสานการด�ำเนินงานและติดตามงานโครงการต่าง ๆ ที่มีพระราชด�ำริอยู่มากมายหลายโครงการ หน้าที่ของผมและพวกเราประการหนึ่ง คือการตามเสด็จพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวไปในงานพัฒนาต่าง ๆ ทั่วประเทศ และผมต้องท�ำการบ้านทบทวนงานต่าง ๆ อยู่ทุกระยะ โดยเฉพาะ ในช่ ว งที่ ต ้ อ งตามเสด็ จ เพราะทรงติ ด ตามสอบถามความก้ า วหน้ า ปั ญ หา อุ ป สรรคของโครงการที่ มี พ ระราชด�ำริ ไว้อยู่เสมอว่าโครงการไหนเป็นอย่างไร มีปัญหาไหม ซึ่งผมจะต้องรู้รายละเอียดดีพอที่จะกราบบังคมทูลตอบได้ บางครั้ง พระองค์ทา่ นเสด็จฯ ภาคใต้เราก็ท�ำการบ้านเฉพาะโครงการภาคใต้เท่านัน้ แต่ทไี่ หนได้ เรือ่ งกลับกลายเป็นว่าบางครัง้ เสด็จฯ ภาคใต้ ก็มีรับสั่งถามถึงโครงการทางภาคเหนือบ้าง ภาคอีสานบ้าง หรือบางทีท่านเสด็จฯ อีสานแต่ก็ทรงถามถึงเรื่องภาคใต้ ด้วยเหตุทที่ รงทราบถึงรายละเอียดของงานอย่างดี และทรงเป็นห่วง จึงสอบถามถึงโครงการนัน้ โครงการนีอ้ ยูเ่ สมอ เป็นเหตุ ให้การบ้านของผมกว้างมาก คือต้องพยายามรู้ให้หมดทุกโครงการ ทุกภาคและต้องรู้ละเอียดพอสมควรที่จะกราบบังคมทูล ได้ไม่ว่าจะเสด็จฯ ภาคไหนก็ตาม อีกประการหนึง่ ทีผ่ มอยากจะเอ่ยไว้ในทีน่ ดี้ ว้ ย คือ ผมได้มาเรียนรูอ้ ะไรต่าง ๆ มากมายจากการตามเสด็จไปพัฒนา ตามจังหวัดต่างๆ โดยเฉพาะในชนบทที่ห่างไกล ขึ้นเขาลงห้วย ตากแดดตากฝน จนท�ำให้คิดว่าสิ่งที่เราเรียนจบมาแล้วและ นึกว่ามีความรู้เก่งพอนั้น เป็นเรื่องผิดถนัดเพราะยังมีอะไรอีกเยอะแยะในโลกนี้ที่เราไม่รู้ หากไม่ได้มาสัมผัสด้วยตัวเราเอง การเดินตามเสด็จในแต่ละครั้ง ผมก็มีความรู้เพิ่มขึ้น ๆ ทุกครั้งเหมือนได้มาเรียนปริญญาโท ปริญญาเอก ที่มหาวิทยาลัยแห่งชีวิตซึ่งมีครบทุกคณะ ทุกภาควิชารวมอยู่ ณ ที่เดียวกัน นอกจากนี้ ยังเปรียบเสมือนครู ผู้ที่สามารถสอนนักเรียนด้วยภาษาที่เรียบง่ายและเข้าใจได้ง่าย อีกประการ ทีผ่ มสังเกตก็คอื ทรงเป็น “ครู” ทีไ่ ม่ดเุ ลย ผมท�ำงานถวาย จะผิดบ้าง ไม่ดบี า้ ง ก็ไม่เคยทรงดุหรือกริว้ เพราะการท�ำผิดแสดงว่า

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 185


เราไม่รู้ ก็จะทรงอธิบายจนกว่าเราจะเข้าใจด้วยพระสุรเสียงทีเ่ มตตาต่อศิษย์เป็นอย่างมากเมือ่ เรารู้ เราเข้าใจแล้ว เราก็สามารถ ท�ำงานได้อย่างถูกต้องตามแนวทางที่ได้มีพระราชด�ำริไว้ และผลอันนี้จะกลายเป็นประโยชน์ที่ทรงมุ่งหวังให้ประชาชนได้ มีความเป็นอยู่ที่ดี มีความพอดี และมีสุข นั่งทบทวนเรื่องราวต่าง ๆ อยู่บนเครื่องบินไม่นานนัก เครื่องก็ถึงหาดใหญ่ แรกเริ่มเดิมทีพวกเราที่ไปด้วยกันนี้ มีแผนการที่จะนั่งรถยนต์จากหาดใหญ่มาเปลี่ยนเครื่องแต่งตัวที่บ้านพักนราธิวาส แล้วจึงจะเอารถไปรอเข้าขบวนเสด็จฯ ณ พระต�ำหนักทักษิณราชนิเวศน์ เช่นทีเ่ คยท�ำ แต่วนั นัน้ ขณะทีร่ ถเราวิง่ จากหาดใหญ่ใกล้จะถึงนราธิวาส ก็ได้รบั ข่าวทางวิทยุ ว่าก�ำลังจะเสด็จฯ ออกจากพระต�ำหนักแล้ว เราคงไปขบวนไม่ทันแน่ จึงตัดสินใจเร่งความเร็วรถเพื่อจะได้ไปอยู่ใกล้กับ ขบวนมากที่สุด เพื่อที่ว่าเมื่อเสด็จฯ ถึงที่หมาย คือ โครงการผันน�้ำคลองสุไหงปาดี อ�ำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส แล้ว เราจะได้ถวายงานได้ทันที ด้วยสัญชาตญาณและความเคยชินเราเปลี่ยนเครื่องแต่งตัวจากชุดล�ำลองเป็นชุดซาฟารีขลุก ๆ ขลัก ๆ อยู่ในรถกันอย่างพร้อมเพรียงโดยไม่ได้นัดหมาย และปรากฏว่าพอรถเราวิ่งมาได้พักหนึ่ง ก็มาต่อท้ายขบวนเสด็จ ได้พอดีและถึงที่หมายด้วยชุดเสื้อผ้าและจังหวะเวลาที่พร้อมรับสนองพระราชด�ำริได้เลย สมัยนั้นพวกเราสนุกกับการท�ำงานนี้มาก บางครั้งผมต้องจัดกระเป๋า ๓ ใบ จัดเสื้อผ้าไว้ ๓ ชุด ใส่กระเป๋าเตรียมไว้ เรียบร้อย พอกลับจากใต้ถึงบ้านก็หยิบอีกใบขึ้นเหนือทันที พอกลับจากเหนือก็มาเปลี่ยนอีกใบไปอีสานเป็นอย่างนี้จริง ๆ แต่เราไม่รู้สึกเหนื่อยเพราะเรามีความสุขและสนุกกับงานนี้มากจริง ๆ ครับ โครงการพระราชด�ำริที่ปรากฏและเป็นที่ประจักษ์ในเวลานั้น ประมาณ ๓,๐๐๐ โครงการ (ข้อมูลปี ๒๕๓๖) ก็คือ ความทุ่มเททุกสิ่งทุกอย่าง ที่ทรงหวังเพียงเพื่อจะแก้ปัญหาความเดือดร้อนทั้งกายและใจแก่ราษฎรให้มีสุขภาพพลานามัย มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีความสุขอย่างพอดีและพอเพียง ค�่ำวันนั้นที่สุไหงปาดี เรารับประทานอาหารเย็นกันในบริเวณโครงการฯ กลางลานหญ้า เงยหน้าเห็นกลุ่มเมฆ ครึม้ ลอยมา ท�ำให้นกึ ได้วา่ เมือ่ เช้าเรายังปะทะกับละอองหมอกบนดอยตุงทีเ่ ชียงรายอยูเ่ ลย พอเวลาเทีย่ งก็มานัง่ ดูกลุม่ เมฆ ขาว ๆ ทีเ่ ครือ่ งบินแทรกตัวเข้าไปอยูเ่ หนืออ่าวไทย ครัน้ ตกเย็น เมฆสีเทาแก่ ๆ ทีส่ ไุ หงปาดี นราธิวาสจะกลายเป็นฝนตกมา อีกไหมหนอ วันนัน้ จิตใจแจ่มใส เบิกบานด้วยพระมหากรุณาธิคณ ุ ทีพ่ วกเราได้รบั จากดอยตุง จนถึงสุไหงปาดี และคืนนัน้ ... นอนหลับมีความสุขดีจริง ๆ หมายเหตุ เรือ่ งนีผ้ เู้ ขียนมีเจตจ�ำนงทีจ่ ะได้เผยแพร่เบือ้ งหลังส่วนหนึง่ ในการตามเสด็จไปทรงงานว่ามันเป็นความสุข ในท่ามกลางความวุ่นวาย ชุลมุน และฉุกละหุก ของเจ้าหน้าที่ที่มีโอกาสอันเป็นมงคลยิ่งที่ได้ถวายงานแด่พระองค์ท่าน

186

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


บรรณานุกรม

คณะองคมนตรี, ประมวลค�ำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ของสถาบัน และองค์กรต่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๕๐. ทักษิณา ณ ตะกั่วทุ่ง “เฉลิมพระเกียรติ ๘ ทศวรรษมหาราชัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” กรุงเทพฯ : ศิลปะบรรณาการ, ๒๕๕๑. ธัญทิตตา นาครทรรพ เอกสารทางวิชาการส�ำนักงาน กปร. “การแก้ไขปัญหานำ�้ ท่วมในพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานครและปริมณฑล ตามแนวพระราชด�ำริ” กรุงเทพฯ : 2546. บริษัท เอเชียบุ๊คส์ จ�ำกัด (คณะบรรณาธิการ) “กลางใจราษฎร์” (ฉบับภาษาไทย) กรุงเทพฯ : เอเชียบุ๊คส์, ๒๕๕๖. บริษทั เอสทีจี มัลติมเี ดีย จ�ำกัด “ในหลวงของเรา My King” กรุงเทพ : บริษทั อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์พบั ลิชชิง่ จ�ำกัด, 2555 พินิจ จันทร และคณะ “รักพ่อ ๓๖๕ วัน” กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์ปัญญาชน, ๒๕๕๙. วันชัย ด้วงพันธุ์ “งานของพ่อ” กรุงเทพฯ : บีเวล พับลิชชิ่ง, ๒๕๕๙. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, “ดุจดวงตะวัน” กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์, ๒๕๔๒. สมเด็จพระพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ “แม่เล่าให้ฟงั ” กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์บรรณกิจ, ๒๕๕๐. ส�ำนักงาน กปร. “๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์” กรุงเทพฯ : บริษัท พรีสเกล จ�ำกัด, ๒๕๕๐. ส�ำนักงาน กปร. “ชุดเผยแพร่ความรู้ตามแนวพระราชด�ำริ” กรุงเทพฯ : หจก.อรุณการพิมพ์, ๒๕๕๙. ส�ำนักงาน กปร. “แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” กรุงเทพฯ : เคเอส อินเตอร์พรินติ้ง, ๒๕๓๐. ส�ำนักงาน กปร. “ประมวลภาพการทรงงาน ๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์”, กรุงเทพมหานคร : หจก.อรุณการพิมพ์, ๒๕๕๐. ส�ำนักงาน กปร. “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับงานพัฒนา” กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพ์กรุงเทพ (1984) จ�ำกัด, ๒๕๓๐.

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 187


ส�ำนักงาน กปร. แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั . กรุงเทพมหานคร : บริษัท ๒๑ เซ็นจูรี่ จ�ำกัด, ๒๕๔๐. ส�ำนักงาน กปร. ประวัติศาสตร์ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) ๒๕๓๙. ส�ำนักงานส่งเสริมเอกลักษณ์ของชาติ, พลังแห่งแผ่นดิน นวมินทรมหาราชา. กรุงเทพมหานคร : บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) ๒๕๔๘. ส�ำนักราชเลขาธิการ, สมุดภาพโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรุงเทพ, ๒๕๒๕. ส�ำนักราชเลขาธิการ, การเสด็จพระราชด�ำเนินเยือนสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดาเป็นทางการ ระหว่างวันที่ ๖-๒๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๑๐, กรุงเทพมหานคร : บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๓๗. ส�ำนักราชเลขาธิการ, ประมวลพระราชด�ำรัสในการเสด็จพระราชด�ำเนินเยือนนานาประเทศ พุทธศักราช ๒๕๐๒-๒๕๑๐, กรุงเทพมหานคร : บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จ�ำกัด, ๒๕๑๗. สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, สมเด็จพระนางเจ้า. ความทรงจ�ำในการตามเสด็จต่างประเทศทางราชการ. เนื่องในวัน เฉลิมพระชนมายุครบ ๓ รอบ ๑๒ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๑๑. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๕๑๑. อุดมพร อมรธรรม “ปรัชญาการศึกษาพระเจ้าอยู่หัว” กรุงเทพฯ : แสงดาว, ๒๕๕๙. อุดมพร อมรธรรม “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” กรุงเทพฯ : แสงดาว, ๒๕๕๙.

ส�ำนักงาน กปร. หมายถึง ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ

188

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


เอกสารอ้างอิง

คณะกรรมการวางพืน้ ฐานเพือ่ การปฏิรปู การศึกษา. การศึกษาเพือ่ ชีวติ และสังคม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศนู ย์การทหารราบ, ๒๕๑๘. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บันทึกการดูงานพิพธิ ภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติ. เอกสารในวิชา ๒๗๔๖๒๙๑ การศึกษากับกระบวนทัศน์การพัฒนาที่ยั่งยืน ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๙. ค�ำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๑๐/๒๕๕๙ และ ๑๑/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๙. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ สภาปฏิรูปแห่งชาติ. รายงานของคณะกรรมาธิการเพื่อการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานเลขาธิการสภา ผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๘. ส�ำนักงานปฏิรูปการศึกษา. ปฏิรูปการศึกษาไทยในมุมมองประชาชน. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๔๔. ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. ปมปฏิรูป. รายงานสภาวการณ์การศึกษาไทยประจ�ำปี ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๔๕. อมรวิชช์ นาครทรรพ. ความฝันของแผ่นดิน. เอกสารวิชาการในโครงการการศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์โดยการสนับสนุน ของ บมจ.ธนาคารกสิกรไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ตะวันออก, ๒๕๓๙.

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 189


เกร็ดที่น่ารู้

สารบัญ


๑. เรื่องมหัศจรรย์ ถ้ามหัศจรรย์ไม่มีจริงก็จะไม่มีในภาษาใดที่มีค�ำว่ามหัศจรรย์

แสงจากฟ้าทีว่ ัดญาณสังวราราม มีอยู่ครั้งหนึ่ง (ปีอะไรผู้เขียนต้องขออภัยเพราะมันนานนับสิบปีแล้ว) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จพระราชด�ำเนินไปวัดญาณสังวราราม จังหวัดชลบุรี อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุไปบรรจุ ไว้บนยอดพระเจดีย์ของวัด วันนั้นเป็นอะไรไม่ทราบฟ้าด�ำมืดไปหมดทั้ง ๓๖๐ องศา ผมยังคิดอยู่ว่าพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ซึง่ เสด็จฯ ด้วยเฮลิคอปเตอร์คงจะเสด็จฯ มาล�ำบากหรือไม่กค็ งต้องรอฟ้าเปิด ก่อน ซึ่งจะท�ำให้หมายก�ำหนดการล่าช้าออกไป แต่พอใกล้เวลาที่ก�ำหนดไว้ในหมายก�ำหนดการ เมฆสีด�ำส่วนหนึ่งก็แยกตัว ออกไปเป็นช่องว่าง ทันใดนัน้ ผูเ้ ขียนก็เห็นจุดด�ำเล็ก ๆ ค่อย ๆ เข้าทางช่องว่างทีเ่ ปิดอยูน่ นั้ จนรูว้ า่ เป็นเฮลิคอปเตอร์พระทีน่ งั่ ได้แหวกเมฆที่ด�ำทะมึนมาวัดญาณสังวรารามได้โดยมหัศจรรย์ เมื่อถึงเวลาที่พระองค์ท่านทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ในเจดีย์ ฟ้าที่มืดอยู่นั้นได้เปิดช่องเป็นรูปพัดที่กางแล้ว และแล้วก็มสี ตี า่ ง ๆ พุง่ เข้ามาในช่องว่างรูปพัดนัน้ เป็นล�ำแสงต่าง ๆ หลายสีสลับกันไปมา มองแล้วรูส้ กึ เป็นเรือ่ งทีอ่ ศั จรรย์ใจ เป็นอย่างยิ่ง หลังจากทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุเสร็จแล้วก็เสด็จออกมายืนดูล�ำแสงที่วิ่งสลับกันไปมาพร้อมทรงหยิบ กล้องมาถ่ายรูปไว้ด้วย สมัยนั้นยังไม่มีโทรศัพท์มือถือถ่ายรูปได้ มิฉะนั้นคงจะมีคนได้ถ่ายรูปมหัศจรรย์นี้ได้หลายคน และ ผูเ้ ขียนเชือ่ ว่าฝ่ายช่างภาพส่วนพระองค์คงจะมีภาพนีอ้ ยูแ่ น่นอน มหัศจรรย์นะครับ ผูเ้ ขียนเห็นมาเองด้วยตาเนือ้ อย่างชัดเจน

ฝั นทีว่ ัดมงคล เรื่องวัดมงคล อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี นี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ให้เจ้าหน้าที่ กปร. และชลประทานไปดูว่ามีวัดมงคลอยู่แถวนั้นหรือเปล่า คณะเราก็ออกไปดูก็เห็นว่ามี วัดมงคลจริง พระองค์ท่านก็ทรงให้ไปซื้อที่ดินเพื่อจะมาพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริทฤษฎีใหม่ แต่เมื่อพวกเราไปถึง ทีห่ มูบ่ า้ นเป้าหมายแล้ว ก็มคี นมาบอกว่ามีชาวบ้านผูห้ นึง่ เขาฝันเมือ่ คืนก่อนว่าเห็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จฯ มาเดินดูอะไรต่ออะไรในหมู่บ้าน แล้วก็มีผู้หญิงอีกคนหนึ่งพวกเราเรียกเธอว่า “ป้าเรือง” เธอบอกว่า เธอสวดมนต์อธิษฐานทุกวันขอให้มผี ใู้ จบุญมาช่วยหมูบ่ า้ นของเธอด้วย และก็แปลกทีเ่ รือ่ งนีม้ าปะติดปะต่อกันจนเป็น เรือ่ งมหัศจรรย์ทพี่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ให้พวกเราไปดูพนื้ ที่ และคืนนัน้ ชาวบ้าน ก็ฝันเห็นพระองค์ท่านเสด็จฯ ไปที่หมู่บ้านเขา และยังมีชาวบ้านสวดมนต์ขอผู้ใจบุญไปช่วยพัฒนาหมู่บ้านทุกคนจนเป็น ผลส�ำเร็จและโครงการนี้เป็นโครงการตามแนวที่ทรงคิดค้นขึ้นมาได้ใหม่ ที่เรียกกันว่า “ทฤษฎีใหม่” เป็นโครงการแห่งแรก ของประเทศไทย คิด ๆ ดูแล้วก็มหัศจรรย์เหมือนกันนะครับ สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 191


เอาน้�ำมาให้ คุณมนูญ มุกข์ประดิษฐ์ อดีตเลขาธิการ กปร.คนที่ 2 ได้เขียนไว้ในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๒๘ โดยเล่าว่าครั้งหนึ่งมีหญิงชราที่ประสบความทุกข์ยากจากภัยแล้งหนัก ได้คลานเข้ามากอดพระบาทของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ด้วยน�ำ้ ตาอาบแก้มเพือ่ ขอพระราชทานน�ำ้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีรับสั่งตอบว่า “ยายไม่ต้องห่วงนะ ต่อไปนี้จะมีน�้ำเราเอาน�้ำมาให้” แล้วพระองค์ก็ เสด็จกลับไปยังรถยนต์พระทีน่ งั่ ฉับพลันฝนก็ตกมาเป็นครัง้ แรกในรอบปีสร้างความอัศจรรย์ใจแก่ราษฎรทีน่ นั่ เป็นอย่างมาก

เรือระเบิด เมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชด�ำเนินเยือนสหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการ มีหมายก�ำหนดการอยูว่ นั หนึง่ ทีพ่ ระองค์ ท่านจะต้องเสด็จฯ ลงเรือด�ำน�ำ้ ของสหรัฐอเมริกา เรือด�ำน�ำ้ นัน้ คงได้เตรียมพร้อมด้านการรักษาความปลอดภัยมาเป็นอย่างดี ครั้นใกล้ถึงเวลาที่จะเสด็จฯ ลงเรือไม่นานนัก เรือด�ำน�้ำล�ำนั้นเกิดระเบิดขึ้นมาเฉย ๆ และทางการอเมริกาเลยต้องเปลี่ยน เอาเรือด�ำน�้ำอีกล�ำมาให้เป็นพระราชพาหนะแทน ผมคงไม่ตอ้ งอธิบายนะครับว่าท่านผูอ้ า่ นก�ำลังคิดอะไรอยู่ มหัศจรรย์ไงครับ อันทีจ่ ริงเรือ่ งมหัศจรรย์แบบนีย้ งั มีอกี หลายเรื่องแต่ผมไม่แน่ใจว่าจะจริงหรือไม่จึงไม่อยากน�ำเสนอไว้ในที่นี้

๒. เรื่องเลา่ เบาสมอง เคยตรัสวา่ การท�ำงานอยา่ ให้เคร่งเครียดจนเกินไป กลัวไมม่ ีทยี่ ืน ราว ๆ ต้นเดือนตุลาคม ๒๕๒๔ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ กปร. ได้พาเจ้าหน้าที่ ซึ่งมีผู้เขียนอยู่ในคณะด้วย ไปรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่จังหวัดปราจีนบุรี เพื่อถวายงานตาม หน้าที่ที่ก�ำหนดไว้ซึ่งเป็นการไปท�ำหน้าที่ครั้งแรก พวกเราก็ไม่รู้ว่าขั้นตอนต่าง ๆ ในการตามเสด็จไปรับสนองพระราชด�ำริ จะต้องท�ำอย่างไรบ้าง มีระเบียบประเพณีขั้นตอนอย่างไรบ้าง เราก็ยืนกันอยู่แบบเคอะ ๆ เขิน ๆ ผู้เขียนไม่ทราบว่าผู้อื่นคิด ยังไงแต่ผู้เขียนน่ะประหม่ามาก เหงื่อแตก ยืนตรงนี้ก็กระสับกระส่าย หนีไปยืนอีกที่ก็กระสับกระส่ายอีก หนีไปอีกมุมก็ยัง กระสับกระส่ายอยู่ จนคิดว่าประเทศไทยมีเนื้อที่ ๕๑๓,๑๑๕ ตารางกิโลเมตร จะไม่มีที่ให้ผู้เขียนยืนบ้างเลยหรือ ผู้เขียน กระสับกระส่ายอยูน่ าน จนกระทัง่ พระองค์ทา่ นทอดพระเนตรมาเห็นพวกเรา ก็ทรงเรียกเราเข้าไปท�ำงานถวายและรับสนอง พระราชด�ำริเป็นครั้งแรกในวันนั้นเอง 192

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


ถ่ายรูปไมต่ อ้ งใช้แฟลช ครั้งหนึ่งผู้เขียนไปรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ศูนย์ศึกษา การพัฒนาห้วยทรายฯ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี ผูเ้ ขียนยืนอยูก่ บั คุณมนูญ มุกข์ประดิษฐ์ (เลขาธิการ กปร. สมัยนัน้ ) และ คุณสวัสดิ์ วัฒนายากร (อธิบดีกรมชลประทานสมัยนั้น ก่อนได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งองคมนตรี) พอเสด็จฯ มาถึงซึง่ เวลาตอนนัน้ ก็ประมาณ ๑๘.๐๐ น. ได้ ผูเ้ ขียนก็ถวายค�ำนับ ทันทีทนั ใดนัน้ ก็ได้ยนิ พระสุรเสียงว่า “วันนีด้ ี ถ่ายรูปไม่ตอ้ ง ใช้แฟลช” แล้วทรงพระเมตตาแย้มพระสรวลมาทางผูเ้ ขียน ทุกคนก็งง ผูเ้ ขียนเองก็งง แต่เมือ่ ทุกคนยิม้ แล้วมองมาทางผูเ้ ขียน ก็ท�ำให้รู้ว่า ที่พระองค์มีพระราชกระแสว่า วันนี้ไม่ต้องใช้แฟลชนั้น คงเป็นผู้เขียนแน่ ๆ ที่อาจท�ำให้มีพระอารมณ์ขันที่เห็น ศีรษะที่เริ่มล้านของผู้เขียนแล้วกระมัง

๓. เรื่องปกิณกะ โครงการผลิตครัง่ (จากครัง่ ถึงหุบกะพง) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานเล่าให้คณะผูบ้ ริหารส�ำนักงาน กปร. เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๒๙ มีอยู่เรื่องหนึ่งที่คนทั่วไปอาจยังไม่เคยทราบมาก่อนคือ ทรงเคยตั้งกลุ่มชาวบ้านริมถนน เพชรเกษม ซึ่งมีต้นก้ามปูเรียงรายอยู่ทั้ง ๒ ฟากถนน ให้รู้วิธีการท�ำ “ครั่ง” เพื่อเป็นรายได้ดีกว่าที่จะนั่งอยู่เฉยๆ ในขั้นต้น ก็ประสบความส�ำเร็จ สามารถน�ำครัง่ ทีช่ าวบ้านท�ำนีส้ ง่ ไปขายถึงอินเดีย แต่พอนาน ๆ เข้ากิจการไม่คอ่ ยดี เพราะอุปสงค์และ อุปทานไม่สอดคล้องกัน จึงไปรวมกับกลุ่มชาวบ้านที่ปลูกผักเป็นอาชีพอยู่แล้ว แต่ที่ดินท�ำกินมีไม่พอเพียง พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จึงขอให้ทางราชการมาจัดตั้งหมู่บ้านสหกรณ์หุบกะพงแล้วแบ่งที่ดิน ให้ชาวบ้านได้อยู่อาศัยท�ำกินโดยห้ามขายที่ดินนั้น แต่ให้ตกทอดสู่ลูกหลานได้ โครงการ “หุบกะพง” นี้ จึงเริม่ มาจากกลุม่ ท�ำครัง่ กับกลุม่ ปลูกผักทีเ่ รียกขานกันว่า “กลุม่ สวนผัก” มารวมกันจนเป็น “สหกรณ์หุบกะพง”ตราบจนทุกวันนี้

โครงการสร้างสะพานตัดอ่าวไทยหัวหิน-พัทยา วันหนึ่งเมื่อ ๒๕ ปีมาแล้ว ตอนค�่ำ ที่วังไกลกังวล อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งพวกเรา อันมี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เป็นผู้น�ำและก็มีเจ้าหน้าที่อีก ๓ - ๔ คน รวมถึง คุณมนูญ มุกข์ประดิษฐ์ และผู้เขียนเข้าไปถวายรายงานเกี่ยวกับ โครงการต่าง ๆ หลังจากถวายรายงานจบ ก็ทรงเล่าเรื่องอะไรต่าง ๆ ให้ฟัง และมีอยู่ช่วงหนึ่งทรงเล่าว่า อยากท�ำถนนเป็น

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 193


สะพานตัดจากหัวหินไปพัทยา หรือจากจุดไหนไปจุดไหนก็ได้ตามความเหมาะสมถูกต้องตามหลักวิชาการ แล้วก็ทรงถาม พวกเราว่าใครอยากจะสร้างสะพานนี้บ้าง ปรากฏว่าทุกคนเงียบหมด ท่านเลยหันพระหัตถ์มาทางผู้เขียนแล้วทรงถามว่า “เราจะอยู่ท�ำด้วยกันไหม” ผู้เขียนจึงกราบบังคมทูลโดยไม่ต้องคิดเลยว่า “อยู่พระพุทธเจ้าข้า” พระองค์ก็แย้มพระสรวล จนกระทั่งบัดนี้ ผู้เขียนก็มานั่งนึกว่าถ้ามีการสร้างถนนข้ามทะเลจริงๆ ก็คงจะเข้าแผนพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก หรือ Eastern Economic Corridor (EEC) ได้พอดี และผมก็คิดด้วยว่า พระองค์ทรงมีวิสัยทัศน์ ล่วงหน้าไว้หรือเปล่า? ยังเป็นค�ำถามอยู่ที่ยังไม่มีค�ำตอบจนบัดนี้

รถติดไฟแดง เมื่อปีที่น�้ำท่วมหนักปีหนึ่ง พระองค์ทรงเล่าพระราชทานพวกเราว่า ปีนั้น (ไม่ได้ทรงบอกว่าปีไหน) ทรงขับ รถยนต์พระที่นั่งด้วยพระองค์เอง เสด็จฯ ไปดูน�้ำท่วมในกรุงเทพฯ แต่เช้าตรู่กับราชองครักษ์อีกคน พอดีรถไปติดไฟแดง (รถพระองค์ท่านพวงมาลัยซ้าย) ก็ทรงหยุดรอไฟเขียว ในเวลาไล่เลี่ยกันก็มีรถอีกคันมาจอดติดไฟแดงเหมือนกัน ช่องทาง ข้างรถพระองค์ท่าน ผู้หญิงคนขับรถก็หันมามองพระองค์แล้วก็หันหน้ากลับไปเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น แต่ในบัดดลผู้หญิง คนนัน้ ก็สะดุง้ มีอาการเหมือนคนตกใจสุดขีดเมือ่ ทราบว่าเป็น “ในหลวง” ก็เลยไม่รจู้ ะท�ำยังไงจึงหันมายกมือขึน้ ไหว้พระองค์ ท่านแล้วก็นั่งนิ่งสงบเงียบอยู่จนไฟเขียวจึงต่างคนต่างไป ผู้หญิงท่านนั้นคงจะตกใจและมีบุญอย่างยิ่งที่ขับรถไปติดไฟแดงแล้วเจอ “ในหลวง” อย่างคาดไม่ถึงตั้งแต่เช้าตรู่ คงโชคดีไปทั้งวันเป็นแน่แท้ รถชน ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) ได้รับ รถยนต์พระราชทานอยูค่ นั หนึง่ เป็นลักษณะรถยนต์สว่ นพระองค์ทมี่ พี ระนามท่านเป็นเจ้าของรถอยูใ่ นสมุดทะเบียนรถ และ ป้ายทะเบียนก็เป็นป้ายรถยนต์แบบรถของประชาชนทั่วไป ไม่ใช่ป้าย ร.ย.ล. หรือ ด.เด็ก แต่เป็นส่วนพระองค์จริง ๆ วัน หนึ่งคนขับรถน�ำรถยนต์พระราชทานนี้ออกไปปฏิบัติงาน และถูกชนด้านท้ายรถ ต่างฝ่ายก็เรียกประกันมาเจรจา พอมาถึง พนักงานจากบริษัทประกันก็เรียกสมุดทะเบียนรถมาตรวจดู แล้วก็สะดุ้งแถมตกใจ พร้อมบอกกับคนขับรถของเราว่า ไม่มีปัญหาครับ คุณจะซ่อมที่ไหน เปลี่ยนอะไร ชิ้นไหน ก็ให้ใช้ของใหม่ได้ทุกอย่างเลยครับ แล้วแต่ท่านครับ ทางบริษัท จะจ่ายให้ทุกอย่างทั้งหมด ส่วนคนที่ขับมาชนรถเรา พอเห็นสมุดทะเบียนและรู้ว่าใครเป็นเจ้าของรถเท่านั้น ท่านก็กล่าวว่า “เอ...วันนี้ตกลงผมโชคดีหรือซวยกันแน่ครับ” ซุ้มรับเสด็จ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานเล่าว่า มีอยู่ครั้งหนึ่ง ขับรถพระที่นั่งไปเอง เพื่อจะไปบ้านกะเหรี่ยงสองพี่น้อง แถวแก่งกระจาน พอขับไป ก็ไปเจอซุ้มที่ชาวกะเหรี่ยงสร้าง 194

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


คร่อมถนนอยู่เพื่อเป็นซุ้มรับเสด็จ พอพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงขับรถ มาถึงซุ้มนั้น ชาวกะเหรี่ยงที่อยู่ที่ซุ้มก็ออกมาขวางรถพลางบอกว่า ลอดไม่ได้ เพราะซุ้มนี้ไว้ใช้ส�ำหรับรับเสด็จในหลวง เท่านั้น พระองค์ท่านก็ไม่ทรงลอดแต่ขับหลีกไปทางด้านข้างซุ้ม ทรงเล่าพระราชทานเท่านี้แค่นั้น แต่มีบางคนก็มักพูดว่า ซุม้ ดังกล่าวนี้ อยูท่ ที่ างไปห้วยมงคลบ้าง หรือไม่กบ็ อกว่าเมือ่ ท่านเสด็จฯ กลับไปเยีย่ มชาวกะเหรีย่ งตามนัดหมาย คราวนีท้ า่ น รับสั่งกับชาวกะเหรี่ยงที่คุมซุ้มอยู่นั้นว่า วันนี้ฉันเป็นในหลวงแล้ว ลอดซุ้มได้แล้วนะ ผมก็ไม่ทราบว่าเท็จจริงเป็นอย่างไร แต่ที่แน่ ๆ ที่ผมฟังมากับหู ทรงเล่าว่า เขามาบอกว่าเป็นซุ้มรับเสด็จลอดไม่ได้ พระองค์ก็เลยเลี้ยวขับรถออกไปด้านข้าง เท่านี้เอง ที่ผู้เขียนเขียนเช่นนี้ก็เพราะอยากให้เรื่องจริงติดไว้ในประวัติศาสตร์อันอาจจะเป็นประโยชน์ในกาลต่อไป

เขา้ ถึง เขา้ ใจ พัฒนา แทบทุกคนจะเคยได้ยนิ พระราชด�ำรัสเกีย่ วกับ “เข้าถึง เข้าใจ พัฒนา” และก็มที า่ นผูร้ ู้ ท่านนักวิชาการ ตีความหมาย อธิบายความต่าง ๆ จนดูเป็นท�ำเรื่องง่ายให้เป็นยากที่แท้จริงแล้ว เป็นพระราชด�ำรัสที่เรียบง่าย เมื่อปี พุทธศักราช ๒๕๔๗ เมื่อครั้งเกิดความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ท�ำให้มีทหาร ต�ำรวจ พลเรือน ชาวบ้าน พระ ครู นักเรียน เสียชีวิต ไปเป็นจ�ำนวนไม่น้อย จึงมีพระราชด�ำรัสพระราชทานหลักปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวนี้ ดังนี้ “ให้พยายามท�ำความเข้าใจกับปัญหา เข้าถึงประชาชน และร่วมกันพัฒนา” ซึ่งเป็นประโยคที่มีความหมาย และความเข้าใจที่ง่าย ๆ อยู่ในตัวของมันแล้ว โดยไม่ต้องไปตีความกันมากมายจนผู้คนงงกันทั่วไปหมด หมอ หมอ หมอ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระอัจฉริยภาพในหลาย ๆ ด้านแทบ ทุกแขนงสาขา เมื่อมีการทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิ์ ทางนิติศาสตร์ ก็รับสั่งว่า “ฉันได้เป็นหมอความแล้ว” และ เมื่อได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิ์ ทางปฐพี ก็รับสั่งว่า “ฉันได้เป็นหมอดินแล้ว” และเมื่อได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิ์ ทางดนตรี ก็รับสั่งว่า “ในตอนนี้ฉันได้เป็นหมอล�ำแล้ว” หมายเหตุ เรื่องนี้ผู้เขียนไม่เคยได้ยินกับหูมาก่อน แต่ได้อ่านพบในหนังสือต่าง ๆ ที่พอเชื่อถือได้ ไมจ้ มิ้ ฟั นยันเรือรบ คงเป็นที่ทราบอยู่แล้วบ้างว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชด�ำริ ให้ทหารเรือสร้างเรือรบ ตระกูล ต. ออกมาหลายล�ำ เพื่อประหยัดงบประมาณที่จะต้องซื้อจากต่างประเทศ และเพื่อฝึกฝน ทหารของเราให้มีความรู้ ความสามารถ ต่อเรือได้เอง ตลอดจนเพื่อความมั่นคงของประเทศ มีอยู่วันหนึ่งที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี พระองค์ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน ไปทอดพระเนตรกิจการต่าง ๆ แล้วก็ทรงหยุด ณ ที่ที่หนึ่ง เพื่อมีพระราชปฏิสันถารกับผู้ตามเสด็จ พลางก็เหลือบไป สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 195


เห็นต้นไม้ต้นหนึ่ง มีใบพุ่งเป็นช่อแหลม ๆ ออกมารอบ ๆ โคนต้น ก็ทรงถามพวกเราว่าต้นอะไร ก็มีคนเดินเข้าไปดูใกล้ ๆ และทูลท่านว่าไม่ทราบต้นอะไร แต่ก็คงเอาไปท�ำอะไรไม่ได้ พระองค์ท่านทรงเห็นว่าแกนกลางของแต่ละช่อนั้นมันแข็งแรง และเรียวเล็ก ก็รับสั่งว่า “ไปท�ำไม้จิ้มฟันซิ” ท�ำให้ผมนึกอุทานอยู่ในใจว่า โอ้ โฮ...พระองค์ทรงคิดถึงประโยชน์ของทุกสิ่ง ทุกอย่าง ตั้งแต่ “ไม้จิ้มฟันยันเรือรบ”จริงๆ เลยครับ

พระในกระเป๋า พระองค์ทรงเล่าพระราชทานว่า ทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุรถยนต์ชนกันหรือมีอบุ ตั เิ หตุสยองขวัญทีม่ ผี รู้ อดชีวติ ไม่กรี่ าย ผูค้ น ก็จะถามผูร้ อดตายว่าคุณห้อยพระอะไร บางคนก็พระรอด บางคนก็พระอะไรต่ออะไร พระดังบ้างไม่ดงั บ้าง แต่พระองค์รบั สัง่ แบบสนุก ๆ ว่า “ความจริงเราเอง (หมายถึงพระองค์ท่าน) ไม่เชื่อไปเปิดกระเป๋าสตางค์ดูซิจะเห็นรูปฉันอยู่ทุกใบ” เพราะพระบารมี มีเจ้าหน้าที่ กปร. ผู้หญิงคนหนึ่ง (คุณศิริพันธ์ กาญจนเรขา) ไปท�ำงานต่างจังหวัดแล้วไปพักโรงแรมอยู่ห้องเดี่ยว คนเดียว เจ้ากรรมทีว่ นั นัน้ เธอไม่ได้พกพระไปเลย ประกอบกับเธอก็กลัวผีเป็นอย่างมากถึงมากทีส่ ดุ ด้วย ในทีส่ ดุ ไม่รจู้ ะท�ำยังไง เธอก็เอาวารสารมูลนิธิชัยพัฒนาที่มีพระบรมฉายาลักษณ์ของ “ในหลวง” เป็นหน้าปกวางไว้บนหัวเตียง แล้วเธอก็กราบ ขอพรพระองค์ท่าน ซึ่งเธอบอกว่าตอนนี้ไม่รู้จะพึ่งใครได้แล้ว ต้องขอพระบารมีจากท่านอย่างเดียวและแล้วเธอก็หลับสบาย จนรุ่งเช้า และแล้ว “เธอก็รอดตายจากผีมาได้เพราะพระบารมีโดยแท้”

โจรมารับเสด็จ เรือ่ งนี้ ผูเ้ ขียนเคยฟังมาจากหลายท่านแล้วทีม่ าเล่าให้ฟงั บังเอิญวันหนึง่ หลายสิบปีมาแล้ว ได้มกี ารจัดนิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร โดยไม่ทราบว่าใครเป็นผู้จัด แต่ก็มีส่วน ราชการหลายหน่วยไปออกนิทรรศการกันมากมาย ถ้าผู้เขียนจ�ำได้คลับคล้ายคลับคลาว่าไปยืนดูรูปต่าง ๆ ในส่วนของ กรมชลประทาน ซึ่งมีอยู่รูปหนึ่งเป็นรูปชาวบ้านทาง ๓ จังหวัดภาคใต้มารับเสด็จกันมากมายเต็มไปหมด พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชกระแสรับสั่งกับผู้ใหญ่บ้านว่ามารับกันหมดบ้านเลยหรือ ไม่กลัวโจรขึ้นบ้านบ้างหรือ ผู้ใหญ่บ้าน ก็กราบบังคมทูลว่าไม่กลัวโจรขึ้นบ้านหรอก “เพราะโจรก็มารับเสด็จเหมือนกัน”

196

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ


สรรเสริญพระบารมี

ข้าวรพุทธเจ้า นบพระภูมิบาล เอกบรมจักริน พระยศยิ่งยง ผลพระคุณ ธ รักษา ขอบันดาล จงสฤษดิ์ดัง ดุจถวายชัย

เอามโนและศิระกราน บุญดิเรก พระสยามินทร์ เย็นศิระเพราะพระบริบาล ปวงประชาเป็นสุขศานต์ ธ ประสงค์ใด หวังวรหฤทัย ชโย

สารบัญ

ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน 197


“ถนนทุกสายมุ่งสู่ประชาชน” คณะท�ำงานจัดท�ำหนังสือ

ทีป่ รึกษา นายดนุชา นายลลิต นายสมบูรณ์ นายปวัตร์ นางสาวอุศนีย์ นางสาววัชรี นางสาวถกลวรรณ

สินธวานนท์ ถนอมสิงห์ วงค์กาด นวะมะรัตน ธูปทอง วัฒนไกร ไกรสรกุล

เลขาธิการ กปร. รองเลขาธิการ กปร. รองเลขาธิการ กปร. รองเลขาธิการ กปร. ที่ปรึกษาด้านการประสานงานโครงการฯ ที่ปรึกษาด้านการพัฒนา ที่ปรึกษาด้านการประสานงานโครงการฯ

หัศภาค ปาณิกบุตร เพ็งสว่าง อัครพลวงศ์ ศรีค�ำ ฤทธิ์รักษา

ผู้อ�ำนวยการกองประชาสัมพันธ์ ผู้อ�ำนวยการกองติดตามประเมินผล ผู้อ�ำนวยการกลุ่มสื่อสารองค์กร นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ช�ำนาญการ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล

ผูจ้ ัดท�ำหนังสือ นางพิชญดา นางศศิพร นายเอกชัย นางเบญจรัตน์ นางสาวประทีป นายสหศักดิ ์

ภาพประกอบ นายวิชาญ นายพิ​ิสิทธิ ์ นายทวีศักดิ ์ นายพลวรรธน์

ธีระสืบสกุล วิเชียรทศพร แป้นคุ้มญาติ สายะเสวี

สารบัญ

นายวิโรจน์ นายธนะ

เทียมเมือง กลิ่นบางพูด


ผูเ้ ขียน นายพิมลศักดิ์

สุวรรณทัต

ภาพเขียน นายโชตวิชช์

สุวงศ์

ออกแบบรูปเลม่ นางสาววไลพร ดะสูงเนิน นางสาวอุษณา บัวศรี

พิสูจนอ์ ักษร นางอิงอร

ไทยดี

พิมพค์ รัง้ ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ จ�ำนวน ๕,๐๐๐ เลม่ พิมพค์ รัง้ ที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เลม่ หมายเลขสากลประจ�ำหนังสือ 978-616-7671-46-8 จัดพิมพโ์ ดย ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) เลขที่ 2012 ซอยอรุณอมรินทร์ 36 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท์ 0-2447-8500-6 โทรสาร 0-2447-8562 http://www.rdpb.go.th จัดพิมพท์ ี่ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) ๓๗๖ ถนนชัยพฤกษ์ แขวงตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ​ ๑๐๑๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๒ ๙๐๐๐, ๐ ๒๘๘๒ ๑๐๑๐ E-mail: aprint@amarin.co.th Homepage: http://www.amarin.com สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ปีพุทธศักราช 2558 (เพิ่มเติม)

สารบัญ


เกี่ยวกับผู้เขียน พิมลศักดิ์ (นาครทรรพ) สุวรรณทัต เกิดวันที่ ๖ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๖ การศึกษา

- จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ที่โรงเรียนสุรศักดิ ์ (อยู่ถนนสุรศักดิ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ แต่เดี๋ยวนี้ไม่มีโรงเรียนนี้แล้ว) - ศึกษาต่อชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ จนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่วชิราวุธวิทยาลัย - จบปริญญาตรี (รัฐศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยเกรอนอบ (GRENOBLE) ประเทศฝรั่งเศส การท�ำงาน - ท�ำงานที่กรมประชาสงเคราะห์ เป็นพนักงานประชาสงเคราะห์ตรีและโท

- ย้ายไปอยู่ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ ๔ จนถึงระดับ ๗

- ย้ายไปอยู่ ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) ต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ ๗ จนได้รับต�ำแหน่ง เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ (เลขาธิการ กปร. คนที่ ๓) เป็นนักบริหารระดับ ๑๑ - อดีตเป็นกรรมการและเหรัญญิกมูลนิธิชัยพัฒนา

- ปัจจุบันเป็นกรรมการมูลนิธิชัยพัฒนา และเป็นที่ปรึกษาส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ

สารบัญ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.