กรณีที่เซลล์โคลนเสียไปในระหว่างกระบวนการการโคลน

Page 1

การที่เซลล์โคลนเสียไปในระหว่างกระบวนการการโคลนก่อนที่จะใส่ เข้าไปในมดลูก จะถือว่ามีชีวิตหรือไม่ มีปฏิสนธิวิญญาณแล้วหรือยัง พิชิต ปั ญญา

เกริ่นนา ในบทความนี้ มีเรื่ องที่ควรพิจารณารวมสามเรื่ อง โดยทั้งสามเรื่ องนี้ จะเกี่ยวข้องโดยตรง กับการพิจารณาปั ญหาต่างๆในทางชีวจริ ยศาสตร์ สามเรื่ องที่ว่านี้ คือ 1) ตามทัศนะของพระพุทธ ศาสนา ความเป็ นมนุษย์เริ่ มต้นเมื่อใด 2) การที่เซลล์โคลนเสียไปในระหว่างกระบวนการการโคลน ก่อนที่จะใส่เข้าไปในมดลูก จะถือว่ามีชีวติ หรื อไม่ 3) การที่เซลล์โคลนเสี ยไปในระหว่างกระบวน การการโคลนก่อนที่จะใส่เข้าไปในมดลูก มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณแล้วหรื อยัง ก่อนที่เราจะหาคาตอบ ซึ่งจะอธิบายคาถามต่าง ๆ เหล่านี้ ในเบื้องต้นเราควรรู ้จกั การโคลน และเซลล์โคลนก่อนว่าคืออะไร

การโคลนนิ่ง คือ อะไร การโคลน1 หมายถึง การให้กาเนิดชีวติ ใหม่จากชีวิตเดิมผ่านเพียงเพศเดียวหรื อคนเดียวโดย ไม่ผา่ นการผสมพันธุ์ การให้กาเนิดชีวติ แบบอาศัยพ่อแม่น้ นั เราเรี ยกกันว่า “การให้กาเนิ ดชีวิตแบบ อาศัยเพศ” (Asexual Reproduction) การที่ปลาดาวเมื่อถูกตัดแบ่งจากหนึ่ งตัวสามารถงอกอวัยวะที่ ขาดหายไปมาทดแทนแล้วกลายเป็ นตัวใหม่อีกหลายตัวนั้นเป็ นตัวอย่างที่ดีของการสืบพันธ์ แบบไม่ อาศัยเพศ ในพืชนั้นดูเหมือนว่าเราจะพบการสืบต่อเผ่าพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศได้มากกกว่าสัตว์ การ 1

สมภาร พรมทา. “ทัศนะของพระพุทธศาสนาเกีย่ วกับการโคลนมนุษย์ ” หน้ า 9-10 วารสารพุทธศาสน์ศึกษา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ฉบับที่ 2 พ.ค.- ส.ค. 2550


2

ตอนกิ่งต้นมะม่วงก็คือการโคลนชนิดหนึ่ง สาหรับมนุษย์น้ นั แม้วา่ โดยทัว่ ไปธรรมชาติดูจะไม่สร้าง ระบบการให้กาเนิดชีวติ พิเศษเพือ่ ใช้ในยามฉุกเฉินเหมือนสัตว์บางเผ่าพันธุ์ แต่หากพิจารณาให้ดีเรา จะพบว่าช่องทางพิเศษที่ว่านั่นก็มีอยู่ ยกตัวอย่างเช่นการกาเนิ ดของฝาแฝดที่มาจากไข่ใบเดียวและ อสุจิตวั เดียวที่เรี ยกว่า “แผดแท้” หรื อ “แฝดเหมือน” (Identical Twins) นั้นโดยสาระก็คือการโคลน ชนิดหนึ่ง กรณี แฝดแท้นั่นปกติไข่และอสุ จิอย่างละหนึ่ งเมื่อผสมกันแล้วจะกลายเป็ นคนเพียงหนึ่ ง คน แต่บางครั้งก็เกิด “ความผิดพลาด” หรื อ “อุบตั ิเหตุ” บางประการทาให้กลุ่มเซลล์ที่ปกติจะก่อตัว กลายเป็ นทารกเพียงหนึ่ งคนนั้นได้แยกตัวกลายเป็ นมากกว่าหนึ่ ง เราจะสมมติว่าจากไข่และอสุ จิ อย่างละเพียงหนึ่ งนั้นได้กลายเป็ นเด็กทารกสองคน เนื่ องจากทั้งสองมาจากหน่ วยทางชีวภาพอัน เดียวกัน ทั้งคู่จึงมีอะไรก็ตามที่เป็ นองค์ประกอบทางชีววิทยาเช่นยีนเป็ นอย่างเดียวกัน การโคลนนั้น หมายถึ งการแบ่งสิ่ งมี ชีวิตหนึ่ งให้กลายเป็ นสิ่ งมี ชีวิตมากกว่าหนึ่ ง ในแง่น้ ี การเกิ ดขึ้นของแฝด เหมือนก็คือการโคลนที่เกิดโดยกระบวนการทางธรรมชาติ นักวิทยาศาสตร์น้ นั เชื่อว่าอะไรก็ตามแต่ ที่เกิดได้ตามธรรมชาติน้ นั มนุษย์ก็อาจเรี ยนรู ้ที่จะทาตามได้ โดยการสร้างเงื่อนไขปั จจัยให้เป็ นอย่าง เดียวกันกับเหตุปัจจัยตามธรรมชาติที่ผลักดันให้เกิดปรากฏการณ์ที่เราอยากจะทาตามนั้น เมื่อการ โคลนตามธรรมชาติเกิดได้ การโคลนที่ผลักดันโดยมนุษย์ก็น่าที่จะทาได้เช่นกัน การโคลน2(cloning) คือ การสาเนาพันธุกรรมมนุษย์หรื อการคัดลอกพันธุกรรมเหมือนกัน หมดของสิ่งมีชีวติ ในที่น้ ีคือคนๆนั้น หมายถึงการโอนถ่ายนิวเคลียส โดยการนานิ วเคลียสจากเซลล์ ร่ างกายของคนหนึ่งไปใส่แทนนิวเคลียสของไข่แล้วนาไปฝังตัวในมดลูก หลังจากนั้นจะเพาะเลี้ยง เซลล์จนเซลล์แบ่งตัวเป็ นตัวอ่อนได้ประมาณ5 วัน แล้วนาไปใส่ในมดลูกเพื่อให้ฝังตัว หากตัวอ่อน ฝังตัวก็จะพัฒนาเช่ นเดียวกับการเกิ ดในครรภ์ ซึ่ งเมื่อคลอดออกม จะมีร่างกายเหมือ นกับเจ้าของ นิวเคลียส (ทานองเดียวกับการถ่ายเอกสารที่ถ่ายแล้วจะเหมือนกับต้นฉบับ)

2

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ


3

การโคลน(clone)3 หมายถึง การที่สิ่งมีชีวติ กลุ่มหนึ่งมียนี ในนิวเคลียสเป็ นชุดเดียวกันด้วย การทาให้เกิ ดฝาแฝดจากไซโกตเดี ยวกัน (monozygotic) ด้วยความจงใจ หรื อ วิธีการสร้างสิ่ งที่มี ลักษณะทางพันธุ กรรมเหมื อ นกันหมด (นายแพทย์วิจารณ์ พานิ ชให้ความหมายในคานิ ยมของ หนังสือ โคลนนิ่ง : เทคโนโลยีสะท้านโลก 4 การโคลนมี 2 วิธีใหญ่ๆคือ วิธีแรก เป็ นวิธีการตัดแบ่ง ตัวอ่อนออกเป็ นสองตัว ด้วยเครื่ องมือที่ทาให้เกิดฝาแฝด(micromanipulator) ซึ่ งเป็ นวิธีที่ทากันมา นานแล้ว โดยมีอตั ราประสบผลสาเร็ จร้อยละ30 ในวัวและแกะ ส่ วนวิธีที่สองเป็ นวิธีการย้ายถ่าย นิวเคลียส(หรื อการโอนถ่ายนิวเคลียส)

แนวคิดของพระพุทธศาสนาทีม่ ตี ่ อการโคลนมนุษย์ 5 พระพุทธศาสนาพิจารณาว่าการโคลนนั้นเป็ นกระบวนการทางธรรมชาติอย่างหนึ่ งในการ ให้กาเนิ ดชีวิตใหม่ แม้ว่ากระบวนการดังกล่ าวนี้ ดูเหมื อ นว่ามนุ ษย์จะเป็ นผูส้ ร้างสรรค์ข้ ึน แต่ใน ความเป็ นจริ ง สิ่ งที่นักวิทยาศาสตร์ทาเกี่ยวกับเรื่ องนี้ ก็เหมือนเรื่ องอื่นๆ คือ เป็ นการ “ค้นพบ” กฏ ธรรมชาติที่แอบซ่ อ นอยู่ในที่มืดเท่านั้น เมื่อ การโคลนเป็ นกระบวนการทางธรรมชาติอ ย่างหนึ่ ง พุทธศาสนาก็ไม่แยกพิจารณาการโคลนออกมาเป็ นพิเศษแตกต่างจากการให้กาเนิดชีวติ แบบอื่นๆ เซลล์โคลน(cloned cell) คือ ไข่ที่ ถู กดู ดนิ ว เคลี ยสออกแล้วน านิ วเคลี ยสที่ดูดจากเซลล์ ร่ างกายของสัตว์ตวั ใดตัวหนึ่ งหรื อคนใดคนหนึ่ งไปใส่ แทนนิ วเคลียสของไข่แล้วพัฒนาแบ่งเซลล์ ประมาณ 5-7 วันก็จะเป็ นบลาสโตซิส พร้อมที่จะนาไปใส่ในมดลูกให้เจริ ญเป็ นทารกต่อไป 3

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง ธีระพร วุฒยวนิช, 2546 : น. 292 4 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง ยงยุทธ ยุทธวงศ์และศุภชัย หล่อโลหการ.โคลนนิ่ง: เทคโนโลยีสะท้านโลก, 2544:น.คานิยม 5 สมภาร พรมทา. “ทัศนะของพระพุทธศาสนาเกีย่ วกับการโคลนมนุษย์ ” หน้ า 107 วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ฉบับที่ 2 พ.ค.- ส.ค. 2550


4

ตามทัศนะของพระพุทธศาสนา ความเป็ นมนุษย์ เริ่มต้ นเมือ่ ใด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสเกี่ยวกับการเกิดของมนุษย์และสัตว์ ไว้ในมหาสี หนาทสู ตร 6 ว่ามีดว้ ย กัน 4 วิธี ได้แก่ 1. การเกิดแบบอันฑชะคือ การเกิดในฟองไข่ ได้แก่ สัตว์ปีกและสัตว์เลื้อยคลานต่างๆเช่น พระภาติยเถระ 2 รู ป ซึ่งเป็ นลูกของโกนตะ ดังที่ปรากฏในอรรถกถามหาสีหนาทสูตร7 2. การเกิ ดแบบสัง เสทชะคื อ การเกิ ด ในที่ มี ข องบู ด เน่ า ของโสโครก น้ าครา เช่ น ยุง แมลงวันเป็ นต้น นอกจากนี้การเกิดเป็ นมนุษย์แบบแบบสังเสทชะซึ่งไม่ตอ้ งอยูใ่ นครรภ์ ก็มีกล่าวไว้ ในอรรถกถาอิ สิคิลิสูตร อนุ ปทวรรค 8ซึ่ งเป็ นการเกิ ดของนางปทุมที่เกิ ดในดอกบัว เวลาเดิ นก็มี ดอกบัวมารองรับ เมื่อแต่งงานมีลูกคนหนึ่ งซึ่ งเกิดโดยการตั้งครรภ์และอีก500คนเกิดที่เถ้าไคลบน รกของพระนางปทุม และมีอธิบายในอรรถกถาอัมพัฏฐสูตร9 ว่าพราหมณ์ชื่อ โปกขรสาติ เป็ นผูเ้ กิด ในดอกบัว “ดอกบัวหลวงนี้ แม้ต้ งั 7 วันแล้วก็ยงั ไม่ บานดาบสจึงลงไปเก็บดอกบัวหลวงภายใน ดอกบัวนั้น เขาได้เห็นทารกมีผิวพรรณขาว มีรูปร่ างราวกับเงิน ดุจสี ผงทองมีวรรณะขาวเหลืองดัง เกสรดอกประทุม. เขาจึงคิดว่า ทารกนี้คงจักเป็ นผูม้ ีบุญมาก จึงอุม้ ไปและเลี้ยงดูยงั บรรณศาลา อายุ ได้ 7 ขวบก็เรี ยนจบเวททั้ง 3 เป็ นบัณฑิต เฉลียวฉลาด ได้เป็ นยอดพราหมณ์ในชมพูทวีป” 6

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง พระสุ ตตันตปิ ฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่มที่ 18 ข้อที่ 169 หน้าที่ 46-47 7 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง ปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่มที่ 18 หน้าที่ 87 8 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง อรรถกถาอิสิคิลิสูตร อนุปทวรรค อรรถกถามัชฌิมนิกาย อุปริ ปัณณาสก์ เล่มที่ 22 หน้าที่ 337 9

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ

ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง สุ มลั คลวิลาสิ นี อรรถกถาทีฆนิกาย สี ลขันธวรรค เล่มที่ 11หน้า 533-535


5

3. การเกิดแบบโอปปาติกะ คือ การเกิดเป็ นตัวโตเต็มที่เลย ได้แก่ พวกเทวดาชั้นต่างๆและ สัตว์ต่างๆในอบายภูมิอนั มี สัตว์นรก เปรต อสุ รกาย รวมทั้งการเกิดของนางอัมพปาลี ซึ่ งเกิดที่ตน้ มะม่วงอีกด้วย ดังมีในอรรถกถาอัมพปาลีเถรี คาถา10 “ด้วยผลแห่งบุญนั้นข้าพเจ้าก็บงั เกิดในสวรรค์ ชั้นไตรทศ (ดาวดึงส์) เมื่อถึงภพสุดท้าย ข้าพเจ้าเกิดเป็ นโอปปาติกะ ที่ระหว่างกิ่งมะม่วงด้วยเหตุน้ นั ข้าพเจ้าจึงชื่อว่าอัปพปาลี” 4. การเกิดแบบชลาพุชะคือการเกิดในครรภ์ในมดลูก ได้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีมนุ ษย์ เป็ นต้น จากการเกิดข้างต้น จะเห็นได้วา่ การเกิดเป็ นมนุ ษย์น้ นั ในพระพุทธศาสนากล่าวว่าเกิดได้ 4 วิธี ซึ่งรับรองโดยพระอรรถกถาจารย์ในอรรถกถาสังคีติสูตร สุ มงั คลวิลาสิ นีว่า 11 “จริ งอยู่ ในหมู่ มนุษย์และภุมมเทวดา ย่อมหากาเนิดสี่ เหล่านี้ได้ครบ” รวมทั้งพระอรรถกถาจารย์สรุ ปในอรรถกถา มหา สีหนาทสู ตร12ว่า “ในมนุ ษย์ท้ งั หลาย มนุ ษย์บางพวกเป็ นอุปปาติกะเหมือนเทวดา แต่มนุ ษย์ เหล่านั้นโดยมากเกิดจากครรภ์ ในที่น้ ีแม้ที่เกิดจากไข่ก็เหมือนภาติยเถระ 2 รู ปผูเ้ ป็ นบุตรของโกนตะ แม้ที่เกิดจากเหงื่อไคล ก็มีโปกขรสาติพราหมณ์ และพระนางปทุมวดีเทวี ที่เกิดในกลีบประทุมเป็ น ต้น.”

10

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง ปรมัตถทีปนี อรรถกถาขุททกนิกาย เถรี คาถา เล่มที่ 54 หน้า 358,368 11 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง พระวินยั ปิ ฎก มหาวิภงั ค์ ปฐมภาค เล่มที่ 2 ข้อที่ 215 หน้า 301 12

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง ปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่มที่ 18 หน้าที่ 87


6

อย่างไรก็ตามยังมีรายละเอียดเพิม่ เติม คือ การเกิดแบบชลาพุชะและสังเสฑชะ จัดเป็ นการ เกิดในครรภ์(คัพภเสยยกกาเนิด) เพราะต้องเกิดในครรภ์ของมารดาก่อน ต่างกันที่เป็ นตัวกับเป็ นไข่ แต่ภายหลังจึงคลอดออกจากครรภ์เหมือนกัน13 สาหรับการเกิดในปั จจุบนั แม้วทิ ยาศาสตร์จะมีการช่วยให้เกิดด้วยวิธีทาเด็กหลอดแก้ว แต่ สุดท้ายก็ตอ้ งนาไปใส่ในมดลูกให้เจริ ญเติบโตในครรภ์ ดังนั้น ถ้าหากไม่มีครรภ์ก็คงเกิดเป็ นมนุษย์ ไม่ได้ ในสมัยที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่ มียกั ษ์ชื่อว่าอินทกะได้กราบทูลถามปัญหา ว่า กระดูกและเนื้อซึ่งหมายถึงมนุษย์หรื อทารก เข้าไปอยูใ่ นครรภ์ได้อย่างไร14พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสตอบว่า “รู ปนี้เป็ นกลละก่อน จากกลละเป็ นอัพพุทะ จากอัพพุทะเกิดเป็ นเปสิ จากเปสิ เกิดเป็ นฆนะ จากฆนะเกิดเป็ น 5 ปุ่ ม(ปั ญจสาขา) ต่อจากนั้น มีผมขนและเล็บ(เป็ นต้น) เกิดขึ้น มารดาของสัตว์ในครรภ์บริ โภคข้าวน้ าโภชนาหารอย่างใดสัตว์ผูอ้ ยู่ในครรภ์ มารดานั้น ก็ยงั อัตภาพให้เป็ นไปด้วยอาหารอย่างนั้นในครรภ์น้ นั ” ข้อสังเกตของการเกิดแบบชลาพุชะนี้ ก็คือเป็ นเรื่ องของการเกิดในครรภ์เท่านั้น จากการที่ อินทกะยักษ์ถามว่ากระดูกและเนื้อเข้าไปอยูใ่ นครรภ์ได้อย่างไร โดยไม่ได้หมายถึงกระดูกและเนื้อ ที่วางข้างนอก ดังนั้น กระดูกและเนื้อในที่น้ ีจึงหมายถึง ทารกนัน่ เอง

13

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง พระเทพวิสุทธิกวี.จิตวิทยาในอภิธรรม,2543:น6 14 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ .

ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต

สาขาวิชาสห

วิทยาการ. อ้างถึง อินทกสูตร ว่าด้วยสัตว์ต้ งั อยูใ่ นครรภ์อย่างไร ยักขสังยุต สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เล่มที่ 25 หน้าที่ 384


7

พระอรรถกถาจารย์ได้ขยายความลักษณะของกลละไว้ว่า15กลละมีลกั ษณะเหมือนหยาด น้ ามันงา เหมือนเนยใส ใสไม่ข่นุ มัว ซึ่งตั้งอยูท่ ี่ปลายเส้นด้ายที่ทาด้วยเส้นขนสัตว์3เส้น และในขันธ วิภงั คนิ เทศ วรรณนาสุ ตตันตภาชนี ย 16์ พระอรรถกถาจารย์ได้อปมาว่า ขนาดของกลละหยดหนึ่ งที่ แมลงวันดื่มด้วยความพยายามครั้งเดียวก็ยงั มีขนาดใหญ่กว่ากลละ หรื อแม้แต่เมื่อเอาปลายเข็มจุ่มใน น้ ามันงาแล้วปล่อยให้หยดออกจากปลายเข็มนั้น หยดน้ ามันนั้นก็ยงั มีขนาดใหญ่กว่ากลละ และยัง อุปมาหยาดน้ ามันงาที่ติดอยูท่ ี่ปลายเส้นผมของมนุ ษย์บนโลกนี้ ที่ผ่าเป็ น 8 ส่ วน(1ใน8ส่ วนเท่ากับ ขนาดของเส้นผมของชาวอุตตรกุรุทวีป) แล้วก็ยงั ถือว่าหยาดน้ ามันงาก็ยงั ใหญ่เกินกลละ แสดงว่า กลละมีขนาดเล็กมาก แต่ในที่สุดก็สรุ ปว่า ธรรมดาขนทรายเป็ นธรรมชาติละเอียด “กลละนั้นเป็ น เพียงหยาดที่ไหลออกตรงปลายของขนเนื้อทรายเส้นหนึ่งที่เขาจุ่มในน้ ามันงาใสแล้วยกขึ้น” กลละนี้ นั้นใสสะอาด ไม่ข่นุ มัว บริ สุทธิ์ เสมอด้วยหยาดน้ ามันงาใส ข้อนี้ สมดังคาที่ท่านกล่าวไว้วา่ ติลเตลสฺ ส ยถา พินฺทุ สปฺปิมณฺ โฑ อนาวิโล เอว วณฺ ณปฏิภาค กลลนฺ ติ ปวุจฺจติ หยาดน้ ามันงา ใสเหมือนเนยใส ไม่ข่นุ มัว ฉันใด ท่านกล่าวว่า กลลรู ปมีส่วน เปรี ยบด้วยรู ปพรรณ ฉันนั้น. ส่วนพัฒนาการของชีวติ มนุษย์ต้งั แต่เป็ นกลละ พระอรรถกถาจารย์ได้อธิบายว่า เมื่อกลละ นั้นผ่านไป 7 วัน จากหยาดน้ ามันงาใสๆก็ขน้ ขึ้นเปลี่ยนภาวะมีสีเหมือนน้ าล้างเนื้อ จึงเรี ยกว่า “อัพพุ ทะ” เมื่ออัพพุทะนั้นผ่านไป 7 วัน สีที่เข้มขึ้นเหมือนน้ าล้างเนื้อก็จะข้นขึ้นอีกเรี ยกว่า”เปสิ ” คล้ายดีบุกเหลว มีลกั ษณะคล้ายเม็ดพริ กไทย 15

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง สารัตถปกาสิ นี อรรถกถาสังยุตตนิกาย สคาถวรรค เล่มที่ 25 หน้าที่ 386-7 16 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ .

ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต

วิทยาการ. อ้างถึง สัมโมหวิโนทนี อรรถกถาพระวิภงั ค์ เล่มที่ 77 หน้าที่ 57-59

สาขาวิชาสห


8

เมื่อเปสิน้ นั ผ่านไป 7วัน ดีบุกเหลวที่มีลกั ษณะคล้ายเม็ดพริ กไทย ก็พฒั นาต่อไปเป็ นก้อน เนื้อกลมเหมือนไข่ไก่เรี ยกว่า “ฆนะ” ในสัปดาห์ที่ 5 เกิดปุ่ มขึ้น5แห่ง เพื่อเป็ นมือและเท้าอย่างละ2 แห่งและเป็ นศีรษะอีก1 แห่ งเป็ นต้น พัฒนาการเหล่านี้ ย่อมเกิดใน 42 สัปดาห์ โดยสายสะดือของ ทารกนั้น ติ ดเป็ นอัน เดี ย วกับแผ่น ท้อ งของมารดาเป็ นรู เหมื อ นก้านบัว เมื่ อ มารดารับ ประทาน อาหารๆก็จะแล่นไปตามสายสะดือนั้น โดยปกติแล้วชี วิตเกิ ดขึ้นเมื่ อ มารดาบิดามี เพศสัมพันธ์กัน จากนั้น หน่ วยแรกของชี วิต มนุษย์ก็เกิดเป็ นกลละในครรภ์ดงั ที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น หรื อสามารถกล่าวได้ว่าความเป็ นมนุ ษย์ ได้เริ่ มต้นขึ้นแล้วตั้งแต่กลละนั้น โดยสรุ ปก็คือ ความเป็ นมนุษย์เริ่ มต้นตั้งแต่องค์ประกอบสามอย่างของการตั้งครรภ์หลอม รวมกันเป็ นหนึ่ งเดี ยวแล้วกลายเป็ นกลละ กล่ าวอี กอย่างหนึ่ งคือ ความเป็ นมนุ ษย์เริ่ มต้นที่กลละ ดังนั้น การทาลายกลละจึงเท่ากับฆ่ามนุษย์

การที่เซลล์ โคลนเสี ยไปในระหว่ างกระบวนการการโคลนก่ อนที่จะใส่ เข้ าไปใน มดลูก จะถือว่ ามีชีวติ หรือไม่ ขอนาเสนองานวิจัยวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ 2 ชิ้น 1.พระโสภณ โสภโณ พุม่ ไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบ เถรวาทและผลกระทบทางสังคมในมุ มมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ ก ารแพทย์ . ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ. วิทยาลัยสหวิทยาการ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สรุ ป ทั้งผูเ้ ชี่ยวชาญฝ่ ายศาสนาและฝ่ ายวิทยาศาสตร์จานวน 88 ท่าน ส่ วนใหญ่ 66 ท่าน (ร้อยละ75.00)ตอบว่า การที่เซลล์ตายในระหว่างกระบวนการการโคลนมนุ ษย์ไม่เป็ นปาณาติบาต ตอบว่าเป็ นปาณาติบาต 17 ท่าน(ร้อยละ19.32) ตอบว่า ถ้ามีวิญญาณในเซลล์โคลนในหลอดแก้ว หรื อ ในจานเพาะเลี้ยงก็เป็ นการฆ่า ไม่ มีก็ไ ม่ เป็ นการฆ่ า 2 ท่าน(ร้อ ยละ2.27) และตอบว่า ทาง วิทยาศาสตร์จะไม่สนใจ และไม่พดู เรื่ องนี้ 3 ท่าน(ร้อยละ3.41)


9

ตารางที่ 4.1.11 ผลสัมภาษณ์ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์ : เซลล์โคลนที่เสียระหว่างการโคลนเป็ นการฆ่าหรื อไม่

ที

เซลล์ที่เสี ยระหว่างการโคลนเป็ นการฆ่าหรื อไม่

ศาสนา

อภิธรรม

วิทย์ รวม

ชี

1

ไม่เป็ นการฆ่าเพราะไม่มีชีวติ

6

1

12

2

3

1

9

34

2

ไม่ปาณาติบาตเพราะไม่มีเจตนาฆ่า

-

1

7

-

-

1

9

18

3

ไม่เป็ นการฆ่าเพราะตายเอง

-

-

-

-

-

-

4

4

และเป็ นการคัดเลือกตาม

ธรรมชาติ 4

ไม่เป็ นการฆ่าเพราะชีวติ ยังไม่สมบูรณ์

-

-

-

-

-

1

8

9

5

เป็ นการฆ่าแต่ไม่เป็ นการผิดศีลเพราะยังไม่มีวญ ิ ญาณ

-

-

-

-

-

-

1

1

รวม ไม่เป็ นการฆ่าหรื อไม่ปาณาติบาต

6

2

19

2

3

3

31

66

6

เป็ นการทาปาณาติบาต

3

3

-

-

-

-

10

16

7

เป็ นการทาลายชีวติ

-

1

-

-

-

-

-

1

รวม เป็ นการทาปาณาติบาต

3

4

-

-

-

-

10

17

8

ถ้ามีวญ ิ ญาณก็เป็ นการฆ่า ไม่มีก็ไม่เป็ นการฆ่า

1

-

-

-

1

-

-

2

9

ทางวิทยาศาสตร์ จะไม่สนใจ และไม่พูดเรื่ องนี้

-

-

-

-

-

-

3

3

รวม

10

6

19

2

4

3

44

88


10

2. นางสาว สุธิดา งามเลิศ. “ พุทธจริ ยธรรมกับเทคโนโลยีการแพทย์สมัยใหม่ : กรณี ศึกษา เซลล์ตน้ กาเนิด” สารนิพนธ์ ของวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล . ประเด็นโต้แย้งทางจริ ยธรรมที่สาคัญเกี่ยวกับเซลล์ตน้ กาเนิ ด คือ สถานะชีวิตของตัวอ่อน ที่ถูกนามาใช้ในกระบวนการใช้เซลล์ตน้ กาเนิดจะถือว่าเป็ นชีวติ หรื อไม่ ตามหลักการทางพระพุทธ ศาสนา ชี วิตเริ่ ม ต้นเมื่ อ อสุ จิ จากเพศชายผสมกับไข่เ พศหญิงพร้อ มกับการเกิ ดขึ้นของปฏิสนธิ วิญญาณ ซึ่ งเซลล์ต ้นกาเนิ ด ตัวอ่ อ นนั้น มี อ งค์ประกอบครบทั้งสามอย่าง จึง เป็ นชี วิต มนุ ษย์แล้ว ในทางศาสนา ฉะนั้นการนาเซลล์ตน้ กาเนิดตัวอ่อนมาใช้จึงเป็ นการทาลายชีวิตซึ่ งไม่สอดคล้องกับ ศีลข้อที่หนึ่งเป็ นปาณาติบาต และถือว่าเป็ นบาปในทางพระพุทธศาสนา ความหนักเบาของบาปที่ จะได้รับขึ้นอยูก่ บั เจตนาในการกระทา ถ้าเจตนาเป็ นกุศลเพือ่ การรักษาโรค บาปจากการทาลายชีวิต จะเบาบางลง แต่ถา้ เจตนาเป็ นอกุศล เพือ่ ผลประโยชน์ส่วนตัว บาปนั้นจะไม่เบาบางลง ไม่ว่าเจตนา จะผิดหรื อไม่ผดิ กุศลธรรม แต่ที่แน่นอนว่าการใช้เซลล์ตน้ กาเนิ ดจากตัวอ่อนนั้นไม่สอดคล้องตาม หลักธรรมพื้นฐานของศาสนา แต่พระพุทธศาสนามีทศั นะว่าการนาเซลล์ตน้ กาเนิ ดจากตัวเต็มวัยหรื อผูใ้ หญ่มาใช้รักษา โรคนั้ น แทบจะไม่ มี ปั ญ หาจริ ย ธรรมเพราะเซลล์ ช นิ ด นี้ ไม่ ค รบองค์ป ระกอบของชี วิ ต ตาม พระพุทธศาสนา จึงไม่ถือว่าเป็ นการทาลายชีวติ ให้เสียไป แต่ท้งั นี้ ผบู ้ ริ จาคเซลล์ตน้ กาเนิ ดนี้ จะต้อง ยินยอม และเต็มใจ ไม่ใช่การได้มาด้วยการข่มขู่


11

การที่เซลล์ โคลนเสี ยไปในระหว่ างกระบวนการการโคลนก่ อนที่จะใส่ เข้ าไปใน มดลูก มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณแล้วหรือยัง จากข้อมูลของงานวิจยั ของพระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. พอสรุ ปได้ดงั นี้ ในพระไตรปิ ฎกมี บ ันทึก อิ น ทกสู ต ร 17 ซึ่ ง กล่ า วถึ งอิ นทกยักษ์ ที่ไ ด้ก ราบทู ล ถามพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าว่า “ท่านผูร้ ู ้ท้ งั หลายไม่กล่าวรู ปว่า เป็ นชีพ สัตว์น้ ี จะประสบร่ างกายนี้ ได้อย่างไร หนอ กระดูกและก้อนเนื้อจะมาแต่ไหน สัตว์น้ ีจะติดอยูใ่ นครรภ์ได้อย่างไร” ข้อความนี้ ตีความได้ว่า เป็ นการเกิดที่มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณในครรภ์ หรื อชลาพุชะ อีกทั้งการเกิดโดยการลูบคลาสะดือก็มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณในครรภ์โดยไม่มีเพศสัมพันธ์ซ่ ึงมี ปั นทึกไว้วา่ “ในกาลนั้น นางทิฏฐมังคลิกากาลังมีระดู. ครั้งนั้นพระโพธิสตั ว์ เอาหัวแม่มือเบื้องขวา ลูบคลานาภีของนาง นางตั้งครรภ์ทนั ที” 18 และ มีกล่าวไว้ในสุวรรณสามชาดก ในทานองเดียวกัน19 รวม ทั้งในมหาตัณหาสังขยสู ตร20 มีปรากฏว่า “เมื่อใดมารดา บิดาอยูร่ ่ วมกันด้วย มารดามีระดูดว้ ย สัตว์ที่จะมาเกิดปรากฏด้วย เพราะความประชุ มพร้อมแห่ งปั จจัย 3 ประการอย่างนี้ ความเกิ ดแห่ ง สัตว์จึงมี” ข้อความนี้ตีความได้วา่ เป็ นการเกิดที่มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณในครรภ์ 17

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง อินทกสูตร พระสุ ตตันตปิ ฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เล่มที่ 25 ข้อที่ 801- 803 หน้าที่ 384 18 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง ขุททกนิกาย ชาดก เล่มที่ 3 ภาคที่ 7 วีสตินิบาตชาดก 1 มาตังคชาดก เล่มที่ 61 ข้อที่ 2033-2053 หน้าที่ 1-6, ชาตกัฏฐกถา อรรถกถาขุททกนิกาย ชาดก เล่มที่ 61 หน้าที่ 11 19 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง พระสุ ตตันตปิ ฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่มที่ 63/ 482-524/155-167และชาตกัฏฐกถา อรรถกถาขุ ททกนิกาย ชาดก เล่มที่ 63 หน้าที่ 168-213 20 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง พระสุ ตตันตปิ ฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่มที่ 19 ข้อที่ 452 หน้าที่ 185


12

นอกจากนี้ ท่านพระอุบาลี เถระ ได้กล่าวไว้ใน ตติยปาราชิกว่า21 “เพื่อแสดงอัตภาพอัน ละเอี ยดที่สุดด้วยอ านาจแห่ งเหล่าสัตว์ผนู ้ อนในครรภ์. ปฏิสนธิ จิต ชื่ อ จิตดวงแรก. บทว่าผุดขึ้น ได้แก่ เกิด. คาว่า วิญญาณดวงแรกมีปรากฏนี้เป็ นคาไข ของคาว่า จิตดวงแรกที่ผุดขึ้นนั้นนั่นแหละ. บรรดาค าเหล่ า นี้ ด้วยค าว่า จิ ต ดวงแรก (ที่ ผุด ขึ้ น) ในท้อ งมารดา นั่น แหละ เป็ นอัน ท่ านแสดง ปฏิสนธิของสัตว์ผมู ้ ีขนั ธ์ 5 แม้ท้งั สิ้น.” ซึ่งสามารถตีความได้วา่ เป็ นการปฏิสนธิในครรภ์ ไม่ เพียงเท่านั้น การพิจารณาบริบททางวิทยาศาสตร์ เป็ นอีกปั จจัยหนึ่งที่ทาให้งานวิจยั ต่างไปจากงานวิจยั ของท่านอื่น ซึ่งผูว้ จิ ยั ให้ความสาคัญ ดังจะอภิปรายต่อไปนี้ 1. ระยะการฝังตัวในมดลูกของตัวอ่ อน แม้นักวิทยาศาสตร์จะบอกระยะการฝังตัวของตัว อ่ อ นเป็ นช่ วงก็ต าม เช่ น ฝั ง ตัว ระยะ 5-7 วัน หรื อ บางตารากล่ าวว่า 6-8 วัน แต่ โดยเฉลี่ ยก็ อ ยู่ที่ ประมาณ 7 วัน22 ซึ่งสอดคล้องกับทางพระพุทธศาสนาที่ระยะเวลาของกลละหรื อตัวอ่อนมี 7 วัน ซึ่ ง ในระยะนี้ โดยเฉพาะวันที่ 5 เซลล์บลาสโตซิ สต์ จะแบ่งเป็ นรกกับ ตัวเด็ก ประเด็นอยู่ที่ว่า หาก เพาะเลี้ยงในจานหรื อหลอดแก้วเกิน 7 วันแล้ว นอกจากจะไม่สามารถเป็ นตัวในจานเพาะเลี้ยงแล้ว หากนาไปใส่ ในมดลูกก็ไม่สามารถเป็ นตัวเด็กได้ เพราะเกินกาหนดระยะเวลาการแบ่งหน้าที่การ ทางานของเซลล์แต่ละชนิด อีกทั้งการเพาะเลี้ยงในจานหรื อหลอดแก้วก็มีสภาวะไม่เหมือนในครรภ์ จึงไม่สามารถเพาะเลี้ยงในจานจนเป็ นตัวเด็กได้ แม้ในปั จจุบนั ก็ไม่มีนกั วิทยาศาสตร์ท่านใดสามารถ ทาได้ 2. การเกิ ด โทรเฟ็ คโทเดิร์ม (trophectoderm) และมวลเซลล์ภายใน(inner cell mass) ประมาณวันที่ 5 โทรเฟ็ คโทเดิร์มจะพัฒนาเป็ นรก และมวลเซลล์ภายในจะพัฒนาเป็ นตัวเด็ก23 ทั้ง 21

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง วินยั ปิ ฎก มหาวิภงั ค์ เล่มที่ 2 หน้าที่ 381-383 22 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง Solomon, Eldra P et al, 2005, p. 952,อร่ าม โรจนสกุลและสมพร ชินสมบูรณ์, 2539 : น.129 23 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห


13

สองส่วนสัมพันธ์กนั พึ่งพาอาศัยกัน โดยโทรเฟ็ คโทเดิร์มจะพัฒนาคล้ายกับรากของต้นไม้แทรกเข้า ไปในผนังมดลูกเพือ่ ดูดอาหาร ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารไปสู่เด็ก ประเด็นนี้เป็ นการบอกถึงการดารงชีวติ ของเด็กในครรภ์ว่า สามารถดาเนิ นต่อไปด้วยการ อิงอาศัยอาหารในครรภ์มารดา จากการพัฒนาเซลล์ของโทรเฟ็ คโทเดิร์ม และมวลเซลล์ภายใน จะ เห็ นว่า หากเพาะเลี้ ยงในหลอดแก้วหรื อ จานเพาะเลี้ยง เซลล์โคลนระยะบลาสโตซี สต์ไ ม่ อาจจะ พัฒนาเป็ นโทรเฟ็ คโทเดิร์มและมวลเซลล์ภายในได้ เนื่องจาก ภาชนะเป็ นแก้ว ซึ่ งมีสภาพไม่เหมือน ผนังมดลูก โปรตีนที่ทาหน้าที่ในการสั่งปิ ดเปิ ดการทางานของเซลล์ชนิ ดต่างๆ ก็ไม่สามารถสั่งได้ เพราะไม่ ใช่ ผนังมดลูก เมื่ อเซลล์ไ ม่ พฒั นาเป็ นโทรเฟ็ คโทเดิ ร์มก็ไ ม่มี อ าหารเข้าไปให้มวลเซลล์ ภายใน มวลเซลล์ภายในก็ไม่สามารถพัฒนาเป็ นตัวเด็กได้ 3. การแบ่ งเซลล์ ด้วยพลังงานของไมโตคอนเดรี ย นักวิทยาศาสตร์พบว่าเซลล์ในร่ างกาย ของมนุษย์ในแต่ละเซลล์จะมีจานวนไมโตคอนเดรี ยประมาณ 1,000 ชิ้น24หรื อมีจานวนมาก แล้วแต่ การใช้งาน ถ้าอวัยวะที่ใช้งานมากก็มีไมโตคอนเดรี ยมาก ไมโตคอนเดรี ยมีหน้าที่พิเศษ คือ สร้าง พลังงาน เป็ นโรงผลิตพลังงานไฟฟ้ าภายในเซลล์( powerhouses of the cell) เพราะเป็ นแหล่งที่เซลล์ ใช้ในการสร้างสารเคมีที่จดั เป็ นตัวให้พลังงานพื้นฐานในเซลล์ที่เรี ยกว่า พลังงานเอทีพี (ATP)25 ทา ให้เซลล์แบ่งตัวได้เมื่ อมีอ าหาร อุณหภูมิ และสิ่ งแวดล้อมที่เหมาะสม ประเด็นการแบ่งเซลล์ดว้ ย พลังงานเอทีพนี ้ ีเอง ทาให้นกั การศาสนาต่างๆ และคนทัว่ ไปเข้าใจว่า มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณในเชลล์

วิทยาการ. อ้างถึง Bruce M. Carlson, 1999, p. 58-59, Gardness et al., 2001, pp. 203-205,ช่อทิพย์วรรณ พันธุ์แก้ว , 2543, น. 32,อร่ าม โรจนสกุล และสมพร ชินสมบูรณ์, 2539, น. 62 24 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ .

ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต

สาขาวิชาสห

วิทยาการ. อ้างถึง Rapley and Whitehouse, 2007, p.128, Lewis et al, 2004, p. 54, Xu., Wu, 2006, p. 43, Starr, 2005, p.,นาชัย ชีววิวรรธน์, 2551, น. 138 25

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง Audesirk, 2008,p. 73,นาชัย ชีววิวรรธน์, 2551, น. 138


14

นอกจากนี้ การแบ่งตัวของเซลล์ดว้ ยพลังงานเอทีพโี ดยไม่มีวิญญาณมาปฏิสนธิน้ ี สอดคล้องกับทาง พระอภิธรรมที่สิ่งมีชีวติ ที่ไม่มีวญ ิ ญาณ (เช่น พืช เป็ นต้น) สามารถเกิดขึ้นได้ หากมีอาหาร (อาหารช รู ป) ความชื้นหรื ออุณหภูมิ (อุตุชรู ป) หรื อสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เรี ยกว่า อกัมมชรู ป26 4. การเก็ บ รั ก ษาเซลล์ ร ะยะบลาสโตซี ส ต์ ใ นถั ง ไนโตรเจน ปั จ จุ บ ัน นัก วิ ท ยาศาสตร์ การแพทย์เก็บ รักษาเซลล์ร ะยะบลาสโตซี สต์ในการทาเด็ก หลอดแก้วไว้ในถังไนโตรเจน ด้ว ย อุณหภูมิ -196 องศาเซลเซียส27 เหตุผลที่ตอ้ งเก็บในนี้และต้องเป็ นอุณหภูมิเท่านี้ ก็เพราะ ไนโตรเจน อุณหภูมิเท่านี้มีคุณสมบัติไม่ทาให้เซลล์ภายในแข็งตัว ยังคงรักษารู ปทรงของเซลล์ได้เหมือนปกติ และเพือ่ หยุดการพัฒนาหรื อหยุดกิจกรรมใดๆในเซลล์ ประเด็นนี้มองข้ามไม่ได้เลย เพราะหากกล่าวว่ามีปฏิสนธิวญ ิ ญาณในเซลล์แล้ว ก็เท่ากับว่า เซลล์น้ นั ก็คือมนุษย์คนหนึ่ง ที่สามารถอยูไ่ ด้ในอุณหภูมิ -196 องศาเซลเซี ยส ต้องอดข้าว อดอาหาร นานเท่ า กับ ระยะเวลาที่ นักวิท ยาศาสตร์ การแพทย์เ ก็ บไว้ เช่ น เก็ บไว้ 5 ปี ก็ ต ้อ งทนหนาวด้ว ย อุ ณ หภู มิ -196 องศาเซลเซี ย ส และอดอาหาร 5 ปี ซึ่ ง ในความเป็ นจริ ง ไม่ มี ใ ครอดได้ จึ ง ไม่ สมเหตุสมผลที่จะกล่าวว่า มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณในเซลล์โคลนระยะบลาสโตซิสต์ จากความข้างต้นจะเห็นได้ว่าเป็ นการปฏิสนธิวิญญาณในครรภ์ท้ งั สิ้ น ประเด็นสาคัญคือ การโคลนสัตว์แต่ละครั้งนักวิทยาศาสตร์ตอ้ งนาเซลล์โคลนระยะบลาสโตซิ สต์ไปใส่ ในมดลูกทุก ครั้ง ดังนั้น จึงสามารถกล่าวได้วา่ หากมีการโคลนมนุ ษย์จะมีปฏิสนธิวิญญาณเมื่อเซลล์โคลน ระยะบลาสโตซิ ส ต์ฝั ง ตัว ในมดลู ก เพราะมี ค วามพร้ อ มทั้ง เหตุ แ ละปั จ จัย ที่ จ ะให้ฝั ง ตัว และ เจริ ญเติบโตต่อไปได้ จึงหมายถึงว่าไม่มีปฏิสนธิวิญญาณในหลอดแก้ว ในจานเพาะเลี้ยงหรื อนอก 26

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง มหามกุฏราชวิทยาลัย,2531:น.40-41 27 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง ธีระพร วุฒยวนิช, 2546:183, อร่ าม โรจนสกุลและสมพร ชินสมบูรณ์, 2539: น.135,สานักงาน เลขาธิการแพทยสภา, 2542, น. 119


15

ครรภ์ อีกทั้งยังสอดคล้องกับผลการสัมภาษณ์เชิงลึกที่เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญด้านอภิธรรมซึ่ งศึกษาด้านจิต วิญญาณว่า “มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณเมื่อเซลล์อยูใ่ นมดลูก” ร้อยละ 64.29 จากหนังสือ ที่นี่มีคาตอบ 3 หัวข้อที่ 1 ปั ญหาครอบครัว คาถามที่ 10 อิ๊กซี่(ICSI) หน้า 58 เนื้อหามีดงั นี้ คาถาม จากนักเรียน ลูกมีปัญหาเรื่ องมีบุตรยาก แต่งงานมา 8 ปี แล้ว อายุใกล้เลขสี่ เข้าไปทุกที แต่ก็ยงั ไม่มีบุตร เราสองสามีภรรยาได้ไปปรึ กษาแพทย์ คุณหมอแนะนาให้ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้าช่วย โดยวิธีอิ๊ก ซี่ คือ ผสมเชื้อภายนอก จนเซลล์แบ่งตัวเป็ นตัวอ่อน แล้วจึงใส่ เข้าไปในมดลูก ในที่สุดลูกก็ได้ลูก สาวสมใจค่ะ เซลล์ที่เกิดการผสมกันภายนอก จนแบ่งตัวเป็ นตัวอ่อน และพร้อมจะใส่ เข้าไปในมดลูก จะ ถือว่ามีชีวติ หรื อไม่ มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณแล้วหรื อยัง ถ้ายัง ปฏิสนธิวญ ิ ญาณมาในตอนไหนคะ ลูกเคยบริ จาคตัวอ่อนที่เหลือจากการทาอิ๊กซี่ครั้งแรกไป ขณะนี้ตวั อ่อนที่บริ จาคได้ถูกนาไป ใช้งานหรื อถูกทาลายไปแล้วคะ และจะถือว่าเป็ นบาปเหมือนการทิ้งลูกหรื อทาแท้งไหมคะ คาตอบ โดยคุณครู ไม่ ใหญ่ 28 เซลล์ที่เกิดจากการผสมกันภายนอกจนแบ่งเป็ นตัวอ่อน และพร้อมที่จะใส่ เข้าไปในมดลูก ถือว่ามีชีวติ แต่ไม่มีจิตใจ เพราะยังไม่มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณ ปฏิสนธิวญ ิ ญาณจะมาเมื่อได้ฝังตัวในมดลูกแล้ว พอถูกส่วนดวงบุญดวงบาปของบิดามารดา ที่มีกรรมเสมอกันกับปฏิสนธิวญ ิ ญาณ ก็จะดึงดูดให้มาเกิดขึ้น โดยผ่านทางบิดามาสู่ มารดาทางปาก ช่องจมูก หญิงซ้ายชายขวา หรื อเข้าทางมารดาเลย

28

พระราชภาวนาวิสุทธิ์(ไชยบูลย์ ธมฺมชโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี


16

ลูกเคยบริ จาคตัวอ่อนที่เหลือจากการทาอิ๊กซี่ครั้งแรก ขณะนี้ตวั อ่อนที่บริ จาคได้ถูกนาไปใช้ งานแล้ว ส่วนปฏิสนธิวญ ิ ญาณที่จะเกิดขึ้นนั้นก็ข้ นึ อยูก่ บั บุญบาปของมารดาบิดาใหม่ ซึ่งไม่เกี่ยวกับ ตัวลูกแล้ว การเกิดด้วยวิธีการดังนี้ จะต้องอาศัยกายมนุษย์เป็ นตัวดึงดูดปฏิสนธิวญ ิ ญาณ ถ้าตัวอ่อนถูก ทาลายไปแล้ว ไม่ถือเป็ นบาป เพราะมีแค่ชีวติ แต่ไม่มีจิตใจหรื อดวงวิญญาณ 11 มีนาคม พ.ศ. 2549

บทสรุป จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลในเรื่ องนี้ ในทัศนะของข้าพเจ้ามีความเห็น ดังนี้ 1. ตามทัศนะของพระพุทธศาสนา ความเป็ นมนุษย์ เริ่มต้ นเมื่อใด ข้อสังเกตของการเกิดแบบชลาพุชะนี้ ก็คือเป็ นเรื่ องของการเกิดในครรภ์เท่านั้น จากการที่ อินทกะยักษ์ถามว่ากระดูกและเนื้อเข้าไปอยูใ่ นครรภ์ได้อย่างไร โดยไม่ได้หมายถึงกระดูกและเนื้ อ ที่วางข้างนอก ดังนั้น กระดูกและเนื้อในที่น้ ีจึงหมายถึง ทารกนัน่ เอง โดยปกติแล้วชี วิตเกิ ดขึ้นเมื่ อ มารดาบิดามี เพศสัมพันธ์กัน จากนั้น หน่ วยแรกของชี วิต มนุษย์ก็เกิดเป็ นกลละในครรภ์ดงั ที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น หรื อสามารถกล่าวได้ว่าความเป็ นมนุ ษย์ ได้เริ่ มต้นขึ้นแล้วตั้งแต่กลละนั้น โดยสรุ ปก็คือ ความเป็ นมนุ ษย์เริ่ มต้นตั้งแต่อ งค์ประกอบสามอย่างซึ่ งกล่ าวไว้ในมหา ตัณหาสังขยสูตร29 มีปรากฏว่า “เมื่อใดมารดา บิดาอยูร่ ่ วมกันด้วย มารดามีระดูดว้ ย สัตว์ที่จะมาเกิด ปรากฏด้วย เพราะความประชุมพร้อมแห่งปั จจัย 3 ประการอย่างนี้ ความเกิดแห่งสัตว์จึงมี ” ข้อความ

29

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง พระสุ ตตันตปิ ฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่มที่ 19 ข้อที่ 452 หน้าที่ 185


17

นี้ตีความได้วา่ เป็ นการเกิดที่มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณในครรภ์ของการตั้งครรภ์หลอมรวมกันเป็ นหนึ่ งเดียว แล้วกลายเป็ นกลละ กล่าวอีกอย่างหนึ่งคือความเป็ นมนุษย์เริ่ มต้นที่กลละ 2. การที่เซลล์ โคลนเสี ยไปในระหว่ างกระบวนการการโคลนก่ อนที่จะใส่ เข้ าไปในมดลูก จะ ถือว่ ามีชีวิตหรือไม่ จากข้อ มู ล วิท ยานิ พ นธ์พ อสรุ ป ได้ว่า ทั้ง ผูเ้ ชี่ ย วชาญฝ่ ายศาสนาและฝ่ ายวิท ยาศาสตร์ จานวน 88 ท่าน ส่ วนใหญ่ 66 ท่าน(ร้อยละ75.00)ตอบว่า การที่เซลล์ตายในระหว่างกระบวนการ การโคลนมนุ ษย์ไ ม่เป็ นปาณาติบาต ตอบว่าเป็ นปาณาติบาต 17 ท่าน(ร้อยละ19.32) ตอบว่า ถ้ามี วิญญาณในเซลล์โคลนในหลอดแก้วหรื อในจานเพาะเลี้ยงก็เป็ นการฆ่า ไม่มีก็ไม่เป็ นการฆ่า 2 ท่าน (ร้อยละ2.27) และตอบว่า ทางวิทยาศาสตร์จะไม่สนใจ และไม่พดู เรื่ องนี้ 3 ท่าน(ร้อยละ3.41) ส่วนอีกวิทยานิพนธ์วา่ ถ้าสถานะชีวติ ของตัวอ่อนที่ถูกนามาใช้ในกระบวนการใช้เซลล์ตน้ กาเนิดจะถือว่าเป็ นชีวติ หรื อไม่ สรุปแล้ วถ้ าเซลล์ โคลนถือว่ ามีชีวิตแต่ จะเป็ นชีวิตแบบไหน 1) ถ้าเป็ นแบบมนุษย์หรื อสัตว์ก็มีจิตใจ 2) ถ้าเป็ นแบบพืชก็ไม่มีจิตใจ 3. การที่เซลล์ โคลนเสี ยไปในระหว่ างกระบวนการการโคลนก่ อนที่จะใส่ เข้ าไปในมดลูก มี ปฏิสนธิวิญญาณแล้ วหรือยัง ถ้าในพระไตรปิ ฎกมีบนั ทึกอินทกสู ตร 30 ซึ่ งกล่าวถึงอินทกยักษ์ ที่ไ ด้กราบทูล ถามพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าว่า “ท่านผูร้ ู ้ท้ งั หลายไม่กล่าวรู ปว่า เป็ นชีพ สัตว์น้ ี จะประสบร่ างกายนี้ ได้อย่างไร หนอ กระดูกและก้อนเนื้อจะมาแต่ไหน สัตว์น้ ีจะติดอยูใ่ นครรภ์ได้อย่างไร” ข้อความนี้ ตีความได้ว่า เป็ นการเกิดที่มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณในครรภ์ หรื อชลาพุชะ 30

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง อินทกสูตร พระสุ ตตันตปิ ฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เล่มที่ 25 ข้อที่ 801- 803 หน้าที่ 384


18

อีกทั้งการเกิดโดยการลูบคลาสะดือก็มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณในครรภ์โดยไม่มีเพศสัมพันธ์ซ่ ึงมี ปั นทึกไว้วา่ “ในกาลนั้น นางทิฏฐมังคลิกากาลังมีระดู. ครั้งนั้นพระโพธิสตั ว์ เอาหัวแม่มือเบื้องขวา ลูบคลานาภีของนาง นางตั้งครรภ์ทนั ที” 31 และ มีกล่าวไว้ในสุวรรณสามชาดก ในทานองเดียวกัน32 รวม ทั้งในมหาตัณหาสังขยสู ตร33 มีปรากฏว่า “เมื่อใดมารดา บิดาอยูร่ ่ วมกันด้วย มารดามีระดูดว้ ย สัตว์ที่จะมาเกิดปรากฏด้วย เพราะความประชุมพร้อมแห่ งปั จจัย 3 ประการอย่างนี้ ความเกิ ดแห่ ง สัตว์จึงมี” ข้อความนี้ตีความได้วา่ เป็ นการเกิดที่มีปฏิสนธิวญ ิ ญาณในครรภ์ ถ้าการที่เซลล์โคลนเสียไปในระหว่างกระบวนการการโคลนก่อนที่จะใส่ เข้าไปในมดลูก เป็ นการเกิดนอกครรภ์ความน่าจะเป็ นคงยังไม่มีปฏิสนธิวิญญาณเพราะการเกิดต้องอาศัยกายมนุ ษย์ เป็ นตัวดึงดูดปฏิสนธิวญ ิ ญาณ ซึ่ งต้องเข้ามาอยูใ่ นครรภ์เท่านั้นกายมนุ ษย์จึงดึงดูดปฏิสนธิวิญญาณ ได้ตามข้อมูลของหนังสือที่นี่มีคาตอบเล่ม 3 หน้า 58

31

พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง ขุททกนิกาย ชาดก เล่มที่ 3 ภาคที่ 7 วีสตินิบาตชาดก 1 มาตังคชาดก เล่มที่ 61 ข้อที่ 2033-2053 หน้าที่ 1-6, ชาตกัฏฐกถา อรรถกถาขุททกนิกาย ชาดก เล่มที่ 61 หน้าที่ 11 32 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง พระสุ ตตันตปิ ฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่มที่ 63/ 482-524/155-167และชาตกัฏฐกถา อรรถกถาขุ ททกนิกาย ชาดก เล่มที่ 63 หน้าที่ 168-213 33 พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบ ทางสั ง คมในมุมมองของนั ก การศาสนาและนัก วิท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์ . ปรั ชญาดุ ษฎี บณ ั ฑิ ต สาขาวิชาสห วิทยาการ. อ้างถึง พระสุ ตตันตปิ ฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่มที่ 19 ข้อที่ 452 หน้าที่ 185


19

บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ พระโสภณ โสภโณ พุ่มไสว. 2551. การโคลนมนุ ษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท และผลกระทบทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์การแพทย์. ปรัชญาดุ ษ ฎี บณ ั ฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ. วิทยาลัยสหวิท ยาการ : มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. วารสารทางวิชาการ สมภาร พรมทา “ทัศนะของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการวิจยั เซลล์ตน้ แบบที่ได้จากตัวอ่อนมนุ ษย์” วารสารพุท ธศาสน์ ศึ ก ษา จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิท ยาลัย . ปี ที่ 15 ฉบับ ที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2551 สมภาร พรมทา. “ทัศนะของพระพุทธศาสนาเกี่ ยวกับการโคลนมนุ ษย์” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปี ที่ 14 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2550 สมภาร พรมทา. “กิ น : มุ ม มองของพระพุท ธศสนา” วารสารพุท ธศาสน์ ศึ ก ษา จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2546 สมภาร พรมทา. “มนุ ษย์กบั การแสวงหาความรู ้ : ข้อเสนอจากพุทธปรัชญาว่าด้วยธรรมชาติและ บทบาทของความรู ้” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปี ที่ 3 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2539 สมภาร พรมทา. “ทัศนะของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการเกิดและความตาย”. www.stc.arts.chula.ac.th/cyberethics/papers/LivingAndDying.doc. 9 มิถุนายน 2553 ข้ อมูลสารสนเทศ (World Wide Web) นางสาว สุธิดา งามเลิศ. “ พุทธจริ ยธรรมกับเทคโนโลยีการแพทย์สมัยใหม่ : กรณี ศึกษาเซลล์ตน้ กาเนิด” สารนิพนธ์ ของวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล . http://www.crs.mahidol.ac.th/news/minithesis/2550/054.doc. 22 พฤษภาคม 2552.


20

แรงบันดาลใจ แรงบันดาลใจที่จะทาบทความวิชาของวิชาพุทธปรัชญาวิเคราะห์ ในช่วงที่เรี ยนกับ ศ.ดร. สมภาร พรมทา ได้เรี ยนเกี่ยวกับเรื่ องปั ญหาการทาเด็กหลอดแก้ว การโคลนนิ่ง ได้มีโอกาสสนทนา ในชั้นเรี ยนได้นาหนังสือที่นี่มีคาตอบ โดย คุณครู ไม่ใหญ่ ได้มีคาถามเกี่ยวกับการทาอิ๊กซี่ (ICSI) ได้ ปรึ กษา ศ.ดร.สมภาร พรมทา ท่านแนะนาให้เขียนเป็ นบทความทางวิชาการส่ง ได้มีโอกาสเห็นพระ เสกสรรค์ อตฺ ตทโม ได้เรี ยนวิชานี้ ด้วยกันท่านสนใจได้หาวิทยานิ พนธ์เรื่ อ ง การโคลนมนุ ษย์ ประมาณเดือนมกราคม 2553 แต่ยงั ไม่มีโอกาสได้อ่าน ประมาณเดือนพฤษภาคม 2553 ได้ลองไป ค้นที่ห้องสมุ ดสถาบันธรรมชัย(ห้องสมุด dci) ยังไม่พบจึงโทรศัพท์สอบถามพระเสกสรรค์ ท่าน บอกว่าเป็ นวิทยานิพนธ์ของ วิทาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ไปค้นที่ห้องสมุดdci อีกครั้งจึงพบวิทยานิ พนธ์เรื่ อง การโคลนมนุ ษย์ในมุ มมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและ ผลกระทบทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่ งเนื้ อหาจะเป็ น อย่างไรนั้นผูเ้ รี ยนพยายามค้นคว้าเพือ่ นามาเขียนบทความและก่อนที่จะทาบทความวิชาการของวิชา พุทธปรัชญาวิเคราะห์ได้มีโอกาสค้นคว้าอ่านหนังสือ ที่นี่มี คาตอบ 2 หัวข้อที่ 2 อย่างนี้ จะบาปไหม คาถามที่ 22 วิจารณ์ พระไตรปิ ฎกเชิ ง วิชาการ หน้า 120 มีเนื้อหาดังนี้ คาถาม จากกนักเรียน ลูกเป็ นนักวิชาการ หลายครั้งต้องวิจารณ์วดั และพุทธประวัติ ด้วยวิธีทางวิชาการบางครั้ง วิจ ารณ์ ใ นทางที่ อ าจตี ค วามว่า เป็ นการลบหลู่ เช่ น การตี ค วามว่า พระสู ตรหรื อ บางส่ ว นของ พระไตรปิ ฎกนั้นมิ ใช่พุทธพจน์เป็ นเพียงสัจธรรม หรื อสัทธรรมปฏิรูปที่พระสงฆ์ยคุ หลังเพิ่มเติม ขึ้นมาเพือ่ เหตุผลบางประการ การที่ลูกวิเคราะห์วิจารณ์พระคัมภีร์เช่นนั้น ถือว่าเป็ นบุญอันเกิดจากการสนทนาธรรม หรื อถือว่าเป็ นบาปคะ


21

คาตอบ โดยคุณครู ไม่ ใหญ่ เรื่ องนี้ข้ นึ อยูก่ บั การตีความนั้นว่า ได้ความหรื อไม่ได้ความ ถูกหรื อผิด ประกอบด้วยอคติ หรื อไม่ หรื อเอาความคิดของตัวเองเป็ นหลัก รวมทั้งอิทธิพลของอาจารย์ที่ปรึ กษา และบทความทาง วิชาการที่ฝรั่งตีความตามความคิดของตัวเอง ดังนั้น การวิจารณ์น้ นั ถ้าถูกต้อง ก็เป็ นบุญที่เกิดจากการสนทนาธรรม แต่ถา้ ไม่ถูกต้อง ก็ เป็ นบาป ซึ่งอาจทาให้เขามีความเห็นผิดเป็ นมิจฉาทิฏฐิต่อไปในอนาคตได้ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ที่นามาเสนอก่อนนี้เพราะผูเ้ รี ยนคิดว่าจะต้องมีการเกี่ยวข้องกับการค้นคว้าพระไตรปิ ฎก ซึ่ งต้อ งระมัดระวังเป็ นอย่างยิง่ และได้รับความเมตตาพระนิ สิตสถาบันธรรมชัย รุ่ น 6 ซึ่ งท่านได้ เมตตาให้ค าแนะน ามาให้อ่ านบทความวิช าการของวารสารพุทธศาสน์ ศึก ษาของจุ ฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ที่อาจารย์สมภารเขียนลงวารสารเพื่อ เป็ นแนวทางในการเขียนบทความ และต้อ ง ขอขอบพระคุณพระโสภณ โสภโณ พุม่ ไสวที่เมตตาให้ไฟล์งานวิทยานิพนธ์เรื่ อง “การโคลนมนุ ษย์ ในมุ มมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทแผลกระทบทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนา และนักวิทยาศาสตร์การแพทย์” มาทาบทความนี้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.