Dpumag 15

Page 1

Get one day สัมภาษณ์อาจารย์ต่างชาติ with two sisters เกี่ยวกับทัศนคติ/การเรียนการสอน

อาหารประจ�ำชาติ ยอดเยี่ยม

ทุนเรียนฟรี มีทั่วโลก february-april


คุยกันก่อน ยินดีต้อนรับสู่โลกแห่งวัยรุ่น Generation Y จากข้อมูล หลายแห่งกล่าวว่า โลกธุรกิจในอนาคตจะถูกขับเคลือ่ นด้วยคน รุน่ ใหม่ทเี่ รียกว่า Generation Y เพราะว่าคนรุน่ เดิมทีท่ ำ� งานกัน อยู ่ ก็ อ ายุ ม ากขึ้ น เรื่ อ ยๆ ในขณะที่ โ ลกธุ ร กิ จ ยั ง คงมี ก าร เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อีกทั้งเทคโนโลยีสมัยใหม่ก็เข้ามา เร็วมากแทบจะตามไม่ทัน ปัจจุบันนี้ข้อมูลไม่ได้อยู่บนโทรศัพท์เคลื่อนที่แต่กลายเป็น อยู ่ บ นข้ อ มื อ (Smartwatch) หรื อ บนเครื่ อ งประดั บ (Wearable Device) เราสามารถท�ำงานได้ทุกที่ แม้แต่อยู่บน รถยนต์ ร้านกาแฟ หรือริมชายหาดก็ตาม และหน้าที่ของ สถาบั น การศึ ก ษาก็ คื อ การพั ฒ นาคนรุ ่ น ใหม่ เ หล่ า นี้ ด้ ว ย เทคโนโลยีสมัยใหม่ ประสานเข้ากับองค์ความรู้และทฤษฎีที่ ถ่ายทอดกันมา เชือ่ ได้วา่ คนรุน่ ใหม่เหล่านีจ้ ะมีคณ ุ ภาพสูงพร้อม เข้าสูต่ ลาดแรงงาน และขับเคลือ่ นโลกธุรกิจได้อย่างแน่นอน มหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ น� ำ ระบบ Google for Education มาใช้ทั้งระบบ รวมทั้งปรับปรุงระบบเครือข่ายไร้ สาย (WIFI) ทั้งมหาวิทยาลัย เพื่อเตรียมตัวให้พร้อมกับการ ศึกษาแบบก้าวหน้าในอนาคต ไม่เพียงเท่านัน้ เรายังตระหนักถึง ความส�ำคัญของคณาจารย์ที่ทรงความรู้ จึงได้มีการฝึกอบรม พัฒนาให้อาจารย์ทกุ ท่านใช้ระบบอันทันสมัยนี้ ได้ทกุ คน เพราะ เราเชื่อว่า เทคโนโลยีอันทันสมัยบวกกับประสบการณ์ของ อาจารย์ของเรา จะพัฒนาการศึกษาของประเทศได้แน่ มาก้าวไปสู่โลกอันทันสมัยด้วยกันนะครับ แล้วจะรูว้ า่ DPU คุณภาพและประสบการณ์ของเราคือของจริงครับ ที่ปรึกษา บรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ที่อยู่ 2 | DPU MAG

อาจารย์วีรพล สวรรค์พิทักษ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสื่อสารการตลาด

Contents คุยกันก่อน Update สิ่งละอันพันละน้อย Progressive Life In Focus Special Column Smart Tips Success Inter Zone Around Campus Opinion Education Life Graduate On The Way

2 3 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26

ม.ร.ว.รมณียฉัตร ดิศกุล อาจารย์วีรพล สวรรค์พิทักษ์ บุษบา แสนประเสริฐ ประภัสสร มณฑา ธนัชพร เทพทวี สงคราม ม่วงมะลิลัย เกศริน จิตอ�่ำ จารุวัลย์ พัวพันธ์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 110/1-4 ถนนประชาชื่น หลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 www.dpu.ac.th E-mail:pr_dpu@dpu.ac.th Facebook.com/dpu.ac.th


UPDATE

จับกระแส

Trend ฮิต 2015!

สาวๆ รู้ ไว้

รับรองไม่ Out!!!! แนวโน้มการแต่งกายในยุคปัจจุบันนี้ รวดเร็ว เปลี่ยนแปลงและไม่มีแบบแผน ตายตัวอีกต่อไป เกิดสไตล์ ใหม่ๆ ในการ แต่ ง ตั ว มี ผ สมผสานทุ ก สิ่ ง เข้ า ด้ ว ยกั น และนีค่ อื แนวโน้มการแต่งตัวทีก่ ำ� ลังมาแรง ในขณะนี้ “Midi Skirt” ใส่ กั บ อะไรก็ ส วย คงต้ อ งบอกว่ า สาวๆคนใดที่ คิ ด จะหยิ บ กระโปรงสัน้ เสมอหูขนึ้ มาใส่ ให้เปลีย่ นใจซะ ตอนนี้ ไม่เช่นนั้นคุณจะเป็นผู้หญิงที่ Out สุดๆ เพราะอะไรน่ะเหรอ? ก็เพราะความ ยาวของกระโปรงทีเ่ ลยเข่าจนถึงกลางน่อง จะช่วยอ�ำพรางต้นขาส�ำหรับผู้หญิงที่ต้น ขาใหญ่ได้เป็นอย่างดี ยิง่ ได้ใส่คกู่ บั รองเท้า ส้นสูง จะท�ำให้ดูแล้วเพรียวขึ้นแบบทันที ทันใด! “NORMCORE” รวม Item เรียบๆ ง่ายๆ แต่ไม่ Minimal NORMCORE (เป็น ค�ำผสมระหว่าง NORMAL กับ HARDCORE) เทรนด์ ใหม่ที่ถูกใจเหล่าแฟชั่น Hipters การแต่งแบบ NORMCORE คือ การรวมกันของ Item ที่หาได้ง่ายๆ แต่ ต้องมีความเป็น Unisex เช่น เสื้อเชิ้ตตัว โคร่ง, กางเกงเอวสูง-เป้าต�่ำ, รองเท้า ผ้าใบ, กระเป๋าที่ โชว์รูปทรงมากกว่าจะ เป็นกระเป๋าแบรนด์เนม เน้นสีสันที่เรียบ ง่าย “Sneaker” เมื่อรองเท้าผ้าใบไม่ ใช่ รองเท้ า ล� ำ ลองอี ก ต่ อ ไป เมื่ อ คุ ณ ชมพู ่ อารยา ซุปตาร์เมืองไทย หยิบ Converse Chuck Taylor All Star รุ่น Classic มา ใส่คู่กับชุดแต่งงานสุดหรูจาก Christian Dior ที่สร้างกระแสทอล์คออฟเดอะทาวน์

ถึงความ Chic และสุด Cool ของเธอ เพียงค�่ำคืน ก็ท�ำให้สาวๆ หารองเท้าผ้าใบ มาใส่กันทั่วเมือง ถ้าคุณไม่ยอมเอาท์ ลอง Mix & Match รองเท้าผ้าใบของคุณกับ ลุคอื่นๆดูนะครับ ถ้ า ใครไม่ อ ยากเอาท์ ก็ ล องมองหา Item เหล่านี้มาลอง Mix&Match กันนะ ครับจะได้อนิ อยู่ ในกระแสไม่ตกเทรนด์ แต่ ส�ำคัญที่สุด !! การแต่งกายต้องไม่หลุด ความเป็นตัวเองและเหมาะสมกาลเทศะ ด้วยนะ ขอให้สนุกกับแฟชั่นนะครับ

อาจารย์ปรัชญา พิระตระกูล หัวหน้าภาควิชาการออกแบบและธุรกิจแฟชั่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ DPU MAG | 3


สิ่งละอันพันละน้อย

หลอด LED รับรางวัลโนเบิล จากหนังสือสิ่งละอันพันละน้อย 2558

หลอดไฟแบบเผาไหม้ทคี่ ดิ ค้นขึน้ ได้เมือ่ 136 ปี ก่อนให้ความสว่าง แก่มนุษย์ ในศตวรรษที่ 20 แต่หลอดไฟ LED จะท�ำหน้าที่เดียวกันใน ศตวรรษที่ 21 และด้วยเหตุนี้ผู้ร่วมกันสร้างสรรค์หลอดไฟ LED ซึ่งเป็นคนญี่ปุ่น 3 คน จึงได้รับรางวัลโนเบิลเมื่อเร็วๆ นี้ LED (Light-Emitting Diode) เป็นหลอดไฟที่ ให้แสงสว่าง โดยตรงจากกระแสไฟฟ้า ในขณะที่หลอดไฟแบบเผาไหม้ที่เรียกกว่า incandescent light ซึ่ ง คิ ด ค้ น โดย Thomas Edison ในปี ค.ศ. 1878 ให้แสงสว่างทางอ้อม กล่าวคือกระแสไฟฟ้าไปเผาไหม้ไส้ และไส้เปล่งแสงสว่าง ดังนั้นส�ำหรับความสว่างเท่ากันจึงกินไฟฟ้า มากกว่าเมื่อเทียบกับหลอดไฟ LED นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันค้นพบว่ามีการประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า แบบเผาไหม้ก่อน Edison ไม่น้อยกว่า 22 สิ่งประดิษฐ์ หากแต่ว่าสิ่ง ประดิษฐ์ของ Edison นั้นมีคุณภาพเหนือกว่าเพราะได้ทดลองไส้ หลอดไฟฟ้าจากวัสดุนับร้อยๆ ชนิด จนในที่สุดก็ประสบความส�ำเร็จ จากถ่านไม้ไผ่ ต่อมามีการพัฒนาปรับปรุงโดยนักประดิษฐ์จำ� นวนมาก ในสหรัฐอเมริกาและยุโรปใน ทศวรรษแรกของ ค.ศ. 1900 จนในทีส่ ดุ tungsten เป็นสารที่ ใช้ได้ผลดีที่สุดในการเอามาท�ำไส้ ต่อมามีการต่อยอดโดยอัดก๊าซ halogen เข้าไปผสมกับไส้ในและ ได้แสงสว่างที่ขาวนวลเหมือนกลางวันเป็น white light แต่ถึงจะ ประหยัดไฟได้มากกว่าเดิมแต่หลอดก็มีราคาแพงกว่าพอควร ยังมีหลอดไฟประเภทสองที่เรียกว่า fluorescent หรือหลอด นีออน ใช้วิธีผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดบรรจุก๊าซเพื่อให้เกิดไอ ระเหยของปรอท ซึ่งผลิตรังสีอุลตร้าไวโอเลตให้ ไปท�ำปฏิกิริยากับ phosphor ซึ่งฉาบอยู่ ในหลอดและเกิดแสงสว่างขึ้น หลอดนีออนมีการต่อยอดเป็นหลอดที่เรียกว่า CFL (Compact Florescent Lamp) ซึ่งหน้าตาคล้ายหลอดไฟแบบเผาไหม้ แต่เป็น หลอดนีออนซึ่งเสียบเข้าไปในเต้าและใช้ได้เลยโดยไม่ต้องมีอุปกรณ์ บัลลาสต์ และสต้าตเตอร์ ให้รุงรัง CFL มีหลอดแก้วเป็นไส้ขดไปมา ภายในหรือเป็นขาอยู่ข้างใน ปัจจุบัน CFL เป็นที่นิยมในบ้านเราและ เรียกกันว่า “หลอดตะเกียบ” อย่ า งไรก็ ดี ห ลอดประเภทที่ ส ามที่ ก� ำ ลั ง จะเป็ น หลอดไฟของ ศตวรรษที่ 21 คือ LED หลอดไฟชนิดนี้ก�ำลังจะมาแทนที่ดงั ทีเ่ กิดขึ้น แล้วในบางอาคารในบ้านเราและใน ประเทศพัฒนาแล้วอืน่ ๆ เพราะกิน ไฟน้อยมาก และมีอายุทนทานมาก 4 | DPU MAG

รองศาสตราจารย์ ดร. วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ หลอด LED สีแดงและเขียว มีผู้ประดิษฐ์ ได้แล้วตั้งแต่ ค.ศ. 1960 แต่ยังไม่มี ใครสามารถประดิษฐ์หลอด LED ที่ ให้สีน�้ำเงินซึ่งเมื่อผสมกับสองสีก่อนหน้าก็สามารถเกิด เป็นไฟสีขาวและ สามารถเอามาใช้เป็นหลอดไฟในบ้าน แทนหลอดไฟแบบเผาไหม้ แ ละไฟนี อ อนได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพสูงกว่ามาก ศาสตราจารย์ Isamu Akasaki (อายุ 85 ปี ใน ปัจจุบัน) สามารถผลติ หลอดLED ที่ ให้แสงไฟสีน�้ำเงินได้ ในปี 1981 ถึงแม้วา่ ก่อนหน้านัน้ โลกตะวันตกเชือ่ ว่าท�ำไม่ ได้ก็ตามที แต่แสงที่ผลิตได้ก็อ่อนจนไม่สามารถเอาไปท�ำ ประโยชน์อะไรได้เนื่องจากเกร็ด ละอองแก้วซึ่งใช้เป็นวัสดุ หลักในการท�ำขั้วไฟในหลอดยังไม่ดีพอ ต่อมาเขาได้ นักศึกษาปริญญาเอกชือ่ Hiroshi Amano (ปัจจุบนั อายุ 54 ปี) มาท�ำงานโดยทดลองใช้วัสดุนานาชนิดเพื่อผลิต ละอองแก้วอย่างบากบัน่ มานะ จนในทีส่ ดุ LED ก็สามารถ ผลิตแสงไฟสีฟ้าสว่างจ้าได้ส�ำเร็จในปี 1985


ในฟากของเอกชน Shuji Nakamura (ปัจจุบนั อายุ 60 ปี) แห่งบริษทั ขนาดเล็ก ชื่อ Nichia Corp ผลิตหลอดไฟฟ้าซึ่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคการดูถกู เยาะเย้ย ว่าไม่ได้มีส่วนช่วย งานบริษัท สามารถน�ำ สิ่งประดิษฐ์หลอด LED สีฟ้ามาผลิตเชิง พาณิชย์ ได้ส�ำเร็จโดยเป็นล�ำแสงสีขาว สว่างจ้าในปี 1990 ทัง้ สามคนจึงได้รบั รางวัลโนเบิลสาขา ฟิสิกส์ร่วมกันประจ�ำปี 2014 ซึ่งเป็นสิ่ง ที่ภาคภูมิ ใจของคนญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก สามคนนี้ท�ำให้ญี่ปุ่นได้รับรางวัลโนเบิล รวมทั้งสิ้น 22 รางวัล (10 ในฟิสิกส์ 2 ในสาขาแพทย์ 7 ด้านเคมี 2 ด้าน วรรณกรรมและ 1 ด้านสันติภาพ) ศาสตราจารย์ Akasaki สอนหนังสือ และวิจยั ที่ Meijo University (ไม่ ใช่แม่โจ้ ที่เชียงใหม่) และ Nagoya University เช่ น เดี ย วกั บ ศาสตราจารย์ Amano ส่วนคนที่สามคือ Nakamura ปัจจุบัน สอนอยู่ที่ University of California, Santa Barbara โดยปั จ จุ บั น แปลง สัญชาติเป็นอเมริกัน ศาสตราจารย์ Nakamura เป็ น สี ส รรค์ ข องรางวั ล นี้ เ พราะบอกว่ า ได้ รางวัลมาเพราะความโกรธบริษทั นายจ้าง Nichia Corp เรือ่ งราวก็คอื เขาเห็นบริษทั ได้ ก� ำ ไรจากความส� ำ เร็ จ ของเขา นั บ พั น ๆ ล้ า นเยนในทศวรรษ 1990

ในขณะที่ เ ขาได้ รั บ เงิ น รางวั ล เพี ย ง 6 พันบาท (20,000 เยน) เขาจึงฟ้องเรียก ร้องผลตอบแทนจนชนะได้เงินมา 250 ล้านบาทเมื่อไม่กี่ปีมานี้ ปัจจุบันก็ยังเป็น คดีความกันอยู่เพราะเขาถูกบริษัทฟ้อง กลับ (ปัจจุบนั อาจรีบถอนฟ้องแทบไม่ทนั เพราะคงต้องการโหนรางวัลโนเบิลนี้) หลอดเผาไหม้มีอายุเพียงประมาณ 1,000 ชั่วโมง หลอดนีออนและ CFL ประมาณ 10,000 ชั่วโมง ส่วน LED นั้น คงทน 100,000 ชั่วโมง ส�ำหรับการกิน ไฟนั้นน้อยกว่าหลอดเผาไหม้ประมาณ 6-7 เท่าตัว และน้อยกว่าหลอดนีออนและ CFLประมาณกว่าเท่าตัว ส�ำหรับราคานัน้ LED เคยแพงกว่า CFL ประมาณ 4-5 เท่ า แต่ ป ั จ จุ บั น นั้ น สั ด ส่ ว นนี้ ล ดลงเป็ น ล�ำดับเมือ่ มีคนนิยมใช้หลอด LED มากขึน้ ในบ้านเราหลอด LED สามารถซือ้ หาได้ใน ราคา 150 บาทขึ้นไป จอสมาร์ทโฟน จอโทรทัศน์ชนิดแบน ไฟประดับตกแต่งร้าน ไฟที่ส่ว่างจ้าหน้า รถยนต์บางยี่ห้อ ไฟบนเวที ไฟจราจร ไฟแสดงตัวเลขบนจอของเครือ่ งมือต่างๆ ไฟป้ายทีส่ ว่างต่างๆ ฯลฯ ล้วนเป็นหลอด LED ทั้ ง สิ้ น เพราะคงทน กิ น ไฟน้ อ ย และสว่างเป็นพิเศษ

ในบ้ า นเราการใช้ ห ลอดไฟ LED เพื่ อ ความสว่ า งในบ้ า นยั ง มี น ้ อ ยอยู ่ แต่มนั่ ใจว่าจะมีมากขึน้ เป็นล�ำดับเมือ่ ราคา หลอดลดลง การใช้ก็สะดวกเพี ยงแต่ เปลี่ยนหลอดเข้าไปในเต้าปกติเท่านั้น นักฟิสิกส์ทั้งสามสร้างประโยชน์แก่ ชาวโลกอย่างมหาศาลเพราะช่วยให้เกิด การ ประหยั ด ไฟฟ้ า ประหยั ด วั ส ดุ (จอโทรทัศน์ที่แบนได้ก็เพราะสามารถใช้ หลอด LED แทนนี อ อน) ประหยั ด พลั ง งานที่ น� ำ มาผลิ ต ไฟฟ้ า และวั ส ดุ ลดการใช้หลอดนีออนซึง่ มีผลกระทบทาง ด้านลบต่อสิ่งแวดล้อม ที่ส�ำคัญยิ่งก็คือ ประหยัดเงินของครอบครัว (เมือ่ หลอดไฟ LED มีราคาถูกเช่นเดียวกับหลอดเผาไหม้ ก็จะเห็นชัดเจนขึ้น) ความมุง่ มัน่ บากบัน่ มานะ ไม่ยอ่ ท้อกับ ความผิดหวัง และความโกรธสามารถ ผสมกั น จนผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ส�ำคัญต่อมนุษยชาติ ได้

DPU MAG | 5


PROGRESSIVE LIFE

DPU Exchange Program

สวัสดีคะ่ DPU MAG คอลัมน์นเี้ ราได้รวบรวมหลักสูตรแลกเปลีย่ นเรียนต่างประเทศ เพื่อมาเอาใจน้องๆ ที่อยากจะโกอินเตอร์ ฝึกภาษา เรียนรู้วัฒนธรรมของประเทศนั้นๆ ว่าแต่...หลักสูตรแลกเปลี่ยนของ DPU มีอยู่ ในคณะไหน และมีความน่าสนใจยังไงบ้าง ต้องติดตาม ห้ามพลาดค่ะ!!!

เริ่มกันที่คณะแรกเป็นคณะยักษ์ ใหญ่ของ DPU นั่นคือ คณะบริหารธุรกิจ

หลักสูตรแลกเปลี่ยน 3+1 เรียนที่ ไทย 3 ปี เรียนที่จีน 1 ปี โดยทางคณะจะให้นกั ศึกษาทีเ่ ข้าโครงการหลักสูตรแลกเปลีย่ น ให้ได้เรียนภาษาจีน เพือ่ ปูพนื้ ฐานทีป่ ระเทศไทยก่อน เมือ่ เรียนถึงปี 3 ค่อยลัดฟ้าบินไปเรียนที่ The College of Arts and Sciences, Yunnan Normal University ที่ประเทศจีน ช่วงสามเดือนแรกจะเรียนวิชาภาษาจีนปรับพืน้ ฐานก่อนและยังมีกจิ กรรมต่างๆ เช่น การเขี ย นพู ่ กั น จี น การตั ด กระดาษจี น ศิ ล ปะการชงชา ที่ ส� ำ คั ญ วิ ช าทางด้ า น บริหารธุรกิจ 5 วิชา สามารถเอาคะแนนไปเทียบโอนเป็นวิชาเลือกเสรีของคณะ บริหารธุรกิจได้ด้วยนะคะ

วิทยาลัยนานาชาติจีน

ส�ำหรับน้องๆ วิทยาลัยนานาชาติจีนก็ เช่นกัน แบ่งเป็น 2 สาขา คือ Bachelor of Business Administration (International Business) และ Bachelor of Business Administration (Tourism Management) โดยน้องๆ สามารถน�ำเอาคะแนนไปเทียบ โอนและเรียนในมหาวิทยาลัยในจีน ซึ่งเรา ก็มมี หาวิทยาลัยคูม่ ติ ร ได้แก่ มหาวิทยาลัย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี คุ น หมิ ง (Kunming Science and Technology University / KUST) ด้วยค่ะ 6 | DPU MAG


คณะศิลปศาสตร์

ใครที่ ช อบภาษาจี น พลาดไม่ ไ ด้ เ ลยค่ ะ ศิ ล ปศาสตร์ ก็ มี ใ ห้ เ ลื อ กเหมื อ นกั น 1. Xiamen University ได้แก่ หลักสูตร 2+2 หลักสูตรนี้ ได้รับถึงสองปริญญา ได้แก่ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และ Xiamen University อีกสูตรหนึ่งคือ 3+1 สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ คือเรียนที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 3 ปี และเรียนที่ Xiamen University อีก 1 ปี 2. Guangxi University for Nationalities ได้แก่ หลักสูตร 3+1 หลักสูตรนี้ เรียนที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 3 ปี และเรียนที่ GXUN อีก 1 ปี แถมมี ให้เลือก เรียน 2 สาขาวิชา คือ ภาษาจีนธุรกิจและสาขาธุรกิจ ระหว่างประเทศ เนื้อหาวิชาเน้น ด้านภาษาจีนธุรกิจ และธุรกิจระหว่างประเทศ นอกจากนี้ก็ยังมีหลักสูตรเพิ่มเติมจากฝ่ายวิเทศสัมพันธ์เพื่อเปิดโอกาสให้ นักศึกษาที่อยากเรียนต่อใน ประเทศจีนก็มีมหาวิทยาลัยที่น่าสนใจ เช่น 1. Guangxi University for Nationalities หลักสูตรระยะสั้น 1 เดือน เรียน ภาษาจีนพืน้ ฐาน ภาษาจีนธุรกิจ วัฒนธรรมจีน และการสนทนาภาษาจีน สามารถเทียบ โอน ได้ 1-2 วิชา เรียนในช่วงกลางเดือนมิถุนายน-กลางเดือนกรกฎาคมของทุกปี 2. Guizhou Normal University ระยะเวลาเรียน 1 ภาคเรียน โดยไม่ก�ำหนด สาขาวิชาและภาษาที่จะใช้สอน 3. Sanya University ระยะเวลาเรียน 1 ปี โดยไม่ต้องช�ำระค่าเล่าเรียน และไม่ ก�ำหนดสาขาวิชาและภาษาที่จะใช้สอน 4. Guilin University of Aerospace Technology หลักสูตร ระยะสั้น 1 เดือน เรียนภาษาจีนพื้นฐาน ภาษาจีนธุรกิจ วัฒนธรรมจีน และการสนทนาภาษาจีน ที่นี่ก็ สามารถเทียบโอนได้ 1-2 วิชา เรียนช่วงกลางเดือนมิถุนายน-กลางเดือนกรกฎาคม ของทุกปี

วิทยาลัยนานาชาติ

ส�ำหรับน้องๆทีเ่ รียนในวิทยาลัยนานาชาติ ก็สามารถเรียนแลกเปลีย่ นในต่างประเทศ ได้ โดยเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยที่มีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เช่น ISC-Paris, University of Nancy ประเทศฝรั่งเศส และ Linnaeus University ประเทศสวีเดน, Ibaraki University ประเทศญี่ปุ่น, Guizhou Normal UniversityและSanya University ประเทศจีน, Hoa Sen University ประเทศเวียดนาม และ SHML ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นต้น นัน่ แน่!! หลักสูตรเรามีทงั้ ระยะสัน้ และระยะยาว แถมยังมีมหาวิทยาลัยคูม่ ติ รในต่าง ประเทศให้เลือกได้ตามใจชอบ น้องๆ สนใจหลักสูตร หรือมีข้อสงสัยอยากซักถาม ติดต่อได้ที่คณะหรือฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ได้เลยนะคะ

DPU MAG | 7


IN FOCUS

“Get one day with two sisters” Nicky & Penny สองสาวพี่น้อง จาก วิทยาลัยนานาชาติ (DPUIC)

IN FOCUS ฉบับนี้ เราจะมาท�ำความรู้จักกับน้อง Nicky และน้องPenny สองสาวพี่น้องลูกครึ่ง ไทย-ไอริช จากวิทยาลัยนานาชาติ หรือ DPU International College (DPUIC) กันค่ะ เราจะไปดูกัน ว่าใน 1 วัน สองสาวเลือกไปปักหมุดจุดไหนที่ DPU กันบ้าง

5

จุดปักหมุดที่ DPU?

8 | DPU MAG

Kor Cafe ชั้น 5 ตึก 7

Penny : เราสองคนชอบมานั่ ง ที่ นี่ ค ่ ะ เพราะอยู่ ใกล้กับ DPUIC ก็จะมานั่งจิบ กาแฟซั ก แก้ ว และแซนวิ ช นั่ ง คุ ย กั บ เพื่อนๆ หรือนั่งฟังเพลงชิวๆ ก่อนเข้า เรียน หรือหากช่วงเบรกก็จะมาค่ะ

DPU Canteen / ซอย 8 หน้ามหา’ลัย

Nicky : เราสองคนเลือกมารับประทาน อาหารที่นี่บ่อยๆ เพราะมีหลายอย่างให้ เลือกทาน โดย Nicky จะชอบทานก๋วยเตีย๋ ว มากๆ ทานเป็นประจ�ำเลย ทานเผ็ดด้วย Penny : ชอบทานอาหารไทยค่ะ แต่ส้มต�ำ นี่ชอบที่สุดเลยค่ะ แต่ไม่ทานเผ็ดมากนะคะ เคยทานแล้วร้องไห้ น�้ำมูกไหลเลยค่ะ คง เป็ น เพราะเราเป็ น ไซนั ส ด้ ว ยหละค่ ะ นอกจากโรงอาหารแล้ ว ก็ จ ะมี ซ อย 8 บริ เ วณหน้ า มหา’ลั ย ซึ่ ง ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น

เหมือนถนนข้าวสารเล็กๆ ของพวกเราเลย ค่ะ เพราะไม่วา่ จะเวลาไหนก็จะมีรา้ นอาหาร เปิดอยู่ตลอดเวลา

DPUIC / DPU Library

Penny : เวลาเบรกนอกจากอยู่ที่ DPUIC แล้วพวกเราก็จะมานัง่ อ่านหนังสือ หรือนัง่ ชิวๆหอสมุดนีแ่ หละค่ะ เพราะมีหลายโซนให้ เลือกนั่ง แถมมีเครื่องดื่มจ�ำหน่ายด้วย


Computer Lab

Nicky : หากจะใช้คอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่ พวกเราก็จะเลือกใช้หอ้ งแลปที่ DPUIC ค่ะ ใกล้และสะดวกดี ไม่ต้องเดินไปไหนไกล และมีเครื่องให้ ใช้เพียงพอด้วย

DPU Sport Club

Penny : ปกติหากมีเวลาว่างหลังเลิกเรียน ก็จะมาใช้ฟติ เนสทีม่ หา’ลัย บ่อยเหมือนกันค่ะ Nicky : สระว่ายน�้ำก็ ไปบ่อยค่ะ แต่ไม่ได้ ไปว่ายนะคะ จะไปนัง่ เฝ้าคนว่ายน�ำ้ มากกว่า 555+ ...เฝ้าพีช่ ายนีห่ ละค่ะ เพราะพีช่ ายก็ เรียนที่นี่เหมือนกัน เขาจะชอบมาที่นี่บ่อย และทัง้ หมดก็คอื “Get one day with two sisters” 5 จุดปักหมุดหลักๆ ของสอง สาวพี่น้องจาก DPUIC ซึ่งตลอดช่วงการ สนทนานัน้ สัมผัสได้วา่ ทัง้ สองสาวนัน้ แม้จะ เป็นผู้หญิงเหมือนกันแต่สไตล์ต่างกันเลย ก็ว่าได้ โดย Penny ซึ่งเป็นน้องสาว ที่มี ดีกรีเป็นถึงรอง The Face Thailand นัน้ เธอจะพูดจาฉะฉาน ดูคล่องแคล่ว มั่นใจ ด้าน Nicky พี่สาว จะดูเป็นสาวพูดน้อย ที่ นอกจากจะเรียนเก่งแล้ว แต่กิจกรรมก็ ไม่ เป็นรองใคร เพราะมีดีกรีเป็นถึงประธาน นักศึกษาของ DPUIC แต่ทงั้ นี้ สิง่ ทีท่ งั้ สอง เหมือนกันคือ เป็นสาวน้อยที่เต็มไปด้วย พลังและความสดใส เชื่อว่าใครได้อยู่ ใกล้ เธอจะต้องมีความสุขและหัวเราะไม่หยุด แน่ๆ ท้ายนี้จุดปักหมุดใน 1 วัน ของคุณมี ที่ ไหนบ้าง เหมือนสองสาวมั้ยคะ ^__________^ พี่สาว “Nicky” : นางสาวศิริกัลยา เลน ดาโสม นศ.ชั้นปีที่ 3 สาขา ITMA การจัดการการท่องเที่ยวและการโรงแรม น้องสาว “Penny” : นางสาวกริยาณี เลน ดาโสม นศ.ชั้นปีที่ 2 สาขา ITMA การจัดการการท่องเที่ยวและการโรงแรม วิทยาลัยนานาชาติ DPU International College (DPUIC) DPU MAG | 9


SPECIAL COLUMN

47 ปี

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สถาบันแห่งการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ พัฒนาความพร้อมของบัณฑิตสู่สังคม 30 พฤษภาคม “วั น สถาปนาและร� ำ ลึ ก ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ ” ซึ่ ง ในปี นี้ ได้ จั ด ขึ้ น ในวันศุกร์ ที่ 29 พฤษภาคม 2558 เข้าสู่ 47 ปี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สถาบันแห่งการเรียนรูส้ กู่ ารปฏิบตั ิ พัฒนา ความพร้อมของบัณฑิตสู่สังคม ภายใต้เจตนารมณ์ที่ตรงกันของ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ และ อาจารย์สนั่น เกตุทัต ที่ว่า “เราจะท�ำงานด้านการศึกษา เพื่อประโยชน์แก่สังคมและชาติ” โดยช่ ว งเช้ า มี พิ ธี สั ก การะพระสิ ท ธิ ธ าดา โดยมี ดร.อรัญ ธรรมโน นายกสภามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์และ บุคลากรร่วมพิธี ต่อด้วยพิธีสงฆ์ โดยประธานได้จุดเทียน บูชาพระรัตนตรัย พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์แก่ผบู้ ริหาร คณาจารย์ บุคลากรมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นสิริมงคลและ ขวัญก�ำลังใจในการท�ำงาน จากนั้นเป็นพิธีวางพวงมาลา น�ำโดยทายาทผู้ก่อตั้ง มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ คณะกรรมการสภาและคณะ กรรมการอ� ำ นวยการ คณะผู ้ บ ริ ห าร อธิ ก ารบดี รองอธิการบดี คณบดี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และ หน่วยงานภายนอกเข้าร่วมวางพวงมาลา ณ อนุสาวรีย์ ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย 10 | DPU MAG


ต่อด้วย รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กล่าวรายงานถึงวัน สถาปนาและร�ำลึกถึงผูก้ อ่ ตัง้ มหาวิทยาลัย พร้อมด้วยพิธรี บั พระราชทานเครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ พิธมี อบ รางวัลแก่บุคลากรดีเด่น และนักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัย โดยมี ดร.อรัญ ธรรมโน นายกสภามหาวิทยาลัย เป็นประธานในพิธีและมอบรางวัล พร้อมกล่าวแสดงความยินดีกับส�ำเร็จของ มหาวิทยาลัย และผู้ได้รบั พระราชทานเครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ ตลอดจนบุคลากรและนักศึกษาผู้ได้รบั รางวัล ทุกคน ณ ห้องประชุมสนม สุทธิพิทักษ์ อนุสรณ์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

DPU MAG | 11


SMART TIPS

เปิดมุมมองอาจารย์ต่างชาติ ต่อนักศึกษาไทย หนีหา่ ว ^_^ สวัสดีคะ่ กลับมาพบกัน เช่นเคยกับคอลัมน์ประจ�ำเจ้าเก่าเจ้าเดิม ทุ ก ท่ า นทราบไหมค่ ะ ว่ า ที่ DPU มี นั ก ศึ ก ษาต่ า งชาติ ม าเป็ น เพื่ อ นร่ ว ม มหาวิทยาลัยกับเรากี่ประเทศ ? ติ๊กต่อก ติก๊ ต่อก ติก๊ ต่อก........เฉลย !!! ชาว DPU มีเพื่อนชาวต่างชาติมากกว่า 19 ประเทศ จากทั่ ว โลก จึ ง ไม่ แ ปลกเลยค่ ะ ที่ เ ห็ น นักศึกษาและอาจารย์ที่เป็นชาวต่างชาติ เดินสลับกันไปมาอยู่ ในรั้ว DPU แห่งนี้ Smart Tips ฉบับนี้ เราจะพาทุกท่าน ไปท�ำความรู้จักกับอาจารย์ชาวต่างชาติที่ สอนที่ DPU ทั ศ นคติ ข องอาจารย์ ต ่ อ นักศึกษาไทย พร้อมล้วงเทคนิคการสอน นักศึกษา DPU วัยโจ๋กันดีกว่า เริ่ ม กั น ที่ อ าจารย์ ท ่ า นแรกเจ้ า ของ รางวัล “My World Evidence Based Advocacy Award” ซึ่งเป็นรางวัลจาก องค์การสหประชาชาติประจ�ำประเทศไทย (UN) Mr.Dominic Neil Bone ผู้ช่วย คณบดี ฝ ่ า ยพั ฒ นาธุ ร กิ จ วิ ท ยาลั ย นานาชาติ (DPUIC) อาจารย์ เ ป็ น ชาว อังกฤษ 100% มาอยู่ที่ประเทศไทยและ เข้ามาเป็นอาจารย์ที่ DPUIC 9 ปี สอน วิชาเกี่ยวกับการธุรกิจและการตลาด เช่น Business Planning and Analysis, Consumer Behavior, และ Strategic Management

12 | DPU MAG

ต่อกันที่อาจารย์ชาวญี่ปุ่น อาจารย์ ฮิเดฮิ โระ โคบายาชิ แต่ทุก คนจะเรี ยก อาจารย์ว่า ฮิโระเซ็นเซย์ อาจารย์มีหน้าที่ สอนภาษาญีป่ นุ่ ให้กบั นักศึกษาทีเ่ รียนวิชา เอกภาษาญี่ปุ่นของทุกคณะ อาจารย์ฮิโระ เซ็ น เซย์ ส อนที่ DPU มา 6 ปี จึ ง ท� ำ ให้ อาจารย์ ไ ด้ เ ห็ น ความแตกต่ า งระหว่ า ง นักศึกษาไทยและนักศึกษาทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ โดยนักศึกษาไทยจะให้ความส�ำคัญและ ชอบอยูก่ บั กลุม่ เพือ่ น เวลาเข้าเรียนสายก็ จะสายทั้งกลุ่ม เวลาขาดเรียนก็ขาดเรียน พร้ อ มกั น ทั้ ง กลุ ่ ม ขณะที่ นั ก ศึ ก ษาที่ ประเทศญี่ปุ่นจะไม่ค่อยติดเพื่อน และมี Mr.Dominic Neil Bone ความเป็นตัวของตัวเองมากกว่านักศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ไทย วิทยาลัยนานาชาติ (DPUIC)

“ที่ DPUIC เราจะรวมนักศึกษาไทยและ นักศึกษาต่างชาติ ไว้ด้วยกัน ดังนั้นการ เรียนการสอนในคลาสเรียนจะให้นกั ศึกษา มีส่วนร่วมและได้สัมผัสประสบการณ์จริง ได้ทำ� งานร่วมกับผูค้ นจริง ยกตัวอย่างเช่น ในวิชาเรียนผมจะให้นักศึกษาสร้างแผน ธุรกิจร่วมกับบริษัท ASHOKA ในการจัด ระดมหาทุนการกุศลให้กับมูลนิธิท้องถิ่น และช่ ว ยเก็ บ ข้ อ มู ล วิ จั ย ให้ กั บ บริ ษั ท United Nations เพราะผมคิดว่าการ เรียนควบคูก่ บั การปฎิบตั จิ ะท�ำให้นกั ศึกษา สามารถจดจ�ำและเรียนรู้ได้เร็วยิ่งขึ้น”

อาจารย์ฮิเดฮิ โระ โคบายาชิ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาภาษาญี่ปุ่น คณะศิลปศาสตร์


“เวลาผมสอนภาษาญี่ ปุ ่ น ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษา ผมจะหาเทคนิ ค ให้ นั ก ศึ ก ษา เข้าใจได้งา่ ยขึน้ โดยตัง้ เป้าไว้วา่ จะสอนแบบ ราคุโกะ หรือแบบ ภาพยนตร์ ซึ่งจะด�ำเนิน การสอนไปตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน คือ บทน�ำ เนื้อเรื่อง และบทส่งท้าย โดยบทน�ำ ผมวิ เ คราะห์ นั ก ศึ ก ษาและดู ส ภาพใน ห้ อ งเรี ย นก่ อ น จากนั้ น พยายามให้ นักศึกษาคิดและจินตนาการเนื้อหาที่จะ เรียน เช่น ค�ำศัพท์หรือไวยากรณ์ ภาษา ญีป่ นุ่ ให้มากทีส่ ดุ เท่าทีน่ กั ศึกษาจะท�ำได้ ถ้า นักศึกษาผ่านขัน้ ตอนบทน�ำไปได้ดว้ ยดี ขัน้ ตอนเนื้อเรื่องและบทส่งท้ายก็จะเข้าใจไม่มี ปัญหา เพราะฉะนัน้ นักศึกษาทุกคนช่วยมา เรียนให้ตรงเวลาด้วยครับ ฮ่าๆๆ ผมประทับใจประเพณีวัฒนธรรมที่ดี งามของไทย นั่นคือการไหว้ครู ตอนที่ ได้มี โอกาสเข้าร่วมพิธี ไหว้ครูครัง้ แรกผมตกใจ และซาบซึ้งมาก และประทับใจอาจารย์ชาว ไทยที่ เ รี ย กนั ก ศึ ก ษาว่ า “ลู ก ” เหมื อ น อาจารย์กับลูกศิษย์ดูแลกันเปรียบเสมือน ครอบครัวเดียวกันครับ” มาถึ ง อาจารย์ ท ่ า นสุ ด ท้ า ย Mr. Zhang Dejun (จาง เต๋อจุ้น) อาจารย์ สอนภาษาจีน สาขาภาษาจีนธุรกิจ คณะ ศิลปศาสตร์ อาจารย์จางได้เล่าว่า มาอยู่ที่ ประเทศไทย 9 ปี แล้ว แต่เริ่มเข้ามาเป็น

Mr. Zhang Dejun อาจารย์ประจ�ำภาควิชาภาษาจีนธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์

อาจารย์สอนที่ DPU ประมาณ 3 ปี ชอบ นักศึกษาไทยที่มีการแต่งตัวที่เป็นระเบียบ และต้องใส่ชุดนักศึกษาที่เป็นเครื่องแบบ ของมหาวิทยาลัยในการเข้าห้องเรียน เห็น ได้ว่านักศึกษาไทยจะมีความสุขกับการ เรียนและมีกิจกรรมระหว่างเรียนให้เลือก ท� ำ ที่ ห ลากหลาย ไม่ เ หมื อ นนั ก ศึ ก ษาที่ ประเทศจี น ต่ า งต้ อ งก้ ม ตาก้ ม ตาอ่ า น หนั ง สื อ เพราะประชากรประเทศจี น มี จ�ำนวนมาก ดังนั้นการเข้าเรียนต่อ หรือ การหางานท�ำมักมีการแข่งขันสูง แต่ข้อ เสียข้อนักศึกษาไทยคือ ไม่ตรงต่อเวลาใน การเข้าเรียนหรือการนัดหมาย

“นักศึกษาส่วนใหญ่คิดว่าการเรียน ภาษาจีนเป็นภาษาที่ยาก ดังนั้นเวลาผม สอนนักศึกษาไทย ผมจะให้นักศึกษาได้ เรียนรู้ภาพรวมของภาษาจีน และท�ำให้ รู้สึกว่าภาษาจีนไม่ ได้ยากอย่างที่เขาคิด การเปิดใจที่จะเรียนรู้จะเป็นการเริ่มต้นที่ดี ส�ำหรับการเรียนภาษาจีน นอกจากนี้ผมประทับใจนักศึกษาที่ ให้ ความเคารพอาจารย์ และประทับใจน�้ำใจ ของคนไทย ทุกครั้งที่เห็นนักศึกษายกมือ ไหว้ผม เป็นภาพทีท่ ำ� ให้ผมรูส้ กึ ดีมาก โดย เฉพาะวันไหว้ครู เพราะที่ประเทศจีนไม่มี เมือ่ ได้ เห็นลูกศิษย์ทกุ คนกราบไหว้ครู เป็น ภาพที่งดงามมาก และผมเชื่อว่าอาจารย์ ทุกคนจะรู้สึกภูมิ ใจในอาชีพที่เราท�ำครับ” เป็นยังไงค่ะ...กับทัศนคติและเทคนิค การสอนของอาจารย์ชาวต่างชาติทั้ง 3 ท่านนี้ หากน้องๆ ชาว DPU เดินสวนกับ อาจารย์ทา่ นไหน ก็อย่าลืมกล่าวค�ำทักทาย สวัสดีทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น และ ภาษาจีนกันนะคะ วันนี้ลาไปก่อน “จ้าย เจี้ยน...” (จ้ายเจี้ยน ภาษาจีน แปลว่า บ๊ายบาย)

DPU MAG | 13


SUCCESS

รางวัลบทความวิชาการดีเด่น ‘Best Paper of the Conference’

ขอแสดงความยินดี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ขอแสดงความยินดี กับ อาจารย์ที่ ได้รับต�ำแหน่งทางวิชาการ โดยมีอาจารย์ ได้รับ ต�ำแหน่ง ดังนี้อาจารย์ ดร.วิลาวัลย์ อินทร์ช�ำนาญ จากคณะ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในโอกาสส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญา เอก และแสดงความยินดีกบั ผู้ได้รบั ต�ำแหน่งทางวิชาการ ได้แก่ ผศ.ชาติณรงค์ วิสตุ กุล จากคณะนิเทศศาสตร์, ผศ.ไพรินทร์ ชลไพศาล จากคณะเศรษฐศาสตร์ และ ผศ.วิญญู นิรนาท ล�้ำพงศ์ จากคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

รับโล่ประกาศเกียรติคุณสถานศึกษา ด�ำเนินการสหกิจศึกษาดาวรุ่ง การศึกษา 2558 ผศ.ดร. วันวร จะนู ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายกิจการ นักศึกษา ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ เป็นตัวแทนมหาวิทยาลัยเข้ารับ รางวัล “สถานศึกษาด�ำเนินการสหกิจศึกษาดาวรุ่ง” จาก เครือข่ายพัฒนาสหกิจศึกษาของเครือข่ายอุดมศึกษาภาค กลางตอนบน ณ ม.ศรีปทุม 14 | DPU MAG

ผศ.ดร.คม คัมภิรานนท์ รอง ค ณ บ ดี ฝ ่ า ย บริ ห าร DPUIC และผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ ที่ ไ ด ้ รั บ ร า ง วั ล บทความวิชาการ ดี เ ด ่ น ‘ B e s t Paper of the Conference’ จากการน� ำ เสนอบทความวิ ช าการเรื่ อ ง ‘The Influence of Service Quality Gaps on Customer Loyalty: A Case Study of Midscale Bangkok Hotels’ (อิ ท ธิ พ ลของความแตกต่ า งระหว่ า งความคาดหวั ง ของ คุณภาพการให้บริการ และการรับรู้ของคุณภาพการให้ บริการที่ ได้รับจริง ที่มีผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้าของ โรงแรมขนาดกลางในกรุงเทพฯ) ในการประชุมวิชาการ The 5th Advances in Hospitality and Tourism Marketing and Management (AHTMM) ระหว่ า งวั น ที่ 18-21 มิถุนายน 2558 ที่ Ritsumeikan Asia Pacific University (APU) ประเทศญี่ปุ่น โดย ผศ.ดร.คม คัมภิรานนท์ เป็น 1 ใน 5 ของผู้ที่ ได้รับ รางวัลนี้ จากผูน้ ำ� เสนอบทความวิจยั ทัง้ หมดกว่า 90 คน จาก หลากหลายประเทศทั่วโลก


นพรัตน์ทองค�ำ ครั้งที่ 29

นายชั ย วั ฒ น์ พุ ท ธนั น จาก คณะรัฐประศาสนศาตร์ ผู้คว้ารางวัล ชนะเลิศฝ่ายชาย ส่วนฝ่ายหญิง ได้แก่ นางสาวสุ พ รรณี อ่ ว มวงษ์ คณะ นิเทศศาสตร์ สาขา วิทยุกระจายเสียง และโทรทัศน์ โดยทั้งคู่ ได้รับโล่รางวัล เกียรติบัตร พร้อมเข็มนพรัตน์เชิดชู เกี ย รติ ณ ห้ อ งสนม สุ ท ธิ พิ ทั ก ษ์ อาคารสนม สุทธิพิทักษ์ มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์

คว้ารางวัล World Star Packaging Awards 2014 ณ ประเทศบราซิล นางสาววราพร หลักฐาน ภาควิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ คว้า รางวัล World Star Packaging Awards 2014 (รางวัลการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ระดับโลก) ซึ่งปีนี้จัด ณ ประเทศบราซิล เป็นนักศึกษาไทยคนเดียวในประเทศที่ ได้รบั รางวัลในปีนี้ ทัง้ นี้ ทางกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ได้จัด พิธมี อบรางวัลจากท่านอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมอย่าง ยิง่ ใหญ่ พร้อมกับได้แสดงความชืน่ ชมยินดีกบั นักศึกษาเราที่ ได้สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทยอีกครั้ง ณ ไบเทค บางนา

คว้ารองชนะเลิศการแข่งขันตอบปัญหา ทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์ นายณัฐพล ทัดจ�ำปา นางสาวชญาณ์ภา แสนรักษ์ และ นางสาวศิริพร สมพงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากคณะ รัฐประศาสนศาสตร์ ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศ โครงการ GSPA Open House @NIDA ในหัวข้อ “แข่งขันตอบปัญหาด้าน รัฐประศาสนศาสตร์ ครั้งที่ 2” โดยผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ 5 ทีมสุดท้าย จากผู้เข้าแข่งขัน 45 ทีมมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนเพียงแห่งเดียวที่ผ่านเข้ารอบ สุดท้าย ณ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)

DPU MAG | 15


INTER ZONE

5

จานเด็ดจาก เมืองที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุด

“หลายๆท่านคงทราบแล้วว่า “กรุงเทพ” ติดอันดับที่ 2 ในการจัดอันดับ 5 เมืองทีม่ นี ักท่องเทีย่ วมากทีส่ ดุ ในปี 2015 (โดย CNN) ซึ่งปัจจัยทีท่ ำ� ให้นกั ท่อง เที่ ย วจากทั่ ว โลกอยากไปเที่ ย วเมื อ งเหล่ า นี้ มี ม ากมาย เช่ น สถาปั ต ยกรรม ดร.บุศรินทร์ จงเจริญยานนท์ วัฒนธรรม ประเพณีที่น่าสนใจ ธรรมชาติและแน่นอนว่าต้องมีเรื่องของ “อาหาร หั ว หน้ า กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการอาหาร จานเด็ด” ในแต่ละเมืองนั้นด้วย วันนี้ เรามาท�ำความรู้จักกับอาหารจานเด็ดทั้ง คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 5 จาน จากเมืองที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในปี 2015 กันค่ะ…” ลอนดอน, อังกฤษ (18.82 ล้านคน) Fish and chips เป็นอาหารท้องถิ่นของประเทศอังกฤษ ประกอบด้วยปลาทะเลชิ้นโตชุบ แป้งทอดจนเป็นสีหลืองทอง และมันฝรัง่ ทอด อาจจิม้ กับซอสทาทาร์แกล้มด้วยน�ำ้ มะนาวเล็ก น้อย เป็นอาหารที่นิยมสั่งเพื่อน�ำไปรับประทานนอกร้าน (take away) ลองจินตนาการถึง การทาน Fish and chips อุ่นๆ ในสวนชิลๆ ที่ลอนดอน...ฟินใช่มั้ยหละจ๊ะ กรุงเทพฯ, ไทย (18.24 ล้านคน) ผัดไทย อาหารจานเส้นที่นักท่องเที่ยวต้องมาลอง เส้นผัดไทยที่ เหนียวนุ่มผัดกับกุ้งแห้ง ไข่และเต้าหู้ ปรุงรสแบบไทยๆด้วยน�้ำ มะขามเปียก น�้ำปลาและเครื่องปรุงรสต่าง เพิ่มสีสันและคุณค่า ทางอาหารด้วยใบกุ๊ยช่ายและถั่วงอก โรยถั่วลิสงป่นอีกนิดแล้ว ปรุงรสตามใจชอบ น�ำ้ ลายสอมัย้ หละ อาหารจานนีจ้ งึ เป็นทีน่ ยิ ม ของทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ปารีส, ฝรั่งเศส (16.06 ล้านคน) Escargot เจ้าหอยทากเอสคาโก้นี้จัดเป็นเมนูเรียกน�้ำย่อยของชาวฝรั่งเศส สามารถน�ำมาประกอบอาหารได้หลายอย่างเช่น หอยทากอบชีส หอยทากผัด เนยกระเทียมพริกไทย เป็นแหล่งโปรตีนที่หาได้ทั่วไป ทั้งในภัตาคารและร้าน อาหารข้างทางแบบ street food ซึ่งชาวต่างชาติอาจจะไม่คุ้นเคยกับเมนูนี้ แต่ ไปปารีสทั้งที ถ้าไม่ได้ทาน Escargot ก็ถือว่ายังไปไม่ถึงนะคะ

16 | DPU MAG


ดูไบ, สหรัฐอาหรับเอมิเรต (14.26 ล้านคน) Biryani บิรยานี หรือ ข้าวหมก เป็นอาหารหลักของชาวเอมิเรตรวมถึง ประเทศในตะวันออกกลางและอินเดีย ข้าวสีเหลืองส่งกลิน่ หอมจากเครือ่ ง เทศและสมุนไพรนานาชนิด เช่น ขมิ้น ผงกระหรี่ อบเชย ลูกผักชี เป็นต้น รับประทานกับเนือ้ อบ เช่น ไก่ แพะ หรือแกะ ทีห่ มักด้วยเครือ่ งเทศของข้าว หมกเช่นกัน ถ้าจะทานแบบคนท้องถิ่นแท้ๆ ต้องใช้มือเปิบนะคะ อิสตันบูล, ตุรกี (12.56 ล้านคน) Doner kebab โดเนอร์เคบับ ใช้เนื้อปรุงรส เช่น เนื้อแกะ เนื้อวัวหรือเนื้อ ไก่เสียบเรียง และย่างบนแกนหมุนเพือ่ ให้ชนิ้ เนือ้ ได้รบั ความร้อนสม�ำ่ เสมอ จากนั้นแล่บางๆ ใส่ ในแผ่นแป้งคล้ายโรตีหรือใส่ ในขนมปังแซนด์วิช เติม เครื่องเคียง เช่น มะเขือเทศ หัวหอม แตงกวาดอง และพริก กลายเป็น อาหารจานด่วนของชาวตุรกี และหลายประเทศทัว่ โลก ทัง้ สะดวกและมีสาร อาหารมากมาย

“ถ้าได้มีโอกาสไปเที่ยวเมืองเหล่านี้ อย่าลืมไปตามหาจานเด็ดทั้ง 5 จานนี้กันนะคะ” นิวยอร์ค, อเมริกา (12.27 ล้านคน) hamberger สิงคโปร์ (11.88 ล้านคน) ปูผัดพริกลักซา (Laksa) อาหารยอดนิยมของสิงคโปร์ เป็นก๋วยเตี๋ยวต้มย�ำ (ใส่กะทิ) ลักษณะคล้ายข้าวซอยของไทย น�้ำแกงเข้มข้นด้วยรสชาติของกะทิ กุ้งแห้ง และพริก โรยหน้าด้วยกุ้งต้ม หอยแครง ลักชามีหลายประเภททั้งแบบที่ใส่กะทิ กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย (11.12 ล้านคน) นาซิโกเรง ชาก๋วยเตี๋ยว โซล, เกาหลี ใต้ (10.35 ล้านคน) bibimbub ฮ่องกง (8.66 ล้านคน) dimsum DPU MAG | 17


AROUND CAMPUS

อบรมด้านการโรงแรม

ศ.ดร.บุ ญ เสริ ม วี ส กุ ล อธิ ก ารบดี กิ ต ติ คุ ณ พร้ อ ม คณาจารย์จากวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ถ่ายภาพร่วมกับ Mr. Markland Blaiklock ประธานเจ้าหน้า ฝ่ายปฏิบัติการโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา ในงาน ปฐมนิเทศโครงการอบรมในหลักสูตร Centara Management Development Programme (MDP) ณ มหาวิ ท ยาลั ย ธุรกิจบัณฑิตย์

ลงนามความร่วมมือ

รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ อธิก ารบดี พร้ อ มคณะ ผู ้ บ ริ ห าร มหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ ถ่ า ยภาพร่ ว มกั บ Mr.Kousum Bunsoeuth รองผู้ว่าราชการจังหวัดพระวิหาร Mr.Heng Sokhom รองศึกษาธิการจังหวัดพระวิหาร ในงาน พิธีลงนามความร่วมมือ(MOU)ระหว่างมหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์ และ Department of Education, Youth and sport จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา ณ มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์

“Fashion V together The Student Fashion Showcase”

คณะศิลปกรรมศาสตร์ ร่วมกับ 5 มหาวิทยาลัยเครือข่าย ทางการออกแบบแฟชั่นระดับอุดมศึกษา จัดแสดงแฟชั่นโชว์ การออกแบบแฟชั่นในระดับอุดมศึกษา หรือ “Fashion V together The Student Fashion Showcase” ณ Zen Gallery ชั้น 8 Central World

18 | DPU MAG


Google D Day ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ รองอธิการบดีฝ่ายการเงินและ บริ ห าร มหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ พร้ อ มผู ้ บ ริ ห าร มหาวิทยาลัย ถ่ายภาพร่วมกับ คุณศุภธิดา พรหมพยัคฆ์ หัวหน้าโครงการ Google เพื่อการศึกษา บริษัท Google Thailand และ คุ ณ จารุ ณี สิ น ชั ย โรจน์ กุ ล Project Manager บริษัทที่ปรึกษาซีอาร์เอ็ม แอนด์ คลาวด์จ�ำกัด และ Google Certified Teacher เนื่องในงาน Google D Day เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้บุคลากรเปลี่ยนมาใช้ระบบอีเมล ใหม่ ณ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

พิธีมอบป้ายสถาบันขงจื่อเส้นทางสายไหมทางทะเล มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จัดพิธีมอบป้ายสถาบันขงจื่อเส้นทางสายไหมทาง ทะเล โดยได้จัดส�ำนักงาน ณ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เพื่อเป็นศูนย์กลางในการ ประสานงานการเรียนการสอนภาษาจีนให้แก่สถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการ องค์กรภาคเอกชน โดยมี ได้รับเกียรติจาก ดร. ซู หลิน (Xu Lin) ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานใหญ่ฮนั่ ปัน้ ณ กรุงปักกิง่ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นประธานในการมอบ ป้ายสถาบัน

DPU MAG | 19


OPINION

ทีวีไทย ก้าวไกลสู่อาเซียน โดย ผศ.ดร.ทัณฑกานต์ ดวงรัตน์ คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

การเปลี่ยนภูมิทัศน์ ในวงการโทรทัศน์ ของไทยในช่ ว งที่ ผ ่ า นมาท� ำ ให้ มี ก าร เปลีย่ นแปลงทัง้ ในส่วนของผูผ้ ลิตรายการ โทรทัศน์ ไทยและในส่วนของผู้ชม จากที่ ผ่านมาประเทศไทยมีฟรีทีวีอยู่เพียง 6 ช่อง คือ 3,5,7,9,11 และไทยพีบีเอส มา เป็นโทรทัศน์ดจิ ทิ ลั ภาคธุรกิจ 24 ช่อง และ ในปีหน้าจะเกิดโทรทัศน์ดิจิทัลประเภททีวี สาธารณะเพิ่มมาอีก 12 ช่อง ก็ยิ่งท�ำให้ วงการโทรทัศน์ ไทย มีการเปลี่ยนแปลงไป สูภ่ าคการแข่งขันทีจ่ ะดุเดือดมากยิง่ ขึน้ ซึง่ ในขณะนีก้ ็ ได้เห็นภาพแล้วว่ามีหลายช่องที่ ก�ำลังประสบปัญหาการขาดทุนและอาจ ต้องทยอยปิดสถานีลง แต่ในขณะเดียวกัน ช่องทีวดี จิ ทิ ลั หลายช่องก็ประสบผลส�ำเร็จ สามารถดึงผูช้ ม และผูส้ นับสนุนโฆษณาให้ มาสนใจได้มาก และเชื่อว่าจะเป็นช่องที่จะ อยู่คู่กับคนไทยไปอีกนาน ปัจจัยที่ส�ำคัญ ในการที่ทีวีดิจิทัลจะ สามารถเข้าถึงผู้ชมและผู้สนับสนุนที่ซื้อ โฆษณาสนใจ คือ เนื้อหารายการและการ สร้างสรรค์รายการที่มีคุณค่า และการ สร้างประสบการณ์ ใหม่แก่ผู้ชม ซึ่งภายใน ประเทศ องค์ ป ระกอบทั้ ง สองอย่ า ง ได้แสดงผลออกมาเชิงประจักษ์อย่างชัดว่า 20 | DPU MAG

ทีวดี จิ ทิ ลั ทีอ่ ยู่ได้และอยูด่ จี ะมีองค์ประกอบ ทั้งสองอย่างครบถ้วน แต่ ในปีตอ่ ไป ซึง่ ไทยจะเข้าสูก่ ารมีสว่ น เชื่ อ มโยงกั บ ประชาคมอาเซี ย นอย่ า ง สมบูรณ์ ในหลากหลายองค์ประกอบ ทีวี ดิจิทัลของไทยจะเป็นส่วนหนึ่งที่จะเป็นสื่อ ที่สร้างคุณค่า และเม็ดเงินเข้าสู่ประเทศได้ อย่างดี โดยรายการที่จะเป็นตัวชูโรงก็จะ ต้องมีความสมบูรณ์ ทั้งเนื้อหาและความ คิดสร้างสรรค์ แค่องค์ประกอบที่ส�ำคัญ ต่ อ มาคื อ การหลอมรวมองค์ ป ระกอบ หลากหลายด้าน อาทิ ความรู้แบบสากล ประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิต ความแปลก ใหม่ ความงดงาม ฯลฯ ซึ่งผู้ผลิตรายการ จะต้ อ งน� ำ องค์ ป ระกอบที่ มี มุ ม มองแบบ สากลเหล่านีม้ าหลอมรวมและน�ำเสนอผ่าน รายการทีวี ให้มวลชนทีม่ คี วามหลากหลาย ทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม สามารถรับชมได้โดยไม่เกิดอคติตอ่ เนือ้ หา ซึ่งโจทย์นี้ จะเป็นโจทย์ที่ผู้ผลิตรายการ จะต้องตีโจทย์ ให้ได้ ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่ามี ภาพยนตร์ ไทยทีส่ ามารถตีโจทย์แตก โดย น�ำความเชื่อเรื่องผีของภูมิภาคนี้ มาท�ำให้ เป็นเรือ่ งราวของความรักแบบสนุกสนานจน สามารถท�ำรายได้นบั พันล้าน ในการฉายใน

กลุม่ ประเทศอาเซียนนัน่ คือ คือ ภาพยนตร์ เรื่อง “พี่มากพระโขนง” จากตัวอย่างนี้จะ เห็นได้ว่า หากผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ไทย ได้คดิ และน�ำเสนอรายการทีม่ อี งค์ประกอบ ที่ ได้ ใช้ความสร้างสรรค์ ให้เนื้อหาออกมา แบบที่คนในสังคมที่หลากหลายสามารถ รับชมได้ การที่คนไทยจะเป็นผู้ผลิตที่มีชื่อ เสียงในระดับอาเซียนก็ ไม่ ใช่เรื่องที่ ไกลตัว อีกต่อไป ในอนาคตอันใกล้นี้ คนที่จะก้าวเข้ามา มี ส ่ ว นในวงการนิ เ ทศศาสตร์ ข องไทย จะกลายเป็ น คนที่ เ ห็ น กลไก ในการ “ขายชาติ” ด้านสื่อโทรทัศน์ของไทย เพื่อ ท� ำ ให้ ก ารขายชาติ ผ ่ า นเนื้ อ หาดี ๆ ทาง โทรทัศน์ ในครั้งนี้ น�ำพาเราไปสู่การเป็น ผู ้ น� ำ ในกลุ ่ ม อาเซียนได้อีกทางนึงไม่แพ้ คนในวงการอืน่ ๆ เลย


วิชาชีพบัญชี: การเตรียมพร้อมรับมือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดย ดร.พัทธนันท์ เพชรเชิดชู คณบดีคณะการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

การรวมตัวของ 10 ประเทศ ในการ เป็นประชาคมอาเซียน (Asean Community) จะมีผลเป็นรูปธรรม ในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 การจับมือการอย่างเหนียวแน่น ครั้ ง นี้ จ ะเป็ น การสร้ า งฐานก� ำ ลั ง ทาง เศรษฐกิจให้กับภูมิภาค โดยผ่าน 1 ใน 3 ในเสาหลั ก คื อ ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน (Asean Economic community) ซึ่งระบุถึงการมีตลาดและฐานการผลิ ตร่วมกัน และจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมี ฝี มื อ อย่ า งเสรี ผลของการรวมตั ว ทาง เศรษฐกิ จ นี้ จ ะสร้ า งการเปลี่ ย นแปลง ส�ำคัญที่น่าจับตามองต่อระบบเศรษฐกิจ ของโลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งนี้ มีการ คาดการณ์กนั ว่าผลของการเปลีย่ นแปลง จะเห็นได้ชัดเจนในอีก 2-3 ปีข้างหน้า ปัจจุบัน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มี จ� ำ นวนประเทศ 10 ประเทศ และมี ประชากรประมาณ 500 ล้านคน แต่ ใน อนาคตข้างหน้า มีแนวโน้มที่จะขยายเป็น Asean+3 โดยรวม จีน เกาหลี ใต้ และ ญี่ปุ่น และ Asean+6 ซึ่งประกอบด้วย จีน เกาหลี ใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย ดังนั้น จะเห็นได้ว่าฐานก�ำลัง ทางเศรษฐกิ จ ที่ ก� ำ ลั ง ขยายใหญ่ ขึ้ น ใน อนาคต จะมีผลต่อความเติบโตของการ เคลือ่ นย้ายบริการ ซึง่ รวมถึงวิชาชีพบัญชี วิ ช าชี พ บั ญ ชี เป็ น หนึ่ ง ในวิ ช าชี พ บริการที่สามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี ตามที่ระบุในข้อตกลงยอมรับร่วมในเรื่อง คุณสมบัติของนักวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition Arrange-

ments: MRAs) ของวิชาชีพทั้ง 7 สาขา อันได้แก่ วิศวกรรม พยาบาล สถาปัตยกรรม การส�ำรวจ แพทย์ ทันตแพทย์และนักบัญชี ทั้ ง นี้ สภาวิ ช าชี พ บั ญ ชี ในพระบรม ราชู ป ถั ม ภ์ ได้ ส รุ ป ประเด็ น ส� ำ คั ญ ของ MRAs ส�ำหรับวิชาชีพบัญชี เพื่อให้นัก วิชาชีพบัญชี ไทยเตรียมพร้อมเพือ่ รองรับ ประชาคมอาเซียนไว้ โดยสามารถสรุป ประเด็นส�ำคัญได้ดังนี้ ขอบเขตงานบริ ก ารบั ญ ชี ภ ายใต้ MRAs ส�ำหรับวิชาชีพบัญชี ครอบคลุม งานบริการทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับบัญชี แต่ ไม่รวมถึงการลงนามในรายงานของผู้ สอบบัญชีรับอนุญาตและการให้บริการ ทางบั ญ ชี อ่ื น ที่ ต ้ อ งมี ใ บอนุ ญ าตภายใน ประเทศ อาชีพทีส่ ามารถปฏิบตั งิ านได้ภาย ใต้ MRAs ตัวอย่างเช่น งานผูช้ ว่ ยนักบัญชี งานเจ้ า หน้ า ที่ ก ารเงิ น งานตรวจสอบ ภายใน งานบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง งานวิเคราะห์และจัดท�ำข้อมูล งานด้านที่ ปรึกษาธุรกิจ งานด้านการศึกษา เป็นต้น MRAs ส�ำหรับวิชาชีพบัญชี ได้ระบุ คุ ณ สมบั ติ ข องผู ้ ป ระกอบวชิ า ชี พ บั ญ ชี อาเซียน 5 ข้อ ว่า 1) ต้องส�ำเร็จการศึกษา ระดั บ ปริ ญ ญาตรี บั ญ ชี หรื อ ผ่ า นการ ทดสอบในหลักสูตรที่ ได้รับการยอมรับใน องค์กรวิชาชีพในประเทศแหล่งก�ำเนิด 2) มีการขื้นทะเบียนหรือมี ใบอนุญาตที่ยังไม่ สิ้ น ผลในปั จ จุ บั น เพื่ อ ประกอบวิ ช าชี พ บัญชี ในประเทศแหล่งก�ำเนิด ซึ่งออกให้ โ ด ย อ ง ค ์ ก ร วิ ช า ชี พ บั ญ ชี 3 ) มี ประสบการณ์ ในด้านที่เกี่ยวข้องไม่น้อย กว่า 3 ปี และสะสมได้ภายในระยะเวลา 5

ปี ห ลั ง จากที่ มี คุ ณ สมบั ติ ท างด้ า นการ ศึกษา ตามที่กล่าวในข้อ (1) 4) ปฏิบัติ สอดคล้องตามนโยบายการพัฒนาทาง วิชาชีพอย่างต่อเนือ่ ง (CPD) ของประเทศ แหล่ ง ก� ำ เนิ ด 5) ได้ รั บ ใบรั บ รองจาก องค์กรวิชาชาชีพบัญชี ของประเทศแหล่ง ก�ำเนิดและไม่มปี ระวัตกิ ารกระท�ำ ผิดอย่าง ร้ายแรงในด้านเทคนิค มาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณระดับท้องถิน่ และระหว่าง ประเทศในการประกอบวิ ช าชี พ บั ญ ชี ส�ำหรับในประเทศไทยนั้น องคก์รวิชาชีพ ชีพบัญชีหมายความรวมถึง สภาวิชาชีพ บั ญ ชี แ ละกรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า กระทรวงพาณิชย์ MRAs ส�ำหรับวิชาชีพบัญชี ยังได้ระบุ ขั้ น ตอนการจดทะเบี ย นเป็ น นั ก บั ญ ชี อาเซี ย น ว่ า ผู ้ มี ค วามประสงค์ จ ะเข้ า ไป ประกอบวิ ช าชี พ บั ญ ชี ใ นแต่ ล ะประเทศ ต้องผ่านการประเมินจากคณะกรรมการ ก�ำกับดูแล (Monitoring Committee) ในประเทศนั้นๆ และการด�ำเนินงานในส่วน ของอาเซียนจะอยูภ่ ายใต้การดูแลของของ คณะกรรมการประสานงานด้านวิชาชีพ บั ญ ชี อ าเซี ย น (ASEAN Chartered Professional Accountant Coordinating Committee – ACPACC) ทั้งนี้ ในการ เข้าไปประกอบวิชาชีพบัญชี ในต่างประเทศ นัน้ นอกจากการทีผ่ ปู้ ระกอบวิชาชีพบัญชี จะต้องปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ กฎหมาย ต่างๆภายในประเทศนั้นๆ แล้ว ยังต้อง รักษากฎ ระเบียบ การเป็ นผู้ประกอบ วิชาชีพบัญชีภายในประเทศไทยอีกด้วย แหล่งข้อมูลอ้างอิง www.fap.or.th DPU MAG | 21


EDUCATION LIFE

ทุนเรียนฟรี มีทั่วโลก หากคุณ ....มีฝันและต้องการชีวิตที่แตกต่างไปจากเดิมคุณลอง​มองหา.. โอกาสในการเปลี่ยนแปลงตนเองโดยการหาทุนไปเรียนต่อต่างประเทศดูสิ หลายคนปฎิเสธฝันและปิดโอกาสตัวเองในการไปเรียนต่อต่างประเทศ เพราะกังวล กับค่าใช้จ่ายที่สูงปรี๊ด แต่ทว่าการเรียนต่อต่างประเทศก็ยังคงเป็นความใฝ่ฝันของ หลายๆ คน เพราะนัน่ หมายถึงประสบการณ์อนั ล�ำ้ ค่าทีจ่ ะได้รบั อย่างไรก็ตาม การไป เรียนต่อต่างประเทศจะต้องแลกมาด้วยค่าเทอมแพงๆ เสมอไป เพราะ... “ทุนเรียนฟรี ก็มที วั่ โลก” Education Life วันนีจ้ ะมาแนะน�ำให้รจู้ กั กับทุนใน 3 ประเทศทีค่ นไทยสนใจ และนิยมไปศึกษาต่อเป็นจ�ำนวนมาก มาดูกนั ค่ะ

โดยเฉลีย่ ทุนละ 1,830,000 บาท เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่เมืองแพซาดีนา รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1891 มีทั้งหมด 6 คณะ ได้แก่ ชีววิทยา เคมีและวิศวกรรมเคมี วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ธรณีวิทยาและ วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ฟิสกิ ส์ คณิตศาสตร์และ ดาราศาสตร์ และหลักสูตรสหวิทยาการ คุณสมบัตผิ สู้ มัคร: วุฒกิ ารศึกษา IGCSE, O, AS, A Level หรือเทียบเท่า ผลสอบ TOEFL และ GRE พร้อมผลสอบ SAT/ 1. ทุน ป. ตรี จาก สถาบันเทคโนโลยี ACT จดหมายรับรองอย่างน้อย 3 ฉบับ แคลิ ฟ อร์ เ นี ย (California Institute หรือผลงานวิจยั (ภาษาอังกฤษ) ค่าใช้จา่ ย of Technology) หรือ CalTech ประเทศ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี : ค่าเล่า สหรัฐอเมริกา เรียน 38,080 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ

22 | DPU MAG

อ.ดร.อสมา มาตยาบุญ อาจารย์ประจ�ำศูนย์น�ำความรู้สู่การปฏิบัติ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

1,180,500 บาท) เมื่อรวมค่าธรรมเนียม นักศึกษา และค่าใช้จา่ ยส่วนตัว ประมาณปี ละ 56,382 ดอลลาร์สหรัฐ (1,747,800 บาท) ศึ ก ษารายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ : www.caltech.edu


2. ทุน ป.ตรี จาก University of Oxford สหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศ มีอายุกว่า 800 ปี ตั้งอยู่ที่ จัตุรัสเวลล์ ลิ ง ตั น เมื อ งออกซ์ ฟ อร์ ด เปิ ด สอน 4 ภาควิชา คือ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การแพทย์ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ กายภาพและวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิต และ สังคมศาสตร์ คุณสมบัติผู้สมัคร: จบการ

ศึ ก ษาระดั บ มั ธ ยมปลายด้ ว ยหลั ก สู ต ร A-Level หรือ IB เท่านั้น โดยทางผู้สมัคร ต้องท�ำการสมัครเข้าเรียนก่อนวันที่ 15 ตุลาคม สามารถสมัครขอรับทุนได้ต้ังแต่ เดื อ นธั น วาคม เป็ น ต้ น ไป ถึ ง เดื อ น กุมภาพันธ์ 2559 ค่าใช้จา่ ยของนักศึกษา ระดั บ ปริ ญ ญาตรี : 9400 ปอนต่ อ ปี (502,895.03บาท) ถ้าเป็นคณะบัญชี แพทย์ วิทยาศาสตร์ จะแพงกว่า 600 -2000 ปอน (32,099.68106,998.94บาท) ศึกษารายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.ox.ac.uk/

3. ทุน ป. ตรี จาก National University of Singapore (NUS) ประเทศสิงคโปร์ เป็นประเทศในประชาคมอาเชียนที่ มีระบบการศึกษาที่อยู่ ในล�ำดับต้นๆของ โลก ทางมหาวิทยาลัยประกาศมอบทุนการ ศึกษาให้นกั ศึกษาต่างชาติโครงการ ASEAN Undergraduate Scholarship (AUS) โดยจะมอบทุนให้จำ� นวน 2 ทุน โดย ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทัง้ หมด แถมยังมีคา่ ใช้จ่ายรายปี ราวๆปีละ 5,800 ดอลลาร์ สิงคโปร์ (ประมาณ 150,000 บาท) ให้อกี ด้วย คุณสมบัตขิ องสมัคร : จบการศึกษา

ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (หรือก�ำลังจะ จบ) และต้องมีผลคะแนนสอบ SAT ส�ำหรับ ผูท้ เี่ รียนในไทย หลักสูตรมัธยม ต้องใช้ผล สอบ SAT 1 (Critical Reading 600 คะแนน, Writing 600 คะแนน, Mathematics 650 คะแนน)และ SAT เฉพาะ 3 วิชา ได้แก่ Mathematics ระดับ 2 และ วิชาอื่นๆก็ ได้ (ยกเว้น Math 1 นั่นเอง) ผูท้ สี่ นใจสมัครรับทุน ให้สมัครเข้าเรียนกับ ทางมหาวิทยาลัย National University of Singapore ก่อนที่ www.nus.edu.sg หลังจากนั้นจะเข้าสู่ระบบคัดเลือกทุนโดย

อัตโนมัติ ใครที่สนใจ ก็สามารถเริ่มสมัคร ได้เลย พร้อมกับดูรายละเอียดเพิ่มเติม ของทุนได้ที่ www.nus.edu.sg/oam/ scholarships หากน้ อ งๆ คนไหนสนใจ และมี คุณสมบัตคิ รบตามทีก่ ำ� หนดไว้ ลองเข้าไป ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมที่เว็บไซด์ของ แต่ละมหาวิทยาลัย แล้วสมัครได้เลยค่ะ ประสบการณ์ชีวิตอันล�้ำค่ารอน้องๆ อยู่ เราต้องขวนขวายไปหา แล้วความส�ำเร็จก็ เกิดขึ้นกับเราค่ะ Go Go….

DPU MAG | 23


GRADUATE

M.B.A. “ธุรกิจอาเซียน” ปั้นนักธุรกิจไทยรับมือตลาดอาเซียน เตรียมตัวนับถอยหลัง เมือ่ ประเทศไทย ก�ำลังก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ในวันที่ 31 ธั น วาคม 2558 หลั ง จากนั้ น ประเทศ สมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ จะก้าวเข้า สู่การรวมตัวกันเป็นประชาคมอาเซียน อย่างสมบูรณ์ ภายใต้ขอ้ ตกลง 3 เสาหลัก คือ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้ การเปลี่ยนแปลงย่อมเกิด ขึ้นในหลายๆ ด้าน ประเทศไทยเองจ�ำเป็น ต้องมีการเตรียมความพร้อมและพัฒนา ศั ก ยภาพให้ ทั ด เที ย มกั บ นานาประเทศ มหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ ในฐานะ สถาบั น การศึ ก ษาได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความ ส�ำคัญในการสร้างนักธุรกิจ จึงเปิดการ เรี ย นการสอนในระดั บ ปริ ญ ญาโท หลักสูตร “ธุรกิจอาเซียน” เพื่อรองรับ ตลาดอาเซียนได้อย่างมืออาชีพ ผศ.ดร.ธีรศักดิ์ กัญจนพงศ์ ผูอ้ ำ� นวย การหลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาธุรกิจอาเซียน ได้กล่าวถึงการ ผศ.ดร.ธีรศักดิ์ กัญจนพงศ์

ผู้อ�ำนวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจอาเซียน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

24 | DPU MAG

เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรนี้ เพื่อ ตระหนักถึงผลกระทบจากการเกิดขึน้ ของ ประชาคมอาเซียน ที่มีต่อภาคธุรกิจ “หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิ ช าธุ ร กิ จ อาเซี ย น หรื อ M.B.A. (ASEAN Business) เปิดการเรียนการ สอนมาตั้งแต่ปี 2554 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ ประเทศไทยเริ่มตื่นตัวและให้ความส�ำคัญ กั บ การเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น จึ ง ได้ ออกแบบหลักสูตร ที่เน้นการบูรณาการ ระหว่างสาขาวิชาการด้านบริหารธุรกิจและ สาขาวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับประชาคม อาเซียน และ อาเซียน + 6 ได้แก่ เกาหลี ใต้ จี น ญี่ ปุ ่ น อิ น เดี ย นิ ว ซี แ ลนด์ และ ออสเตรเลีย เพื่ออธิบายเกี่ยวกับโอกาส ทางการค้าและการลงทุนที่จะเกิดขึ้น” ผศ.ดร.ธีรศักดิ์ ได้กล่าวเสริมถึงจุด เด่ น ของหลั ก สู ต รธุ ร กิ จ อาเซี ย น ดั ง นี้ Asian perspective: มีการเรียนการ สอนทีจ่ ะช่วยให้คณ ุ เข้าใจมุมมองธุรกิจทัง้ ในประเทศไทย และประเทศสมาชิก ASEAN + 6 พร้อมโอกาสศึกษาดูงานทัง้ ในและ ต่างประเทศ Progressive education: มีรายวิชาทีท่ นั สมัยและระบบการเรียนการ สอนสมัยใหม่ เน้นการสร้างความรู้ความ เข้ า ใจและการประยุ ก ต์ ใช้ สอนโดย คณาจารย์และวิทยากรที่เชี่ยวชาญด้าน


การท�ำธุรกิจในประเทศสมาชิก ASEAN + 6 Work-life balance: มีแผนการเรียนที่ เหมาะกับ Life style ของคนรุ่นใหม่วัย ท�ำงาน เรียนเฉพาะวันเสาร์ เพียง 1 วัน/ สัปดาห์ ผสานกับการเรียนผ่านทางสื่อ ออนไลน์ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ ได้ทุกที่ ทุกเวลา High service quality: มีระบบดูแลผูเ้ รียนอย่างใกล้ชดิ และเป็นกันเองผ่านทางสือ่ ออนไลน์ มีระบบ การลงทะเบี ย น online ที่ ทั น สมั ย และ รวดเร็ว และ Supportive learning environments: สนับสนุนให้ผู้เรียน สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกัน อยู่ร่วม กันอย่างกัลยาณมิตร มีห้องสมุดที่ทัน สมัยและถึงพร้อมด้วย online database ทางด้านบริหารธุรกิจ “ทางหลักสูตรได้ ให้ความส�ำคัญใน คุณภาพของอาจารย์ผู้สอน ซึ่งอาจารย์ ทุกท่านมีศักยภาพ และมีความเชี่ยวชาญ เฉพาะทาง อีกทั้งยังมีการเชิญวิทยากรที่ มีชอื่ เสียง มีประสบการณ์ทางวิชาชีพ และ มีความเชี่ยวชาญด้านธุรกิจอาเซียนมา

ร่วมบรรยายในแต่ละรายวิชาด้วย เพื่อ ต้องการให้ผเู้ รียนได้รบั ข้อมูลทีเ่ ป็นจริงทัง้ เชิงรุกและเชิงรับในทางธุรกิจจากวิทยากร ที่มีประสบการณ์” นอกจากนี้ยังได้เสริมความแข็งแกร่ง ของหลั ก สู ต รด้ ว ยการร่ ว มมื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ทุ ก ประเทศในกลุ ่ ม อาเซียน เช่น University of Padjadjaran ประเทศอินโดนีเซีย, Universiti Malaysia Terengganu ประเทศมาเลเซีย เป็นต้น ปัจจุบันมีนักศึกษาจากต่างชาติ เช่น จีน และกัมพูชา ให้ความสนใจมาลงทะเบียน เรียนกันมากขึ้น เป็นอีกหนึ่งหลักสูตรที่เน้นการสร้าง นักธุรกิจและผู้บริหารมืออาชีพ ที่พร้อม แสดงศั ก ยภาพในการบริ ห ารธุ ร กิ จ ใน บริ บ ทของประชาคมอาเซี ย นได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ และสามารถต่อยอดการ พัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน พร้ อ มที่ จ ะเป็ น ผู ้ น� ำ ในการพั ฒ นาภาค ธุรกิจหลักของประเทศต่อไป

DPU MAG | 25


ON THE WAY

เปิดโลกกว้าง ตะลุ ย อาเซี ย น ท่องเที่ยว..เรียนรู้..วัฒนธรรม Hello Everybody ^^ ขอทักทาย ชาว DPU MAG แบบ Inter สักหน่อย ส�ำหรับคอลัมน์ On the Way ฉบับนีย้ งั คง เกาะกระแสอาเซียนแบบเหนียวแน่นหนึบ เพราะมี โครงการดีๆ ของมหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์มาเล่าให้ฟัง โครงการที่ ว ่ า ก็ คื อ “โครงการท่ อ ง เที่ยวเชิงสร้างสรรค์ สัมผัสภูมิปัญญา อาเซียน” (Backpack to ASEAN) เป็น โครงการที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ด� ำ เ นิ น ก า ร ต ่ อ เ นื่ อ ง ม า ป ี ตั้ ง แ ต ่ ป ี พ.ศ.2556 โดยมีวัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ นักศึกษาได้ออกไปเรียนรู้วัฒนธรรม วิถี ชีวิตชุมชนในกลุ่มประเทศอาเซียน รู้จัก การใช้ชีวิต การเอาตัวรอด และกล้าที่จะใช้ ภาษาต่ า งประเทศในการสื่ อ สาร ซึ่ ง ให้ นั ก ศึ ก ษาที่ ส นใจรวมที ม ที ม ละ 4 คน มาเสนอแผนการท่องเที่ยวใน 10 ประเทศ อาเซียน โดยทีมที่ได้รบั คัดเลือกจะได้รบั ทุน สนับสนุนการเดินทางทีมละ 20,000 บาท โดยในปี ที่ ผ ่ า นมามหาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด โครงการ Backpack to ASEAN รุ่นที่ 3 ซึ่งมีนักศึกษาเข้าร่วมสมัครกว่า 25 ทีม 26 | DPU MAG


ท�ำให้รวู้ า่ ภาษาจีนเป็นภาษาทีส่ ำ� คัญ เพราะ

“ไห่เหวิน” นายจารุเกียรติ์ ศรีสวุ รรณ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะเศรษฐศาสตร์ ตั ว แทน “ที ม ปั น นา ปั น ใจ” หนึ่ ง ในที ม นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าว เล่า ว่า การเดินทางท่องประเทศอาเซียนครัง้ นี้ พวกเราเลื อ กไปเมื อ งสิ บ สองปั น นา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เพราะคิด ว่าเป็นการเดินทางที่ท้าทาย พวกเราทุก คนในกลุ่มไม่ ได้เก่งภาษาอังกฤษและพูด ภาษาจีนไม่ได้เลย แต่ก็ ไม่ได้ท�ำให้พวกเรา ท้อหรือกลัวที่จะเดินทางไป “ก่อนเดินทางพวกผมได้เตรียมตัวใน การศึ ก ษาข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ประเทศจี น หั ด พู ด ประโยคสนทนาภาษาจี น ใน สถานการณ์ต่างๆ ไว้พร้อมรวบรวมท�ำ เป็นข้อมูลแบบพกพา แต่ปรากฎว่าพวก เราท�ำคู่มือข้อมูลที่ท�ำมาหาย เลยต้องแก้ ปั ญ หาเฉพาะ เรี ย นรู ้ ก ารเอาตั ว รอด โดยการใช้ภาษากาย ใช้แอพพลิเคชัน่ แปล ภาษา และปรึ ก ษากั บ อาจารย์ ค นจี น ที่ มหาวิทยาลัยผ่านโปรแกรม Line ซึ่งท�ำให้ พวกเราสามารถเอาตัวรอดได้ตลอดทริป ทางเดินทาง” ไห่เหวิน เล่าประสบการณ์ต่ออย่าง สนุกสนานว่า ระหว่างการเดินทางได้เห็น ถึ ง ข้ อ แตกต่ า งด้ า นเศรษฐกิ จ การ คมนาคม การศึกษา วัฒนธรรมการใช้ชวี ติ ของคนจีนกับคนไทย คนจีนจะดูเคร่งขรึม สี ห น้ า ดู จ ริ ง จั ง แต่ ค นไทยจะยิ้ ม แย้ ม ดู เป็นมิตร นอกจากนี้การเดินทางครั้งนี้

ประชากรจีนมีมากกว่า 1000 ล้านคน และ เมื่อรวมคนที่ ใช้ ภาษาจีนทั่วโลก มีเกือบ 1 ใน 4 ของคนทัง้ โลก และประเทศจีนเองก็มี เศรษฐกิจที่เติบโตอย่างรวดเร็ว และมีการ ติดต่อค้าขายกับทัว่ โลกมากขึน้ ดังนัน้ การ รู้ภาษาจีนจะท�ำให้ได้เปรียบในการติดต่อ ค้ า ขายกั บ จี น และการท� ำ งานต่ อ ไปใน อนาคต “เมือ่ โอกาสมาถึงต้องรีบคว้า จงอย่า กลั ว ที่ จ ะออกนอกกรอบไปเรี ย นรู ้ โ ลก กว้าง เรียนรู้วัฒนธรรมการเป็นอยู่ของ ประเทศเพื่อนบ้าน ที่ก�ำลังเข้ามามีบทบาท อย่างมากในการเปลีย่ นแปลงชีวติ และการ พัฒนาของบ้านเมืองเราในอนาคต ส�ำหรับ ผมการเดินทางครั้งนี้เสมือนการผจญภัย ได้ ท ่ อ งเที่ ย ว ได้ เ รี ย นรู ้ ห ลายๆ อย่ า ง มากมาย ถือเป็นประสบการณ์และเป็น ก�ำไรชีวิตครับ” ด้านสาวตากลม “ปี ใหม่” นางสาว ศศิธร จ�ำปาเทศ นักศึกษาสาวชั้นปีที่ 4 สาขาวารสารศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ ตัวแทนจากทีม 2DLTR เล่าว่า พวกเรา เลือกเดินทางไป 2 ประเทศในอาเซียน คือ ประเทศมาเลเซียและสิงค์โปร์ เป็นการเดิน ทางที่ ส นุ ก สนาน มี เ รื่ อ งที่ ต ้ อ งแก้ ไ ข สถานการณ์เฉพาะหน้าอยู่ตลอดเวลา

“ประเทศมาเลเซียและสิงค์โปร์นนั้ จะให้ ความส�ำคัญกับเรื่องระเบียบวินัยสูงมาก เช่น การขึ้นรถเมล์ ที่ประเทศมาเลเซีย เขา จะรู้กันอัตโนมัติเลยว่าต้องขึ้นประตูหน้า และลงประตูหลัง โดยทุกคนจะปฏิบัติตาม อย่างเคร่งครัด ส่วนที่ประเทศสิงค์ โปร์ ผู้คนจะเน้นท�ำทุกอย่างตามหน้าที่ตามวิถี ของตน การเดินทางครัง้ นี้ ได้ประสบการณ์ มากมาย ได้เรียนรูภ้ าษา ได้ทกั ษะในการใช้ ชีวิตและการเอาตัวรอด” เป็ น อี ก หนึ่ ง โครงการเพื่ อ เปิ ด ประสบการณ์ ให้แก่นักศึกษา ได้ท่องเที่ยว เรียนรู้วิถีสังคมเชิงวัฒนธรรมของเหล่า ประเทศสมาชิกอาเซียน โครงการดีๆ แบบ นี้ แ อบกระซิ บ ว่ า จั ด ขึ้ น อี ก แน่ น อนจ้ า ส�ำหรับใครที่สนใจก็เตรียมตัวเก็บเสื้อผ้า ยัดใส่เป้แล้วไปเทีย่ วด้วยกัน...Inter Zone ฉบับหน้า จะเป็นเรื่องอะไร ต้องติดตามค่ะ Bye Bye

DPU MAG | 27



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.