การบริโภคเนื้อสัตว์ในทัศนะพุทธจริยศาสตร์ฝ่ายมหายานและเถรวาท

Page 1

การบริโภคเนือ้ สัตว์ ในทัศนะพุทธจริยศาสตร์ ฝ่ายมหายานและเถรวาท บทนา ในปัจจุบันจะว่าไปแล้วการทานมังสาวิรัติก็ยังเป็นที่สนใจของพุทธศาสนิกชนทั่วไปอยู่มาก อีกทั้งพุทธ ศาสนาเองก็มีความเชื่อที่ว่ามนุษย์และสัตว์นั้นเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีจิตวิญญาณ แต่พืชเป็นสิ่งมีชีวิต เหมือนกันแต่ไม่มี จิตวิญญาณ แต่ยังไงก็ตามถึงจะเชื่อแบบนี้ทางศาสนาเองก็อ าจจะดู ยังไม่มีท่าทีที่ชัดเจนเกี่ยวกับปัญหาการ บริโภคเนื้อสัตว์ ซึ่งปัญหานี้สามารถตีความได้หรือไม่ว่าเป็นการสนับสนุนให้มีการฆ่าสัตว์ ถ้าคาตอบคือ “ใช่ ” คาถามที่ตามมาก็คือ ทาไมพุทธศาสนาจึงมีคาสอน 2 อย่างที่ขัดแย้งกัน คาสอนแรกคือ “หลักปาณาติ บาต” ยืนยัน ว่าไม่ควรฆ่าสัตว์ แต่ในพระไตรปิฎกของฝ่ายเถรวาท มีข้อความบางตอนที่ระบุว่า “แม้พระพุทธเจ้าเองก็ ทรงฉัน เนือ้ สัตว์ และมี ขอ้ ความว่าทรงอนุญาตให้พระภิ กษุ(รวมทัง้ ภิ กษุณี สามเณร และสามเณรี ดว้ ย)ฉันเนือ้ สัตว์และเนือ้ ปลาได้” ข้อความเหล่านี้อาจทาให้เกิดปัญหาได้ว่า ทาไมพุทธศาสนาที่สอนเรื่องความเมตตากรุณาจึงไม่สอนว่า “การบริ โภคเนือ้ สัตว์ เป็ นบาป” ทาไมพระภิกษุในพุทธศาสนาที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้นจึงยังฉัน เนื้ อ สั ต ว์อ ยู่ ท่ า นน่ า จะทราบว่ า การที่พ ระภิ กษุ ย อมรั บเนื้ อ สั ต ว์ย่ อ มเป็น สาเหตุ ใ ห้ มีก ารฆ่ าสั ต ว์เ พื่ อ ปรุ งเป็ น ภัตตาหารมาถวาย ฝ่ายเถรวาทนั้นค่อนข้างยืนยันชัดเจนว่าการที่พระภิกษุหรื อคฤหัสถ์ชาวพุทธบริโภคเนื้อสัตว์ เป็นคนละเรื่องกับการฆ่าสัตว์ ถ้าฆ่าสัตว์บริโภคเองต้องถือว่าบาป แต่การบริโภคเนื้อสัตว์ที่ตนไม่ได้ฆ่า ไม่จาเป็นที่ เราจะต้องรับผิดชอบในทางศีลธรรม เหตุผลของฝ่ายเถรวาทนี้ ฝ่ายมหายานไม่อ าจรับได้ เพราะฝ่ายมหายาน ตีความว่า การที่ คนบริ โภคเนื้อ สัต ว์ย่อ มเป็น ปัจ จัย ก่อ ให้ เกิ ดการฆ่า สัต ว์ ดั งนั้ นผู้ บริ โภคเนื้อ สัต ว์จ ะปั ดความ รับผิดชอบทางศีลธรรมโดยอ้างว่าเนื้อนั้นตนไม่ได้ฆ่าไม่ได้ เพราะการบริโภคของท่านเป็นปัจจัยให้เกิดการฆ่า ถ้า เช่นนั้นท่านก็ต้องรับผิดชอบในความผิดที่เกิดขึ้นนี้ด้วย งานเขียนนี้ มีขอบข่ายเนื้อหาที่จะศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคเนื้อสัตว์ในพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน และเถรวาท รวมทั้งเสนอแนวทางสายกลางสาหรับการบริโภคเนื้อสัตว์ ดังจะได้นาเสนอประเด็นต่างๆ เพื่อการ แสวงหาคาตอบ ในลาดับถัดจากนี้ไป

-1-


ทัศนะเรื่ องการไม่ บริโภคเนือ้ สัตว์ ในฝ่ ายมหายาน ในพุทธศาสนาฝ่ายมหายานนั้น มีการกาหนดสิกขาบทสาหรับ พระโพธิสัตว์ ไว้เพิ่มเติม นอกเหนือ จาก สิกขาบทในพระปาฏิโมกข์ เรียกว่า “โพธิสัตวมรรค” พุทธบริษัทในฝ่ายมหายานผู้ประพฤติตนเป็น พระโพธิสัตว์ ล้วนยึดถือหลักการนี้ สิกขาบทพระโพธิสัตว์ที่เรียกว่าโพธิสัตวมรรคจาแนกออกเป็นครุกาบัติ 10 ข้อ และลหุกาบัติ 48 ข้อ โดยในลหุกาบัตินั้น มีสิกขาบทห้ามมิให้บริโภคเนื้อสัตว์รวมอยู่ด้วย1 ดังนั้นทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ใน ฝ่ายมหายานผู้ปฏิบัติตนเป็นพระโพธิสัตว์จึงเว้นจากการบริโภคเนื้อสัตว์ทุกชนิด สาหรับแนวคาสอนเรื่องการไม่ บริโภคเนื้อสัตว์นี้ มีกล่าวไว้ในคัมภีร์ลังการวตารสูตร 2 ภาคที่ 8 ซึ่งจะได้ยกเนื้อหาบางส่วนมากล่าวในที่นี้

หลักคาสอนเกี่ยวกับการไม่ บริโภคเนือ้ สัตว์ ในลังกาวตารสูตร หลักคาสอนเรื่องการไม่บริโภคเนื้อสัตว์ของฝ่ายมหายาน มีปรากฏในลังการวตารสูตร ซึ่งถือ เป็นทาง ดาเนินของพระโพธิสัตว์(โพธิสัตวมรรค) หรือเป็นหนทางของท่านผู้ต้องการความบริสุทธิ์ และความหลุดพ้น ดังจะ เห็นจากข้อความในลังกาวตารสูตรว่า “พระพุทธเจ้าซึ่ งเยื อกเย็นไปด้วยพระกรุณา มี พระทัยเต็มเปี ่ ยมไปด้วยความเป็ นที ่พึ่งที ่ป้องกันแก่ดวงใจ ของปวงสัตว์ และมี พระสัมปชัญญะสมบูรณ์ พอที ่จะไม่ปล่อยให้เป็ นความเสื ่อมเสียเกิ ดขึ้ นได้เลย ย่อ มจะทรง บัญญัติเนือ้ ว่าเป็ นสิ่งทีไ่ ม่ควรบริ โภค ดังนัน้ บรรพชิ ตในพุทธศาสนา ผูห้ วังความบริ สทุ ธิ์ จะไม่บริ โภคเนือ้ สัตว์ ใดๆ เลย เพราะว่ามันเป็ นสิ่งทีถ่ ูกเกี ยดกันแล้ว สาหรับท่านผูบ้ ริ สทุ ธิ์ และสาวกของท่าน ในกรณี ที่จะพยายามเพือ่ ความ หลุดพ้นและความตรัสรู้ เพราะฉะนัน้ สาวกผูด้ าเนินตามทางอันสูงส่งยิ่ งนี ้ ทัง้ ครอบครัวลูกหญิ งชายย่อมรู้อย่างเต็ม ใจว่า มันเป็ นสิ่งทีถ่ ูกเกี ยดกันในทุกๆ กรณี ทีพ่ ยายามเพือ่ สมาธิ เพราะฉะนัน้ เนือ้ ทุกๆชนิ ดเป็ นสิ่ งที ่ไม่ควรบริ โภค สาหรับพุทธศาสนิกชนซึ่ งเป็ นผูท้ ีป่ รารถนาจะมี สาธุคณ ุ ในทางจิ ต ทัง้ เพือ่ ตนเองและผูอ้ ื ่น”3 จากข้อ ความดังกล่าวนี้แสดงให้เห็นว่า การบริโ ภคเนื้อสัตว์เป็นการปิดกั้นจิตไม่ให้เป็นสมาธิ และเป็น อุปสรรคต่อ การบรรลุมรรคผล การงดเว้นบริโภคเนื้อ สัตว์นี้ นอกจากจะเป็นทางดาเนินของพระโพธิสัตว์แล้ว ยังเป็นการแสดงถึงความเป็นผู้มีเมตตากรุณาต่อสรรพสัตว์ เพราะพุทธศาสนิกชนฝ่ายมหายานจะเชื่อว่า สัตว์ทุก ตัวตนที่ท่องเที่ยวไปในวัฏสังสาร ถือว่าเป็นพุทธบุตรและเป็นญาติของตนเอง ดังนั้นการบริโภคเนื้อสัตว์เหล่านั้นจึง เท่ากับเป็นการบริโภคเนื้อญาติของตนเองในอดีตชาติ ดังจะเห็นได้จากข้อความที่ปรากฏในลังกาวตารสูตรว่า

1

อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต์.พุทธศาสนามหายาน.(กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,2539),หน้า 239 – 242.

2

ลังกาวตารสูตรมีชื่อเต็มว่า "อารยะสัทธรรมลังกาวตาโรนามหายานสูตร" ไม่ปรากฏชื่อผู้เขียน เป็น 1 ใน 9 คัมภีร์สาคัญของมหายาน เรียกว่า “นวธรรม” หรือบางทีเรียกว่า “เพชรทั้ง 9” เขียนขึ้นในประเทศอินเดีย เป็นภาษาสันสกฤต ประมาณ พ.ศ.893 (ค.ศ.350) มีใจความที่ว่าด้วยเรื่องคาสอนมหายานเกือบ ทั้งหมด บางตานานบอกว่า “เนื้อหาในคัมภีร์นี้ ว่าด้วยหลักคาสอนดั้งเดิมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงในโอกาสพิเศษที่พระพุทธองค์เสด็จไปเกาะลังกา เนื้อหาเป็นบทสนทนาระหว่างพระพุทธเจ้ากับอุบาสกราวนะ และพระโพธิสัตว์มหามติ” 3

Suzuki,D.T.The Lankavatara Sutra.(Delhi : Motilal Banarsidass,1999),pp.213-214.

-2-


“ในวัฏสงสารอันไม่มีใครทราบทีส่ ดุ ในเบือ้ งต้นนี ้ สัตว์ ได้พากันท่องเทีย่ วไปในการเวี ยนว่ายตายเกิ ด ไม่มีแม้สตั ว์ สักตัวเดียวทีใ่ นบางสมัยไม่ เคยเป็ นพ่อ แม่ พี ่น้องชาย พีน่ ้องหญิ ง ลูกชาย ลูกหญิ ง หรื อเครื อญาติ อื่นๆ แก่กัน สัตว์ ตวั เดียวกันย่อมถื อปฏิ สนธิ ในภพต่างๆ เป็ น กวาง หรื อสัตว์ สีเ่ ท้าอื ่นๆ เป็ นนก ฯลฯ ซึ่ งนับว่าเป็ นเครื อญาติ ของเราโดยตรง สาวกแห่งพุทธศาสนาจะทาลงไปได้อย่างไรหนอ จะเป็ นผู้สาเร็ จแล้ว หรื อยังเป็ นสาวกธรรมดาก็ตาม ผู้เห็นอยู่ว่า สัตว์ เหล่านีท้ งั้ หมดเป็ นภราดรของตน แล้วจะเชื อดเนือ้ ของมัน เพราะฉะนัน้ เนือ้ สัตว์ จึงเป็ นสิ่ งทีไ่ ม่ควรกิ นโดยสาวกแห่งพุทธ ศาสนา”1

นอกจากนี้แล้วการที่พุทธสาวกฝ่ายมหายานไม่บริโภคเนื้อสัตว์นั้น ก็เพราะมีคติว่า สัตว์ทุกตัวตนถือว่าเป็น พุทธบุตร และพระองค์ก็มีความเมตตากรุณาต่อสรรพสัตว์หาประมาณมิได้อยู่แล้ว ดังนั้น พระพุทธองค์ย่อมจะไม่ บัญญัติให้สาวกบริโภคเนื้อบุตรของพระองค์เอง ดังจะเห็นได้จากเนื้อความที่ปรากฏในลังกาวตารสูตรว่า “พระตถาคตเจ้าทัง้ หลาย มี สจั ธรรมเป็ นพระกายของพระองค์ ทรงดารงพระชนม์ ชีพอยู่ด้วยสัจธรรม ไม่ ทรงดารงกายด้วยเนือ้ สัตว์ ท่านเหล่านัน้ ไม่เคยเสวยเนือ้ สัตว์อย่างใดๆ เลย พระองค์ทรงเพิกถอนความอยากในโล กิ ยวัตถุได้ทงั้ หมดแล้ว ปราศจากจิ ตอันเป็ นมูลแห่งความทุกข์เต็มเปี ่ ยมด้วยปรี ชาญาณอันไม่ขดั ข้อง ทรงหยัง่ ทราบ ถึงสิ่งทีเ่ ป็ นกุศลและอกุศลทัง้ ปวง พระองค์ทรงมองไปทีส่ รรพสัตว์คล้ายกับบุตรของพระองค์เอง ทรงประกอบด้วย มหากรุณาธิ คณ ุ โดย ทานองเดี ยวกันนี ้ เราตถาคตเห็นสรรพสัตว์ เช่นเดี ยวกับบุตรของเราเอง เราจะบัญญัติให้ สาวกของเราบริ โภคเนือ้ ลูกของเราได้อย่างไรเล่า และเราเองก็จะบริ โภคมันได้อย่างไรเล่า”2 จากเนื้อความตรงนี้ ชี้ให้เห็นว่า การไม่บริโภคเนื้อ สัตว์นั้น มีความจาเป็นและสาคัญอย่างมาก แม้แต่ พระพุทธเจ้าเองก็ไม่ทรงเสวย ในขณะเดียวกันพระองค์ก็ไม่ทรงบั ญญัติให้สาวกบริโภคเนื้อ สัตว์ด้วย แต่อย่างไร ก็ตาม นี้เป็นทัศนะของฝ่ายมหายานอย่างเดียวเท่านั้น พอจะเห็นได้ว่าหลักคาสอนของฝ่ายมหายานเรื่องการไม่บริโภคเนื้อสัตว์นั้น มีจุดมุ่งหมายสูงสุดอยู่ที่ ความ ต้องการให้ทุกคนมีความเมตตากรุณาต่อสรรพสัตว์เป็นที่ตั้ง ซึ่งถือได้ว่าเป็นจุดมุ่งหมายของมหายานนั้นเอง เพราะ ฝ่ายมหายานมุ่งสอนให้ช่วยเหลือคนอื่นพ้นทุกข์ก่อ น ตนเองค่อ ยพ้นทุกข์ทีหลัง เท่ากับเป็นการสอนให้มีความ เมตตากรุณาต่อคนอื่นมากกว่าตนเอง

ความเป็ นมาของการกินเจ คาว่า เจ หรือ ไจ นี้เป็นภาษาจีน เพิ่งมีใช้เมื่อพุทธศาสนามหายานเข้าไปสู่ประเทศจีนแล้ว พุทธศาสนา มหายานได้เข้าสู่ประเทศจีนเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 7 ในสมัยของพระเจ้าฮั่นเม่งเต้แห่งราชวงศ์ฮั่น จนกระทั่ง มาถึงสมั ยของพระเจ้า บู่ตี่แห่ง ราชวงศ์ เหลียง(พ.ศ.1055) พระองค์ทรงมีพระราชศรัท ธาในพุ ทธศาสนาอย่า ง แรงกล้า และเคยออกบวชเป็นหลวงจีนถึง 3 ครั้ง ทรงทานุบารุงพุทธศาสนาเป็นอย่างดี ที่สาคัญคือ พระเจ้าบู่ตี่ 1

Suzuki,D.T.The Lankavatara Sutra.(Delhi : Motilal Banarsidass,1999),pp.212-213. 2 Suzuki,D.T.The Lankavatara Sutra.(Delhi : Motilal Banarsidass,1999),p.219.

-3-


นับว่าเป็นกษัตริย์จีนองค์แรกที่เสวยอาหารมังสวิรัติ และขอให้พระสงฆ์จีนเลิกฉันเนื้อสัตว์ จึงทาให้เกิดประเพณี พระสงฆ์ถือมังสวิรัติตั้งแต่นั้นมา1 และการถือมังสวิรัติของพระสงฆ์จีนนี้ ชาวจีนเรียกว่าประเพณีวัน “ไจ” หมายถึง ระยะเวลาการอดอาหารของภิกษุหลังจากเที่ยงวันไปแล้ว 2 และแปลได้อีกอย่างหนึ่งว่าการถือ อุโบสถ หรือ การ ถือศีล3 นอกจากบรรพชิตในประเทศจีนจะถืออุโบสถ(ถือศีลกินเจ)แล้ว ชาวพุทธในประเทศจีนก็ยังได้ประพฤติ ปฏิบัติตามพระสงฆ์อีกต่อหนึ่ง จนกลายเป็นความเชื่อและการปฏิบัติเกี่ยวกันการบริโภคเจในเวลาต่อมา จะเห็นได้ว่า คาว่า “มังสวิ รัติ” ซึ่งเป็นศัพท์ที่มีอยู่ในสิกขาบทของพระโพธิสัตว์ และเป็นหลักปฏิบัติของ บรรพชิตแต่เดิมนั้น เปลี่ยนเป็นคาว่า “เจ” เมื่อพุทธศาสนามหายานเข้าสู่ประเทศจีนแล้ว ซึ่งมีความหมายถึง การ ถืออุโบสถ หรือระยะการอดอาหารของภิกษุหลังจากเที่ยงวันไปแล้วอีกด้วย ขณะที่หลักคาสอนในลังกาวตารสูตร ภาคที่ 8 จะมีความหมายเฉพาะการไม่บริโภคเนื้อสัตว์เท่านั้น การถือมังสวิรัติ หรือการถืออุโบสถของบรรพชิตใน จีน จึงนับเป็นการนาเอาหลักการหรืออุดมการณ์ของพระโพธิสัตว์ซึ่งมีอยู่ในภาคทฤษฎีมาขยายผลสู่ภาคปฏิบัติ อย่างชัดเจน ดังนั้นคาว่า “เจ” ตามความหมายที่แท้จริงคือการรับประทานอาหารก่อ นเที่ยงวัน ดังเช่นที่ชาวพุทธใน ประเทศไทยถือ “อุโบสถศีล” หรือรักษาศีล 8 จะไม่รับประทานอาหารหลังจากเที่ยงวันไปแล้วนั่นเอง แต่เนื่องจาก การถืออุโบสถศีลของชาวพุทธฝ่ายมหายานไม่บริโภคเนื้อสัตว์ จึงนิยมเรียก “การไม่บริ โภคเนือ้ สัตว์ ” รวมไปกับคา ว่า “กิ นเจ” ซึ่ งเป็นการถื อศีลไปด้วย สาหรับ ในปัจจุบันผู้ที่รั บประทานอาหารทั้ง 3 มื้ อ แต่ไม่บริ โภคเนื้อ สัต ว์ ก็ยังคงเรียกว่า “กิ นเจ” ด้วยเช่นกัน4

ทัศนะเกี่ยวกับการบริโภคเนือ้ สัตว์ ในฝ่ ายเถรวาท ในพระไตรปิฎ กของฝ่ายเถรวาท มีข้อ ความหลายตอนที่ร ะบุว่า แม้ พระพุทธเจ้าเองก็ ทรงฉันเนื้อ สัต ว์ ดังเช่นเรื่องราวของพระอุบลวรรณาในคัมภีร์พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เนื้อความว่า

“พวกโจรฆ่าแม่โค แล้วถือเนือ้ เข้าไปสูป่ ่ าอันธวัน นายโจรเห็นภิ กษุณีอุบลวัณณานัง่ พักอยู่ที่โคนไม้ คิ ดว่า “ถ้าพวกโจรลูกน้องของเราพบเข้า จักเบี ยดเบี ยนภิ กษุ ณีนี”้ แล้วได้เลี ่ยงไปทางอื ่น เมื ่อเนือ้ สุกแล้ว นายโจรนัน้ ได้ เลือกเนือ้ ชิ้ นที ่ดี ๆ เอาใบไม้ห่อแขวนไว้ที่ต้นไม้ใกล้ภิกษุ ณีอุบลวัณณา แล้วกล่าวว่า “เนือ้ ห่อนีเ้ ราให้แล้วจริ ง ๆ ผูใ้ ดเป็ นสมณะหรื อพราหมณ์ ได้เห็น จงถือเอาไปเถิ ด” แล้วหลี กไป ภิ กษุ ณีอุบลวัณณาออกจากสมาธิ ได้ยินนาย โจรนัน้ กล่าววาจานี ้ จึ งถือเอาเนือ้ นัน้ ห่อด้วยผ้าอุตราสงค์ เหาะไปลงทีพ่ ระเวฬุวนั ”

1

พระราชวิสุทธิกวี (พิจิตร ตวณฺโณ).พระพุทธศาสนาในจีน และ 16 วันในจีนแผ่นดินใหญ่ .(พิมพ์เป็นที่ระลึกในโอกาสทาบุญคล้ายวันเกิดพระราชวิสุทธิกวี (พิจิตร ตวณฺโณ) วัดโสมนัสวิหาร กรุงเทพฯ : 24 มิถุนายน 2534),หน้า 23.

2

ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์.ประเทศจีนกับพระพุทธศาสนา(ฝ่ายมหายาน). (กรุงเทพฯ : มหากุฏราชวิทยาลัย, 2535),หน้า 128.

3

จิตรา ก่อนันทเกียรติ.ตึ่งหนั่งเกี้ย.(กรุงเทพฯ : แพรวสานักพิมพ์,2541), หน้า 94.

4

หวัง ซื่อ ไฉ่.การกินเจ.(สมุทรปราการ : ธีรสาส์น พับลิชเชอร์,ม.ป.ป.),หน้า 3.

-4-


สมัยนัน้ พระพุทธเจ้ าก าลังเสด็ จ เข้า ไปบิ ณ ฑบาตในหมู่ บ้า น เหลื อ พระอุ ทายี อ ยู่เ ฝ้ าอาราม ภิ ก ษุ ณี อุบลวัณณาจึ งเข้าไปหาท่าน แล้วถามถึงพระพุทธเจ้า พระอุทายีตอบว่า “พระพุทธองค์เสด็จเข้าไปบิ ณฑบาตยังหมู่บ้าน” อุบลวัณณา : “โปรดถวายเนือ้ นีแ้ ด่พระพุทธเจ้าเถิ ดเจ้าข้า” อุทายี : “ดูก่อนน้องหญิ ง พระพุทธองค์ทรงอิ่ มเอิ บด้วยเนือ้ ของเธอ ถ้าเธอถวายผ้าอันตรวาสกแก่อาตมา แม้อาตมาก็จะพึงอิ่ มเอิ บด้วยผ้าอันตรวาสกเหมื อนเช่นนัน้ ” 1 เรื่อ งราวดังกล่าวนี้ ทาให้เข้าใจได้ว่า จะต้อ งเป็นที่รู้กันทั่วไปในหมู่ พระสาวกว่ า พระพุทธองค์ทรงฉัน เนื้อสัตว์(ถ้าเนื้อนั้นเข้าข่ายเป็นเนื้อบริสุทธิ์) อีกทั้งพระอุทายีก็กล่าวเป็นเชิงยืนยัน ว่าพระพุทธองค์จะทรงอิ่มหนา ด้วยเนื้อนั้น นอกจากนี้ ยังมีข้อความที่แสดงให้เห็นว่าทรงอนุญาตให้พระภิกษุ(รวมทั้งภิกษุณี สามเณร และสามเณรี ด้วย) ฉันเนื้อ สัตว์ได้ แต่การอนุญาตของพระพุทธองค์นั้น อยู่ในลักษณะที่มีการกาหนดเงื่อนไขและมุ่งเน้นให้ พิจารณาถึงจุดประสงค์ในการบริโภคอาหารเป็นหลัก ดังจะได้แสดงในประเด็นต่างๆ ต่อไปนี้

พระพุทธานุญาตเกี่ยวกับการบริโภคเนือ้ สัตว์ ทัศนะของฝ่ายเถรวาทเกี่ยวกับเรื่องการบริโภคหรือไม่บริโภคเนื้อสัตว์นี้ พระพุทธเจ้าตรัสไว้อย่างชัดเจน ในชีวกสูตร ความว่า หมอชีวกโกมารภัจ ทูลถามพระพุทธเจ้าว่า “ได้ยินคนเขาพูดว่า คนทัง้ หลายฆ่าสัตว์ เจาะจง พระสมณโคดม พระองค์ทรงทราบข้อนัน้ อยู่ ยังเสวยเนือ้ สัตว์ทีท่ าเฉพาะตน มี ความจริ งประการใด คนทีพ่ ูดนัน้ เขา พูดตรงกับความจริ ง หรื อว่ากล่าวตู่พระองค์ดว้ ยเรื ่องไม่จริ ง” พระพุทธเจ้าตรัสว่า “หากเขาพูดเช่นนัน้ แสดงว่าเขาพูดไม่จริ ง กล่าวหาด้วยเรื ่องไม่มีมูล” และตรัสต่อไป ว่า “เนือ้ ทีไ่ ม่ควรบริ โภค คือเนือ้ ทีต่ นได้เห็น เนือ้ ทีต่ นได้ยิน และเนือ้ ทีต่ นรังเกี ยจ ส่วนเนื ้อทีค่ วรบริ โภค คื อเนือ้ ที ่ตน ไม่ ได้เห็ น เนื ้อที ่ตนไม่ ได้ยิน และเนื ้อที ่ตนไม่ ได้รังเกี ยจ”2 และในพระสูตรนี้ พระพุทธเจ้าได้อ ธิบายปฏิปทาของ พระองค์และพระสาวกในเรื่องนี้ว่า “ภิ กษุ เมื ่อ เข้าไปยังหมู่ บ้าน ก็ มีจิ ตประกอบด้วยเมตตา แผ่ไปยังสรรพสัตว์ หาทีส่ ดุ ประมาณมิ ได้เป็ นปกติ อยู่แล้ว เมื ่อชาวบ้านเขานิ มนต์ ไปรับภัตตาหารก็ รับนิ มนต์ วันรุ่งขึ้นก็ รับบิ ณฑบาต โดยมิ ได้ร้องขอให้เขาถวายพร้อมกับแผ่เมตตาไปยังผูใ้ ส่บาตร ไม่ติดอยู่ในรสอาหาร ฉันอาหารด้วยอาการสารวม พิจารณาก่อนแล้วจึ งฉันอาหารเพือ่ ยังอัตภาพให้เป็ นไปเท่านัน้ ” สุดท้าย พระพุทธองค์ทรงสรุปว่า ใครก็ตามที่ฆ่าสัตว์เจาะจงตถาคตหรือ สาวกของตถาคต ผู้นั้นย่อ ม ประสบบาปมิใช่บุญเป็นอันมาก ด้วยเหตุ 5 สถาน คือ 1. สั่งให้นาสัตว์มาฆ่า นี่บาปสถานหนึ่ง 1

วิ.มหาวิ. 2 /46-47 /28-29

2

หมายความว่า ถ้าภิกษุได้เห็นกับตา หรือได้ยินกับหูว่า อาหารที่เขานามาถวาย เขาฆ่าแกงให้ท่านโดยเฉพาะ หรือสงสัยว่าเขาแกงให้ท่านโดยเฉพาะ ก็ไม่ ควรฉัน ถ้าไม่อยู่ในประเด็นนี้กฉ็ ันได้

-5-


2. 3. 4. 5.

สัตว์ที่ถูกนามาฆ่า ได้รับความเจ็บปวดเป็นอันมาก นี่บาปสถานสอง ออกคาสั่งให้เขาฆ่า นี่บาปสถานสาม สัตว์ที่กาลังถูกฆ่าได้รับทุกขเวทนาจนสิ้นชีพ นี่บาปสถานสี่ ทาให้เขาได้ช่องตาหนิพระตถาคตและสาวกด้วยเรื่องเนื้อสัตว์ที่ไม่ควร นี่บาปสถานห้า1

ในคัมภีร์พระวินัยปิฎก จุลวรรค ยังกล่าวถึงเรื่องการบริโภคเนื้อสัตว์ไว้ว่า ในสมัยหนึ่ง ขณะที่พระพุทธเจ้า ทรงประทับอยู่ ณ เวฬุวันวิหาร กรุงราชคฤห์ พระเทวทัตพร้อมด้วย พระโกกาลิกะ พระกฎโมรกติสสกะ พระบัณฑ เทวีบุตร และพระสมุทททัตต์ เข้าไปเฝ้าพระพุทธองค์และกราบทูลขอให้พระพุทธเจ้า ทรงบัญญัติห้าม 5 ประการ คือ 1. ภิกษุควรอยู่ป่าตลอดชีวิต 2. ภิกษุควรเที่ยวบิณฑบาตตลอดชีวิต 3. ภิกษุควรถือผ้าบังสุกุลตลอดชีวิต 4. ภิกษุควรอยู่โคนไม้ตลอดชีวิต และ 5. ภิกษุไม่ควรฉันปลาและเนื้อตลอดชีวิต ภิกษุรูปใดฉัน รูปนั้นมีความผิด พระพุทธองค์ทรงปฏิเสธคาขอของพระเทวทัต และทรงตรัสห้ามว่า “อย่าเลยเทวทัตต์ ภิ กษุ ใดปรารถนาก็ จงอยู่ป่า ภิ กษุ ใดปรารถนาก็ จ งอยู่บ้าน ภิ กษุ ใดปรารถนาก็ จงเที ่ยวบิ ณฑบาต ภิ กษุ ใดปรารถนาก็ จงยิ นดี การ นิมนต์ ภิ กษุใดปรารถนาก็จงถือผ้าบังสุกุล ภิ กษุใดปรารถนาก็ จงยิ นดี ผา้ คฤหบดี เราอนุญาตรุกขมูล (การอยู่โคน ไม้) ตลอด 8 เดือน (นอกฤดูฝน) เราอนุญาตปลาและเนือ้ ที บ่ ริ สทุ ธิ์ ดว้ ยอาการ 3 อย่าง คือ 1. ไม่ได้เห็น 2. ไม่ได้ฟัง และ 3. ไม่ได้นึกรังเกี ยจ”2 หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือทรงห้ามฉันเนื้อสัตว์ที่เขาเจาะจงฆ่ามาถวายพระ นอกจากนี้แล้ว ในคัมภีร์พระ วินัยปิฎก มหาวรรค ยังมีการห้ามภิกษุฉันเนื้อสัตว์ 10 อย่าง คือ เนื้อมนุษย์ เนื้อช้าง เนื้อม้า เนื้อสุนัขบ้าน เนื้อ งู เนื้อราชสีห์ เนื้อหมี เนื้อเสือโคร่ง เนื้อเสือดาว และเนื้อสุนัขป่า3 นอกจากนี้ ในคัม ภีร์พ ระวินั ย ปิฎ ก มหาวิภั งค์ ยั งมีสิ กขาบทที่บ่ งบอกถึ งการอนุญ าตให้ พระภิก ษุฉั น เนื้อสัตว์ได้ ดังเช่นคาอธิบายลักษณะ “ของฉัน” ในปาจิตตีย์ โภชนวรรค พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค 2 สิกขาบท ที่ 5 ว่า “ทีช่ ื ่อว่า ของฉัน ได้แก่ โภชนะ 5 คือ ข้าวสุก ขนมสด ขนมแห้ง ปลา เนื้อ” 4 1

ม.ม. 13 /56-61 /48-53

2

วิ.จุล. 7 /384 /192-193

3

วิ.มหา. 5 /59-60 /72-76

4

วิ.มหาวิ. 2 /501 /329

-6-


และอีกสิกขาบทหนึ่งที่เกี่ยวกับการฉันเนื้อสัตว์ ในปาจิตตีย์ โภชนวรรค พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค 2 สิกขาบท 9 ว่า สมัยหนึ่งพระฉัพพคีย์ (กลุ่มภิ กษุ 6 รูป) ออกปากขอโภชนะอันประณี ตมาเพือ่ ตนแล้วฉัน ความทราบถึง พระพุทธเจ้า ทรงตาหนิแล้วทรงบัญญัติสิกขาบทไว้ว่า “ก็ ภิ กษุใดออกปากขอโภชนะอันประณี ตเช่นนี ้ คือ เนยใส เนยแข็ง น้ามัน น้าผึ้ง น้าอ้อย ปลา เนื้อ นม สด นมส้ม มาเพือ่ ตนแล้วฉัน ต้องอาบัติปาจิ ตตีย์”1 คาว่า “ปลา” ในสิกขาบทนี้ ได้แก่ สัตว์ที่เที่ยวไปในน้า และ “เนือ้ ” ในสิกขาบทนี้ ได้แก่ เนื้อของสัตว์บกที่มีเนื้อเป็นกัปปิยะ นั่นคือ เนื้อ ที่เหมาะสม ถ้าภิกษุที่ไม่เป็นไข้ออก ปากขอเพื่อตน ต้องอาบัติทุกกฎทุก ๆครั้งที่ขอ หากภิกษุรับไว้ด้วยความตั้งใจว่า จะฉันของที่ได้มา ต้องอาบัติทุก กฎ ภิกษุฉัน ต้องอาบัติปาจิตีย์ทุก ๆ คากลืน ถามว่า ภิกษุถ้าออกปากขอโภชนะอันประณีต (โดยเฉพาะกรณีปลาและเนื้อ) มาเพื่อตนแล้วฉัน ในกรณี ใหนที่ไม่ต้องอาบัติ? ก็มีอยู่ 9 กรณีที่ไม่ต้องอาบัติ (ไม่ผิดพระวินัย) นั่นคือ 1. ภิกษุเป็นไข้ 2. ภิกษุเป็นไข้ออกปากขอมาแล้วหายเป็นไข้จึงฉัน 3. ภิกษุฉันโภชนะที่เหลือของภิกษุไข้ 4. ภิกษุออกปากขอจากญาติ 5. ภิกษุออกปากขอจากคนปวารนา 6. ภิกษุออกปากขอเพื่อภิกษุอื่น 7. ภิกษุจ่ายมาด้วยทรัพย์ของตน 8. ภิกษุวิกลจริต และ 9. ภิกษุต้นบัญญัติ กรณีภิกษุณี ก็มีลักษณะเหมือนภิกษุ แต่ต้องอาบัติต่างกัน กล่าวคือ ภิกษุณีไม่เป็นไข้ ออกปากขอเนื้อมา ฉัน ต้องอาบัติปาฎิเทสนียะ แต่ทรงอนุญาตให้ภิกษุณีที่เป็นไข้ออกปากขอเนื้อมาฉันได้ ส่วนท่าทีต่อการทานเนื้อสัตว์นั้น ในเบื้องต้นจะต้องแยกประเด็นออกมาให้ได้ก่อนว่า กรณีภิกษุถ้าฆ่าสัตว์ ผิดวินัยหนักบ้าง เบาบ้างแล้วแต่กรณี แต่ถ้าเป็นคฤหัสถ์ฆ่าสัตว์ผิดศีลข้อปาณาติบาตรแน่ นอน เพราะฉะนั้น ใน กรณีที่ภิกษุฉันเนื้อผิดวินัยหรือไม่ ? หมายถึงฉันเนื้อที่คนอื่นนามาถวาย ในกรณีนี้ ภิกษุที่ฉันเนื้อมีทั้งผิดพระวินัย และไม่ผิดพระวินัย เพื่อความชัดเจน ผู้เขียนขออภิปรายดังนี้ ประเด็นที่ 1 พระพุทธเจ้าทรงห้ามฉันเนื้อ 10 อย่าง คือ 1. เนื้อมนุษย์ 2. เนื้อช้าง 1

วิ.มหาวิ.2 /516 /340

-7-


3. เนื้อม้า 4. เนื้อสุนัขบ้าน 5. เนื้องู 6. เนื้อราชสีห์หรือสิงโต 7. เนื้อเสือโคร่ง 8. เนื้อเสือดาว 9. เนื้อหมี และ 10. เนื้อสุนัขป่า หากภิกษุฉันเนื้อต้องห้าม 10 อย่างดังกล่าว ก็จะผิดวินัยหนักเบาบ้างแล้วแต่กรณี เช่น ภิกษุฉันเนื้อมนุษย์ อันนี้ต้องอาบัติถลัจจัย หากภิกษุฉันเนื้อช้างและฉันเนื้อเสือโคร่งต้องอาบัติทุกกฎ เป็นต้น ประเด็นที่ 2 หากภิกษุฉันเนื้อชนิดอื่นนอกเหนือจากที่ทรงห้ามไว้ 10 อย่างนั้น ถ้าเป็นการฉันเนื้อที่เขา เจาะจงฆ่ามาถวาย กล่าวคือ และภิกษุได้รู้เห็นหรือ ได้ยิน หรือนึกรังเกียจสงสัยว่าเขาฆ่าเพื่อ ให้ตนบริโภค ต้อ ง อาบัติทุกกฏ ประเด็นที่ 3 หากภิกษุฉันเนื้อชนิดอื่นนอกเหนือจากที่ทรงห้ามไว้ 10 อย่างนั้นเหมือนกัน ถ้าเป็นการฉัน โดยไม่พิจารณาก่อนก็ต้องอาบัติทุกกฏทุกข้อเช่นกัน ประเด็นที่ 4 หากภิกษุเป็นไข้ ออกปากขอโภชนะอันประณีต เช่น เนยใส เนยข้น น้าผึ้ง น้าอ้อย ปลา เนื้อ (นอกเหนือจากเนื้อต้องห้าม 10 อย่าง) นมสด นมส้ม มาเพื่อตนแล้วฉันต้องอาบัติปาจิตตีย์ ประเด็นที่ 5 หากภิกษุฉันเนื้อชนิดอื่นที่นอกเหนือจากที่ทรงห้ามไว้ 10 อย่างนั้น และเป็นเนื้อบริสุทธิ์ ตาม เงื่อนไข 3 อย่าง คือ ไม่ได้เห็น ไม่ได้ฟัง และ ไม่นึกสงสัย และฉันโดยพิจารณาก่อน ถือว่าไม่ต้องอาบัติ แต่ว่าทั้งนี้ ต้องอยู่ในกรณีใดกรณีหนึ่งต่อไปนี้ 1. ภิกษุเป็นไข้ออกปากขอจากผู้อื่นมาเพื่อตนแล้วฉัน 2. ภิกษุเป็นไข้ออกปากขอมาแล้วหายเป็นไข้จึงฉัน 3. ภิกษุออกปากขอจากญาติ 4. ภิกษุออกปากขอจากคนปวารณา 5. ภิกษุจ่ายมาด้วยทรัพย์ของตน และจากกรณีตัวอย่าง 2 เรื่องที่ยกขึ้นมา ก็สามารถสรุปได้ว่า พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงห้ามภิกษุฉันปลาและ เนื้อ แน่นอน และยังคงแสดงให้เห็นว่า ทรงอนุญาตให้ภิกษุฉันเนื้อสัตว์ได้ แต่มุ่งให้ฉันโดยรู้จักประมาณ ดารง ชีพอยู่โดยง่าย ไม่ทาให้เกิดความยุ่งยากแก่ชาวบ้าน

วัตถุประสงค์ ของการบริ โภค ในพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท มุ่งเน้นที่บริโภคเพื่อหล่อเลี้ยงร่างกายให้ดารงอยู่ได้ ที่ต้องบริโภคก็เพราะความ จาเป็น การบริโภคอาหารโดยเฉพาะเนื้อสัตว์บนพื้นฐานของความเข้าใจว่าเพื่อให้ชีวิตสืบต่อไปได้นี้เป็นเรื่องที่ฝ่าย -8-


เถรวาทเน้นมากกว่าการถือมังสวิรัติ พระพุทธองค์ได้ตรัสให้พิจารณาว่าอาหารนั้นเป็นสิ่งต้องบริโภคเพราะความ จาเป็น ไม่ ใช่ บ ริโ ภคเพื่อ ความเอร็ด อร่ อย เพื่ อ ให้ การบริ โภคอาหารเป็ นไปอย่ างมี โทษน้อ ยที่ สุดหรือ ไม่มี เลย ทรงแนะให้ พิ จ ารณาอาหารที่ บ ริ โ ภคว่ า เสมื อ นก าลั ง บริ โ ภคเนื้ อ บุ ต ร ดั ง มี ข้ อ ความอธิ บ ายไว้ ใ นอรรถกถา สัมมาทิฏฐิสูตร ว่า “สองผัวเมี ย พากันอุ้มบุตรเดิ นทางกันดาร 100 โยชน์ โดยเสบี ยงเล็กน้อย เมื ่อเขาเดิ นไปได้ 50 โยชน์ เสบี ยงหมดลง เขาทัง้ 2 กระสับกระส่ายเพราะความหิ วกระหาย พากันนัง่ ใต้ร่มเงาโปร่ ง ของต้นไม้ ถัดจากนัน้ ฝ่ ายชายได้พดู กับภรรยาว่า “น้องนางเอ๋ย ระยะ 50 โยชน์รอบ ๆ นี ้ ไม่มีบ้านหรื อนิ คมเลย เพราะฉะนัน้ บัดนีพ้ ีไ่ ม่ สามารถจะทางานตัง้ มากมายที ่ผชู้ ายจะพึงทาได้ มี การทานาและเลี ้ยงโคเป็ นต้นได้ มาเถิ ดน้อ ง จงฆ่ าพี ่แล้ว บริ โภคเนือ้ เสียครึ่ งหนึ่งอี กครึ่ งหนึ่งเอาเป็ นเสบี ยงเดิ นข้ามทางกันดารไปกับลูกเถิ ด” ฝ่ ายนางได้พูดกับสามี ว่า “พีข่ า บัดนี ้ น้องไม่สามารถจะทางานที ่หญิ งจะต้องทา มี การปั่ นด้าย เป็ นต้น ตัง้ มากมาย ได้ มาเถิ ดพี ่ จงฆ่าน้องแล้วบริ โภคเนือ้ เสียครึ่ งหนึ่ง อี กครึ่ งหนึ่งเอาเป็ นเสบี ยงเดิ นทางข้ามทางกันดารไป กับลูกเถิ ด” ฝ่ ายชายจึ งพูดกับภรรยาอี กว่า “น้องเอ๋ ย เพราะแม่บ้านตาย ความตายจะปรากฏแก่เราทัง้ 2 พ่อลูก เพราะ เด็กน้อย เว้นมารดาแล้ว จะไม่สามารถมี ชี วิตอยู่ได้ แต่ถ้าเราทัง้ 2 ยังมี ชีวิตอยู่ ก็ จะได้ลูกอี ก อย่ากระนัน้ เลย บัดนีเ้ ราจะฆ่าลูกเอาเนือ้ บริ โภค ข้ามทางกันดาร” ลาดับนัน้ แม่ได้พดู กับลูกว่า “ลูกเอ๋ย จงไปหาพ่อเถอะ” ลูกก็ ได้ไปหาพ่อ ถัดจากนัน้ พ่อของลูกพูดว่า “พี ่ได้เสวยทุกข์ มาไม่นอ้ ย เพราะการทานาเลี ้ยงโคด้วยหวังว่าจะ เลีย้ งลูกพีจ่ ึ งไม่อาจจะฆ่าลูกได้ เธอนัน้ แหละจงฆ่าลูกของเธอ” ดังนีแ้ ล้วได้บอกลูกว่า “ลูกเอ๋ย จงไปหาแม่เถิ ด” ลูกก็ ได้ไปหาแม่ ถึ งแม่ของลูกนัน้ ก็ ได้พูดว่า “ ฉันเมื ่อ อยากได้ลูก ได้เสวยทุกข์ ทรมานมิ ใช่ นอ้ ย ด้วยการ ประพฤติ ต นเยี ่ย งโค ประพฤติ ต นเยี ่ย งลู ก สุน ขั และอ้ อ นวอนขอต่ อ เทวดาเป็ นต้ น ก่ อ น ไม่ ต้ อ งพู ด ถึ ง การ ประคับประคองท้อง ฉันจึ งไม่อาจจะฆ่าลูกได้” แล้วได้บอกลูกว่า “ลูกเอ๋ย เจ้าจงไปหาพ่อเถิ ด” ลูกนัน้ เมื ่อเดิ นไป มาในระหว่างพ่อแม่ทงั้ 2 อยู่อย่างนีก้ ็ได้ตายลง สองผัวเมี ยนัน้ เห็นลูกเข้าพากันคร่ าครวญ เอาเนือ้ ลูกมาบริ โภค แล้วหลีกไป เขาทัง้ 2 นัน้ ไม่ ได้ เอาเนื้อ บุตรบริโภคเป็ นอาหารเพื่อเล่ นเลย ไม่ ใช่ เพื่อเมามาย ไม่ ใช่ เพื่อประดับประดาไม่ ใช่ เพื่อตกแต่ ง แต่ เพื่อ ต้ องการข้ ามให้ พ้นทางกันดารอย่ างเดียวเท่ านั้นเอง 1 นอกจากนี้ พระพุทธองค์ได้ต รัสถึงจุ ดมุ่งหมายของการบริ โภคไว้ ในคณกโมคคัล ลานสูต รว่า “ให้รู้จัก ประมาณในอาหาร พิจารณาว่าเรามิ ได้บริ โภคเพือ่ เล่น เพือ่ จะมัวเมา เพือ่ จะประดับ หรื อเพือ่ ตกแต่งร่ างกายเลย แต่ บ ริ โ ภคเพี ย งเพื ่อ ให้ร่ างกายด ารงอยู่ เพื ่อ ให้ชี วิ ต เป็ นไป เพื ่อ บรรเทาความลาบาก เพื ่อ อนุเ คราะห์ พรหมจรรย์เท่านัน้ ป้ องกันเวทนาเก่า ไม่ให้เวทนาใหม่เกิ ดขึ้น” 2 1

ม.มู.อ. 7 /360-361

2

ม.อุ. 14/ 96 / 83

-9-


ทั้งนี้ ลาพังแต่การไม่บริโภคเนื้อสัตว์อย่างเดียวนั้น ไม่อาจจะยั งตนให้ก้าวล่วงพ้นทุกข์ได้ ดังข้อความที่ พระกัสสปะพุทธเจ้าตรัสกับติสสดาบส ในอามคันธสูตร ว่า การไม่ บริโภคปลาและเนื้อ ... ย่ อมไม่ ยังสัตว์ ผ้ ไู ม่ ข้ามพ้ นความสงสัยให้ หมดจดได้ ผูใ้ ด คุม้ ครองแล้วในอิ นทรี ย์ทงั้ หกเหล่านัน้ รู้แจ้งอิ นทรี ย์แล้ว ตัง้ อยู่ในธรรม ยิ นดีในความเป็ นคนตรงและอ่อนโยน ล่วงธรรมเป็ นเครื ่องข้องเสียได้ ละทุกข์ได้ทงั้ หมด ผูน้ นั้ เป็ นนักปราชญ์ ไม่ติดอยู่ในธรรมทีเ่ ห็นแล้ว และฟั งแล้ว 1 จากที่กล่าวมาข้างต้นนี้ จะเห็นว่า ประเด็นสาคัญที่พุทธศาสนาเถรวาทเน้นในเรื่องการบริโภค คือทัศนคติ ที่ว่า อาหารนี้มีเพื่อให้ชีวิตดาเนินต่อไปได้ เพื่อใช้เป็นโอกาสในการทาความดีเพื่อ ดับทุกข์ในชีวิต ประเด็นด้าน จริยธรรมนั้นไม่ได้อยู่ที่ “ข้างนอก” แต่อยู่ “ในใจ” ของเราเอง ถ้าเราคิดดี (คือมีเจตนาดี) การกระทาของเราก็ดี ถ้า เราคิดชั่ว (คือมีเจตนาชั่ว) การกระทาของเราก็ชั่ว 2 การบริโภคเนื้อสัตว์นั้นโดยตัวมันเองยังพูดไม่ได้ว่าดีหรือชั่ว ขึ้นอยู่กับว่าบริโภคด้วยเจตนาแบบไหน หรือ บริโภคด้วยความคิดแบบไหน การบริโภคเนื้อสัตว์ด้วยเจตนาดีก็คือ บริโภคด้วยความสานึกดังที่กล่าวมาข้างต้น ส่วนประเด็นเสริมที่อยากจะวิเคราะห์ อีกประเด็นก็คือ เรื่อง “การอาบัติ” กับ “บาป” มีความสัมพันธ์กัน อย่างไร และ “ผิดศีล” กับ “บาป” มีความสัมพันธ์กันอย่างไร ซึ่งผู้เขียนมองว่าประเด็นที่เกี่ยวกับ อาบัติและบาป ต้องวิเคราะห์คาว่า “โลกวัชชะและปั ณณัตติ วชั ชะ” เพราะว่า ในกรณีอาบัติที่เป็นโลกวัชชะนั้น หมายถึง อาบัติที่ต้องโดยมีอกุศลเจตนาหรือความตั้งใจชั่วเป็นมูลเหตุ ถือเป็นพฤติกรรมซึ่งคนที่เป็นพระภิกษุทาก็ผิดเต็มประตู ยิ่งคนที่เป็นคฤหัสถ์ทายิ่งผิด เช่น การฆ่าสัตว์ การดื่มสุรา การพูด เท็จ ส่ วนอาบั ติที่เป็น ปัณณัติวั ชชะนั้น หมายถึ ง อาบัติที่ต้อ งโดยไม่มีอ กุศ ลเจตนาเป็นมู ลเหตุ ถือ เป็ น พฤติกรรมซึ่งคนที่เป็นพระภิกษุทาเท่านั้นจึงผิด ส่วนที่เป็นคฤหัสถ์นั้นทาไม่ผิด เช่น การถูกต้องกายหญิง การว่าย น้า การผิงไฟ การกินอาหารบางอย่างในเวลาเย็น ส่วนอาบัติที่เป็นโลกวัชชะนั้นมีความสัมพันธ์กับบาปโดยตรง เพราะเป็นเรื่องของอกุศลเจตนา กล่าวคือ เมื่อต้องอาบัติประเภทนี้ เป็นอาบัติด้วย เป็นบาปด้วย ขณะดารงตนเป็นพระภิกษุ มีอาบัติติดตัวลาสิกขาไปก็มี บาปติดตัว ส่วนอาบัติที่เป็นปัณณัติวัชชะมีความสัมพันธ์กับบาปทางอ้อม กล่าวคือ ขณะเป็นพระภิกษุมีอาบัติติด ตัวลาสิกขาไปมีเศษบาปติดตัว การผิดศีล 5 ของคฤหัสถ์มีความสัมพันธ์กับบาปโดยตรง เพราะเป็นเรื่อ งของ อกุศลเจตนาทั้งหมดนั่นเอง3

1

ขุ.สุ. 25 /315 /374

2

ขุ.ธ. 25 /11 /15

3

http:// www.watpaknam.net/knowledge/view.php?id=13.

- 10 -


สรุปดังรูปภาพที่ 1 เจตนาการคิดแบบกุศลหรืออกุศล การบริโภคเนื้อสัตว์

เถรวาท

ไม่มีคุณค่าที่จะตัดสินในตัวเอง สามารถกาหนดการตัดสินด้วยการกระทา

กุศลธรรม

อกุศลธรรม เจตนา

มุมมองที่แตกต่ างระหว่ างทัศนะทัง้ สอง จะเห็นได้ว่า ในการตอบปัญหาเรื่องการบริโภคเนื้อสัตว์นั้ น ฝ่ายมหายานตอบอย่างชัดเจนในเชิงงดเว้น อย่างเดียวว่า “ไม่พึงบริ โภคเนื ้อสัตว์ ทุกชนิ ด ไม่ว่าในกรณี ใดๆ” ส่วนฝ่ายเถรวาทตอบปัญหานี้ในลักษณะให้ จาแนก(วิภัชชวาท)ว่าเป็นเนื้อที่บริสุทธิ์โดยส่วน 3 หรือไม่ ทั้งนี้จะได้พิจารณามุมมองที่แตกต่างกันดังต่อไปนี้

ขอบเขตของความเมตตา ฝ่ายมหายานถือว่า การบริโภคเนื้อสัตว์เป็นสิ่งที่แสดงว่าเราไม่มีความเมตตาต่อ สัตว์ 1 ปัญหาว่าการ บริโภคเนื้อสัตว์ขัดแย้งกับเมตตาหรือไม่นั้น ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับความเข้าใจว่าเมตตาหมายความว่าอย่างไร ขอให้ พิจารณาเรื่องราวในอรรถกถาสัมมาทิฏฐิสูตร ดังต่อไปนี้ ได้ทราบว่า อุบาสกนัน้ รับสิกขาบทในสานักของท่านปิ งคลพุทธรักขิ ตเถระชาวอัมพริ ยวิ หาร แล้วไปไถนา ต่อมา โคของเขาหายไป เขาเมื ่อตามหามัน ได้ขึ้นภูเขาอุตรวัฑฒมานะ งูใหญ่ได้รดั เขาอยู่บนภูเขานัน้ เขาคิ ดว่า “จะเอามี ดทีค่ มนีต้ ดั หัวมัน” แต่ก็ยงั คิ ดอี กว่า “การทีส่ มาทานสิ กขาบทในสานักของครู ผนู้ ่านับถื อแล้ว ทาลายเสีย 1

Suzuki,D.T.The Lankavatara Sutra.(Delhi : Motilal Banarsidass,1999),p.213.

- 11 -


ไม่สมควรเลย” ครั้นคิ ดอย่างนีถ้ ึง 3 ครั้งแล้วก็ ตดั สิ นใจว่า “เราจะสละชี วิต ไม่ยอมสละสิ กขาบท(ศี ล)” แล้วได้ ขว้างมี ดโต้เล่มทีแ่ บกมาอยู่บนบ่าเข้าป่ าไป ทันใดนัน้ งูใหญ่ก็ได้คลายตัวออกแล้วเลือ้ ยไป 1 เรื่องข้างต้นนี้ พระอรรถกถาจารย์ยกมาเพื่ออธิบายศีลข้อปาณาติบาตโดยวิธีเล่าเรื่องราวของอุบาสกคน หนึ่ง ตามเรื่องนั้นอุบาสกคนนี้อยู่ในระหว่างความขัดแย้งระหว่างการฆ่าสัตว์เพื่อรักษาชีวิตของตนเองกับความมี เมตตาต่อสัตว์ ท้ายที่สุดแล้วก็จบลงด้วยการรักษาเมตตาธรรม เรือ่ งข้างต้นนี้ มุ่งแสดงว่าการรักษาศีลตามทัศนะของพุทธศาสนาเถรวาทเป็นอย่างไร เราจะเห็นความ เชื่อ มโยงระหว่างเมตตากับหลักธรรมอื่นในระบบความคิดของฝ่ายเถรวาทว่า หากว่าเมตตานั้นสนับสนุนการ ขัดเกลาตนเองให้มีชีวิตที่สูงประณีตขึ้น ฝ่ายเถรวาทย่อมจะสนับสนุนให้ เราแสดงออกซึ่งความเมตตา การฆ่าสัตว์ นั้นทาให้จิตใจเราตกต่าลง ดังนั้นแม้จะตกอยู่ระหว่างความขัดแย้งทางศีลธรรมมากๆ เช่นกรณีที่ยกมาข้างต้น ผู้ที่ ยึดมั่นในคาสอนของเถรวาทก็จะเลือกเอาข้างเมตตาธรรม แสดงว่าการบริโภคเนื้อสัตว์นั้นฝ่ายเถรวาทไม่คิดว่าเป็น การเผชิญหน้ากันระหว่างเมตตาธรรมกับความไร้เมตตา ในขณะที่ฝ่ายมหายานตีความเมตตาอีกแบบหนึ่ง เมื่อ ตีความในแบบนั้นก็เลยเห็นว่าการบริโภคเนื้อสัตว์ขัดแย้งกับความเมตตา ตามความเข้าใจของฝ่ายเถรวาท เมตตาคือแง่หนึ่งของความไม่โกรธ 2 อันเป็นหนึ่งใน 3 ของสิ่งที่เรียกว่า กุศลมูล ความเมตตาก็คือการที่เราไม่ได้มองว่าใครเป็นศัตรูของเรา แม้ในบางสถานการณ์เราอาจถูกคนหรือสัตว์ นั้นทาร้าย ดังมีอธิบายรายละเอียดของเมตตาไว้ในอรรถกถาขุททกนิกายจูฬนิเทสว่า เมตตา มี ความเป็ นไปแห่งอาการ คือเป็ นประโยชน์เกื ้อกูลเป็ นลักษณะ มี การนามาซึ่ งประโยชน์เกื ้อกูลเป็ นรส (คือกิ จ) มี การกาจัดความอาฆาตเป็ นปั จจุปัฏฐาน (คือเครื ่องปรากฏ) มี การเห็นสัตว์มีความอิ่ มเอิ บใจเป็ นปทัฏฐาน (คือเหตุใกล้ให้เกิ ด) การสงบความพยาบาทเป็ นสมบัติของเมตตา การเกิ ดความเสน่หาเป็ นวิ บตั ิ ของเมตตานี ้ 3 ความเมตตาตามทัศนะของเถรวาทนั้นหมิ่นเหม่ที่จะแปรเป็นความเสน่หาได้ หมายความว่าความเมตตา นั้น หากถือปฏิบัติไม่ดี ก็อาจแปรไปเป็นกิเลสอันได้แก่ความรักหรือหลงอย่างโลกๆ ก็ได้ หลักคาสอนของฝ่ายเถร วาทมีขอบเขตเกี่ยวกับเมตตาที่จากัด คือ จะต้องอยู่ในกรอบที่สนับสนุนการปฏิ บัติเพื่อหลุดพ้น ส่วนเมตตาของ ฝ่ายมหายานนั้นขยายวงออกไปเกินขอบเขตเขตที่ฝ่ายเถรวาทเห็นว่าสมควรจนถึงขนาดว่าเพื่ออนุเคราะห์สรรพ 1

ม.มู.อ.7 /346-347

2

มหามกุฏราชวิทยาลัย.อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา.(กรุงเทพฯ :มหามกุฏราชวิทยาลัย,2542), หน้า 107.

3

ขุ.จูฬ.อ. 39 /431

- 12 -


สัตว์ พระโพธิสัตว์จะต้องยอมเสียสละที่จะทาชั่วในบางสถานการณ์ ความเมตตาเช่นนี้ฝ่ายเถรวาทย่อมจะวิจารณ์ ว่าเป็น “อติเมตตา” คือเมตตาที่เกินพอดี เพราะเป็นเมตตาที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง ในเรื่องเมตตาที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการบริโภคเนื้อสัตว์นี้ ฝ่ายมหายานเข้าใจว่า การบริโภคเนื้อสัตว์แสดง ว่าไม่มีเมตตา เพราะการบริโภคเนื้อสัตว์ของเรานั้นเป็นปัจจัยของการที่สัตว์ถูกฆ่าเพื่อ เอาเนื้อ มาขายในตลาด จริยศาสตร์ของฝ่ายมหายานนั้นเป็นแบบดูผลของการกระทา ไม่ดูที่ตัวการกระทา ส่วนจริยศาสตร์ของฝ่ายเถร วาทนั้นเน้นที่เจตนา คือใช้เจตนาเป็นหลัก วัดว่าการกระทานั้นดีหรือ ชั่ว ไม่ดูที่ผล เรื่อ งการบริโภคเนื้อ สัต ว์ ฝ่ายเถรวาทก็ใช้หลักจริยธรรมแบบดูที่เจตนานี้ เมื่อใช้หลักเจตนาเป็นเกณฑ์ ก็จะไม่มีการถามว่า “การที่เราบริโภค เนื้อสัตว์ส่งผลให้เกิดอะไร” แต่คาถามหลักที่ฝ่ายเถรวาทถามเกี่ยวกับเรื่องนี้ คือ “บริโภคเนื้อสัตว์ด้วยเจตนาอะไร” ถ้าบริโภคด้วยเจตนาร้าย การบริโภคเนื้อสัตว์นั้นก็ผิด แต่ถ้า บริโภคด้วยเจตนาอันบริสุทธิ์ การบริโภคเนื้อ สัตว์ ก็ไม่ผิด สรุปดังรูปภาพที่ 2 ขอบเขตแห่ งความเมตตา ทัศนะของฝ่ายเถรวาท

ทัศนะของฝ่ายมหายาน

การบริโภคเนื้อสัตว์ ไม่ใช่การเผชิญหน้า ระหว่างความเมตตาธรรมกับความไร้เมตตา การบริโภคเนื้อสัตว์ ขัดแย้ง กับความเมตตา

ความเป็ นสาเหตุกับความรับผิดชอบทางศีลธรรม พุทธศาสนาเถรวาทแยกการฆ่าสัต ว์กับการบริโ ภคเนื้อ สัตว์อ อกเป็น คนละเรื่อ งกั น ดั งมีตัวอย่างใน อรรถกถาอังคุตตรนิกาย เอกนิบาต ดังต่อไปนี้ พระนางมาคัณฑิ ยานัน้ ไม่อาจทาพระเจ้าอุเทนให้ทรงกริ้ ว พระนางสามาวดี ได้ จึ งกราบทูลว่า “ข้าแต่ สมมติ เทพ สตรี เหล่านัน้ มี ความรักหรื อไม่มีความรักในพระองค์ เราจักรู้กนั ขอพระองค์ โปรดส่งไก่ 8 ตัวไปให้ สตรี เหล่านัน้ ทาแกงถวายพระองค์สิ เพคะ” พระราชาทรงสดับคานัน้ แล้วรับสัง่ ว่า “จงแกงไก่เหล่านี ้ ส่งมา” ทรงส่งไก่ 8 ตัวแก่พระนางสามาวดี พระอริ ย สาวิ ก าผู้เ ป็ นโสดาบัน รู้ ว่ า ไก่ ย ัง เป็ นอยู่ จัก ท าแกงได้อ ย่ า งไร จึ งตรัส ปฏิ เ สธว่ า “อย่ า เลย” ไม่ปรารถนาแม้แต่จะเอาพระหัตถ์จบั ต้อง พระนางมาคัณฑิ ยา กราบทูลว่า “ข้อนัน้ ยกไว้ก็ได้ พระมหาราชเจ้า ขอได้โปรดทรงส่งไก่เหล่านี ้นีแ่ หละ เพือ่ ทาแกงถวายพระสมณโคดม”

- 13 -


พระราชาก็ทรงทาอย่างนัน้ พระนางมาคัณฑิ ยาทรงให้คนฆ่าไก่เสียในระหว่างทางแล้ว ส่งไปด้วยรับสัง่ ว่า “พระนางสามาวดีจงแกงไก่เหล่านีถ้ วายพระสมณโคดม” พระนางสามาวดี นนั้ เพราะทรงเข้าพระทัยอย่างนัน้ และเพราะมี พระทัยจดจ่อต่อพระพุทธเจ้า จึ งแกงไก่สง่ ไปถวายแด่พระพุทธองค์ 1 เรื่องดังกล่าวนี้ นางสามาวดีอยู่ในระหว่างความขัดแย้งระหว่างคาสั่งของพระราชา กับความเมตตาต่อ สัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งนางก็เลือกที่จะรักษาความเมตตาต่อสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ แต่เมื่อสัตว์นั้นตายแล้ว นางก็เลือกที่ จะปฏิบัติตามคาสั่งของพระราชาได้โดยสะดวกใจ ลองพิจารณาเรื่องราวที่พระอรหันต์ท่านยอมเอาชีวิตตนเองเข้าแลกเพื่อปกป้อ งชีวิต สัตว์ ในอรรถกถา ธรรมบท ดังต่อไปนี้ พระเถระนัน้ ฉันภัต อยู่ในสกุลของนายมณี การผูห้ นึ่งสิ้น 12 ปี ภรรยาและสามี ในสกุลนัน้ ตัง้ อยู่ในฐานะ เพียงมารดาและบิ ดาปฏิ บตั ิ พระเถระแล้ว อยู่มาวันหนึ่ง นายมณี การกาลังนัง่ หัน่ เนือ้ ข้างหน้าพระเถระ ในขณะนัน้ พระเจ้าปเสนทิ โกศล ทรงส่งแก้ ว มณี ดวงหนึ่งไป ด้วยรับสัง่ ว่า “นายช่างจงขัดและเจี ยระไนแก้วมณี นีแ้ ล้วส่งมา” นายมณี การรับแก้วนัน้ ด้วยมื อทัง้ เปื ้ อนโลหิ ต วางไว้บนเขียงแล้ว ก็เข้าไปข้างในเพือ่ ล้างมื อ ในเรื อนนัน้ นกกะเรี ยนทีเ่ ขาเลี ้ยงไว้มีอยู่ นกนัน้ กลื นกิ นแก้วมณี นนั้ ด้วยสาคัญว่าเนือ้ เพราะกลิ่ นโลหิ ต เมื ่อพระเถระกาลังเห็นอยู่เทียว นายมณี การมาแล้ว เมื ่อไม่เห็นแก้วมณี จึงถามภริ ยา ธิ ดาและบุตรโดยลาดับว่า “ พวกเจ้าเอาแก้วมณี ไปหรื อ ” เมื ่อชนเหล่านัน้ กล่าวว่า “มิ ได้เอาไป” จึ งคิ ดว่า “ชะรอย พระเถระจักเอาไป” จึ ง ปรึ กษากับภริ ยาว่า “ แก้วมณี ชะรอย พระเถระจักเอาไป” ภริ ยาบอกว่า “แน่ะนาย นายอย่ากล่าวอย่างนัน้ ดิ ฉนั ไม่เคยเห็นโทษอะไร ๆ ของพระเถระเลยตลอดกาล ประมาณเท่านี ้ ท่านย่อมไม่ถือเอาแก้วมณี แน่นอน” นายมณี การถามพระเถระว่า “ท่านขอรับ ท่านเอาแก้วมณี ในทีน่ ีไ้ ปหรื อ” พระเถระ : “ เราไม่ได้ถือเอาหรอก อุบาสก” นายมณี การ : “ท่านขอรับ ในทีน่ ีไ้ ม่มีคนอื ่น ท่านต้องเอาไปเป็ นแน่ ขอท่านจงให้แก้วมณี แก่ผมเถิ ด” เมื ่อพระเถระนัน้ ไม่รบั เขาจึ งพูดกะภริ ยาว่า “ พระเถระเอาแก้วมณี ไปแน่ เราจักบี บคัน้ ถามท่าน” ภริ ยาตอบว่า “ แน่ะนาย นายอย่าให้พวกเราฉิ บหายเลย พวกเราเข้าถึงความเป็ นทาสเสียยังประเสริ ฐ กว่า การกล่าวหาพระเถระผูเ้ ห็นปานนีไ้ ม่ประเสริ ฐเลย” นายช่างแก้วนัน้ กล่าวว่า “พวกเราทัง้ หมดด้วยกัน เข้าถึ งความเป็ นทาส ยังไม่ เท่าค่าแก้วมณี ” แล้วจึ ง ถือเอาเชื อกพันศีรษะพระเถระ ขันด้วยท่อนไม้ โลหิ ตไหลออกจากศีรษะหูและจมูกของพระเถระ หน่วยตาทัง้ สอง ได้ถึงอาการทะเล้นออก ท่านเจ็ บปวดมาก ก็ลม้ ลงที พ่ ืน้ นกกะเรี ยนมาด้วยกลิ่ นโลหิ ต ดืม่ กิ นโลหิ ต

1

องฺ.เอก.อ. 13 /590

- 14 -


ขณะนัน้ นายมณี การจึ งเตะมันด้วยเท้าแล้วเขี ่ยไปพลางกล่าวว่า “มึ งจะทาอะไรหรื อ” ด้วยกาลังความ โกรธทีเ่ กิ ดขึ้นในพระเถระ นกกะเรี ยนนัน้ ล้มกลิ้ งตายด้วยการเตะทีเดียวเท่านัน้ พระเถระเห็นนกนัน้ จึ งกล่าวว่า “ อุบาสก ท่านจงผ่อนเชื อกพันศีรษะของเราให้หย่อนก่อนแล้วจงพิจารณา ดูนกกะเรี ยนนี ้ ว่ามันตายแล้วหรื อยัง ” ลาดับนัน้ นายช่างแก้วจึ งกล่าวกะท่านว่า “ แม้ท่านก็จกั ตายเช่นนกนัน่ ” พระเถระตอบว่า “อุบาสก แก้วมณี นนั้ อันนกนีก้ ลื น บริ โภคแล้ว หากนกนีจ้ ักไม่ตายไซร้ ข้าพเจ้าแม้จะ ตาย ก็จกั ไม่บอกแก้วมณี แก่ท่าน” 1 จากเรื่องราวดังกล่าวนี้ จะเห็นว่าพระเถระ(ซึ่งมีข้อความในช่วงต่อมาระบุว่าท่านเป็นพระอรหันต์) ไม่ยอม บอกว่านกกระเรียนกลืน กินแก้วมณี เพราะเกรงว่ามันจะตายด้วยการถูกผ่าท้องควักเอาแก้วมณี ท่านยอมถูก ทรมานและมรณภาพในเวลาต่อมาเพื่อรักษาชีวิตสัตว์ตัวหนึ่ง ซึ่งโดยทั่วไปเราไม่คิดว่ามันไม่มีค่าอะไรนักเมื่อเทียบ กับชีวิตคน แต่พระภิกษุในพุทธศาสนาได้รับการอบรมกล่อ มเกลามาในระบบจริยธรรมที่มิได้มองว่ามนุษย์มี สถานะทางศีลธรรมสูงกว่าสัตว์ จิตใจของพระอรหันต์คือจิตใจของผู้ที่เห็นว่ามนุษย์ไม่มีสิทธิ์ที่จะใช้ชีวิตของสัตว์ แลกกับชีวิตของตน ท่านจึงยอมให้นายช่างแก้วทรมานทุบตี แทนที่จะบอกว่า นกกระเรียนที่นายช่างแก้วเลี้ยงไว้ นั้นกลืนบริโภคแก้วมณีลงท้องเพราะเข้าใจว่าเป็นก้อนเนื้อ เมื่อโยงเรื่องราวในพระคัมภีร์สองเรื่องนี้เข้าด้วยกัน จะเห็นได้ว่า หลักจริยศาสตร์ของพุทธศาสนาเถรวาท จะแยกความเป็นเหตุปัจจัยกับความรับผิดชอบทางศีลธรรมออกจากกันในบางสถานการณ์ แต่ในบางสถานการณ์ สองเรื่องนี้จะได้รับการพิจารณารวมกัน ในตัวอย่างที่ พระนางสามาวดีแกงไก่ส่งไปถวายพระพุทธองค์ สองเรื่องนี้ ถูกแยกออกจากกั น ตามหลักอิทัปปัจจยตานั้น ไม่มีอ ะไรที่เกิดลอยๆ โดยไม่มีเหตุปัจจัย การที่ไก่ตัวนั้นถูกฆ่า มาจากเหตุปัจจัยสาคัญคือมนุษย์ต้องการจะนาเนื้อไก่ไปใช้งานต่อ จะเห็นว่าความตายของไก่ตัวนั้นเกี่ยวข้องกับ ความประสงค์ของพระนางมาคัณฑิยาที่ต้องการนาเนื้อไก่ไปใช้งานตามแผนการของตน แต่ไม่เกี่ยวกับพระนาง สามาวดีและพระพุทธเจ้า กล่าวง่ายๆ คือพระพุทธองค์และพระนางสามาวดี ไม่ใช่ปัจจัยของการที่ไก่ตัวนั้นถูกฆ่า เมื่อไม่เกี่ยวข้อง การเรียกร้องความรับผิดชอบทางจริยธรรมจากพระพุทธเจ้าและพระนางสามาวดีจึงเป็นเรื่องที่ไม่ มีเหตุผล แต่ในกรณีที่สองนั้น พระเถระพิจารณาเห็นความเชื่อมโยงในเชิงเหตุปัจจัยระหว่างท่านกับนกกระเรียน ตัวนั้น กล่าวคือ ถ้าท่านบอกความจริง นกตัวนั้นก็จะตาย อาจมีผู้แย้งว่าทาไม่พระเถระจึงไม่บอกความจริงไป หน้าที่ของท่านคือการบอกความจริง ส่วนการที่นกจะถูกฆ่า หรือไม่นั้น ไม่เกี่ยวกับท่าน ท่านเพียงแต่พูดความจริง เรื่องน่าจะจบที่ตรงนี้ และเมื่อจบแล้ว หากนกนั้นจะถูกฆ่าเราก็คงเรียกร้องความรับผิดชอบทางศีลธรรมจากพระ เถระไม่ได้ แต่พระเถระคงเห็นว่าการที่ท่านบอกความจริงจะเป็นเหตุปัจจัยโดยตรงของความตายของนกกระเรียน นั้น ท่านจึงไม่บอก ในสถานการณ์หลังนี้ จะเห็นว่าถ้า การกระทาของเราเป็นเหตุปัจจัยของความตายของสัตว์ การเรียกร้องความรับผิดชอบทางศีลธรรมจากเราในกรณีดังกล่าวนี้ เป็นเรื่องชอบธรรม

1

ขุ.ธ.อ. 18 /38-39

- 15 -


สรุปดังรูปภาพที่ 3 แนวคิดการบริโภคเนือ้ สัตว์ ของเถรวาทเปรียบกับมหายาน

อนึ่ง การตายของสัตว์ก็เป็นผลแห่งวิบากกรรมของสัตว์นั้นเอง ดังตัวอย่างเรื่องราวในอรรถกถามตกภัตตชาดก มีตัวอย่างเรื่องราวที่แสดงให้เห็นว่าการสิ้นชีวิตของสัตว์นั้นเป็นผลมาจากวิบากกรรมของสัตว์นั้นเอง แม้ว่า สัตว์นั้นจะไม่ถูกฆ่าตาย ก็ย่อมจะต้องตายด้วยวิธีการอื่นอยู่ดี ดังมีเรื่องราวต่อไปนี้ ในอดีตกาล มี อาจารย์ทิศาปาโมกข์ ผสู้ าเร็ จไตรเพทคนหนึ่ง คิ ดว่าจักให้มตกภัต จึ งให้จับแพะมาตัวหนึ่ง กล่าวกะอันเตวาสิ กทัง้ หลายว่า “พวกท่านจงนาแพะตัวนี ้ไปยังแม่ น้ า เอาระเบี ยบดอกไม้สวมคอ เจิ มประดับ ประดาแล้วนามา” อันเตวาสิกทัง้ หลายรับคาแล้ว พาแพะนัน้ ไปยังแม่น้า ให้อาบน้า ประดับแล้วพักไว้ทีฝ่ ั่ งแม่น้า แพะนัน้ เห็น กรรมเก่าของตนเกิ ดความโสมนัสว่า “เราจักพ้นจากทุกข์ชื่อเห็นปานนี ้ ในวันนี”้ จึ งหัวเราะลัน่ ประดุจต่อยหม้อดิ น แล้วกลับคิ ดว่า “พราหมณ์ นีฆ้ ่าเราแล้ว จักได้ความทุกข์ ที่เราได้แล้ว ” เกิ ดความกรุณาพราหมณ์ จึงร้องไห้ด้วย เสียงอันดัง มาณพเหล่านัน้ จึ งถามแพะนัน้ ว่า “ ท่านหัวเราะและร้ องไห้เสียงดังลัน่ เพราะเหตุไรท่านจึ งหัวเราะ และ เพราะเหตุไรท่านจึ งร้องไห้” - 16 -


แพะกล่าวว่า “ท่านทัง้ หลายพึงถามเหตุนีก้ ะเรา ในสานักแห่งอาจารย์ของท่าน” มาณพเหล่านัน้ จึ งพาแพะนัน้ ไปแล้วบอกเหตุนีแ้ ก่อาจารย์ อาจารย์ ได้ฟังคาของมาณพเหล่านัน้ แล้วถาม แพะว่า “เพราะเหตุไรท่านจึ งหัวเราะ เพราะเหตุไรท่านจึ งร้องไห้ ” แพะหวนระลึกถึงกรรมทีต่ นกระทาด้วยญาณเครื ่องระลึกชาติ ได้กล่าวแก่พราหมณ์ ว่า “ เมื ่อก่อน เราเป็ น พราหมณ์ ผสู้ าธยายมนต์เช่นท่านนัน่ แหละ คิ ดว่าจักให้มตกภัต จึ งได้ฆ่าแพะตัวหนึ่งแล้วให้มตกภัต เพราะเราฆ่า แพะตัวหนึ่ง เรานัน้ จึ งถึงการถูกตัดศีรษะใน 499 อัตภาพ นีเ้ ป็ นอัตภาพที ่ 500 ของเราซึ่ งตัง้ อยู่ในที ่สดุ เรานัน้ เกิ ด ความโสมนัสว่า วันนี ้ เราจักพ้นจากทุกข์ เห็นปานนี ้ ด้วยเหตุนีจ้ ึ งหัวเราะ แต่ เราเมื ่อร้องไห้ ได้ร้องไห้เพราะความ กรุณาท่าน ด้วยคิ ดว่า ในกาลก่อน เราฆ่าแพะตัวหนึ่ง ถึงความทุกข์ คือการถูกตัดศี รษะถึง 500 ชาติ จักพ้นจาก ทุกข์นนั้ ส่วนในวันนีพ้ ราหมณ์ ฆ่าเราแล้วจักได้ทกุ ข์คือการถูกตัดศีรษะถึง 500 ชาติ เหมื อนเรา” พราหมณ์ กล่าวว่า “ ท่านอย่ากลัวเลย เราจักไม่ฆ่าท่าน” แพะกล่าวว่า “ท่านพูดอะไร เมื่อท่ านจะฆ่ าก็ดี ไม่ ฆ่าก็ดี วันนี้เราไม่ อาจพ้ นจากความตายไปได้ ” พราหมณ์ กล่าวว่า “ท่านอย่ากลัว เราจักถือการอารักขาท่าน เทีย่ วไปกับท่านเท่านัน้ ” แพะกล่าวว่า “อารักขาของท่านมี ประมาณน้อย ส่วนบาปทีเ่ รากระทามี กาลังมาก” พราหมณ์ ให้ปล่อยแพะแล้วกล่าวว่า “เราจักไม่ให้แม้ใคร ๆ ฆ่าแพะตัวนี”้ จึ งพาพวกอันเตวาสิกเทีย่ วไปกับ แพะนัน่ แหละ พอเขาปล่อยเท่านัน้ แพะก็ชะเง้อคอเริ่ มจะบริ โภคใบไม้ ซึ่ งอาศัยหลังแผ่นหิ นแห่งหนึ่งเกิ ดอยู่ ทันใด นัน้ เอง ฟ้าก็ผา่ ลงทีห่ ลังแผ่นหิ นนัน้ สะเก็ดหิ นชิ้ นหนึ่งแตกตกลงทีค่ อแพะซึ่ งชะเง้ออยู่ ตัดศีรษะขาดไป 1 จากเรื่อ งที่ยกมานี้ จะเห็นได้ว่า สิ่ งที ่เป็ นสาเหตุหลักให้สตั ว์ ตวั นัน้ ต้องสิ้ นชี วิต ก็ คือวิ บากกรรมของสัตว์ นัน้ ๆเอง ส่วนการที่เราบริโภคเนื้อสัตว์ที่บริสุทธิ์โดยส่วนสาม เช่น ซื้อเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกแล้วจากร้านอาหาร ฯลฯ มิได้ หมายความว่าจะเป็นสาเหตุโดยตรงให้สัตว์ตัวนั้นตาย สรุปดังรูปภาพที่ 4 ภาพสรุปแนวคิดการบริโภคเนือ้ สัตว์ ของเถรวาทและมหายาน

1

ขุ.ชา.อ. 28 /296-298

- 17 -


ลักษณะการสนับสนุนให้ ไม่ บริโภคเนือ้ สัตว์ พุท ธศาสนาฝ่า ยมหายานสนั บ สนุ นให้ง ดเว้ นการบริ โภคเนื้ อ สั ตว์ โดยมุ่ ง พิจ ารณาไปที่ ผู้บ ริโ ภค หาก พิจารณาในฝ่ายเถรวาท ก็มีหลักธรรมทีแ่ สดงให้เห็นว่าสนับสนุนการไม่บริโภคเนื้อสัตว์อยู่เช่นกัน โดยมุ่งเน้นไปที่ ผู้ขายและผู้ผลิต ดังมีปรากฏข้อห้ามชุดหนึ่ง เรียกว่า “มิ จฉาวณิ ชชา 5 ” (การค้าขายที่ไม่ถูกต้อง 5 อย่าง) ใน วณิชชสูตร ว่า ภิกษุทั้งหลาย การค้าขาย 5 ประการนี้ อันอุบาสกไม่พึงกระทา 5 ประการเป็นไฉน คือ 1. การค้าขายศัสตรา 2. การค้าขายมนุษย์ 3. การค้าขายเนื้อสัตว์ 4. การค้าขายน้าเมา 5. การค้าขายยาพิษ ภิกษุทั้งหลาย การค้าขาย 5 ประการนี้แล อันอุบาสกไม่พึงกระทา1

ทั้ง 5 ข้อนี้ พุทธศาสนาเถรวาทเห็นว่า สังคมพุทธไม่ควรอนุญาตให้มีการค้าขายสิ่งเหล่านี้ เพื่อปกป้อ ง ผู้คนและสัตว์ในสังคมให้ปลอดภัย ซึ่งดูเหมือนฝ่ายเถรวาทจะเชื่อว่า แม้คนจะเลิกบริโภคเนื้อสัตว์แล้ว ก็ยังไม่แน่ว่า การฆ่าสัตว์เพื่อเป็นอาหารจะหมดไป ซึ่งต่างจากการที่หากไม่มีการขายเนื้อสัตว์ ก็แทบจะไม่มีการบริโภคเนื้อสัตว์ ทั้งนี้ ในฝ่ายเถรวาทจะมุ่งเน้นไปที่ให้งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ ดังมีปรากฏชัดเจนอยู่ในศีล 5 (รวมทั้งศีล 8 และศีล 10) ข้อที่ 1 ว่าด้วยการงดเว้นจากปาณาติบาต ซึ่งองค์แห่งการล่วงละเมิดศีลข้อนี้ มี 5 ประการ คือ 1. สัตว์มีชีวิต 2. ตนรู้ว่าสัตว์มีชีวิต 3. จิตคิดจะฆ่า 4. มีความพยายาม (ลงมือทา) 5. สัตว์ตายด้วยความพยายามนั้น 2 ในการสอนให้งดเว้นจากปาณาติบาตนั้น พระพุทธองค์ได้ตรัสถึงโทษของการฆ่าสัตว์และอานิสงส์ของการ ไม่ฆ่าสัตว์ไว้ในจูฬกัมมวิภังคสูตรว่า บุคคลที่ฆ่าสัตว์เป็นประจา เมื่อ ตายไป จะเข้าถึงอบาย หากไม่เข้าถึงอบาย เกิดมาเป็นมนุษย์ จะเป็นคนมีอายุสั้น ส่วนบุคคลผู้เว้นขาดจากปาณาติบาต เมื่อตายไป จะเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ หากไม่เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เกิดมาเป็นมนุษย์ จะเป็นคนมีอายุยืน 3

1

องฺ.ปญฺจก. 22 /177 /232

2

ที.สี.อ. 4 /108

3

ม.อุ. 14 /582-583 /377-378

- 18 -


อีกทั้งในอรรถกถา ยังมีตัวอย่างแสดงโทษของการประกอบอาชีพปาณาติบาต (เช่นเรื่องนายจุนทสูกริก1 และนายโคฆาตก์ 2 ) และมีการแจกแจงอานิสงส์ของการไม่ฆ่าสัตว์ ไว้ หลายประการในอรรถกถาขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ได้แก่ ทาให้มีอวัยวะต่างๆสมบูรณ์ มีความสูงใหญ่ มีเชาว์ว่องไว มีเท้าตั้งอยู่เรียบดี มีกาลังมาก มีวาจาสละสลวย เป็นที่รักของชาวโลก มีวาจาไม่มีโทษ มีบริษัทไม่แตกกัน มีความองอาจ เป็นผู้ไม่ตายเพราะ ศัตรู มีบริวารมาก เป็นผู้มีรูปงาม ทรวดทรงดี มีโรคน้อย ไม่เศร้าโศก ไม่พลัดพรากกับสัตว์ สังขารที่รักที่พอใจ และมีอายุยืน 3 หากคนในสัง คมละเว้นจากการฆ่าสัต ว์ ได้แล้ว การบริโภคเนื้อ สัตว์ก็จะหมดไปเอง ดัง เช่นมีปรากฏ เรื่องราวที่ประชาชนพร้อมใจกันไม่ฆ่าสัตว์ในวันอุโบสถ ในอรรถกถามโหสถชาดก ว่า วันหนึ่ง พระเจ้าวิ เทหราชเสด็จไปพระราชอุทยานกับมโหสถบัณฑิ ต มี กิ้งก่าตัวหนึ่งอยู่ที่ปลายเสาค่าย มันเห็น พระราชาเสด็จมาก็ลงจากเสาค่ายหมอบอยู่ทีพ่ ืน้ ดิ น พระราชาทอดพระเนตรเห็นกิ ริยาของกิ้ งก่านัน้ จึ งตรัส ถามว่า “แน่ะบัณฑิ ต กิ้ งก่าตัวนีท้ าอะไร” มโหสถทูลตอบว่า “กิ้ งก่าตัวนีถ้ วายตัว พระเจ้าข้า” พระราชาตรัสว่า “การถวายตัวของกิ้ งก่าอย่างนี ้ ไม่มีผลก็หามิ ได้ ท่านจงให้โภคสมบัติแก่ มนั ” มโหสถกราบทูลว่า “กิ้ งก่านีห้ าต้องการทรัพย์ไม่ ควรพระราชทานเพียงแต่ของบริ โภคก็ พอ” ครั้นตรัสถาม ว่า “มันบริ โภคอะไร” ทูลตอบว่า “ มันบริ โภคเนือ้ ” แล้วตรัสซักถามว่า “มันควรได้ราคาเท่าไร” ทูลว่า “ราคาราว กากณึกหนึ่ง” จึ งตรัสสัง่ ราชบุรุษหนึ่งว่า “รางวัลของหลวงเพียงกากณึกหนึ่งไม่ควร เจ้าจงนาเนือ้ ราคากึ่ งมาสกมา ให้มนั บริ โภคเป็ นนิตย์” ราชบุรุษรับพระราชโองการ ทาดังนัน้ จาเดิ มแต่นนั้ มา วันหนึ่งเป็ นวันอุโบสถ คนไม่ ฆ่าสัตว์ ราชบุรุษ นั้นไม่ ได้ เนื้อ จึ งเจาะเหรี ยญกึ่งมาสกนัน้ เอาด้ายร้อยผูกเป็ นเครื ่องประดับทีค่ อมัน ความถือตัวก็เกิ ดขึ้นแก่กิ้งก่าเพราะอาศัยกึ่งมาสกนัน้ วันนัน้ พระราชาเสด็จไปพระราชอุทยาน กิ้ งก่าเห็น พระราชาเสด็จมา ก็ทาตนเสมอพระราชาด้วย เหมื อนจะเข้าใจว่าพระองค์มีพระราชทรัพย์มากหรื อ ตัวเราก็ มีมาก เหมื อนกัน ด้วยอานาจความถือตัวอันอาศัยทรัพย์กึ่งมาสกนัน้ เกิ ดขึ้น ไม่ลงจากปลายเสาค่าย ยกหัวร่ อนอยู่ไปมา บนปลายเสาค่ายนัน่ เอง พระเจ้าวิ เทหราชได้ทอดพระเนตรเห็นกิ ริยาของมัน ตรัสถามว่า “วันนี ้ มันไม่ลงมาเหมื อนในก่อน เหตุเป็ น อย่างไรหรื อ”

1

ขุ.ธ.อ. 17 /130-133

2

ขุ.ธ.อ. 18 /342-344

3

ขุ.ขุ.อ. 16 /37

- 19 -


มโหสถบัณฑิ ตรู้ว่า ในวันอุโบสถ คนไม่ ฆ่าสัตว์ มันอาศัยกึ่ งมาสกที ่ราชบุรุษผูกไว้ที่คอ เพราะหาเนื้อ ให้ บริ โภคไม่ ได้ ความถื อตัวของมันจึ งเกิ ดขึ้น จึ งกล่าวว่า “ กิ้ งก่าได้กึ่งมาสกซึ่ งไม่เคยได้ จึ งดูหมิ่ นพระเจ้ า วิ เทหราช ผูท้ รงสงเคราะห์ชาวกรุงมิ ถิลา” 1 แม้กระทั้งในเหตุการณ์เมื่อไม่นานมานี้ที่ประเทศศรีลังกา ก็มีประเด็นที่ว่า “กษัตริ ย์ที่ดี-ที่ปรึ กษาที่ดี”2 ที่ มีความเมตตาต่อสัตว์และมีการออกกฏห้ามฆ่าสัตว์ขึ้นมา โดยมีคาโบราณกล่าวไว้ว่า กษัตริย์แม้จะชั่วก็ยังดีกว่าที่ ปรึกษาชั่ว คานี้ย่อมเป็นจริงในอดีตจนถึงปัจจุบัน ในสมัย พระเจ้าอัคคโพธิที่ 4 (ค.ศ.658-674 คือ พ.ศ. 12011207) มีพระเถรชื่อทาฐาศิวะเป็นที่ปรึกษา พระองค์ก็ดีอยู่แล้ว และมาได้ที่ปรึกษาที่ดีอีก ดีกับดีจริงพบกัน ท่าน พระเถระองค์นี้ได้แนะนาให้พระเจ้าอัคคโพธิที่ 4 ชดใช้ค่าเสียหายต่างๆ ที่กษัตริย์องค์ก่อน ๆ ให้ทรงกระทาไว้แก่วัด วาอาราม ทรงโปรดปรานวัดทั้ง 3 วัด คือ มหาวิหาร อภัยคิรีวิหารและ เชตะวันวิหารเท่า ๆ กัน โดยได้มีพระกรุณา พระราชทานหมู่บ้าน 1 พันหลังที่มีประโยชน์อันแน่นอนมากมาย แก่พระสงฆ์ใน 3 วัดนั้น แม้ประชาชนก็เจริญรอย ตามพระองค์ในการบารุงพระพุทธศาสนา พระอัครมเหสีของพระองค์ทรงสร้างสานักนางชีขึ้นถวายนักบวชหญิง พร้อมทั้งพระราชทานความสะดวกสบายต่าง ๆ ในสมัยของพระองค์นี้ได้มีการสวดพระปริตรอย่างเป็นพิธีรีตองขึ้น เป็นครั้งแรก ยิ่งกว่านั้นพระองค์ ได้ ทรงออกประกาศใช้ กฎ “มาฆาต” คือห้ ามการฆ่ าสัตว์ ขึน้ อีกซึ่งเป็ นผลให้ จิตใจของประชาชนมีเมตตากรุณาต่ อสัตว์ อย่ างมากมาจนบัดนี ้ แม้เมื่อมาถึงสมัยของพระเจ้ากัสสปที่ 3 (ค.ศ.711-724 หรือ พ.ศ.1254-1267) เรื่องความเป็นผู้มีใจเมตตา กรุณ าก็ยั งคงมีใ นจิ ตใจของประชาชนเรื่อ ยมา ทั้ งนี้ เพราะพระมหากษั ตริย์ ทรงเป็ นตั วอย่ างที่ดีแ ก่ป ระชาชน ทั้งหลายได้เ ป็น อย่า งดี อย่า งเช่น พระองค์ได้ ทรงเลี้ย งปลาไว้ที่ท่ า 2 ท่า และทรงประกาศใช้ก ฎ “มาฆาต” เช่นเดียวกับกษัตริย์องค์ก่อน ๆ แม้กษัตริย์องค์ต่อๆ มา เช่น พระมหินทที่ 2 (ค.ศ. 772-784 หรือ พ.ศ. 1316-1327) และพระเจ้าเสนที่ 1 (ค.ศ. 831-850 คือ พ.ศ. 1374-1394) ก็ทรงบาเพ็ญกรณียกิจเป็ นสาธารณประโยชน์ แก่ คนและสัตว์ เรื่อยมา พระองค์ ได้ ทรงจัดเสบียงอาหารให้ ปลาและสัตว์ อ่ นื ๆ เช่ น นก เป็ นต้ น ถือเป็ นการ อนุเคราะห์ สัตว์ เหล่ านัน้ นับว่าการที่พระเจ้าแผ่นดินในอดีตของประเทศลังกาทรงบาเพ็ญสาธารณประโยชน์เช่นนั้น เป็นสัญลักษณ์ แห่งความเป็นพุทธศาสนิกชนที่แท้จริง และเป็นตัวอย่างอันดีในเรื่องความไม่เบียดเบียนสัตว์และเพื่อ นมนุษย์ ด้วยกัน ตัวอย่างเหล่านี้แหล่ะที่หล่อหลอมจิตใจของประชาชนชาวพุทธลังกาไว้เป็นอย่างดี แม้กระทั่งปัจจุบันนี้ผู้ที่ ได้มีโอกาสไปลังกามา ก็จะพบและเห็นได้ด้วยตนเองว่า สัตว์ทุกชนิดในลังกามีความเป็นอยู่อย่างปราศจากการ เบียดเบียนจากมนุษย์อย่างน่าชมเชยเพียงใด

1

ขุ.ชา.อ. ๓๖ /๒๘๐-๒๘๑

2

ชูศักดิ์ ทิพย์เกสร. รศ. พระพุทธศาสนาในศรีลังกา. (กรุงเทพฯ : หจก.เชน ปริ้นติ้ง, 2551),หน้า 36.

- 20 -


ดังนั้น จากตัวอย่างที่ยกประเด็นขึ้นนี้ ก็มองเห็นได้ว่าหากชาวพุทธศาสนิกชนทุกคนพร้อมใจกันไม่ฆ่าสัตว์ และไม่บริโภคเนื้อสัตว์ ก็ย่อมจะบังเกิดสิ่งที่ผาสุขขึ้นในสังคมและเป็นผลตามมาโดยทันที จะเห็นได้ว่าพุทธศาสนา ฝ่ายเถรวาทมุ่งเน้นไปที่ผู้ผลิตเป็นหลัก จึงไม่ให้มีการฆ่าสัตว์และขายเนื้อ สัตว์ ส่วนฝ่ายมหายานมุ่งเน้นไปที่ ผู้บริโภคเป็นหลัก จึงมีข้อกาหนดมิให้รับประทานเนื้อสัตว์ นั่นเอง สรุปดังรูปภาพที่ 5 ภาพสรุปเหตุผลเชิงตรรก

- 21 -


บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ พุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทนั้น ถึงแม้ว่าจะไม่ได้มุ่งสอนให้งดเว้นการบริโภคเนื้อสัตว์ แต่ก็มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ที่ เป็นมังสวิรัติ โดยมีท่าทีต่อการไม่บริโภคเนื้อสัตว์ดังต่อไปนี้ 1. เป็นการช่วยแก้ความชัว่ ร้ายโดยวิธีอหิงสา เป็นการบอกโดยนัยว่าไม่เห็นด้วยกับการฆ่าสัตว์เพื่อขาย เป็นอาหาร ไม่จาเป็นต้องมีการเรียกร้องกฎหมาย 2. ผู้มีความสะดวกในการถือมังสวิรัติ จะถือมังสวิรัตกิ ็ได้ อีกทั้งฝ่ายเถรวาทยังมีท่าทีในการชมเชยและ อนุโมทนาด้วย ส่วนผู้ที่ยังบริโภคเนื้อสัตว์อยู่ ฝ่ายเถรวาทก็ไม่แสดงการคัดค้านหรือตาหนิแต่อย่างใด เพียงแต่ขอให้บริโภคแล้วนากาลังกายไปประกอบคุณงามความดี 3. เรื่องงดเว้นบริโภคเนื้อสัตว์นั้น พระพุทธเจ้าอาจทรงเห็นว่าเป็นวัตรที่ดี แต่ไม่ควรตั้งเป็น กฎข้อบังคับ ให้ภิกษุทุกรูปต้องปฏิบัติตาม เพราะเวลาและโอกาสอานวยให้ไม่เหมือนกัน ถ้าหากพระองค์ตั้งกฎขึ้น มาว่า ห้ามภิกษุฉันเนื้อสัตว์ตลอดชีวิต พระภิกษุก็ไม่มีโอกาสเข้าไปสอนธรรมในหมู่ชนที่บริโภคเนื้อ สัตว์อยู่ เพราะชนเหล่านั้นเมื่อนิมนต์พระไปฉัน ก็ย่อมจัดอาหารที่เขาเคยชิน เมื่อพระภิกษุไม่เข้าไปใน หมู่ชนที่เขาบริโภคเนื้อสัตว์ ก็จะทาให้ชนเหล่านั้นหมดโอกาสที่จะได้รับรสพระธรรม ทาให้เสื่อมจาก มรรคผลที่ควรจะได้รับ อีกทั้งการไม่บริโภคเนื้อสัตว์ สามารถทาได้เฉพาะในบางพื้นที่เท่านั้น พื้นที่ที่ จะดารงชีพอยูไ่ ด้โดยไม่บริโภคเนื้อสัตว์นั้น ต้องเป็นถิ่นที่สามารถปลูกพืชผักได้เพียงพอ ในบางที่ก็ แสวงหาอาหารจาพวกผักได้ยาก เช่น ขั้วโลกเหนือ ฯลฯ ในเรื่องการบริโภคเนื้อสัตว์นี้ ผู้เขียนขอนาเสนอแนวทางสายกลางที่เหมาะสมกับการดาเนินชีวิตในสังคม ปัจจุบัน เพื่อลดการฆ่าสัตว์และบริโภคเนื้อสัตว์เป็นอาหาร โดยแยกออกเป็นฝ่ายพระภิกษุและคฤหัสถ์ ดังต่อไปนี้  พระภิกษุ 1. ควรฉันภัตตาหารตามที่ชาวบ้านนามาถวาย เพราะบรรพชิตต้องประพฤติตนให้เป็นผู้เลี้ยงง่าย 2. ฉันเนื้อสัตว์ที่เป็นกัปปิยะ ซึ่งบริสุทธิ์โดยส่วน 3 3. สั่งสอนแนะนาให้ชาวบ้านละการทาปาณาติบาต และมิจฉาวณิชชาโดยเฉพาะข้อที่ว่าด้วยการขาย เนื้อสัตว์  คฤหัสถ์ 1. งดเว้นการทาปาณาติบาต และมิจฉาวณิชชา 2. บริโภคเนื้อสัตว์ที่บริสุทธิ์โดยส่วน 3 เหมือนฝ่ายบรรพชิต 3. งดเว้นการซื้อเนื้อสัตว์ในลักษณะที่เป็นสาเหตุให้มีการสั่งฆ่าโดยเจาะจง นอกจากนี้ หากมีความประสงค์จะแสดงเจตนาคัดค้านการฆ่าสัตว์เพื่อ เป็นอาหาร ก็อ าจกระทาได้ใน แนวทางที่เหมาะสม ไม่สร้างความยุ่งยากต่อการอยู่ร่วมกันในสังคม ซึ่งอาจทาได้โดย  ในกรณีที่ซื้อวัตถุดิบมาปรุงอาหารเอง ก็ไม่ซื้อเนื้อสัตว์มาใช้ปรุงอาหาร หรือใช้ให้น้อยที่สุด - 22 -


 กรณีที่ไปบริโภคอาหารในสังคมต่างๆ หรือซื้อ บริโภคตามรายการของร้านอาหาร ก็บริโภคไป ตามรายการอาหารที่จั ดไว้ ให้ ในสถานที่นั้ นๆ หรือ เลื อ กรายการอาหารที่มีเ นื้อ สั ตว์ น้อ ยที่สุ ด เพื่อความสะดวกในการหาแสวงอาหารมาหล่อเลี้ยงร่างกาย และไม่สร้างลาบากในการอยู่ร่วมกัน ในสังคม  ควรมีการรณรงค์ให้ผู้ผลิตเห็นโทษของปาณาติบาต เพราะแม้ว่าผู้บริโภคจะบริโภคเนื้อสัตว์ลด น้ อ ยลง แต่ ก็ ไ ม่ ไ ด้ ห มายความว่ า ผู้ ผ ลิ ต จะลดอั ต ราการผลิ ต ลงด้ ว ย ผู้ ผ ลิ ต คงจะใช้ วิ ธี ท าง การตลาดเพื่อเพิ่มยอดขายสืบต่อไป เช่น การโฆษณา การใช้กลยุทธ์เพื่อดึงดู ดความสนใจของผู้ ซื้อ การหาตลาดแหล่งใหม่ทั้งภายในและต่างประเทศ ฯลฯ ทั้งนี้หากผู้ประกอบการและคณะ ผู้บริหารประเทศที่ควบคุมดูแลด้านเศรษฐกิจได้ตระหนักถึงโทษของการทาปาณาติบาต ก็ควรจะ ยอมลดรายได้จากผลประกอบการและการเก็บภาษีที่มาจากธุรกิจเกี่ยวกับ เนื้อสัตว์ แล้วร่วมมือ กัน เปลี่ ย นแปลงไปประกอบกิ จ การในด้า นที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การฆ่ า สั ต ว์ หารายได้ จ ากการ ประกอบการด้านอื่นมาทดแทน กล่ าวโดยสรุป แล้ ว ฝ่า ยมหายานนั้น รณรงค์ที่ ผู้บ ริ โภค ส่ว นฝ่ ายเถรวาทก็ รณรงค์ที่ ผู้ผ ลิต เมื่อ ผนวก จริยธรรมจากสองฝ่ายเข้าด้วยกัน การฆ่าสัตว์และการบริโภคเนื้อสัตว์เป็นอาหารคงจะลดลงจากโลกนี้เรื่อยๆ อย่าง แน่นอน

- 23 -


บรรณานุกรม จิตรา ก่อนันทเกียรติ.ตึ่งหนั่งเกีย้ .กรุงเทพฯ : แพรวสานักพิมพ์,2541. ชูศักดิ์ ทิพย์เกสร. พระพุทธศาสนาในศรัลังกา. กรุงเทพฯ : หจก. เชน ปริ้นติ้ง. 2551. ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์.ประเทศจีนกับพระพุทธศาสนา(ฝ่ ายมหายาน).กรุงเทพฯ : มหากุฏราชวิทยาลัย, 2525. พระมหาสนม นิลวรรณ.ความเชื่ อ และการปฏิ บัติเกี่ยวกั บการกินเจ ศึกษาเปรี ยบเทียบการกินเจของ พุทธศาสนิกชนในวัดจีนและไทยในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล.วิทยานิพนธ์ปริญญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,2542. พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโ .พุทธปรัชญาโยคาจาร : ประวัติ พัฒนาการ สารัตถธรรม และอิทธิพล. เข้าถึงจาก : http://oldgds.mcu.ac.th/Article/yogacara_buddhist%20philosophy.html . วันที่สืบค้น 11 กรกฎาคม 2550. พระมหาสมชาย านวุฑฺโฒ.มงคลชีวิต ฉบับทางก้ าวหน้ า.กรุงเทพฯ : บริษัท ฐานการพิมพ์ จากัด,2548. พระมหาสุวิทย์ วิชฺเชสโก.ศีล...เป็ นที่ตงั ้ แห่ งความดีงาม.กรุงเทพฯ : บริษัท ฟองทองเอ็นเตอร์ไพรซ์ จากัด,2542. พระเยื้อง ปั้นเหน่งเพชร.การบริโภคปั จจัย 4 ของพระภิกษุสงฆ์ . วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาปรัชญา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2540. พระราชวิสุทธิกวี (พิจิตร ตวณฺโณ).พระพุทธศาสนาในจีน และ 16 วันในจีนแผ่ นดินใหญ่ . พิมพ์เป็นที่ระลึก ในโอกาสทาบุญ คล้ า ยวั นเกิด พระราชวิ สุ ทธิ กวี (พิ จิต ร ตวณฺ โณ) วั ดโสมนั สวิ หาร กรุง เทพฯ : 24 มิถุนายน 2534. มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิ ฎกและอรรถกถาแปล.91 เล่ม.กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,2543. มหามกุฏราชวิทยาลัย.มงฺคลตฺถทีปนี.2 เล่ม.กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,2539. มหามกุฏราชวิทยาลัย.มังคลัตถทีปนีแปล.5 เล่ม.กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,2538. มหามกุฏราชวิทยาลัย.สฺยามรฏฺ สฺส เตปิฏกํ.45 เล่ม.กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,2535. มหามกุฏราชวิทยาลัย.สฺยามรฏฺ สฺส เตปิ ฏกฏฺ กถา.48เล่ม.กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2538. มหามกุฏราชวิทยาลัย. อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา. กรุงเทพฯ :มหามกุฏราชวิทยาลัย,2542. มหามกุฏราชวิทยาลัย,ผู้จัดพิมพ์. อภิธัมมัตถสั งคหะ และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกาแปล.กรุงเทพฯ : มหา มกุฏราช-วิทยาลัย,2547. วศิน อินทสระ.พุทธปรัชญามหายาน.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาแหง,2541. สมภาร พรมทา.“กิน : มุมมองของพุทธศาสนา.”วารสารพุทธศาสน์ ศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 : 6 - 101 , กันยายน – ธันวาคม 2546. หวัง ซื่อ ไฉ่.การกินเจ.สมุทรปราการ : ธีรสาส์น พับลิชเชอร์,ม.ป.ป. - 24 -


อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต์.พุทธศาสนามหายาน.กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,2539. Suzuki,D.T.The Lankavatara Sutra.Delhi : Motilal Banarsidass,1999.

- 25 -


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.