การนำธุรกิจสุรา–เบียร์ เข้าตลาดหลักทรัพย์กับปัญหาจริยธรรม

Page 1

บทความวิชาการ การนาธุรกิจสุรา – เบียร์ เข้ าตลาดหลักทรั พย์ กับปั ญหาจริยธรรม เสนอ ดร.สมภาร พรมทา

จัดทาโดย นางสาวสุภาพร พงศ์ ชีวะกุล รหัสนักศึกษา 5212000044 รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาพุทธปรั ชญาวิเคราะห์ ตามหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพุทธวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์ เนีย ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา พุทธศักราช 2553

WWW.DOU.US


1

บทความวิชาการ การนาธุรกิจสุรา-เบียร์ เข้ าตลาดหลักทรัพย์ กับปั ญหาจริยธรรม บทนา โลกหรื อสังคมสมัยใหม่เจริญก้ าวหน้ าขึ ้นมาได้ อย่างที่เราเห็นอยูใ่ นปั จจุบนั เป็ น ความสําเร็จของมนุษย์ ซึง่ ล้ วนมาส่วนผลักดันให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคม แต่ในขณะที่สงั คม กําลังมีการเปลี่ยนแปลง จิตใจของมนุษย์ก็มีการเปลี่ยนแปลงไปด้ วย มีทงความโลภ ั้ ความเห็นแก่ ตัว ขาดความซื่อสัตย์สจุ ริ ต แนวคิดตะวันตกในการทําธุรกิจเป็ นเรื่ องของการสร้ างความมัง่ คัง่ (weath) ทําให้ มนุษย์เราเห็นแก่ตวั มีความโลภและคํานึงแต่วตั ถุหรื อความรํ่ ารวยมากขึ ้น และ ความมัง่ คัง่ ได้ รับการตอกยํ ้าว่าเป็ นจุดหมายหลักของธุรกิจ และระบบทุนนิยมมีความมัน่ คง แข็งแรงขึ ้นอย่างไม่หยุดยัง้ ในสังคมไทยได้ เปลี่ยนแปลงไปตามยุคโลกาภิวตั น์อย่างรวดเร็วเพราะอาศัยกระแสวัตถุ นิยมหรื อวัฒนธรรมนิยมของสังคมตะวันตกเช่นเดียวกัน สังเกตจากเชิญชวนหรื อโฆษณาล้ วนแต่ เป็ นการเชิญชวนให้ มอมเมาด้ วยยาเสพติด ทําให้ ชีวิตการเป็ นอยูใ่ นสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลง ตามไปค่านิยมใหม่ๆ ตามความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้น โดยเฉพาะเรื่ องของธุรกิจที่เข้ ามามีบทบาท ความสําคัญและการพัฒนาประเทศชาติ ถ้ าประเทศมีพฒ ั นาการด้ านธุรกิจมากเท่าไหร่ก็เท่ากับว่า ประเทศนันๆ ้ เจริญมากยิ่งขึ ้น ด้ วยเหตุผลที่ต้องการให้ ประเทศพัฒนาเป็ นที่ยอมรับทาง อารยประเทศทางรัฐบาลก็ดีหรื อผู้มีสว่ นเกี่ยวในการพัฒนาประเทศ จึงมุง่ เน้ นนําธุรกิจต่างๆ เพื่อ เสนอให้ มีบทบาทและการนําฐานะทางธุรกิจให้ มีบทบาทมากที่สดุ แต่วา่ ธุรกิจเป็ นส่วนหนึง่ ที่ สําคัญต่อการบริ หารประเทศชาติ ซึง่ ยังมีองค์ประกอบหลักที่สําคัญอื่นอีกเช่นเดียวกันต่อความ เจริญก้ าวหน้ าของสังคม เหตุการณ์เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2548 ที่มีธุรกิจสุราบริษัทหนึง่ ซึง่ เป็ นผู้ผลิตและจําหน่าย เบียร์ และสุรารายใหญ่อนั ดับต้ น ๆ ของประเทศไทย ได้ ยื่นขอเข้ ามาระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (ตลท.)หรื อเรี ยกว่าตลาดหุ้น และได้ มีการยื่นเสนออีกครัง้ เมื่อปี พ.ศ. 2551 ด้ วยมี เหตุผลต่าง ๆ ที่ว่า (1) บริ ษัทจะได้ ระดมทุนเพื่อขยายบริษัทไปแข่งขันในเวทีโลก (2) เมื่อตลาด หลักทรัพย์มีขนาดใหญ่ขึ ้น จะสามารถดึงดูดนักลงทุนทังในและต่ ้ างประเทศให้ มาลงทุนได้ (3) ไม่ มีข้อห้ ามอะไร มติ กลต. ปี 2538 อนุญาตให้ 3 ประเภทธุรกิจที่เคยมีข้อคํานึงว่าไม่เหมาะสมที่จะ


2

เข้ าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ให้ เข้ าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ได้ ได้ แก่ กิจการการศึกษา (เคยมีข้อกังวลว่าจะทําให้ เป็ นธุรกิจการศึกษาเก็บเงินค่าเล่าเรี ยนสูง) กิจการโรงงานนํ ้าตาล (เคยมี ข้ อกังวลว่าจะสร้ างปั ญหาสิ่งแวดล้ อม) และกิจการเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ (เคยมีข้อกังวลว่าจะสร้ าง ปั ญหาสังคม) หมายถึงปั จจุบนั ไม่มีกฎห้ ามเข้ าตลาดหลักทรัพย์ (4) การนําธุรกิจสุราเข้ าตลาด หลักทรัพย์ไม่มีผลต่อการลดการดื่ม ตลาดหลักทรัพย์กบั การบริ โภคเป็ นคนละเรื่ องกัน คนดื่มมาก ไปมีแค่สว่ นเดียวควรไปรณรงค์ให้ ตรงจุด คนดื่มมากไปจะเป็ นการควบคุมปั ญหาการบริโภคสุราได้ ตรงกว่า (5) ประโยชน์ของแอลกอฮอล์และธุรกิจแอลกอฮอล์มีอยู่บ้าง ได้ แก่ ดื่มน้ อย ๆ ช่วยกระตุ้น การทํางานของหัวใจ, เป็ นอุปกรณ์ในการสังสรรค์ในโอกาสต่าง ๆ ตังแต่ ้ ดื่มกันในวงสุรา พูดคุย เฮฮาตอนเย็น ๆ หรื องานเทศกาลใหญ่ ๆ เช่น สงกรานต์ ปี ใหม่ หรื องานฉลองต่าง ๆ เช่น งาน บวช งานศพ งานแต่งงาน เป็ นต้ น นอกจากนี ้ยังเอื ้อธุรกิจต่าง ๆ เกิดการจ้ างงาน เช่น ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรมการผลิต และอุตสาหกรรมการโฆษณา เสียภาษีเป็ นรายได้ รัฐ ภาษีสรรพสามิตปี 2546 ที่รัฐจัดเก็บได้ จากธุรกิจสุราและเบียร์ (ทุกยี่ห้อ) เป็ นเงิน 62,633 ล้ านบาท (หมายเหตุ : รายได้ ของรัฐเหล่านี ้มาจากรายจ่ายประชาชนไม่ตํ่ากว่า 200,000 ล้ านบาท ) กลุม่ เครื อข่ายต้ านนํ ้าเมาเข้ าตลาดหลักทรัพย์ 384 องค์กร จึงได้ เดินทางเข้ ามาชุมนุมที่ บริเวณหน้ าอาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ได้ มีข้อเสนอคัดค้ านธุรกิจดังกล่าวที่ จะขอเข้ าไปดําเนินการในตลาดหลักทรัพย์ ได้ แสดงเหตุผลข้ อเท็จจริงถึงผลกระทบการธุรกิจสุราต่อ สังคม ต่อเศรษฐกิจและโดยเฉพาะอย่างยิ่งขัดต่อศีลธรรมของสังคมไทย ประเด็นที่จะอภิปรายใน เนื ้อหาต่อไปถึงธุรกิจสุราคือ ธุรกิจการค้ าสุรามีผลกระทบต่อสังคม ประชาชนในด้ านใดบ้ าง และ กระทบอย่างไร การพิจารณาประเด็นต่อมาคือธุรกิจการค้ าสุราผิดศีลและผิดธรรมหรื อไม่ ในทาง พุทธศาสนา ซึง่ หลักธรรมที่จะนํามาพิจารณาคือหลักธรรมเรื่ องมิจฉาอาชีวะ , หลักธรรมเรื่ องศีลข้ อ ที่ 5 และหลักธรรมเรื่ องอบายมุข 6 ซึง่ จําต้ องกล่าวโยงถึงผู้ได้ รับผลกระทบและโทษโดยตรงจาก ธุรกิจสุราคือผู้บริ โภคนํามาอภิปรายร่วมด้ วยเพื่อให้ เห็นถึงโทษภัยของธุรกิจนี ้เด่นชัดยิ่งขึ ้น ถ้ าเห็น ว่าธุรกิจนี ้ผิด ทําไมจึงยังมีการทําธุรกิจกันอยู่อย่างกว้ างขวาง และยิ่งนับวันธุรกิจนี ้จะพัฒนา ขยาย ต่อไปเรื่ อย ๆ ทุกหัวระแหงของแผ่นดินไทย โดยเฉพาะเหตุการณ์ที่จะมียื่นเสนอนําธุรกิจสุราเข้ าสู่ ตลาดหุ้น เป็ นการประกาศตัวเองว่าธุรกิจนี ้เป็ นสิ่งที่ดีงามถูกต้ องนันหรื ้ ออย่างไร ถึงแม้ วา่ เหล้ าหรื อนํ ้าเมา จะมีอยูค่ สู่ งั คมไทยมาช้ านานแสนนานแล้ วก็ตาม แต่เมื่อก่อน คนไทยก็ยงั ดื่มกันไม่มาก ปั จจุบนั คนไทยดื่มนํ ้าเมามากติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก โดยเฉพาะวันนี ้ สิ่งที่นา่ เป็ นห่วงในสังคม คือ วัยรุ่นหญิงชาย คนหนุม่ สาว หันมานิยมดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์กนั มากขึ ้น จากผลการสํารวจเมื่อปี พ.ศ. 2546 พบว่าเด็กอายุตํ่ากว่า 19 ปี หันมาดื่มแอลกอฮอล์


3

เพิ่มขึ ้นกว่า 500,000 คน ด้ วยค่านิยมผิด ๆ โดยเฉพาะกลุม่ นิสิตนักศึกษาวัยรุ่นส่วนใหญ่ ที่ร้ ูสกึ ว่า การดื่มแอลกอฮอล์เป็ นเรื่ องปกติและมองว่าเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์เป็ นเครื่ องดื่มเพื่อความ สนุกสนาน เพื่อการเข้ าสังคม ดื่มแล้ วทําให้ เท่ห์ โก้ เก๋ โดยไม่ได้ ตระหนักถึงโทษภัยอันตรายอัน มากมายของนํ ้าเมาเลย ปั จจัยสําคัญอย่างหนึง่ ที่ทําให้ สถิตกิ ารดื่มของเยาวชนเพิ่มมากขึ ้น คือกลยุทธ์ทาง การตลาดของบริ ษัทที่จําหน่ายเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ ที่พยายามสร้ างภาพของการดื่มให้ เป็ นเรื่ อง ของแฟชัน่ ขายราคาถูกลง และทําให้ หาซื ้อได้ ง่าย ดังนันปั ้ จจุบนั อายุเฉลี่ยของนักดื่มหน้ าใหม่จงึ น้ อยลงเรื่ อย ๆ อย่างน่าตกใจ สุราและเครื่ องดื่มประเภทมึนเมาหลากหลายชนิดถูกผลิตขึ ้นเพื่อมอมเมาผู้ที่อยากลอง ดื่มและที่ดื่มที่ติดแล้ ว และใช้ สื่อโฆษณาเป็ นที่จงู ใจ แม้ วา่ จะมีการควบคุมเรื่ องการโฆษณาหรื อ กําหนดเวลาในการโฆษณาก็ตาม สุรานันเป็ ้ นสินค้ าที่หาซื ้อได้ ง่าย ไม่วา่ จะเป็ นห้ างร้ านใหญ่น้อย โชห่วย ทุกชุมชนมีให้ เห็นกันมากมาย จึงเป็ นเหตุให้ ผ้ ดู ื่มสุรายากจะอดใจ ผู้ที่คดิ อยากลองก็มี มากมาย เพราะรูปแบบการโฆษณาผ่านสื่อต่าง ๆ มีเห็นอยู่ตลอดเวลา อีกทังรู้ ปแบบผลิตภัณฑ์ ประกอบกับการโฆษณาที่จะให้ ถึงตัวกลุม่ เป้าหมายทังนั ้ กดื่มหน้ าเก่าและกลุม่ เป้าหมายนักดื่ม หน้ าใหม่ซงึ่ ก็คือเยาวชนของชาติที่ผ้ ผู ลิตพยายามพัฒนาอยูต่ ลอดเวลาด้ วยงบประมาณมหาศาล สุราเป็ นเครื่ องดื่มที่มีจําหน่ายอยูท่ วั่ ไป หาซื ้อง่าย ไม่มีการควบคุม และสามารถดื่มได้ เกือบทุก สถานที่ เพราะเหตุนี ้จึงเป็ นเหตุให้ มีการดื่มสุราในโอกาสต่าง ๆ มากมาย ในสังคมระดับครอบครัว เมื่อผู้นําครอบครัวติดสุรา ปั ญหาที่พบบ่อยที่สดุ คือการทะเลาะวิวาท การหย่าร้ าง การทําร้ าย ร่างกายและเกิดอาชญากรรม ดังนันการที ้ ่จะทําให้ ธุรกิจนี ้เจริญก้ าวหน้ าในแง่เศรษฐกิจ สร้ างกําไรมหาศาลให้ กบั ผู้ประกอบการ โดยเฉพาะที่จะมีการนําธุรกิจนี ้เข้ าสูต่ ลาดหลักทรัพย์ซงึ่ ในทางกลับกันผลเสียจาก นํ ้ามหาภัยนี ้ก็จะกระจายขยายไปทวีคณ ู ด้ วยเช่นนัน้ แล้ วทางรอดของประเทศไทยอยู่ที่ไหน อยูท่ ี่ ธุรกิจหรื ออยูท่ ี่การมีประชากรที่มีคณ ุ ภาพและศักยภาพที่แท้ จริง ถ้ าคิดพิจารณาอย่างเป็ นกลาง ด้ วยสติประกอบด้ วยปั ญญา และเจตนาที่ไร้ ผลประโยชน์ด้านเม็ดเงินครอบงํา ผู้มีอํานาจและ บทบาทในการกําหนดทิศทางประเทศก็น่าจะรู้คําตอบที่ชดั เจนสําหรับต่อปั ญหานี ้โดยไม่ยากนัก

ประวัตแิ ละความหมายของสุรา ประวัตขิ องสุราในคัมภีร์พระพุทธศาสนา ตํานานสุรามีปรากฏในกุมภชาดก ติงสนิบาต มีความย่อว่าพระพุทธเจ้ าคราวประทับอยู่ ณ วิหารเชตวัน ทรงปรารภสตรี ผ้ ดู ื่มสุรา 500 นาง ซึง่ เป็ นหญิงสหายของนางวิสาขา นางวิสาขาได้


4

ทูลถามว่าสุราบานอันทําลายหิริและโอตตัปปะนี ้บังเกิดขึ ้นเมื่อไร พระองค์จงึ ได้ นําเรื่ องในอดีตมา เล่า มีเนื ้อหาโดยย่อดังนี ้ มีนายพรานป่ าชื่อ “สุระ” ได้ ไปป่ าหิมพานต์เพื่อแสวงหาของใช้ ที่ป่านันมี ้ ต้นไม้ ต้นหนึง่ เกิดขึ ้นเป็ นสามง่ามในที่สงู ประมาณหนึง่ ชัว่ คน ในระหว่างสามง่ามของต้ นไม้ นนมี ั ้ บอ่ กว้ าง ประมาณเท่าตุม่ นํ ้าและบ่อนันก็ ้ เต็มด้ วยนํ ้าคราวมีฝนตก บริเวณนันมี ้ ต้นสมอ มะขามป้อม กอพริก ผลของต้ นไม้ เหล่านี ้ตกลงไปในบ่อดังกล่าว พวกนกก็คาบข้ าวสาลีป่าแล้ วมากินบนบ่อนัน้ และเศษ ข้ าวสาลีก็ลงไปในบ่อนัน้ แล้ วบ่อนํ ้านันก็ ้ ถกู แสงพระอาทิตย์แผดเผา นานเข้ าเข้ านํ ้าจึงมีสีแดง เมื่อ ฝูงนกกระหายนํ ้า ดื่มนํ ้านันแล้ ้ วต่างพากันมึนเมากลิ ้งตกลงมาที่โคนต้ นไม้ หลับครู่หนึง่ ก็บนิ ต่อไป พรานเห็นเหตุการณ์นนแล้ ั ้ วคิดว่า นํ ้านี ้ไม่มีพิษแน่ เขาจึงลองดื่มนํ ้านันบ้ ้ าง และไม่ไกลจากนัน้ มี ดาบสรูปหนึง่ นามว่า “วรุณะ” อาศัยอยู่ เขาจึงได้ ตกั นํ ้านันไปให้ ้ ดาบสลองดื่มแล้ วทังสองก็ ้ กินดื่ม ด้ วยกัน ต่อมาสุราได้ แพร่หลายเพราะพรานป่ าและดาบสวรุณะ ได้ ร่วมมือกันปรุ งขายไปตามหัว เมืองต่าง ๆ เช่น ปั จจันตนคร พาราณสี สาเกต ทําให้ ชาวเมืองที่ดื่มสุรา เกิดความประมาท ยากจน ลง ในขณะที่พระเจ้ าสัพพมิตรจะเสวยสุรานัน้ ท้ าวสักกเทวราชจึงได้ แปลงกายเป็ นพราหมณ์มา เพื่อไม่ให้ กษัตริ ย์เสวยสุรา ถ้ าหากพระองค์นี ้ดื่มเสวยสุรา ชมพูทวีปจักย่อยยับพินาศ ความหมายของสุรา ตามพระราชบัญญัตวิ ่าด้ วยสุรา พ.ศ. 2493 ได้ แยกคําออกมาใช้ 4 คําและนิยามไว้ คือ “สุรา” หมายถึง วัตถุทงหลายหรื ั้ อของผสมที่มีแอลกอฮอล์ซงึ่ สามารถดื่มกินได้ เช่นเดียวกับนํ ้าสุรา หรื อซึง่ ดื่มกินไม่ได้ แต่เมื่อได้ ผสมกับนํ ้าหรื อของเหลวอย่างอื่นสามารถดื่มกินได้ เช่นเดียวกับสุรา “สุราแช่” หมายถึง สุราที่ไม่ได้ กลัน่ และให้ ความหมายรวมถึงสุราแช่ที่ได้ ผสมกับสุรากลัน่ แล้ ว แต่ยงั มีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้ าดีกรี ด้วย “สุรากลัน่ ” หมายถึง สุราที่ได้ กลัน่ แล้ วและให้ ความหมายรวมถึงสุรากลัน่ ที่ได้ ผสมกับ สุราแช่แล้ วแต่มีแรงแอลกอฮอล์เกินกว่าสิบห้ าดีกรี ด้วย “เชื ้อสุรา” หมายความว่าแป้งเชื ้อสุรา แป้งข้ าวหมักหรื อเชื ้อใดๆ ซึง่ เมื่อหมักกับวัตถุหรื อ ของเหลวอื่นแล้ วสามารถทําให้ เกิดแอลกอฮอล์ที่ใช้ ทําสุราได้ ในพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน ให้ ความหมายว่า เมรย (เม-ระ-ยะ) หมายถึง นํ ้าเมาที่เกิดจากการหมักหรื อแช่, นํ ้าเมาที่ยงั ไม่ได้ กลัน่ ในวิภงั ค์วา่ ด้ วยสุราเมรัย สุราปานสิกขาบท ปาจิตตียกัณฑ์ พระอุบาลีเถระ กล่าวจําแนกเมรัยไว้ วา่ ที่ชื่อว่า เมรัย ได้ แก่ นํ ้าดองดอกไม้ , ผลไม้ , นํ ้าผึ ้ง, นํ ้าอ้ อยงบ, นํ ้าดองผสม เครื่ องปรุง สิ่งที่ทําให้ ผ้ ดู ื่มแล้ วเมา


5

ทังหมดนี ้ ้น่าจะมีเนื ้อความหรื อมีความหมายเดียวกัน คือนํ ้าที่ทําให้ ผ้ เู สพเกิดอาการมึน เมา อาจเรี ยกชื่อได้ อีกหลายนัย เช่น เบียร์ วิสกี ้ ไวน์ เป็ นต้ น เพราะถึงอย่างไรก็ตามสิ่งเหล่านี ้แม้ ต่างโดยชื่อ แต่เหมือนกันโดยความหมาย สรุปลงได้ 3 อย่างคือ 1) ส่าเหล้ า หรื อ เชื ้อเหล้ า 2) สุรา หมายถึง นํ ้าเมาที่กลัน่ แล้ วทุกชนิด และ 3) เมรัย หมายถึง นํ ้าเมาที่เกิดจากการดอง ซึง่ ยังไม่ได้ กลัน่

สุราเป็ นสิ่งเสพติดหรื อไม่ องค์การอนามัยโลก จัดแอลกอฮอล์เป็ นสารเสพติดชนิดหนึง่ เพราะสุราหรื อเหล้ าก็มี ลักษณะเช่นเดียวกับสารเสพติดชนิดอื่น คือ 1.เมื่อดื่มจนติดแล้ ว จะต้ องเพิ่มปริมาณขึ ้นเรื่ อย ๆ 2.มีอาการข้ างเคียงเมื่อหยุดดื่ม หรื อลดปริมาณลงอย่างมากและรวดเร็ว 3.ร่างกายและจิตใจ มีความต้ องการดื่มเหล้ าตลอดเวลา 4.ดื่มแล้ วสุขภาพทรุดโทรม

ข้ อดีของสุรา ในพระไตรปิ ฎกได้ พดู ความข้ อดีหรื อผลประโยชน์ของสุรา ไว้ ดงั นี ้ สุราพาให้ เกิดอิสรภาพ ดังในเรื่ องทีฆาวุกมุ ารเป็ นตัวอย่าง แม้ ทีฆาวุกมุ ารไม่ได้ เสพสุราด้ วยตนเอง แต่สนับสนุนให้ ทหาร ยามได้ ดื่มแล้ วเกิดอาการเมา เอื ้อต่อการให้ ทีฆาวุกมุ ารได้ หนทางเข้ าไปจัดการเกี่ยวกับศพมารดา บิดาของตนได้ ต่อมาก็ได้ รับอิสรภาพ แต่ประโยชน์ในแง่นี ้ น่าจะตีความในนัยตรงกันข้ ามได้ วา่ สุรา ทําให้ เสียอิสรภาพก็นา่ จะได้ เพราะสุราเมรัยเป็ นของกลางๆ ไม่ดีหรื อชัว่ อยูใ่ นตัวมันเอง สุดแต่วา่ ผู้ใช้ จะใช้ ไปในทางใดเสมือนหนึง่ ของมีคม ถ้ าใช้ ในการประกอบสัมมาชีพของเกษตรกรก็มี ประโยชน์ แต่ถ้าใช้ เป็ นเครื่ องประหัตประหารกันก็เป็ นโทษ เป็ นต้ น สุราเมรัยถ้ าเสพเองก็ทําให้ เสีย อิสรภาพเอง ถ้ ามอมให้ ผ้ อู ื่นเมาก็ประกาศอิสรภาพได้ สุราเมรัยใช้ เป็ นส่วนผสมของยา ดังในเรื่ องของพระปิ ลินทวัจฉะ ที่มีหมอได้ ปรุงยาถวาย พระปิ ลินทวัจฉะ เพื่อรักษาโรคเป็ นตัวอย่าง และเข้ าใจว่าในปั จจุบนั นี ้ก็ใช้ แอลกอฮอล์เป็ น ส่วนผสมของตัวยาเหมือนกัน เพียงแต่ต้องอยู่ในความควบคุมของแพทย์ ตามหลักของอริยมรรคมี องค์ 8 ด้ วยข้ อที่ว่าสัมมาอาชีวะ คือการเลี ้ยงชีพโดยชอบและสัมมากันมันตะ คือการงานชอบ หมายความว่าไม่ต้องเบียดเบียนใคร ความเชื่อเรื่ องสุรามีสรรพคุณบํารุงร่างกาย บํารุงโลหิต


6

บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ทังยั ้ งช่วยเจริญอาหารและเหมาะแก่สตรี มีครรภ์ หลังจากการคลอดบุตรที่อยูไ่ ฟไม่ได้ ชว่ ยขับนํ ้าคาวปลา และทําให้ ประจําเดือนมาปกติ

สตรี

ข้ อเสียของสุรา ในสิงคาลกสูตร ได้ กล่าวถึงโทษของการดื่มสุราไว้ 6 ประการ คือ 1. ทําให้ เสียทรัพย์ เพราะไหนจะต้ องซื ้อเหล้ ามาดื่มเอง ไหนจะต้ องเลี ้ยงเพื่อน งานการก็ ไม่ได้ ทํา แม้ เป็ นมหาเศรษฐี ถ้าติดเหล้ าก็อาจจะล่มจมได้ 2. ทําให้ เกิดการทะเลาะวิวาท เพราะกินเหล้ าแล้ วขาดสติ ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ จะเห็นได้ วา่ ในวงเหล้ ามักจะมีเรื่ องชกต่อยตีรันฟั นแทงอยู่เสมอ เพื่อนรักกันพอเหล้ าเข้ าปาก ประเดี๋ยวเดียวก็ฆา่ กันเสียแล้ ว 3.ทําให้ เกิดโรคหลายอย่าง ทังโรคตั ้ บแข็งโรคกระเพาะโรคหัวใจโรคเส้ นโลหิตในสมอง แตกโรคทางระบบประสาท ฯลฯ 4.ทําให้ เสียชื่อเสียง เพราะไปทําสิ่งที่ไม่ดีเข้ าใครรู้ ว่าเป็ นคนขี ้เมาก็จะดูถกู เหยียดหยาม 5.ทําให้ แสดงความอุจาดขาดความละอายแก่ใจ พอเมาแล้ วอะไรที่ไม่กล้ าทําก็ทําได้ จะ นอนอยูก่ ลางถนนจะเอะอะโวยวายจะถอดเสื ้อผ้ าในที่สาธารณะทําได้ ทงนั ั ้ น้ 6.ทําให้ สติปัญญาเสื่อมถอย พอเมาแล้ วจะคิดอะไรก็คิดไม่ออก อ่านหนังสือก็ไม่ถกู พูดจาวกวนพอดื่มหนักๆ เข้ า อีกหน่อยก็กลายเป็ นคนหลงลืมปั ญญาเสื่อม ในราชสูตร พระพุทธเจ้ าได้ ตรัสถามภิกษุทงหลายว่ ั้ า "ท่านทังหลายย่ ้ อมเข้ าใจเนื ้อความนี ้เป็ นอย่างไรท่านทังหลายได้ ้ เห็นหรื อได้ ยินคนอื่นเขาพูดกันว่า คนนี ้เป็ นผู้เลิกละการดื่มนํ ้าเมาคือสุราเมรัยอันเป็ น ที่ตงแห่ ั ้ งความประมาท งดเว้ นจากการดื่มนํ ้าเมาคือสุราเมรัยอันเป็ นที่ตงั ้ แห่งความประมาทแล้ วพระราชาจะจับมาประหารชีวิตจองจํา เนรเทศ หรื อกระทําตามปั จจัย เพราะเหตุแห่งการงดเว้ นจากการดื่มนํ ้าเมาคือสุรา เมรัยอันเป็ นที่ตงแห่ ั ้ งความประมาท” นอกจากนี ้ ในปั จจุบนั สังคมไทยเข้ ายุคแห่งการสื่อสาร ยุคของการโฆษณาชวนเชื่อ ซึง่ ดึงดูดจิตใจของคนให้ สนใจต่อสิ่งเร้ า จึงทําให้ คนตกเป็ นทาสจากการเสพสื่อในรูปแบบต่าง ๆ ขาด วิจารณญานในการรับข้ อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เข้ ามาในชีวิตประจําวัน ตัวอย่างเช่นกลยุทธ์ทาง การตลาดแลผสมผสานของธุรกิจสุรา โดยมโนธรรมสามัญสํานึกของสังคมโดยรวมรู้วา่ สุราหรื อ นํ ้าเมาไม่ดี ทําลายสุขภาพ ผิดศีล แต่บริ ษัทสุราระดับโลกได้ ใช้ กลยุทธ์ดงั กล่าวเพื่อสร้ างผลกําไร


7

สูงสุด กลยุทธ์ดงั กล่าว ยกตัวอย่างเช่น การเชื่อมโยงชื่อของการแข่งขันกีฬา/เทศกาลดนตรี กบั ชื่อ แบรนด์, การได้ โฆษณาข้ างสนามและเวที, สนับสนุนทีมกีฬาในระดับชาติและสโมสร การเป็ น เครื่ องดื่มอย่างเป็ นทางการในการแข่งขันหรื อเทศกาลนันหรื ้ อการจัดเนื ้อหาที่เกี่ยวข้ องในเว็บไซต์ ของแบรนด์ เป็ นต้ น แต่หารู้ไม่วา่ นํ ้าเมามีโทษต่อตนเองและสังคมได้ คือ 1.โทษทางสุขภาพ ในปั จจุบนั วงการแพทย์ได้ วิจยั ออกมาอย่างมาก 2.โทษทางเศรษฐกิจ โดยจะเห็นได้ จากประวัตขิ องสุราเมรัยเลยทีเดียว คือการที่ นายพรานรวมหัวกับนักบวชนําสุราเข้ าปั จจันตนครแล้ วเข้ าเมืองใหญ่ๆเมืองเหล่านันก็ ้ ประสบกับ ความหายนะมาแล้ ว แม้ ตอ่ ๆ มา ถ้ าจะมองในแง่ของเศรษฐกิจครอบครัว ครอบครัวใดมีผ้ เู สพสุรา เมรัยยาดองเป็ นประจํา จะต้ องตังงบประมาณครอบครั ้ วอีกประเภทหนึง่ ด้ วย 3.โทษทางสังคม เช่นก่อการทะเลาะวิวาทซึง่ ปรากฏตังแต่ ้ ประวัตขิ องสุรา ครอบครัวใด มีผ้ เู สพสุราเมรัย ครอบครัวนันชื ้ ่อว่ามีผีอยู่ครองเรื อน ผู้นนสร้ ั ้ างเวรให้ ผ้ ทู ี่เกี่ยวข้ องเช่นสามีภรรยา หรื อบุตรธิดา ถ้ าจะมองถึงสังคมใหญ่ก็ไม่พ้นจากการทะเลาะวิวาทดังกล่าวมาแล้ วในชาดก จึงกล่าวได้ ผ้ ทู ี่ดื่มนํ ้าเมาเมรัยอันเป็ นที่ตงแห่ ั ้ งความประมาทแล้ วย่อมสามารถที่จะกระทําการ ละเมิดศีลธรรมขันพื ้ ้นฐานตามพระพุทธศาสนาคือ ฆ่าคนสัตว์หรื อสิ่งมีชีวิต ลักทรัพย์ของคนอื่น จากป่ าหรื อในบ้ าน ละเมิดประเวณีในหญิงหรื อบุตรี ของผู้อื่น ทําลายประโยชน์ของคนครองเรื อน หรื อบุตรของคนครองเรื อน ด้ วยการหลอกลวงโกหกมดเท็จ เพราะเหตุแห่งการดื่มนํ ้าเมาคือสุรา เมรัยอันเป็ นที่ตงแห่ ั ้ งความประมาท

การนาธุรกิจสุรา-เบียร์ เข้ าตลาดหุ้น คําว่า ตลาด ตามหลักเศรษฐศาสตร์ ได้ ให้ ความหมายว่า แหล่งหรื อผู้มีอปุ ถัมภ์ในสินค้ ามี ความต้ องการในสินค้ า และมีเงินที่ซื ้อสินค้ านันๆ ้ ในราคาที่ตนพอใจและสามารถและแสวงหา สินค้ าสนองความพอใจของตนเองได้ และสินค้ านันสามารถจํ ้ าหน่ายได้ ในราคาที่ตนพอใจ

ข้ อดีของการนาธุรกิจสุรา-เบียร์ เข้ าตลาดหุ้น ตามหลักการของระบบเศรษฐศาสตร์ แล้ วจะเห็นได้ วา่ บริษัทที่เข้ าระดมทุนในตลาด หลักทรัพย์หรื อตลาดหุ้น ก็เพื่อต้ องการนําเงินประชาชนไปเป็ นทุนในการขยายธุรกิจให้ ใหญ่โตขึ ้น และมีกําไรกลับคืนมา ถือว่าเป็ นการระดมทุนตํ่าเมื่อเทียบกับการกู้ยืมเงิน แต่ในขณะเดียวกันการ พัฒนามนุษย์ในส่วนกิจกรรมทางเศรษฐศาสตร์ ควรพิจาณาว่า กิจกรรมและผลผลิตไม่ควรเป็ น อันตรายหรื อก่อผลเสียหายต่อสังคมและชีวิตหรื อชีวิตและสังคม เป็ นกิจกรรมที่เสริมสร้ างสังคมทํา


8

ให้ สงั คมดีขึ ้น ให้ เป็ นสังคมที่เอื ้อต่อการพัฒนาศักยภาพและความสามารถของมนุษย์ เป็ นกิจกรรม ที่เกื ้อหนุนการพัฒนามนุษย์เพราะเรามีถือว่าการพัฒนามนุษย์เป็ นหลักการใหญ่ หลักการสําคัญ เพราะเราเชื่อว่า มนุษย์สามารถพัฒนาได้ และมนุษย์สามารถไปสูค่ วามดีงามยิ่งๆ ขึ ้นไป ส่วนมุมมองด้ านการเงิน ล้ วนอยากให้ ห้ นุ สุราเข้ าตลาดเพราะตลาดหุ้นไทยจะได้ มีห้ นุ ใหม่ที่ใหญ่เข้ ามาระดมทุน เป็ นอีกตัวหนึง่ ที่นกั ลงทุนไทยและต่างชาติได้ เลือกลงทุน ที่สําคัญหุ้นดีๆ (ในแง่สร้ างเม็ดเงิน) อย่างสุรา ใครๆ ก็สนใจอยากร่วมเป็ นเจ้ าของ เพราะธุรกิจนํ ้าเมามียอดขาย สูงสุดในประเทศ และยังมีการส่งออกอีก เรี ยกว่ามีความสามารถทํากําไรค่อนข้ างดี และถือว่าเป็ น ธุรกิจที่ให้ ผลตอบแทนสูงอีกตัวแก่นกั ลงทุน คือมองยังไงก็ได้ มากกว่าเสีย ถ้ าไม่นําเข้ าตลาดหุ้น ของไทย ก็ธุรกิจสุราก็อาจจะไปเข้ าตลาดหุ้นต่างประเทศ ประโยชน์ที่บริษัทสุราได้ ให้ กบั สังคมเช่น การบริจาคผ้ าห่มกันหนาวในทุกฤดูหนาวที่ใช้ เงินไปแล้ วกว่า 180 ล้ าน และในภารกิจหน้ าที่ที่ธุรกิจ นี ้ต้ องเสียภาษีให้ รัฐปี หนึง่ ๆ สูงถึงปี ละหมื่นล้ านบาท คิดเป็ น 5 % ของงบประมาณใช้ จา่ ยของ รัฐบาลที่ใช้ ในการพัฒนาสังคมและประเทศมูลค่า 1.1 ล้ านล้ านบาท อัตราจ้ างงานพนักงานกว่า สองหมื่นชีวิต ที่ต้องเสียภาษี ให้ รัฐบาล รวมถึงการจ้ างงานทางอ้ อมในอุตสาหกรรมสลากฝาและลัง ของพนักงานอีกกว่า 1 แสนครอบครัว นอกจากนี ้โครงการที่เป็ นประโยชน์กบั สังคมที่สําคัญอย่าง หนึง่ ยังเหมารวมถึงการซื ้อสินค้ าเกษตรพวก ข้ าว นํ ้าตาล และการรับซื ้อพันธุ์ข้าวจากเกษตรกร เพราะวัตถุดบิ เหล่านี ้จะนําไปใช้ ผลิตเหล้ าและเบียร์ ที่ทําให้ บริษัทมียอดขายเฉียดแสนล้ านบาท คิดเป็ น 1 % ของจีดีพีประเทศ

ข้ อเสียของการนาธุรกิจสุรา-เบียร์ เข้ าตลาดหุ้น ในกรณีการนําสุราเข้ าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยนัน้ ซึง่ เป็ นธุรกิจที่ ผลิตสิ่งของมึนเมาจะก่อให้ เกิดผลเสียต่อบ้ านเมืองมากกว่าผลดีทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็ น เครื่ องดื่มที่ผิดศีลธรรมและทําลายสุขภาพ แม้ วา่ การดื่มสุราเป็ นพฤติกรรมส่วนบุคคล และเป็ นสิทธิ ส่วนบุคคลแต่การจัดการกับปั ญหาจากสุราเป็ นเรื่ องของทุกภาคส่วนในสังคม กฎเกณฑ์ในการนําธุรกิจเข้ าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์นนั ้ ต้ องเป็ นการระดมทุนขยาย กิจการ เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และสังคม ขณะที่ธุรกิจเหล้ า เบียร์ นนั ้ เป็ นธุรกิจที่ฟเู ฟื่ องอยู่ แล้ ว และในประเทศไทยถือเป็ นครัง้ แรกในประวัติศาสตร์ ที่จะมีการนําสิ่งที่เป็ นพิษต่อประชาชนเข้ า ตลาดหลักทรัพย์ การจะนําสุราเข้ าตลาดหลักทรัพย์เพราะแม้ จะไม่มีคนไทยก็ดื่มหรื อดื่มกันอยู่แล้ ว ก็ไม่สมเหตุสมผล อย่างเช่น จะห้ ามการขายบริ การทางเพศก็บอกว่า โสเภณีมีอยูแ่ ล้ ว จะให้ ตํารวจ ทําหน้ าที่จบั โจรแล้ วบอกว่า มีการขโมยกันประจําอยูแ่ ล้ ว อย่างนี ้ไม่ได้ สําหรับการเข้ าตลาด


9

หลักทรัพย์ของธุรกิจนํ ้าเมานัน้ ศ.นพ.อุดมศิลป์ กล่าวว่าที่ผา่ นมาองค์กรเครื อข่ายงดเหล้ า ร่วมกับ สสส. และหน่วยงานอื่นๆ ได้ รณรงค์เรื่ องการลดการดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์มาตลอด และรัฐบาล ชุดที่ผา่ นมาก็มีความจริงจัง และตังใจจริ ้ งในการรณรงค์ มีการออกมติครม.มาเพื่อควบคุมการ โฆษณาเหล้ า และกําหนดให้ วนั อาทิตย์เป็ นวันครอบครัว กําหนดเวลาขายเหล้ า และ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ก็มีพระราชดํารัสที่ชดั เจนเรื่ องพิษภัยของเหล้ า-บุหรี่ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2548 "สังคมจะดีหากปลอดเหล้ า บุหรี่ และอบายมุข เราต้ องเลือกระหว่างคุณค่า และมูลค่า ว่าสังคมต้ องการอะไร หากจะเอามูลค่านันจะทํ ้ าให้ ตลาด หลักทรัพย์โตเท่าไหร่ก็ได้ และต้ องตัดสินใจด้ วยว่าเงินทําให้ มนุษย์มีคณ ุ ค่า หรื อไม่ และต้ องดูคณ ุ ภาพชีวิตของคนไทยประกอบด้ วย” อย่างไรก็ตามหากตลาดหลักทรัพย์โตขึ ้นคนที่จะรวยมีกี่คน เมื่อเทียบกับคนเมาทัว่ ประเทศที่ตอนนี ้มีประมาณ 18 ล้ านคนแล้ ว และหากธุรกิจสุราเข้ าตลาดหลักทรัพย์ได้ ก็จะนําไปสู่ การขยายกิจการ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ให้ คนดื่มเหล้ ามากขึ ้น การรณรงค์ก็จะทําได้ อย่าง ยากลําบากขึ ้นแน่นอนและการที่สรุ าเข้ าตลาดหลักทรัพย์นนั ้ จะมีผลกระทบด้ านลบตามมา มากมาย เพราะเมื่อบริษัทมีเงินทุนมากขึ ้นก็จะขยายกิจการ ทําให้ ผลิตได้ มากขึ ้น ต้ นทุนต่อหน่วย ตํ่าลง กลยุทธ์การช่วงชิงส่วนแบ่งทางการตลาดก็จะเข้ มข้ นขึ ้น ส่งผลให้ สามารถซื ้อเครื่ องดื่ม แอลกอฮอล์ได้ มากขึ ้นในราคาเท่าเดิม และเมื่อเข้ าตลาดหลักทรัพย์ที่ยึดผลกําไรเป็ นสําคัญ จะทํา ให้ บริษัทมีแนวร่วมในการรณรงค์ลดการดื่มเหล้ า และการออกมาตรการต่างๆเพื่อควบคุมการ บริโภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ของรัฐ และยังเป็ นการนําร่องให้ ธุรกิจที่ทําลายสุขภาพอื่นๆ เข้ าสู่ ตลาดหลักทรัพย์ด้วย แค่ ถูกกฎหมายไม่ พอ ตลาดหลักทรัพย์อ้างว่าไม่รับจดทะเบียนธุรกิจผิดกฎหมาย แต่ธุรกิจสุราถูกกฎหมาย สามารถจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เพื่อระดมทุนได้ แม้ เกณฑ์การรับหลักทรัพย์ของตลาดจะไม่มีข้อจํากัดก็ตาม ตลาดหลักทรัพย์เป็ นแหล่งระดมทุน สําหรับกิจการที่เป็ นประโยชน์ตอ่ สังคม ดังนันแล้ ้ วจะถือประเด็นถูกกฎหมายเพียงอย่างเดียวจึงไม่ ควรเป็ นเหตุอ้างให้ นําบริ ษัทสุราเข้ าตลาดหลักทรัพย์ คือธุรกิจที่ถกู กฎหมายแต่ไม่ดีเช่นธุรกิจสุรานี ้ ทําให้ เกิดปั ญหาสุขภาพและสังคม ดังข้ อมูลขององค์การอนามัยโลกในรายงานประจําปี ค.ศ.2002 ระบุถึงการบริโภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์เป็ นปั จจัยเสี่ยงอันดับที่ 5 ของ 20 ปั จจัยเสี่ยงที่ทําให้ เกิด


10

ภาระโรคสูงสุด โดยการบริ โภคแอลกอฮอล์สร้ างภาระโรคคิดเป็ น 4% ของภาระโรคจากปั จจัยเสี่ยง ทังหมด ้ ซึง่ คิดเป็ น 5 เท่าของภาระโรคที่เกิดจากการเสพสารเสพติดชนิดต่าง ๆ ซึง่ จัดเป็ นปั จจัย เสี่ยงที่ทําให้ เกิดภาระโรคสูงสุดอันดับที่ 17 ของภาระโรคจากปั จจัยเสี่ยงทังหมด ้ จะเห็นได้ วา่ ธุรกิจถูกกฎหมาย เช่น สุรา สร้ างภาระทางสุขภาพให้ มากกว่าธุรกิจผิดกฎหมาย เช่น สารเสพติดทังหลายเสี ้ ยอีก จึงไม่ควรพิจารณานําธุรกิจสุราเข้ าตลาดหลักทรัพย์โดยอ้ างเพียงการ ถูกกฎหมายแต่ไม่คํานึงถึงผลกระทบต่าง ๆ มากมาย สร้ างค่ านิยมใหม่ ทางลบแก่ สังคม หากตลาดหลักทรัพย์ยอมรับธุรกิจสุราเข้ าตลาดฯ ต่อไปในอนาคตจะทําให้ ประชาชน และเยาวชนรุ่นใหม่เกิดค่านิยมยอมรับธุรกิจอบายมุข เพียงเพื่อการทํากําไรสูงสุดโดยไม่คํานึงถึง ศีลธรรมและผลกระทบที่เกิดกับสังคม และยิ่งไปกว่านันจะเป็ ้ นการนําร่องพาธุรกิจอบายมุขอื่น ๆ เข้ าสูก่ ารระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ได้ ตอ่ ไป ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียกับธุรกิจสุรามากขึน้ การดาเนินการควบคุมการบริโภคสุราจะ ทาได้ ยากขึน้ เมื่อธุรกิจสุราเข้ าตลาดได้ ย่อมมีผ้ ถู ือหุ้นซึง่ ถือเป็ นผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียเพิ่มมากขึ ้น อาจทํา ให้ เกิดภาวการณ์ปกป้องธุรกิจ ส่งผลให้ เกิดการคัดค้ านนโยบายควบคุมการบริโภคสุรา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งนโยบายควบคุมด้ านอุปทาน ซึง่ ได้ แก่ มาตรการการขึ ้นภาษี, มาตรการควบคุมความ แพร่หลายของการจําหน่ายและการดื่ม, มาตรการควบคุมโฆษณาและการส่งเสริมการขาย, มาตรการควบคุมการนําเข้ าและการอกแบบผลิตภัณฑ์ ย่อมสัง่ ผลให้ เกิดการบริโภคมากขึ ้นได้ เช่นกัน มีตวั อย่างประเทศฝรั่งเศสและประเทศเยอรมัน ซึง่ มีธุรกิจสุราอยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์ใน ประเทศหลายบริษัทนัน้ มีการดําเนินนโยบายการควบคุมปั ญหาการบริ โภคสุราในภาพรวมของ ประเทศน้ อยกว่า เช่น การไม่ควบคุมการเข้ าถึงเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์เท่าที่ควร การกําหนดอายุขนั ้ ตํ่าของเยาวชนที่จะซื ้อสุราได้ ไว้ เพียง 16-18 ปี การจํากัดการโฆษณาเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ เพียง บางส่วน หรื อปล่อยให้ มีการขายปลีกอย่างเสรี โดยไม่ต้องขออนุญาตจากภาครัฐ ส่วนประเทศ สวีเดน ซึง่ ไม่มีบริษัทสุราในตลาดหลักทรัพย์เลย ได้ ให้ ความสําคัญกับประเด็นดังกล่าว เช่นการ กําหนดอายุขนตํ ั ้ ่าของเยาวชนที่จะซื ้อสุราได้ ไว้ สงู ถึงอายุ 18-20 ปี จะเห็นได้ วา่ ความไม่จริงจังกับนโยบายการควบคุมปั ญหาการบริ โภคสุรา สอดคล้ องไป กับการที่ประเทศนัน้ ๆ อนุญาตให้ บริษัทสุราเข้ าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ของประเทศ ซึง่ ส่งผลกระทบตามมามากมาย


11

รายได้ ไม่ ค้ ุมรายจ่ ายสาหรั บภาครัฐ ความเสียหายมาจากนํ ้าเมามีมากมาย เฉพาะที่คํานวณเป็ นตัวเงินทางเศรษฐกิจ 1 33,652.5 ล้ านบาท การคํานวณครัง้ นี ้ครอบคลุมค่าใช้ จ่ายในการบําบัดรักษาโรค, ต้ นทุนเวลาใน การบําบัดโรค, ต้ นทุนเวลาในการขาดงาน, มูลค่าการสูญเสียชีวิตจากการเจ็บป่ วย, มูลค่าการ สูญเสียชีวิตและการบาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุ, มูลค่าการักษาอุบตั เิ หตุ, มูลค่าการสูญเสียรายได้ จาก การรักษาอุบตั เิ หตุ ที่ยงั ไม่ได้ คํานวณเป็ นตัวเงินอีกมากมาย สิ่งที่หลงเหลือกับครอบครัว สังคม และประเทศชาติ คือการเจ็บป่ วย และ/หรื อเสียชีวิตจากอุบตั เิ หตุ,การทะเลาะวิวาท, โรคต่าง ๆ, การสูญเสียการผลิตและภาระการดูแลผู้เจ็บป่ วยของครอบครัว, ภาวะความเศร้ าโศกเสียใจ ความ เคียดแค้ น,อาชญากรรม ความรุนแรง ความไม่ปลอดภัยในสังคม, ภาวะการเลี ้ยงดูเด็กแบบไม่ เหมาะสมเนื่องจากปั ญหาครอบครัว ซึง่ เหมือนกับการระเบิดเวลาในสังคม ดังนันแม้ ้ รัฐจะได้ รายได้ จากภาษีสรรพสามิตแต่เมื่อเทียบกับความเสียหาย โทษภัยของ นํ ้าเมา มันได้ ไม่ค้ มุ เสีย สรุป คือ บริษัทในอุตสาหกรรมสุราได้ กําไรมาก รัฐได้ กําไรน้ อย ประชาชน สังคมและประเทศชาติขาดทุนย่อยยับและเต็มไปด้ วยบาดแผลของสังคม ประโยชน์ ต่อส่ วนรวม ความเจริญทางด้ านธุรกิจทําให้ เกิดการอุปโภคบริ โภคมากขึ ้น ผู้คนมีความสะดวกสบาย มากขึ ้น แต่เราควรพิจารณาถึงผลจากการบริ โภคสินค้ านันด้ ้ วยว่าเป็ นไปเพื่อการสร้ างคุณค่าต่อ ชีวิตมนุษย์หรื อเป็ นการสร้ างโทษภัย นักธุรกิจก็มองเพียงว่า ขายสินค้ าให้ ได้ มากที่สดุ กระตุ้นตลาด เกิดการพัฒนาประเทศชาติก็จะเจริญตามไปด้ วย แต่ในความเป็ นจริงแทนที่จะเป็ นการพัฒนา ก็ กลายเป็ นการขัดขวางต่อกระบวนการพัฒนา หรื อเป็ นการพัฒนาที่ผิดพลาดเพราะพ่วงเอาผลร้ าย และความเสื่อมทรามต่าง ๆ ตามมามากมาย ดังนันการทํ ้ าธุรกิจในระบบใดก็ตามจะคํานึงเพียง ผลกําไรสูงสุดไม่ได้ เพราะกิจกรรมทางธุรกิจมีผลต่อคนส่วนใหญ่ จึงถือเป็ นเรื่ องส่วนตัวไม่ได้ ควร มีจริยธรรมและจริยธรรมนันควรมี ้ ตอ่ ส่วนรวมด้ วย การทํากําไรต้ องทําอย่างมีความรับผิดชอบ มิฉะนันความเสี ้ ยหายอาจเกิดขึ ้นอย่างมหาศาล และอาจแก้ ไขไม่ได้ อย่างเช่นธุรกิจสุรา การ พัฒนาของธุรกิจนี ้ ย่อมแสดงผลถึงว่าเป็ นการส่งเสริมคนทังประเทศในติ ้ ดสุรา แล้ วการพัฒนา ประเทศในทุกด้ านอย่างยัง่ ยืนจะเป็ นไปได้ อย่างไร เพราะปั จจัยสําคัญอยูท่ ี่ทรัพยากรมนุษย์ที่มี

1

นิพนธ์ พัวพงศกร(TDRI),โครงการวิจยั พัฒนารูปแบบเพื่อการป้องกันการดื่มสุราและเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ (กรุงเทพฯ: สถาบันวิจยั เพือ่ พัฒนาประเทศไทย,2548)


12

คุณภาพคือ มีความรู้ดี ความสามารถดีและความประพฤติดี โดยเฉพาะความประพฤติเป็ นพื ้นฐาน ที่จะทําให้ เกิดคุณสมบัตทิ ี่ดีที่เหลือเกิดขึ ้นได้

ธุรกิจสุราตามทรรศนะในพระพุทธศาสนาถือว่ าผิดศีลธรรมหรื อไม่ ศีลข้ อที่ห้ากับธุรกิจสุรา เกณฑ์ที่จะวินิจฉัยตัดสินว่าล่วงละเมิดการดื่มสุราและเมรัย อันเป็ นที่ตงแห่ ั ้ งความ ประมาท มีหลักเกณฑ์ตดั สิน 4 ประการ(มหามกุฏราชวิทยาลัย,2508: 142) คือ (1) สุราหรื อเมรัย หรื อนํ ้าดื่มอย่างใดอย่างหนึง่ อันเป็ นที่ตงแห่ ั ้ งความเมา (2) จิตคิดจะดื่ม (3) พยายามจะดื่ม (4) ดื่ม นํ ้าเมานัน้ แม้ วา่ ผู้ผลิตจะไม่ดื่มนํ ้าเมา ถือว่าไม่ผิดศีลข้ อที่ห้าแต่ถือว่าผิดธรรม (พิจารณาจากหลัก อกุศลธรรม) แต่ผ้ ทู ี่ดื่มสุราผิดศีลข้ อที่ 5 แน่นอน ส่วนผู้ผลิตนํ ้าเมาถือเป็ นต้ นแหล่งและมีสว่ น ส่งเสริมผลิตนํ ้าเมาออกมาจําหน่ายให้ กบั ผู้อื่น ดังนันเมื ้ ่อสร้ างอุปกรณ์คือนํ ้าเมาขึ ้นมา จึงทําให้ มี กิจกรรมแห่งการดื่มเกิดขึ ้น ไม้ เพียงผู้ผลิต ยังรวมถึงผู้จําหน่าย ผู้โฆษณาหรื อผู้มีสง่ เสริมสนับสนุน จนไปถึงผู้ดื่ม ไม่วา่ เขาเหล่านันจะเป็ ้ นใคร เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้ชายหรื อผู้หญิง วัยใด อาชีพใด พวกเขา ได้ ดื่มนํ ้าเมานี ้ลงไปไม่วา่ ปริ มาณจะมากหรื อน้ อยเพียงใดก็ตาม ก็ถือว่าผิดศีลและผิดธรรมเป็ น บาปติดตัวพวกเขาแล้ ว เนื่องจากเขาได้ ทําการเบียดเบียนตนเอง ส่วนการพิจารณาระดับบาปว่า มากหรื อน้ อย กรณีวา่ เจตนาในการคิดจะดื่มมีเท่า ๆ กัน (จิตคิดจะดื่ม) ประเด็นข้ อควรพิจารณา จึงอยูท่ ี่ปริมาณที่ดื่มล่วงลําคอลงไป (พยายามที่จะดื่ม) และอยูท่ ี่ความถี่ในการดื่ม (อาจิณกรรม หรื อไม่) ยกตัวอย่าง นาย ก เป็ นคนชอบสังสรรค์กบั เพื่อน ๆ อยู่เสมอ และทุกครัง้ ที่นดั เจอกันก็ จะต้ องมีนํ ้าเมาร่วมด้ วย นาย ก จะดื่มอย่างไม่มีขีดจํากัด จนหมดสภาพจนเพื่อนต้ องช่วยขับไปส่ง ถึงบ้ าน นอกจากนี ้นาย ก ก็มกั จะดื่มเหล้ าเป็ นปกติทกุ วัน แม้ จะไม่มีโอกาสพิเศษใด ๆ ก็ตาม ส่วน นาย ข ก็เป็ นเพื่อนอีกคนในกลุม่ นี ้ ชอบการสังสรรค์ ดื่มนํ ้าเมาร่วมกับเพื่อน ๆ ด้ วยเช่นกันแต่จะ กําจัดปริมาณว่าแค่ไหนจะพอ เพื่อจะได้ มีสติขบั รถกลับบ้ านได้ และนาย ข จะยอมดื่ มกรณีโอกาส พิเศษนาน ๆ ที เมื่อพิจารณาว่าปริมาณบาปเกิดขึ ้นกับใครมากกว่ากัน นาย ก ดื่มนํ ้าเมาเป็ นปกติ และ เกือบทุกครัง้ ที่ดื่มก็ดื่มในปริ มาณที่มากในขณะที่นาย ข ดื่มตามวาระโอกาสสําคัญและจําเป็ น และ ทุกครัง้ ที่ดื่มก็ดื่มในปริมาณที่น้อย สามารถสรุปโดยภาพรวมได้ วา่ นาย ก ได้ บาปติดตัวมากกว่า นาย ข แต่อย่างไรก็ตามในทัศนะของพุทธศาสนาแล้ ว บาปเกิดตังแต่ ้ คิดที่จะดื่มนํ ้าเมานี ้แล้ ว


13

เพราะกรรมในทางพระพุทธศาสนาทําได้ 3 ทาง คือทางกาย (กายกรรม) วาจา (วจีกรรม) และทาง ใจ (มโนกรรม) โดยเฉพาะอย่างยิ่งมโนกรรมเป็ นที่มาของกรรมทังหลายดั ้ งพุทธพจน์วา่ “ภิกษุทงหลาย ั้ เจตนานัน่ เองเราเรี ยกว่า กรรม บุคคลจงใจแล้ วจึงมีการกระทํานันโดย ้ ทางกาย วาจา ใจ ” (สุต.ปุคฺคล 22/334) เมื่อเรารู้แล้ วว่านํ ้าเมาเป็ นนํ ้าแห่งหายนะที่ตงแห่ ั ้ งความประมาท มีโทษทังในปั ้ จจุบนั ชาติ และชีวิตหลังความตาย ยังคิดประมาทที่จะไปดื่ม เราต้ องพิจารณาคิดให้ ดีวา่ ดื่มแล้ วไม่จบแค่เมา แล้ วซางแล้ วผลที่เราเอานํ ้าเมาล่วงลงลําคอจะติดเป็ นอกุศลกรรมเราไปข้ ามชาติทีเดียว ดื่มไม่กี่ที แต่ต้องไปรับผลแห่งกรรมอีกหลายทีและหลายชาติ ดังที่พระพุทธองค์ตรัสแสดงโทษของกายทุจริ ต 3 วจีทจุ ริต 4 และดื่มสุรา ว่า ถ้ าทาให้ มากเป็ นเหตุไปสู่นรก กาเนิดดิรัจฉาน และภูมิแห่ ง เปรต ส่ วนโทษอย่ างเบาเฉพาะข้ อ มีดงั นี ้ ฆ่าสัตว์ ทําให้ อายุน้อย, ลักทรัพย์ทําให้ โภคะพินาศ, ประพฤติผิดในกาม ทําให้ มีเวรจากศัตรู, พูดปด ทําให้ ถกู กล่าวตู,่ พูดส่อเสียด ทําให้ แตกจากมิตร, พูดคําหยาบ ทําให้ ได้ ยินได้ ฟังสิ่งที่ไม่นา่ พอใจ, พูดเพ้ อเจ้ อ ทําให้ มีวาจาไม่มีใครเชื่อ,ดื่มสุราเมรัย ทาให้ เป็ นบ้ า (มหามกุฏราชวิทยาลัย.2539.พระไตรปิ ฎก ฉบับสําหรับประชาชน.พิมพ์ครัง้ ที่ 16) ดังนันผู ้ ้ ผลิตนํ ้าเมารวมทังผู ้ ้ มีสว่ นเกี่ยวข้ องทุกคนย่อมได้ กระทําผิดธรรมและกรรมชัว่ ที่ ทําลงไปย่อมได้ รับบาปตามระดับของเจตนาและตามปริมาณกรรมชัว่ ที่ทําลงไป อย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ดื่มสุราเพื่อเข้ าสังคม เป็ นบาปหรือไม่ ขออภิปรายถึงประเด็นนี ้สักเล็กน้ อยเพราะเป็ นเหตุผลที่เรามักจะได้ ยินเสมอในสังคมของ นักดื่มสุราว่าการดื่มสุราบางครัง้ ก็จาเป็ นต้ องดื่มเพื่อสังคม ถ้ าเราไม่ดื่มก็เข้ ากับเขาไม่ได้ เมื่อเป็ น เช่นนี ้จะทาอย่างไรดื่ม เมานอนเสียจะบาปหรื อไม่? ตามหลักความเป็ นจริงแล้ ว การกล่าวอ้ างบุคคลสังคมว่าที่ตนต้ องกระทาไปเช่นนัน้ เพราะสังคม เพราะคนนันคนนี ้ ้เป็ นต้ น พระสารี บตุ รเถระได้ กล่าวแก่ธนัญชานิพราหมณ์ผ้ เู ป็ น ข้ าราชการผู้ใหญ่แต่ฉ้อหลวงบังราษฎร์ แล้ วอ้ างว่าตนทาเพื่อพ่อแม่ บุตรภรรยา เป็ นต้ นความว่า คนที่ทาความผิดแล้ วอ้ างว่าทาเพื่อใครก็ตามเวลาตายไปจะบอกนาย นิรยบาลเขาได้ ไหม ว่าที่ตนทาผิดไปเพราะต้ องทาเพื่อคนอื่นขออย่าได้ ถือเป็ นความผิดเลย หรื อคนที่เราอ้ างว่าเราทา ความผิดไปเพื่อพวกเขาจะไปขอร้ องต่อ ยมบาลว่า ขออย่าได้ ลงโทษเขาเลย คนๆนี ้ต้ องทาความผิด เพื่อพวกตน ซึง่ ปรากฏว่า ไม่มีข้ออ้ างเพื่อไม่ต้องรับโทษสาหรับการกระทาความผิดไม่วา่ จะเพื่อใคร โดยใครก็ตาม


14

"นี่คือหลักสากลแม้ ในด้ านกฎหมายก็มีลกั ษณะเดียวกัน" ในกรณีของการกล่าวว่าตนจาเป็ นต้ องดื่มสุราเพื่อสังคม ซึ่งมีคนกล่าวอ้ างกันเป็ นอันมาก นัน้ มีหลักในการพิจารณาเช่นเดียวกับที่พระสารี บตุ รกล่าวไว้ แต่ในกรณีของการดารงชีวิตแบบ ชาวบ้ านนัน้ เราจาเป็ นต้ องมองปั ญหาตามที่มีอยูเ่ ป็ นอยูใ่ นสังคมว่าข้ อเท็จจริงในสังคมเป็ น อย่างไร? การดารงชีวิตของคนในโลกนันเมื ้ ่อจาแนกออกจะได้ เป็ นกลุม่ ๆจะได้ 3 กลุม่ ใหญ่ๆคือ 1.ถือเอาความคิดเห็นของตนเป็ นประมาณในการตัดสินปั ญหา การแก้ ปัญหา การ ทางานเป็ นต้ น ซึง่ ออกจะเป็ นการเสี่ยงมากอยู่ 2.ถือเอาความคิดเห็นของสังคมคือคล้ อยตามความเคลื่อนไหวของสังคม ค่านิยม ของสังคม ปั ญหาในเรื่ องนี ้ตัวกาหนดความถูกผิดจึงอยูท่ ี่สงั คมว่า สังคมที่เราเคลื่อนไหวไปตามนัน้ เป็ นสังคมประเภทใด? 3.ถือเหตุผลความถูกต้ อง ตามหลักธรรม กฎหมาย จารี ตประเพณี เป็ นมาตรฐาน ในการดารงชีวิตซึง่ เป็ นเหมือนการขับรถไปตามกฎจราจร อันตรายไม่อาจเกิดขึ ้นได้ ตราบเท่าที่เขา ยังยึดมัน่ ในหลักการอันถูกต้ องนันๆอยู ้ ่ หลักในการดารงชีวิต 3 ระดับนี ้ สาหรับบัณฑิตแล้ วแม้ การถือความคิดเห็นของตนเอง หรื อสังคมเป็ นหลักในบางกรณีก็ตาม แต่ความคิดเห็นของตนและสังคมนันจะต้ ้ องยุตดิ ้ วยเหตุผล และความถูกตรงนัยที่ 3 ตลอดไป เพราะว่าถ้ าคนจะยึดถือสังคมเป็ นประมาณแล้ วหากเป็ นสังคม ของคนดีก็ดีไปหาก สังคมของคนพาลเล่าจะทาอย่างไรกัน? คนเราจะต้ องอ้ างว่าตนต้ องคอรัปชัน่ เพราะหากไม่ทาเช่นนันก็ ้ อยูร่ ่วมกับพวกคอรัปชัน่ ไม่ได้ ต้ องขโมยต้ องเล่นการพนันต้ องหมกมุน่ ในอบายมุขเป็ นต้ น เพื่อต้ องการสถานะคือการ ยอมรับของสังคมอยูต่ ลอดไป ทาให้ เป็ นคนขาดหลักการดารงชีวิตกลายเป็ นท่อนไม้ ลอยน ้าจนกว่า จะเน่าเปื่ อยผุพงั ไปอย่างนี ้จะไหวหรื อ การดื่มเหล้ าเพื่อให้ ตนสามารถเข้ าสังคมได้ สังคมอะไรก็คือสังคมคอสุราก็มีลกั ษณะ อย่างนัน้ ย่อมไม่พ้นการประพฤติผิดศีลไปได้ ผู้มีปัญญาจะต้ องเลือกเอาระหว่าง "ฐานะของผู้มีศีล กับไร้ ศีล" จะเลือกเอาสองอย่างในขณะเดียวกันไม่ได้ แม้ จะดื่มแล้ ว นอนหลับไปก็ย่อมได้ รับโทษ จากสุราที่ดื่ม เช่น เสียทรัพย์ ทอนกาลังปั ญญา ขาดความละอาย ไม่รักครอบครัว เป็ นต้ น หากจะ ทาอะไรผิดเพราะความเมาสุราเป็ นเหตุความผิดก็เพิ่มขึ ้นตามสมควรแก่เหตุ คนจึงไม่ควรสร้ าง ความเคยชินในการกระทาบาปและไม่ควรดูหมิ่นว่าเป็ นเรื่ องเล็ก เพราะทุกอย่างเริ่มจากน้ อยไปหา มากทังนั ้ น้


15

สัมมาอาชีวะกับธุรกิจสุรา มรรคข้ อที่ห้า คือ สัมมาอาชีวะ เลี ้ยงชีพชอบ ได้ แก่เว้ นมิจฉาชีพ ประกอบสัมมาชีพ การ ขายของที่เป็ นมิจฉาวณิชชา หรื อการค้ าขายที่ผิด ซึง่ ไม่ควรประกอบอาชีพค้ าขายสิ่ง 5 ประการนี ้ ได้ แก่ (องฺ ปํฺจก.22/177/233) สัตถวณิชชา คือค้ าขายอาวุธ,สัตตวณิชชา คือค้ าขายมนุษย์ ,มังสวณิชชา คือค้ าขายเนื ้อสัตว์ (เลี ้ยงสัตว์ไว้ ขาย),มัชชวณิชชา คือค้ าขายนํ ้าเมา (คือสุราและ เมรัย) และวิสวณิชชา คือค้ าขายยาพิษ ธุรกิจสุราเป็ นหนึง่ ในข้ อที่เป็ นมิจฉาชีพ คือค้ าขายนํ ้าเมา ที่พระพุทธเจ้ าได้ ทรงตรั สบอก แก่อบุ าสกไว้ ไม่ให้ ประกอบอาชีพเหล่านี ้ เนื่องจาก สุราและเมรัยอันเป็ นที่ตงแห่ ั ้ งความประมาท และมีโทษมากมายทังในชาติ ้ นี ้และภพชาติตอ่ ๆ ไป แม้ ผ้ ดู ื่มนํ ้าเมาคือสุราและเมรัยอันเป็ นที่ตงแห่ ั ้ งความประมาท ย่อมประสบภัยเวรใด ทัง้ ในปั จจุบนั และในสัมปรายภพ ย่อมเสวยทุกขโทมนัสใด แม้ ทางจิต เพราะเหตุแห่งการดื่มนํ ้าเมาคือ สุราและเมรัยอันเป็ นที่ตงแห่ ั ้ งความประมาท (สุต.อังคุต.ปํฺจก-ฉกฺกน 22/178/185 .พระไตรปิ ฎก ฉบับสยามรัฐ) เมื่อพิจารณาจากโทษของผู้ดื่มดังข้ อความข้ างต้ นที่ยกมาโทษภัยเป็ นเช่นไร ผู้ผลิต ผู้ค้าขาย ผู้จําหน่ายนํ ้าเมาก็ย่อมได้ รับทุกข์โทษเป็ นทับทวีเช่นเดียวกัน เพราะทุกสรรพสิ่งตก อยูภ่ ายใต้ กฎธรรมชาติกฎหนึง่ คือกฎแห่งกรรม ซึง่ เป็ นกฎแห่งเหตุและผลที่ทกุ คนประกอบเหตุเช่น ไรตนย่อมได้ รับผลเช่นนันดั ้ งพุทธพจน์บทหนึง่ ตรัสว่า “บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ รับผลเช่นนัน้ ผู้ทําดี ย่อมได้ ดี ผู้ทําชัว่ ย่อมได้ ชวั่ ” (สํ.ส. 15/903/333) เปรี ยบเหมือนชาวนาถ้ าปลูกข้ าวก็ได้ ข้าวเป็ นผลตอบแทน ถ้ าปลูกถัว่ ย่อมได้ ถวั่ ปลูกงา ย่อมได้ งาเป็ นผลตอบแทน เมื่อปลูกถัว่ แล้ วผลออกมาเป็ นมะม่วง นัน่ เป็ นไปไม่ได้ ก็เหมือนกับ คนเราทํากรรมใดไว้ ไม่วา่ ดีหรื อชัว่ กรรมจะเล็กน้ อย ปานกลางหรื อมากย่อมหลีกหนีสิ่งที่ตนกระทํา ไว้ ไม่พ้น ดังพุทธพจน์บทหนึง่ ที่วา่ “กรรมดีหรื อชัว่ ทุกอย่างที่คนสัง่ สมไว้ ย่อมมีผล ขึ ้นชื่อว่ากรรม แม้ จะนิดหน่อย ที่จะว่างเปล่าไปเลย ย่อมไม่มี” (ขุ.ชา. 27/2054/413) และว่า “กรรมไม่วา่ ดีหรื อชัว่ ย่อมไม่สญ ู เปล่าเลย”(ขุ.ชา. 28/864/306)

อบายมุขทางแห่ งความเสื่อมกับธุรกิจสุรา อบายมุข คือ ทางแห่งความเสื่อม ผู้ที่ดําเนินชีวิตเพื่อจะหวังความเจริญ ควรเว้ นจาก อบายมุขทางแห่งความเสื่อม เพราะเป็ นเหตุให้ เสียสุขภาพทางกาย ทางจิต สมอง ความคิดก็เฉื่อย ชา หรื อครุ่นคิดในสิ่งนัน้ ๆ อยูเ่ นือง ๆ ใช้ เวลากับสิ่งที่ไม่เป็ นประโยชน์ เป็ นเหตุให้ ครอบครัว สังคม


16

เดือดร้ อน และก่อให้ เกิดการล่วงละเมิดศีล หรื อแม้ แต่การทําลายคุณธรรมอื่น ๆ อบายมุขจึงเป็ น ช่องทางที่จะนําไปสู่ความเสียหาย และเป็ นการทําลายจริ ยธรรมอันดี (ที.ปา. 11/178/196) อบายมุข 4 มีดงั นี ้ 1) อิตถีธุตตะ เป็ นนักเลงหญิง นักเที่ยวผู้หญิง 2) สุราธุตตะ เป็ น นักเลงสุรา นักดื่มสุรา 3) อักขธุตตะ เป็ นนักเลงการพนัน 4) ปาปมิตตะ คบคนชัว่ เป็ นมิตร อบายมุข 6 ซึง่ ในอบายมุข 6 นันพระพุ ้ ทธเจ้ าทรงแสดงพร้ อมทังแจ้ ้ งโทษที่เกิดจาก อบายมุขแต่ละข้ อ ๆ ดังนี ้ (ทิ.ปา. 11/178-184/196-198) 1) ติดสุราและของมึนเมา มีโทษ 6 คือ สิ ้นเปลืองทรัพย์โดยเปล่าประโยชน์, ก่อการ ทะเลาะวิวาท, เป็ นบ่อเกิดแห่งโรค, เสียเกียรติเสียชื่อเสียง, ทําให้ ไม่เป็ นผู้ร้ ูจกั ละอาย, ทอน กําลังสติปัญญา 2) ชอบเที่ยวกลางคืน 3) ชอบเที่ยวดูการละเล่น 4) ติดการพนัน 5) คบคนชัว่ เป็ น มิตร 6) เกียจคร้ านการงาน ดังนันจะเห็ ้ นได้ ชดั เจนว่าธุรกิจนํ ้าเมาได้ ก่อให้ เกิดโทษภัย ความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน เกิดปั ญหามากมายตามมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็ นทางแห่งความเสื่อมให้ มนุษย์หา่ งไกล จากกุศลกรรม ก่อให้ เกิดการสร้ างอกุศลกรรม ทําให้ ชีวิตหนึง่ ที่เกิดมาเป็ นมนุษย์ ขาดทุน ปิ ดทาง ไปสวรรค์ เปิ ดทางไปสูน่ รก สูญเสียประโยชน์ในปั จจุบนั และประโยชน์เบื ้องหน้ าและประโยชน์อนั ยิ่งคือการบรรลุพระนิพพาน ความรับผิดชอบทางธรรมของธุรกิจสุรา กิจกรรมทางธุรกิจเกิดจากการตัดสินใจของมนุษย์มิใช่ดําเนินไปเองตามธรรมชาติเหมือน ลมฟ้าอากาศ ดังนัน้ ธุรกิจสุรานํ ้าเมาจะต้ องรับผิดชอบการตัดสินใจนันไม่ ้ วา่ จะเกิดผลดีผลร้ าย จะ อ้ างแต่ข้อดีที่ธุรกิจมีตอ่ สังคม(สร้ างงาน สร้ างเงิน รัฐได้ ภาษีมาพัฒนาประเทศ สร้ างฐานอํานาจ การต่อรองกับธุรกิจข้ ามชาติ เป็ นต้ น) แล้ วไม่นําพาผลร้ ายไม่ได้ กิจกรรมทางธุรกิจมีผลต่อคนส่วนใหญ่ จึงถือเป็ นเรื่ องส่วนตัวไม่ได้ ธรรมทางธุรกิจก็คือ ธรรมที่ควรมีตอ่ สังคมส่วนรวม การหากําไรต้ องทําอย่างมีความรับผิดชอบ มิฉะนันความเสี ้ ยหายก็ เกิดขึ ้นอย่างมหาศาล (โทษภัยจากนํ ้าเมาที่กล่าวไว้ แล้ วข้ างต้ น) และอาจแก้ ไขไม่ได้ กิจกรรมทางธุรกิจสุราก็เป็ น “กรรม” เพราะประกอบด้ วย “เจตนา” ในทางพุทธศาสนา การกระทําที่เป็ นกรรมย่อมตัดสินได้ ว่าดีหรื อชัว่ เกณฑ์อย่างหนึง่ ที่ใช้ ตดั สินได้ ว่าดีหรื อชัว่ ก็คือ “เจตนา” คือมีความจงใจเป็ นองค์ประกอบ ตัวอย่างการใช้ เจตนาเป็ นเครื่ องตัดสินความถูกผิดทาง ธรรมของการกระทํามีดงั นี ้


17

“ก็โดยสมัยนันแล ้ พวกภิกษุชาวเมืองอาฬวีช่วยกันสร้ างวิหารอยู่ ภิกษุรูปหนึง่ อยูข่ ้ างล่างส่งศิลาขึ ้นไป สิลาที่ภิกษุอยูข่ ้ างบนรับไว้ ไม่ทนั ได้ ตก ทับกระหม่อมภิกษุผ้ อู ยูข่ ้ างล่างถึงมรณภาพแล้ ว เธอมีความรับเกียจว่าเรา ต้ องอาบัตปิ าราชิกแล้ วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่ องนันแด่ ้ พะรผ็มรพระภา พระองค์ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุเธอคิดอย่างไรภิกษุรูปนันตอบว่ ้ า ข้ าพระพุทธเจ้ ามิได้ จงใจพระพุทธเจ้ าข้ า พระองค์ก็ตรัสตอบว่า ภิกษุไม่จง ใจไม่ต้องอาบัติ ” (วิ.มหา. 1/499) ข้ อความดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่าพระภิกษุที่ทําหินหล่นลงกระหม่อมเพื่อนภิกษุนัน้ ไม่ผิด เพราะไม่มีเจตนา ตรงข้ ามเมื่อมีเจตนาถือว่าผิด ปั ญหาก็คือธุรกิจเป็ นกิจกรรมที่ประกอบด้ วยเจตนา หรื อว่าเป็ นไปเองโดยธรรมชาติ เหมือนก้ อนหินที่ตกจากที่สงู ย่อมหล่นลงไปสูท่ ี่ตํ่าโดยไม่มีใครควบคุมบังคับ แต่เราจะเห็นได้ ชดั ว่า กิจกรรมทางธุรกิจสุรานันต้ ้ องมีการเลือก การตัดสินใจ นัน่ คือ มีเจตนาที่จะให้ เป็ นอย่างนี ้อย่างนัน้ อย่างธุรกิจสุราเมื่อนําเงินลงทุนทําธุรกิจ ก็ย่อมเกิดการผลิต เกิดการตลาด เกิดการบริโภค และ ผลกระทบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากธุรกิจสุราเข้ าตลาดได้ จะเกิดผลกระทบที่สง่ ผลให้ เกิดการ บริโภคมากขึ ้น ตัวอย่างความเคลื่อนไหว ได้ แก่ “บาคาร์ ดี” ระบุปรับโครงสร้ างภาษีกระทบตลาดนํ ้าเมายิ่งแข่งดุ เร่งเครื่ อง หาตลาดใหม่ ปูพรมตลาดไวท์สปิ ริต ทุม่ งบกว่า 10 ล้ านบาท ดันบอมเบย์ แซฟไฟร์ แจ้ งเกิดขานรับแทรนด์ค็อกเทล วอดก้ าพรี เมียมเสริมทัพ มัน่ ใจสิ ้น ปี กวาดรายได้ 1,000 ล้ านบาท โต 7 %” (ข่าวผู้จดั การรายวัน 10 มี.ค.48) ธุรกิจสุรารุกที่จะขยายตัวอยู่ตลอดเวลา (ทุม่ งบโฆษณาและการตลาด, ออกผลิตภัณฑ์ ใหม่) การทุม่ งบมหาศาลเช่นนี ้เพื่อขยายฐานลูกค้ าหรื อรุกเข้ าสูก่ ลุม่ เป้าหมายกลุม่ ใหม่ เพื่อให้ มีผ้ ู ดื่มมากขึ ้น และเพื่อผลกําไรของตนเองซึง่ มากมายกว่าที่ลงทุนไปมาก หากธุรกิจสุราสามารถระดม ทุนได้ มากขึ ้น จะทําให้ มีความสามารถในการผลิตมากขึ ้น ทําให้ ราคาถูกลง ผู้บริโภคสามารถ บริโภคในปริมารที่มากขึ ้นในค่าใช้ จา่ ยเท่าเดิม อีกทังเงิ ้ นทุนที่มากขึ ้น ทําให้ ธุรกิจสุราสามารถทํา การตลาดได้ มากขึ ้นย่อมส่งผลการบริ โภคมากขึ ้นด้ วยแน่นอน ธุรกิจสุรามีเจตนาอย่างชัดเจนที่มงุ่ การลงทุน การผลิต การขยายตลาด เพื่อให้ สินค้ า จําหน่ายได้ มากที่สดุ กระตุ้นให้ มีผ้ บู ริโภคให้ มากที่สดุ เจตนาและเป้าหมายชัดเจน วิธีการ การ ดําเนินการเป็ นไปอย่างมีระบบเพื่อมัง่ สูเ่ ป้าหมาย เมื่อมีเจตนาแล้ ว (นับว่าเป็ นเจตนาที่แรงกล้ า) ก็ ย่อมเป็ นกรรมชัว่ ตามเจตนานัน้


18

กิจกรรมทางธุรกิจกับเสรี ภาพ กิจกรรมทางธุรกิจเป็ นกิจกรรมที่ประกอบด้ วยเสรี ภาพ ผู้รับผิดชอบการกระทําก็คือผู้ กําหนดการกระทํา กิจกรรมทางธุรกิจนันแม้ ้ สภาพแวดล้ อม เช่นผู้บริโภคจะเป็ นตัวกําหนดความ ต้ องการ แต่การที่จะสนองความต้ องการอย่างไรนัน้ นักธุรกิจเป็ นผู้กําหนดเป็ นผู้เลือกเอง การ ตัดสินใจของนักธุรกิจจึงเป็ นการตัดสินใจที่เสรี เมื่อเป็ นเช่นนี ้ย่อมไม่มีใครที่ควรรับผิดชอบผลที่ เกิดขึ ้นจากการตัดสินใจของนักธุรกิจนอกจากตัวนักธุรกิจเอง ผลของการตัดสินใจในแง่ธุรกิจคือ กําไรหรื อขาดทุนนัน้ นักธุรกิจยอมรับ แต่เมื่อการตัดสินใจกระทบถึงส่วนรวมหรื อต่อผู้อื่นซึง่ พิจารณาในแง่ของธรรม (ดี-ชัว่ ถูก-ผิด บุญ-บาป) นักธุรกิจย่อมไม่มีเหตุผลที่จะเลี่ยงความ รับผิดชอบดังกล่าว ในเมื่อผลประโยชน์นกั ธุรกิจเป็ นผู้รับ ดีหรื อชัว่ บุญหรื อบาปก็เป็ นเรื่ องที่นกั ธุรกิจควรจะต้ องรับด้ วย โดยสรุป เกณฑ์การวินิจฉัยกรรมดีและกรรมชัว่ นันในแง่ ้ ของกรรมในทางพุทธศาสนา ให้ ถือเอาเจตนาเป็ นหลักตัดสินว่าเป็ นกรรมหรื อไม่ และในแง่ที่วา่ กรรมนันดี ้ หรื อชัว่ ให้ พิจารณาตาม หลักเกณฑ์ดงั นี ้ ซึง่ ผู้เขียนจะขออภิปรายผู้ทําธุรกิจสุราประกอบเกณฑ์การวินิจฉัยกรรมดี กรรมชัว่ ทางพุทธศาสนาไปในแต่ละข้ อ ๆ พร้ อมกัน

ก.เกณฑ์ หลัก 1. ตัดสินด้ วยความเป็ นกุศลกับอกุศล โดย - พิจารณามูลเหตุวา่ เป็ นเจตนาที่เกิดจากกุศลมูล คือ อโลภะ อโทสะ อโมหะ หรื อเกิด จากอกุศลมูล คือ โลภะ โทสะ โมหะ ธุรกิจสุราจากข้ อมูลที่ได้ อภิปรายไว้ ข้างต้ นแล้ วเป็ นธุรกิจที่กระทํากรรมที่มีเจตนาชัดเจน ซึง่ เมื่อพิจารณาจากมูลเหตุของการตัดสินใจกระทํากรรมดังกล่าวถือเป็ นอกุศล คือโลภะ สมดังที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ วา่ “แม้ ตวั โลภะเองก็เป็ นอกุศล,คนโลภแล้ ว ปรุงแต่งกรรมใด ด้ วยกาย วาจา ใจ แม้ กรรมนันก็ ้ เป็ นอกุศล,คนโลภแล้ ว ถูกความโลภครอบงํา มีจิตถูก โลภะบ่อนเสียแล้ ว ย่อมหาเรื่ องก่อความทุกข์แก่ผ้ อู ื่น โดยฆ่าเขาบ้ าง จอง จําบ้ าง ทําให้ สญ ู เสียบ้ าง ตําหนิโทษเอาบ้ าง ขับไล่บ้าง...แม้ ข้อนนันก็ ้ เป็ น อกุศล; อกุศลกรรมชัว่ ร้ ายเป็ นอเนก ซึง่ เกิดจากโลภะ มีโลภะเป็ นต้ นเหตุ มีโลภะเป็ นแดนเกิด มีโลภะเป็ นปั จจัย เหล่านี ้ ย่อมประดังมีแก่เขาด้ วย


19

ประการฉะนี ้ ” (ประยุตธ์ ปยุตฺโต,พระราชวรมุนี.2529.พุทธธรรม.หน้ า 182.) - พิจารณาตามสภาวะว่า เป็ นสภาพเกื ้อกูลแก่ชีวิตจิตใจหรื อไม่ ทําให้ จิตสบาย ไร้ โรค ปลอดโปร่ง ผ่องใส สมบูรณ์ หรื อไม่ ส่งเสริมหรื อบัน่ ทอนคุณภาพและสมรรถภาพของจิต ช่วยให้ กุศลธรรมทังหลายเจริ ้ ญงอกงามขึ ้น อกุศลธรรมทังหลายลดน้ ้ อยลง หรื อทําให้ กศุ ลธรรมลดน้ อยลง อกุศลทังหลายเจริ ้ ญงอกงามขึ ้น ตลอดจนมีผลต่อบุคลิกอย่างไร ธุรกิจสุรา เป็ นธุรกิจที่ผลิตสินค้ าที่ไม่ธรรมดาเหมือนสินค้ าอื่น ๆ ทัว่ ไป เนื่องจากสุราเป็ น สินค้ าที่มีโทษมาก ตังแต่ ้ ความเป็ นสารพิษ ทําลายอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายมากมาย ความสามารถก่อให้ เกิดอาการเมา ซึง่ ทําให้ เกิดการทะเลาะวิวาท อุบตั เิ หตุตามมาอีกมากมาย ตลอดจนความสามารถก่อให้ เกิดการเสพติดทําให้ ต้องดื่มต่อเนื่องเลิกได้ ยาก ยิ่งทําให้ ปัญหาต่าง ๆ เรื อ้ รังยากจะเยียวยา โทษของการดื่มสุราตามทัศนะของพระพุทธศาสนาได้ มีในสุราปานชาดก(สิกขาบทที่1 สุราปานวรรค ที่ 6) ได้ กล่าวถึงโทษสุราไว้ เช่นเดียวกันว่าสมัยที่พระสาคตเถระเป็ นพุทธอุปัฏฐาก ได้ ทําการปราบพระยานาคจนชื่อเสียงปรากฏ ชาวเมืองโกสัมพีเลื่อมใสจึงได้ นําสุราสีแดงเป็ นของ หายากโดยได้ รับคําแนะนําจากพวกภิกษุฉพั พัคคีย์ เมื่อพระสาคตเถระท่านดื่มจนเมาออกจาก ประตูเมืองแล้ วล้ มลงบ่นเพ้ ออยู่ พระพุทธเจ้ าพบแล้ วสัง่ ให้ อ้ มุ ไปวัด จัดให้ นอนหันศีรษะพระเถระ ไปทางใกล้ พระบาทของพระพุทธเจ้ า เธอกลับเปลี่ยนเท้ าไปทางพระพักตร์ พระพุทธเจ้ า พระองค์ ตรัสว่า “ในวันก่อน ๆ ท่านสาคตะเคยทํากิริยาเช่นนี ้กับเราหรื อไม่ กาลก่อนเคยทรมานพระยา นาคให้ สงบราบคาบได้ แต่บดั นี ้แม้ งเู ขียวก็ไม่สามารถจะปราบได้ ภิกษุทงหลายการดื ั้ ่มสุราทําให้ เสียสัญญาเห็นปานนี ้” จากนันทรงตํ ้ าหนิพระเถระ พร้ อมกันนันทรงบั ้ ญญัตสิ ิกขาบทว่า เป็ นอาบัติ ปาจิตตีย์ เพราะดื่มสุราและเมรัย (พระธรรมสิริชยั ,2528: 620-622; สุชีพ ปุญญานุภาพ, 2530: 172 ) และการดื่มสุรายังเป็ นสาเหตุให้ ละเมิดศีลข้ ออื่น ๆ (องฺ.ปํฺจก. 22/174/235) ...ผู้ดื่มนํ ้าเมา คือสุราและเมรัย มัวเมาประมาทแล้ วจึงฆ่าหญิงบ้ าง ชายบ้ าง ถือเอาสิ่งของที่เจ้ าของไม่ให้ จาก บ้ านบ้ าง จากป่ าบ้ าง ด้ วยอาการแห่งขโมย ล่วงละเมิดในภรรยาของผู้อื่น หักรานประโยชน์ด้วย การพูดปด เพราะสุราและเมรัยเป็ นเหตุ...(สุชีพ ปุญญานุภาพ, 2530: 123 ) เมื่อพิจารณาตามสภาวะว่า เป็ นสภาพเกื ้อกูลแก่ชีวิตจิตใจหรื อไม่ โทษพิษภัยแห่งนํ ้าเมา นันมี ้ ผลต่อชีวิตและจิตใจ ทําให้ อกุศลธรรมทังหลายเจริ ้ ญขึ ้น กุศลธรรมลดน้ อยเบาบางลง จนทํา ให้ ทําชัว่ อื่น ๆ ได้ อย่างไม่ละอายและเกรงกลัวต่อบาป


20

ข. เกณฑ์ ร่วม 2. ใช้ มโนธรรม คือ ความรู้สึกผิดชอบชัว่ ดีของตนเองพิจารณาว่า การที่ กระทํานันตนเอง ้ ติเตียนตนเองได้ หรื อไม่ เสียความเคารพตนเองหรื อไม่ เมื่อพิจารณาธุรกิจสุราในประเด็นมโนธรรมนี ้ ค่อนข้ างพิจารณาได้ ยากสักหน่อย เนื่องจากเราไม่สามารถมีตวั ชี ้วัดว่าผู้ผลิตนํ ้าเมาจะรู้สึกอย่างไร ในเมื่อเขาเป็ นผู้ที่รํ่ารวย มีเกียรติ มี อํานาจและเป็ นที่นบั ถือเกรงใจของคนในสังคมอยูท่ ีเดียว แต่อย่างไรก็ยงั สามารถจะเห็นถึงมโน ธรรมหรื อเบื ้องลึกของจิตใจของเขาได้ โดยการยกตัวอย่างเปรี ยบเทียบสักเรื่ อง สมมติวา่ ผู้ผลิต นํ ้าเมารายใหญ่ มีครอบครัว มีภรรยา มีบตุ รชายเพียงคนเดียว รวมทังพ่ ้ อแม่และหมู่ญาติอนั เป็ นที่ รักของเขา อยูม่ าวันหนึง่ ลูกชายอันเป็ นที่รักของเขา ซึ่งหวังจะให้ สืบทอดกิจการธุรกิจอันมีมลู ค่า มหาศาล ได้ ขบั รถพลิกควํ่า และได้ เสียชีวิตจากเขาไปอย่างกะทันหัน โดยมาทราบเรื่ องภายหลังว่า คืนนันลู ้ กชายไปสังสรรค์กบั เพื่อน ดื่มเหล้ าจนเมา ขณะขับรถจะกลับบ้ าน จึงได้ ขบั รถเสียหลักชน สะพานและรถก็พลิกควํ่าตกลงไปในแม่นํ ้า ถ้ าเหตุการณ์ตวั อย่างข้ างต้ นเกิดขึ ้นกับครอบครัวอื่น ชีวิตอื่น คนอื่น เขาจะรู้สกึ อย่างไร ถ้ าผู้เขียนตอบแทน เขาอาจจะรู้สกึ เฉย ๆ หรื ออาจจะสลดใจบ้ างแล้ วก็ไม่คิดจะสนใจ เพราะนัน้ ไม่ใช่คนในครอบครัวของเขา แต่ว่าเหตุการณ์ดงั กล่าวได้ เกิดกับลูกชายสุดที่รักของผู้ผลิตนํ ้าเมา เอง เขาจะรู้สกึ อย่างไร ถ้ าจิตใจเขายังมีความเป็ นมนุษย์และยังมีสามัญสํานึกของความเป็ นพ่อ เขาจะต้ องเสียใจอย่างมากกับการสูญเสียครัง้ นี ้ ในความเป็ นจริงเหตุการณ์อย่างนี ้ได้ เกิดในสังคม มีมากมายที่มีต้นเหตุมากจากนํ ้าเมา ถึงจะไม่ถึงขันสู ้ ญเสียชีวิต แต่เหยื่อผู้เคราะห์ร้ายจากนํ ้าเมา เหล่านัน้ ได้ สญ ู เสียอนาคตที่สดใส สูญเสียอวัยวะอยูใ่ นสภาพคนพิการ สูญเสียบุคคลที่รักซึง่ เป็ น หลักของครอบครัวหรื อเป็ นความหวังของพ่อแม่ยามแก่ชรา เป็ นต้ น ถ้ าผู้ผลิตนํ ้าเมายังมี หิริโอตตัปปะในใจ เอาใจเขามาใส่เราบ้ าง เหตุการณ์ดงั กล่าวน่าจะเป็ นสิ่งหนึง่ ที่เขาจะสามารถคิด ได้ และเอาชนะความโลภในใจ คิดที่จะเลิกผลิต ปิ ดโรงงานให้ ได้ สกั วัน 3. พิจารณาความยอมรับของวิญํู หรื อนักปราชญ์หรื อบัณฑิตชน ว่าเป็ นสิ่งที่วิญํู ยอมรับหรื อไม่ ชื่นชมสรรเสริ ญ หรื อตําหนิตเิ ตียน บัณฑิตที่กล่าวข้ างต้ นไม่ใช่บณ ั ฑิตที่จบจากมหาวิทยาลัย แต่หมายถึงบัณฑิตทางธรรม ซึง่ เป็ นบุคคลที่ดีพร้ อมทังทางกาย ้ วาจา และใจ กล่าวคือมีคณ ุ ลักษณะชอบคิดดีเป็ นปกติ ชอบพูด ดีเป็ นปกติและชอบทําดีเป็ นปกติ ดังนันแล้ ้ วผู้ที่เป็ นบัณฑิตแล้ วย่อมติเตียนธุรกิจสุรา ค้ าขาย นํ ้าเมา เพราะนํ ้าเมาเป็ นที่ตงแห่ ั ้ งความประมาทและเป็ นทางไหลมาแห่งอกุศลธรรมทังหลาย ้ ดัง่ มี เรื่ องกล่าวถึงความไม่ประมาทในพระไตรปิ ฎกว่า “ความไม่ประมาทเป็ นทางแห่งความไม่ตาย


21

ความประมาทเป็ นทางแห่งความตาย,ผู้ไม่ประมาทชื่อว่าไม่ตาย ผู้ประมาทย่อมเหมือนคนตาย แล้ ว. บัณฑิตทราบข้ อนี ้โดยพิเศษแล้ ว ตังอยู ้ ใ่ นความไม่ประมาท ยินดีในธรรมที่เที่ยวไป (แห่งจิต) ของพระอริยะทังหลาย ้ ย่อมบันเทิงในความไม่ประมาท. ผู้นนมี ั ้ ความเพ่ง ทําความเพียรติดต่อ มี ความบากบัน่ หมัน่ เป็ นนิตย์ เป็ นผู้ฉลาด ย่อมได้ บรรลุพระนิพพานอันปลอดโปร่งจากโยคะ.” (ธรรม บท. 25/18 ) จากข้ อความข้ างต้ นจะเห็นชัดว่าเรื่ องความไม่ประมาทมีความสําคัญมากเป็ นต้ นทางที่ จะนําพาชีวิตมนุษย์ไปสูเ่ ส้ นทางที่ดีงาม จนถึงกระทัง่ หมดกิเลสเข้ าพระนิพพานได้ ทีเดียวดังมีพทุ ธ พจน์ตรัสเรี ยกว่าเป็ นดุจรอยเท้ าช้ างที่ใหญ่ซงึ่ คลุมรอยเท้ าของสัตว์บกอื่น ๆ ได้ ทกุ ชนิด ความไม่ ประมาทคุมคุณธรรมข้ ออื่นทุกอย่างให้ ออกทํางาน คุณธรรมข้ ออื่น ๆ ต้ องมีความไม่ประมาทร่วม ปฏิบตั งิ าน ถ้ าประมาทเสียอย่างเดียว คุณธรรมข้ ออื่น ๆ ถึงแม้ มีอยูม่ ากมายเหมือนไม่มี เปล่า ประโยชน์ ต่อเมื่อไม่ประมาทแล้ ว คุณธรรมทังหลายจึ ้ งจะสําแดงผลอย่างแท้ จริง 4. พิจารณาลักษณะและผลแห่งการกระทําต่อตนเองและต่อผู้อื่น (ก) เป็ นการเบียดเบียนตน เบียดเบียนผู้อื่น ทําตนเองหรื อผู้อื่นเดือดร้ อนหรื อไม่ (ข) เป็ นไปเพื่อประโยชน์สขุ หรื อเป็ นไปเพื่อโทษทุกข์ ทังแก่ ้ ตนเอง และผู้อื่น เมื่อพิจารณาธุรกิจสุราในประเด็นนี ้ คือ (ก)และ (ข) จะขอนําเรื่ องจุดหมายในชีวิต ซึง่ พุทธศาสนาเรี ยกว่า ประโยชน์ มาอภิปรายร่วมด้ วย พุทธศาสนาได้ กําหนดจุดหมายของชีวิตไว้ เป็ น 3 ระดับ คือทิฏฐธัมมิกตั ถะ (ประโยชน์ปัจจุบนั ) หมายถึงประโยชน์อย่างที่มองเห็นกันอยู่ หรื อเรื่ อง ธรรมดาสามัญที่ชาวโลกทัว่ ๆ ไปมุง่ แสวงหากันในโลกนี ้ ได้ แก่ลาภ ยศ สุข สรรเสริญ ทรัพย์สินเงิน ทอง เป็ นต้ น ซึง่ เป็ นไปเพื่อความสุขในปั จจุบนั เท่านัน,สั ้ มปรายิกตั ถะ(ประโยชน์เบื ้องหน้ า)คือ เกี่ยวกับชีวิตหลังตายไปแล้ ว ยังต้ องมีภพภูมิตอ่ ไป เพราะยังมี กรรม เป็ นผู้กําหนด ซึง่ ประโยชน์นี ้ จะเกิดขึ ้นได้ เราต้ องใฝ่ ใจในทางศีลธรรม ในเรื่ องบุญเรื่ องกุศล ต้ องมีศรัทธาเชื่อในกฎแห่งการ กระทํา ที่วา่ เมื่อคนเราทํากรรมดียอ่ มได้ ผลที่ดีทํากรรมชัว่ ย่อมได้ รับผลเป็ นความทุกข์ทรมาน เป็ น ต้ น แล้ วหมัน่ ละชัว่ แล้ วกระทําแต่กศุ ลครัง้ ยังเป็ นมนุษย์,และปรมัตถะ (ประโยชน์ที่เป็ นสาระ แท้ จริงของชีวิต) ได้ แก่การรู้แจ้ งสภาวะของสิ่งทังหลายตามความเป็ ้ นจริง หมัน่ สัง่ สมบุญบารมีและ พากเพียรปฏิบตั ธิ รรมจนกระทัง่ หมดกิเลส คือโลภะ โทสะ โมหะ แล้ วเข้ าสูพ่ ระนิพพานไม่ต้องมา เวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป ในชาติปัจจุบนั ผู้ผลิตนํ ้าเมาเมื่อพิจารณาในเรื่ องว่าผลแห่งการกระทําว่าเบียดเบียน ตนเองนัน่ ค่อนข้ างจะมองเห็นได้ ยาก เนื่องจากภาพที่คนทัว่ ๆ ไปมองและเข้ าใจ เขาก็เป็ นนักธุรกิจ คนหนึง่ ที่ขยันทํามาหากิน จนรํ่ ารวย มีความสะดวกสบายในชีวิต มีชื่อเสียง มีเกียรติในสังคม แต่


22

เมื่อพิจารณาถึงผลแห่งการประกอบธุรกิจนํ ้าเมาของเขาได้ ไปเบียดเบียนผู้อื่น(ผู้ดื่ม นํ ้าเมา)อย่าง ชัดเจน ผู้ผลิตนํ ้าเมาได้ ได้ ทํากรรมคือผลิตนํ ้าเมาออกมาขาย มุง่ หวังให้ คนดื่ม ทําให้ คนผิดศีล ผิด ธรรม แล้ วคนดื่มสามารถทําความชัว่ อื่น ๆ อีกสารพัด สร้ างความเดือดร้ อนให้ กบั ตนเอง ครอบครัว สังคม รวมถึงประเทศชาติ ซึง่ ผลที่เบียดเบียนคนอื่นดังกล่าวก็เท่ากับเขาได้ เบียดเบียนตนเองด้ วย เช่นกัน คือ บาปได้ เกิดขึ ้นกับชีวิตเขาแล้ ว ถือว่าเขาได้ สร้ างเหตุแห่งการเบียดเบียดตนเองจากผล แห่งการกระทําในปั จจุบนั เมื่อใดก็ตามที่เขายังไม่เลิกผลิต ปิ ดโรงงานนํ ้าเมามหาภัยนี ้ลงอย่าง เด็ดขาด บาปก็จะสัง่ สมทับทวีเกิดขึ ้นกับเขาตลอด เพียงรอผลแห่งกรรมชัว่ เท่านันว่ ้ าจะส่งผล เบียดเบียนตัวเขาเองตอนไหน (ประเด็นเรื่ องกรรมและการส่งผลของกรรมเป็ นเรื่ องที่ซบั ซ้ อนจึงขอ อภิปรายไว้ เพียงนี ้) พิจารณาลักษณะและผลแห่งการกระทําเป็ นไปเพื่อประโยชน์สขุ หรื อเป็ นไปเพื่อโทษ ทุกข์ ทังแก่ ้ ตนเอง และผู้อื่น เมื่อมาถึงประเด็นนี ้เราจะเห็นได้ ชดั เจนว่าผู้ผลิตนํ ้าเมาอาจจะเกิด ประโยชน์สขุ เพียงในปั จจุบนั ชาตินี ้ แต่ผลแห่งการผลิตนํ ้าเมา (กรรมชัว่ )ได้ สร้ างโทษทุกข์แก่ตวั เขา ในอนาคตแล้ ว สําหรับนํ ้าเมานี ้เป็ นไปเพื่อโทษ ทุกข์แก่ผ้ อู ื่นอย่างชัดเจนทังในปั ้ จจุบนั และในเบื ้อง หน้ าคือชีวิตหลังความตาย ผู้ดื่มสุราย่อมไปรับวิบากกรรมชัว่ ในมหานรก ทุกข์ทรมานและยาวนาน มาก เมื่อพิจารณาตามผลแห่งกรรมชัว่ ของผู้ผลิต ผู้จําหน่าย ผู้โฆษณา หรื อผู้มีสว่ นสนับสนุน ส่งเสริมเกี่ยวข้ องในกิจกรรมแห่งกรรมชัว่ นี ้ คือธุรกิจนํ ้าเมา ย่อมส่งผลให้ ไปรับกรรมในมหานรกขุม ที่ 5 ซึง่ มีทกุ ข์ โทษทัณฑ์ ทรมานอย่างแสนสาหัสจะมากน้ อยก็ตามแต่ผลแห่งวิบากกรรมของแต่ละ คนที่ได้ กระทําไว้

วิบากกรรมผู้ค้าขายสุราในมหานรกขุมที่ 5 มหานรกขุมที่ 5 มีชื่อเรี ยกว่า มหาโรรุวมหานรก หมายถึง มหานรกที่เต็มไปด้ วยเสียงร้ อง ระงมครวญครางมากมาย นรกขุมนี ้อยูถ่ ดั ลงมาจากโรรุวมหานรก (มหานรกขุมที่ 4) มีขนาดใหญ่ กว่าโรรุวมหานรก เหตุที่มาเกิดในนรกขุมนี ้ เพราะชอบเสพสุราและยาเสพติดต่าง ๆ เป็ นส่วนมาก อายุขยั ของมหาโรรุวมหานรกเท่ากับ 8,000 ปี นรก วันหนึง่ คืนหนึง่ ในมหานรกขุมนี ้ เมื่อเทียบกับ เวลาในมนุษยโลกแล้ ว เท่ากับ 9,216 ล้ านปี ของมนุษยโลก ถ้ า 8,000 ปรนรก ก็เท่ากับ 6,635,520,000 ล้ านปี ในเมืองมนุษย์ การค้ าขายนํ ้าเมาถือเป็ นหนึ่งในอาชีพในมิจฉาวณิชชาที่พระพุทธองค์ทรงตรัสห้ ามไม่ให้ กระทํา ผู้ขายไม่วา่ จะขายนํ ้าเมาประเภทใด ขายกับใคร ชายหรื อหญิง เด็กหรื อผู้ใหญ่ แต่เมื่อเวลา


23

หลังความตายที่จะเดินทางสู่ปรโลกมาถึงจะได้ รับผลกรรมในมหานรกขุมที่ห้า กรณีศกึ ษาเรื่ องมหา นรกขุมที่ 5 ซึง่ พระราชภาวนาวิสทุ ธิ์ได้ เทศนาธรรมไว้ โดยทําในรูปแบบสื่อแอนนิเมชัน่ เพื่อ ประกอบการเรี ยนรู้พระพุทธศาสนาในรายการโรงเรี ยนอนุบาลฝั นในฝั น ผ่านทางช่อง DMC ใน ระบบดาวเทียม ได้ อธิบายเกี่ยวกับทัณฑ์ทรมานในมหานรกขุมที่ 5 เรื่ องวิบากกรรมของผู้ผลิต นํ ้าเมารายใหญ่ ดังนี ้ ด้ วยผลแห่งกรรมผู้ผลิตนํ ้าเมารายใหญ่ในเมืองมนุษย์ ได้ มาเกิดเป็ นผู้ผลิตนํ ้ากรดดําร้ อน รายใหญ่ในมหานรก สัตว์นรกตัวใหญ่มหึมานี่คือ อดีตผู้ผลิตนํ ้าเมารายใหญ่ในเมืองมนุษย์ แต่ด้วย อํานาจวิบากกรรมดังกล่าว จึงส่งผลให้ มาบังเกิดภายในปล่องภูเขาขนาดใหญ่ที่ตงอยู ั ้ ใ่ จกลางของ มหานรกขุมที่ห้า ซึง่ ภายในปล่องไฟขนาดใหญ่จะมีความเร่าร้ อนรุนแรงอย่างยิ่ง เปลวไฟในเมือง มนุษย์ที่สามารถเผาผลาญชีวิตมนุษย์และสรรพสิ่งให้ มอดไหม้ เป็ นจุลได้ อย่างง่ายดาย ไม่อาจ เปรี ยบได้ กบั ความร้ อนแรงขงอดวงอาทิตย์ได้ สกั เสี ้ยวหนึง่ ทว่า...แม้ ดวงอาทิตย์ที่มีอานุภาพ ยิ่งใหญ่ถึงเพียงนี ้ แต่หากนําดวงอาทิตย์ทงดวงหย่ ั้ อนลงในมหานรก อานุภาพเร่าร้ อนของมหานรก สามารถทําลายดวงอาทิตย์เพียงชัว่ พริบตาเดียวเท่านัน้ ด้ วยผลแห่งกรรมอดีตผู้ผลิตนํ ้าเมารายใหญ่ในเมืองมนุษย์กลับต้ องมาเป็ นผู้ผลิตนํ ้ากรด รายใหญ่ในมหานรกที่ร้อนแรงไปกว่าความร้ อนแรงใด ๆ ด้ วยความทุกข์ทรมานแสนสาหัส นํ ้ากรด สีดําร้ อนนี ้จะไหลอกมาจากภายในกายของสัตว์นรกตลอดเวลา อย่างไม่มีวนั เหือดแห้ ง และไม่มี ช่วงเวลาหยุดการผลิตเลย แม้ นํ ้ากรดในเมืองมนุษย์จะมีอานุภาพที่รุนแรงสักเพียงใดก็ตามจนสามารถกัดกร่อน ทําลายได้ แม้ แต่หินผา เหล็กกล้ า หรื อแม้ กระทัง่ สามารถคร่าชีวิตมนุษย์ได้ อย่างง่ายดาย แต่ถึง กระนันหากเปรี ้ ยบกับนํ ้ากรดในมหานรกแล้ ว นํ ้ากรดในเมืองมนุษย์ก็ไม่ตา่ งไปจากหยาดนํ ้าฝนที่ ชโลมผิวกายของสัตว์นรกให้ ชมุ่ ชื่นเย็นสบายเท่านัน้ นํ ้ากรดสีดําที่อาเจียนอกมานี ้ จะต้ มและกัดกินละลายตนเองรวมทังไหลไปหล่ ้ อเลี ้ยงทํา ทัณฑ์ทรมานสัตว์นรกทังหลายที ้ ่อยูถ่ ดั ลงไปและในทันทีที่ตายลงนัน้ ก็จะแวบขึ ้นมาใหม่เพื่อรองรับ ทัณฑ์ทรมานต่อไปอีกวนเวียนอยูเ่ ช่นนี ้นานกัปกัลป์เป็ นพุทธันดรทีเดียว สัตว์นรกจะต้ องชดใช้ วิบากกรรมอยู่เช่นนี ้จนกระทัง่ กรรมเริ่มเบาบางลง เมื่อถึงเลานัน้ ปล่องภูเขาเริ่มตื ้นเขินขึ ้น ๆ เรื่ อย ๆ อีกทังกายของสั ้ ตว์นรกก็จะค่อย ๆ หดเล็กลง ๆ ไปเรื่ อย ๆ กระทัง่ ในที่สดุ ก็สามารถหลบหนีขึ ้นมาจากปล่องภูเขาได้ จากนันจะต้ ้ องไปรับทัณฑ์ทรมาน โดย การถูกนายนิรยบาลช่วยกันจับกรอกนํ ้ากรดสีดําร้ อนที่ด้านล่างเป็ นลําดับต่อไป (พระราชภาวนา


24

วิสทุ ธิ์.วิบากกรรมในมหานรกขุมที่ 5 ตอนผู้ผลิตนํ ้าเมารายใหญ่ ตอนที่ 2,สื่อแอนนิเมชัน่ ใน รายการโรงเรี ยนอนุบาลฝั นในฝั น.30 มี.ค.2550)

บทสรุ ปและวิเคราะห์ แนวทางแก้ ไข แม้ การทําธุรกิจผลิตนํ ้าเมา(รวมทังการดื ้ ่มนํ ้าเมา) จะถือว่าเป็ นกิจกรรมส่วนตัวปั จเจก บุคคล จริงอยูท่ ี่หลาย ๆ คน อาจเห็นว่าธุรกิจผลิตนํ ้าเมาถูกกฎหมาย เขามีหน้ าที่ผลิต จําหน่าย ซึง่ ดําเนินไปในกระบวนการการทําธุรกิจเหมือนกับธุรกิจอื่น ๆ อีกมากกมาย เขาก็ไม่ได้ ไปบังคับให้ ใครมาซื ้อหรื อดื่ม แต่เรื่ องการดื่มและผลกระทบจากการดื่มที่เกิดขึ ้นนันมั ้ นเป็ นคนละส่วนกัน จะ เอามาปนกันไม่ได้ อย่างไรก็ตามในเบื ้องต้ นจริยธรรมต้ องมีในธุรกิจ เป็ นการนําหลักจริยธรรมทัว่ ไปมาใช้ กบั ธุรกิจ อะไรก็ตามที่สงั คมถือว่าไม่ถกู ต้ อง เช่น การทุจริต ธุรกิจก็ต้องถือว่าไม่ถกู ต้ องเช่นกัน ธุรกิจ ไม่ควรกําหนดเอาเองว่าอะไรถูกอะไรผิดในด้ านจริยธรรมเมื่อนําเอามาใช้ กบั ธุรกิจ ซึง่ หลักอย่าง หนึง่ ที่ธุรกิจต้ องให้ ความสนใจคือความรับผิดชอบต่อสังคม ดังนันแล้ ้ วธุรกิจนํ ้าเมาจะมองเพียง ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ หรื อความรับผิดชอบทางกฎหมาย นัน่ ย่อมไม่เพียงพอ พวกที่ มองเห็นผลประโยชน์ของตนเป็ นสําคัญ มองไม่เห็นผลประโยชน์ของคนอื่นหรื อของสาธารณะ พวก นี ้ไม่คํานึงว่าผลประโยชน์ของตนนันก่ ้ อให้ เกิดอันตรายต่อคนอื่นหรื อต่อส่วนรวม นันไม่ ้ ควรให้ เกิดขึ ้นเพราะคนเรามีความสัมพันธ์กนั จะต้ องทําให้ ความสัมพันธ์นนเป็ ั ้ นความสัมพันธ์ที่ดีคือไม่ เอาเปรี ยบกัน ไม่เบียดเบียนคนอื่น นักธุรกิจมีกําไรที่ได้ มาจากสังคม ดังนันก็ ้ ควรสํานึกรับผิดชอบ ตอบแทนอย่างจริงใจ เนื่องกิจกรรมทางธุรกิจเกิดจากการตัดสินใจของมนุษย์ไม่ใช่เป็ นไปตามธรรมชาติ ธุรกิจ ถือว่าเป็ นกรรม เพราะประกอบด้ วยเจตนาทังยั ้ งมีเสรี ภาพเต็มที่ที่จะเลือกประกอบอาชีพใด ด้ วย วิธีการอย่างไร เพื่อให้ เกิดผลด้ านใด อย่างไรบ้ าง เมื่อผู้ผลิตนํ ้าเมาเป็ นผู้เลือกประกอบอาชีพนี ้ เขา ก็คือผู้รับผิดชอบการกระทํา ผลกระทบจากการมีผ้ คู นดื่มนํ ้าเมาของเขาแล้ วก่อให้ เกิด โทษภัย ผล เสียหายมากมายทังชี ้ วิตและทรัพย์สิน ปั ญหาครอบครัว ปั ญหาสังคมต่าง ๆ เป็ นต้ น แม้ ในทาง กฎหมายไม่ได้ บงั คับให้ ผ้ ผู ลิตนํ ้าเมาต้ องรับผิดชอบต่อโทษภัยต่าง ๆ เหล่านี ้ แต่ด้วยสํานึ กต่อเพื่อน มนุษย์ด้วยกันที่ล้วนแต่ต้องเกิด แก่ เจ็บ และตายทังสิ ้ ้น ผู้ผลิตนํ ้าเมาควรมีมโนธรรม มี หิริโอตตัปปะสํานึกรู้ในใจว่า ธุรกิจที่ตนทําอยูน่ ี ้ไม่ดี สร้ างความเดือนร้ อนให้ ผ้ อู ื่น เป็ นการทําร้ าย ทําลายเพื่อนมนุษย์ด้วยกันอย่างแสนสาหัส


25

พระพุทธศาสนายอมรับว่ามนุษย์รักตัวเอง มนุษย์มีความโลภ รักสุขเกลียดทุกข์ ผลประโยชน์ส่วนตัวย่อมมาก่อนเสมอ ตนเองอิ่มแล้ วจึงจะเกิดจิตคิดแบ่งปั น ซึง่ ความโลภที่มาก เกินปราศจากสติ หิริโอตตัปปะ รวมทังกิ ้ เลส ตัณหา ล้ วนแล้ วแต่สร้ างปั ญหาทางจริ ยธรรมทังสิ ้ ้น ธุรกิจนํ ้าเมาเป็ นธุรกิจที่ผิดศีลธรรม นํ ้าเมาเป็ นที่ตงแห่ ั ้ งความประมาท เป็ นทางแห่งความเสื่อม คือ เปิ ดทางให้ ความชัว่ ทังหลายเข้ ้ ามาสูช่ ีวิต ปิ ดกันความดี ้ งามทังหลาย ้ เป็ นหนึง่ ในมิจฉาวณิชชา อาชีพที่พระพุทธเจ้ าทรงห้ ามไม่ให้ ประกอบ เมื่อพิจารณาธุรกิจนํ ้าเมาโดยใช้ เกณฑ์วินิจฉัยกรรมดี กรรมชัว่ ทางพระพุทธศาสนาซึ่งได้ อภิปรายไว้ ดงั ข้ างต้ นจะเห็นได้ ชดั ว่า ธุรกิจนํ ้าเมาเป็ นธุรกิจที่ เป็ นกรรมชัว่ ในทุกประเด็น ก่อความเดือนร้ อนและบาปทังต่ ้ อผู้ผลิต ผู้จําหน่ายและผู้ดื่ม ซึง่ โทษ จากนํ ้าเมาตามปรากฏในพระไตรปิ ฎกก็มีมากมายหลายแห่ง นํ ้าเมาได้ ก่อทุกข์ตอ่ ชีวิตตนเอง ผู้อื่น สังคม ซึง่ เป็ นการสูญเสียประโยชน์ในปั จจุบนั แม้ ชีวิตหลังความตายก็ต้องไปรับทัณฑ์ทรมานใน มหานรกขุมที่ 5 ตามวิบากกรรมที่ตนเคยประกอบไว้ ครัง้ ยังเป็ นมนุษย์ นัน่ ถือเป็ นการสูญเสีย ประโยชน์เบื ้องหน้ า ทังที ้ ่อตุ ส่าห์ได้ เกิดมาเป็ นมนุษย์ แต่กลับไม้ ร้ ูคณ ุ ค่าชีวิตของตนเอง และผู้อื่น ทําลาย ปิ ดกันโอกาสการประกอบกุ ้ ศลกรรม ยิ่งกว่านันได้ ้ ปิดกันและยื ้ ดระยะเวลาที่จะดําเนินชีวิต เพื่อประโยชน์สงู สุดอันแท้ จริ ง คือการบรรลุพระนิพพาน ดังนันแล้ ้ วที่มีการยื่นเสนอที่จะนําธุรกิจนํ ้าเมาเข้ าไปจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ นัน้ ไม่สมควรอย่างยิ่ง เพราะนํ ้าเมาเป็ นนํ ้ามหาภัยที่จะยังทุกข์ภยั มาสูช่ ีวิต สร้ างความเดือดร้ อน เสียหายมหาศาล สร้ างปั ญหาอื่น ๆ ตามมาเหมือนเกมส์โดมิโนทีเดียวให้ แก่สงั คมและ ประเทศชาติ ผู้เขียนขอเสนอทางออกที่ดีที่สดุ สําหรับผู้ผลิตสุราคือ เลิกผลิต ปิ ดโรงงานนํ ้าสุราไปเลย ในโลกนี ้อาชีพมีมากมาย ควรเลือกประกอบอาชีพที่เป็ นสัมมาอาชีวะคือการเลี ้ยงชีพชอบ เนื่องจากชีวิตมีหลายองค์ประกอบ ความรํ่ ารวยมีทรัพย์สินก็เป็ นองค์ประกอบอย่างหนึง่ ของระบบ การดําเนินชีวิตที่เรี ยกว่ามรรคมีองค์ 8 ประการ ซึง่ องค์ประกอบทังแปดประการนี ้ ้จะต้ องอาศัยซึง่ กันและกัน ร่วมประสานกันในการที่จะเข้ าถึงจุดมุง่ หมายของชีวิต ดังนันเพี ้ ยงความรํ่ ารวยจากการ มีทรัพย์จงึ ไม่ใช่บทสรุปทังหมดซึ ้ ง่ จะยังให้ ถึงจุดหมายสูงสุด คือชีวิตที่ดีงาม ได้


26

เอกสารอ้ างอิง จินตนา บุญบงการ.2551.จริยธรรมทางธุรกิจ.พิมพ์ครัง้ ที่ 10.กรุงเทพฯ : บริ ษัทด่านสุท ธาการพิมพ์ จํากัด. ปรี ชา ช้ างขัวญยืน.2540.ทรรศนะทางการเมืองของพระพุทธศาสนา.กรุงเทพฯ : บริษัท สามัคคีสาส์น จํากัด. มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์.2539.พระไตรปิ ฎก ฉบับสาหรับ ประชาชน.พิมพ์ครัง้ ที่ 16.กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).2537.เศรษฐศาสตร์ ตามแนวพุทธศาสตร์ .พิมพ์ครัง้ ที่ 3.กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).2529.พุทธธรรม.พิมพ์ครัง้ ที่ 3.กรุงเทพฯ : มหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์. พระไพฑูรย์ แก้ วเขียว,มหา.2541.พุทธจริยธรรมการดื่มสุราของชาวไทยพุทธ ศึกษาเฉพาะกรณีชาวพุทธ ในกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ปริญญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจริยศาสตร์ ศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทาย ลัยมหิดล. มหามกุฏราชวิทยาลัย.พระไตรปิ ฎกภาษาไทย 45 เล่ ม ฉบับสยามรัฐ (ระบบ ออนไลน์ทางอินเทอร์ เน็ต). สมภาร พรมทา.2545.ชีวิตกับความขัดแย้ ง ปั ญหาจริยธรรมในชีวิตประจาวัน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมภาร พรมทา.2548.พุทธปรัชญา มนุษย์ สังคม และปั ญหาจริยธรรม. พิมพ์ครัง้ ที่ 2.กรุงเทพฯ : ศยาม. สมภาร พรมทา.2548.พุทธศาสนากับปั ญหาจริยศาสตร์ .กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ศูนย์วิจยั ปั ญหาสุรา (ศวส.).ธุรกิจสุรากับตลาดหลักทรั พย์ .เอกสารประกอบเพื่อ นําเสนอเวทีวิชาการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ,17 มีนาคม 2548. ศูนย์วิจยั ปั ญหาสุรา (ศวส.).Global market strategies of the alcohol industry ยุทธศาสตร์ ของอุตสาหกรรมสุราระดับโลก.เอกสารประกอบการประชุม วิชาการสุราแห่งชาติครัง้ ที่ 3. 21 -23 พ.ย. 2550.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.