กาลามสูตรกับสังคมไทยยุคไอที

Page 1

กาลามสูตรกับสังคมไทยยุคไอที เสนอ ศ.ดร.สมภาร พรมทา

จัดทาโดย น.อ.หญิง พรทิพย์ รุ่ งกรุ ด ร.น. รหัสนักศึกษา 5212000004

รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาวิชาพุทธปรั ชญาวิเคราะห์ ตามหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพุทธวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์ เนีย ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา พุทธศักราช 2552

WWW.DOU.US


คานา

งานวิจยั จาก University of London ที่ระบุว่า การเสพติดต่อข้ อมูลแบบออนไลน์นนั ้ จะ ส่งผลต่อความสามารถในการทางานของสมอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งทาให้ ระดับไอคิวของคนเรา ลดลงในระดับที่ม ากกว่าการสูบสารเสพติด จากการทดลองพบว่าความสามารถของสมอง คนเราในการคิดหรื อตัดสินใจจะค่อยๆ เพิ่มมากขึ ้น เมื่อสมองของเราสามารถที่จะอยู่อย่างสงบ และไม่ต้องมีสิ่งที่จะต้ องคิดถึงอยู่ตลอดเวลา แต่เมื่อเรารับข้ อมูลออนไลน์ผ่านทางสื่อต่างๆ มาก ขึ ้นและตลอดเวลา ทาให้ สมองของเราจะต้ องถูกกระตุ้น ใช้ งาน และจะต้ องคอยคิดอยู่ ตลอดเวลา และเมื่อสิ่งต่างๆ เหล่านันมี ้ ระดับที่สูงขึ ้น ก็ย่อมจะส่งผลต่อสมองในการคิด ตัดสินใจ และแก้ ไขปั ญหาต่างๆ อย่างไรก็ตามในโลกปั จจุบนั ข้ อมูลและข่าวสารต่างๆ กลายเป็ น สิ่งที่สาคัญและจาเป็ น ดังนัน้ เราควรที่จะมีกลยุทธ์ในการรับมือ เพื่อไม่ให้ เราเสพติดต่อข้ อมูล ออนไลน์ ศาสนาพุทธเป็ นศาสนาของคนที่ต้องใช้ ปัญญา มีเหตุผล และมีสติร้ ู ตัวทั่วพร้ อม มิใช่ ปั ญญาเกินสติจนเกิดอาการบ้ าคลัง่ ปั จจุบนั เป็ นยุคข้ อมูลข่าวสาร มีการใช้ ข่าวสารเพื่อให้ เกิด ประโยชน์ และมีบ้างที่ ข่าวสารเป็ นโทษ การรับที่จะเชื่อจึงต้ องพิจารณา พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ทรงใช้ วิธีการสอนที่ทนั สมัยมากไม่ตา่ งกับการสอนในระดับบัณฑิตในปั จจุบนั นี ้เลย โดยทรงป้อน คาถามที่เป็ นเหตุ เป็ นผล ให้ กาลามชน ในครัง้ พุทธกาล ที่ชาวพุทธรู้ จกั กันโดยทั่วไปว่า กาลาม สู ต ร นักศึกษาเห็ นว่าในปั จ จุบันเกิ ดกรณี ขัด แย้ ง กันอย่างกว้ างขวางในเรื่ องที่ เกี่ ย วกับ ข้ อมูล ข่าวสาร จึงเป็ นแรงบันดาลใจให้ เขียนและเรี ยบเรี ยงบทความนี ้ขึน้ มาเพื่อเสนอให้ ชาวไทยได้ มี โอกาสใช้ กาลามสูตร เป็ นหลักในการพิจารณารับข้ อมูลข่าวสารในยุคปั จจุบนั ได้ อย่างรู้ เท่าทัน ต่อไป น.อ.หญิง พรทิพย์ รุ่งกรุด ร.น. รหัสนักศึกษา 5212000004


สารบัญ หน้ า คานา สารบัญ กาลามสูตรกับสังคมไทยยุคไอที บรรณานุกรม

ก ข 1 12


1

กาลามสูตรกับสังคมไทยยุคไอที ปั จจุบนั นี ้เรากาลังอยู่ในยุคไอที (Information Technology) แต่ละวันก็มีข้อมูลข่าวสาร ทะลักเข้ ามาหาเราเป็ นจานวนมากมายมหาศาล ท่ามกลางสภาพสังคมแห่งยุคข้ อมูลข่าวสาร อย่างนี ้ ปั ญหาที่นา่ ขบคิดเป็ นประการแรก คือ เราจะเลือกรับหรื อเสพข้ อมูลข่าวสารอย่างไรให้ เกิด ปั ญญา มนุษย์ในยุคปั จจุบนั โดยเฉพาะสังคมไทยที่ มีความสัมพันธ์ กับเทคโนโลยีด้านข่าวสาร ข้ อมูลหรื อตัวข่าวสารข้ อมูลนัน้ แบ่งเป็ น 4 ประเภท คือ 1. พวกตื่นเต้ น คิดว่าตนเองเป็ นผู้ที่ทนั สมัย ได้ เสพข่าวสารที่ใหม่ ๆ แปลก ๆ แล้ วนามา วิพากษ์วิจารณ์กนั อย่างสนุกปากตื่นเต้ น เรี ยกว่าเป็ นผู้ที่ตกอยู่ในกระแส ถูกพัดพาไหลไปเรื่ อย ๆ ไม่เป็ นตัวของตัวเอง 2. พวกตามทัน พวกนี ้ดูดีกว่าพวกแรก คือ เมื่อมีขา่ วสารข้ อมูลอะไรเกิดขึ ้นก็ตามทัน หมด เอาใจใส่ติดตาม พวกนีภ้ ูมิใจว่า เรานี่เก่ง ตามทัน แต่ไม่ร้ ู ทัน รู้ แค่ตามข่าว แต่ไม่ เข้ าถึงความจริงของข่าว 3. พวกรู้ทนั พวกนี ้นอกจากตามทันแล้ ว ยังรู้เข้ าใจเท่าทันในข้ อมูลข่าวสารด้ วย ว่า เป็ นมาอย่างไร มีคณ ุ มีโทษ มีข้อดี ข้ อเสียอย่างไร จะใช้ ประโยชน์ได้ อย่างไรโดยไม่ถกู ครอบงา 4. พวกอยูเ่ หนือมัน พวกนี ้ยิ่งกว่ารู้ทนั อีก ขึ ้นไปอยูเ่ หนือกระแส เป็ นผู้ที่สามารถ จัด การกับ กระแสได้ เป็ นผู้ส ามารถใช้ ก ารเปลี่ ย นแปลงให้ เ ป็ นประโยชน์ และเป็ นผู้น าการ เปลี่ยนแปลง มีความสัมพันธ์กบั ข้ อมูลข่าวสารแบบเป็ นนาย ในด้ านโทษของข้ อมูลข่าวสารนัน้ ยังมีภาวะตื่นตูมเหมือนกับอยูใ่ นยุคข่าวลือ ทังที ้ ่อยู่ ในยุคข่าวสารข้ อมูล คนยังหลงงมงายกันมาก กลายเป็ นว่า ข้ อมูลยิ่งมาก โมหะยิ่งเพิ่ม คน จานวนมากตกเป็ นเหยื่อ โดยถูกเขาใช้ ข้อมูลมาหลอกล่อ ยกตัวอย่างเช่น ความขัดแย้ งทาง ความคิดทางด้ านการเมืองในปั จจุบนั ของประเทศไทย ต้ นเหตุมาจากคนส่วนมากเสพข้ อมูล ข่าวสารแต่ขาดโยนิโสมนสิการ ก่อให้ เกิดความแตกแยกทางความคิด แบ่งพรรคแบ่งพวก แบ่ง สี ใช้ ความรุ นแรงต่อกันอย่างผิดวิสยั ที่เป็ นธรรมชาติของคนไทยที่เคยเป็ นมาในอดีต เป็ นเหตุให้ เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวงแก่ประเทศชาติ ประชาชนชาวไทยเดือดร้ อนกันไปทัว่ เป็ นข่าว ดังไปทั่วโลก เกิดการสูญเสียทัง้ ชีวิต ทรัพย์สิน เศรษฐกิจ สภาพสังคมที่ดีงาม ชื่อเสียงและ ความน่าเชื่อถือของประทศไทยที่เคยได้ รับจากนานาประเทศ


2

ถ้ าจะให้ สงั คมไทยเจริ ญพัฒนาอย่างถูกต้ อง เพื่อให้ เป็ นสังคมที่ดีงาม หรื อแม้ แต่เพียง เพื่อให้ เป็ นสังคมที่มีชัยชนะในเวทีการแข่งขันของโลก จะต้ องมีการศึกษาทัง้ ในระบบและนอก ระบบที่พฒ ั นาคน โดยแฉพาะอนุชน คือ เด็กและเยาวชน หรื อลูกไทยหลานไทย ให้ มีลกั ษณะ ความสัมพันธ์กบั เทคโนโลยี ดังต่อไปนี ้ 1. คนไทยจะต้ องมองเทคโนโลยีในความหมายว่า เป็ นปั จจัยหรื อเครื่ องช่วยในการ สร้ างสรรค์มากกว่าจะมองในความหมายว่า เป็ นเครื่ องบารุงบาเรอเสริมความสะดวกสบาย 2. สังคมไทยจะต้ องเป็ นสังคมผู้ผลิตเทคโนโลยีให้ มากขึ ้น และเป็ นสังคมของผู้บริโภค เทคโนโลยีให้ น้อยลง 3. คนไทยโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนไทย จะต้ องใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและ สร้ างสรรค์มากกว่าใช้ เทคโนโลยีเพื่อการเสพบริ โภค 4. คนไทยโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนไทย จะต้ องหาความสุขจากการใช้ เทคโนโลยีทา การสร้ างสรรค์มากกว่าจะหาความสุขจากการเสพเทคโนโลยี ในด้ านของธรรมชาติสิ่ งแวดล้ อม สิ่ง ที่ ควรทา คือ ทาอย่างไรจึง จะใช้ เทคโนโลยีเอา ประโยชน์ จ ากธรรมชาติโดยไม่เ บียดเบี ยนและทาลายธรรมชาติ ทาให้ การได้ ประโยชน์ จ าก ธรรมชาติเป็ นการเกื ้อกูลธรรมชาติด้วย สาหรับในสังคมปั จจุบนั ความไม่สามัคคี ความไม่ลงรอยกัน และการขาดความเชื่อถือ เชื่อใจกัน อันเนื่องมาจากการขาดการไตร่ ต รองอย่างมีเหตุผลนัน้ ได้ ขยายกว้ างขวางออกไป อย่างมาก การที่สงั คมไทยเป็ นสังคมฐานความเชื่อได้ ทาให้ ส่วนหนึ่งคนไทยเป็ นจานวนมากมี ลักษณะที่เชื่อถือข่าวสารที่ไม่ได้ ผา่ นการคัดกรองอยูใ่ นระดับที่สงู พอสมควร นอกจากนีป้ ั ญหาของการที่สังคมไทยไม่ได้ เป็ นสังคมแห่งการศึ กษาและพัฒนาปั ญญา อย่างจริ งจัง ทาให้ สงั คมไทยเป็ นสังคมที่ขาดการรักษาองค์ความรู้ ภูมิปัญญาและเนื ้อหา สาระที่สาคัญที่ได้ เคยสัง่ สมมาในอดีต ทาให้ ความรู้เหล่านันได้ ้ หล่นหายไปในระหว่างทางของ ประวัติศาสตร์ เป็ นจานวนมาก ซึ่งข้ อด้ อยเหล่านี ้เองที่ทาให้ สงั คมของเรากลายเป็ นสังคมที่ขาด แคลน “ทายาทของสังคม” ที่มีคณ ุ ลักษณะของความเชื่อมัน่ ในตนเอง มีความ “รู้ ลึก-รู้ รอบ-รู้ไกล” และนิยมตัดสินสิ่งต่าง ๆ จากความรู้แทนความเชื่อในจานวนที่มากพอในปั จจุบนั คนไทยส่วนใหญ่ล้วนเป็ นชาวพุทธ ส่วนจะเป็ นพุทธแบบไหน เช่น ถือศีลมัน่ คงบ้ างหรื อย่อ หย่อนบ้ าง ต่างก็เป็ นคนไทยด้ วยกัน ปั ญหาทางการเมืองในขณะนี ้ไม่วา่ จะสมาทานความเชื่อแบบ ใด ถ้ าตังสติ ้ และใฝ่ หาสัจจะกันอย่างจริงจังย่อมรู้ความจริงว่าอะไรถูกอะไรผิด แล้ วก็กาหนด


3

บทบาทหน้ าที่ของตนให้ เป็ นคุณแก่ชาติบ้านเมือง เป็ นมงคลแก่ตน รู้ ว่าใครควรเสวนาและใครไม่ ควรเสวนาคบหา (เสวนา อเสวนา พาลานัง คาสอนหนึง่ ในมงคลสูตร) สถานการณ์ขา่ วเวลานี ้ ทังข่ ้ าวจากสื่อมวลชนในไทยกับสื่อมวลในต่างประเทศ เป็ นสิ่งที่ พึงพิจารณาด้ วยโยนิโสมนสิการ จุดยืนของสื่อมวลชนโดยหลักวิชาชีพ บางครัง้ อาจหลงทางได้ แต่ความเป็ นมืออาชึพนันก็ ้ สามารถกลับมาสูค่ วามถูกต้ อง แสวงหาสัจจะจากความจริง ในฐานะที่เราเป็ นชาวพุทธควรยึดหลักกาลามสูตร เพื่อพิจารณาว่าอะไรควรเชื่อและอะไร ไม่ควรเชื่อ กาลามสูตร เป็ นพระสูตรสาคัญสูตรหนึ่งในพระพุทธศาสนา ได้ รับความสนใจมาก เป็ นพิเศษ จากนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ ในยุคปั จจุบนั แท้ ที่จริ ง ในพระไตรปิ ฎก ชื่อกา ลามสูตรไม่ได้ มีปรากฏอยู่ หากมีแต่ชื่อว่า เกสปุตตสูตร ทังนี ้ ้ก็เพราะว่า พระพุทธเจ้ าทรง แสดงพระสูตรนี ้แก่ชาวกาลามะ ซึ่งอยู่ในเกสปุตตนิคม เพราะฉะนัน้ จึงตังชื ้ ่อพระสูตรนี ้ตาม ชื่อของนิคมนี ้ว่า เกสปุตตสูตร แต่คนที่อยู่ในนิคมหรื อ ตาบลนี ้เป็ นเชื ้อสาย หรื อมีสกุลเดียวกัน คือ สกุลกาลามะ จึงเรี ยกประชาชนเหล่านี ้ว่ากาลามชน ซึ่งมีโคตรอันเดียวกัน สกุล เดียวกัน คือ กาลามโคตร เพราะฉะนันเขาจึ ้ งเรี ยกพระสูตรนี ้ว่า เกสปุตตสูตร แต่ชาวโลก ทัว่ ไป มักจะเรี ยกพระสูตรนี ้ว่า กาลามสูตร เพราะรู้สึกว่าจะเรี ยกได้ ง่ายกว่า พระสูตรนี ้เป็ นพระ สูตรที่ไม่ยาว แต่มีใจความลึกซึ ้งน่าคิดประกอบด้ วยหตุผล ซึ่งผู้นบั ถือพระพุทธศาสนาหรื อผู้ ศึก ษาพระพุท ธศาสนาควรจะได้ ศึก ษาเป็ นอย่ า งยิ่ ง เพราะเป็ นการใช้ เหตุผ ลตามหลัก วิทยาศาสตร์ สอดคล้ องกับกฎทางวิทยาศาสตร์ กาลามสูตร แปลว่า พระสูตรที่พระพุทธเจ้ าทรงแสดงแก่ชาวกาลามะ หมู่บ้านเกสปุตติย นิคม แคว้ นโกศล เรี ยกว่า เกสปุตสูตรก็มี กาลามสูตรเป็ นหลักแห่งความเชื่อที่พระพุทธองค์ทรง วางไว้ ให้ แก่พทุ ธศาสนิกชน ไม่ให้ เชื่อสิ่งใด ๆ อย่างงมงายโดยไม่ใช้ ปัญญาพิจารณาให้ เห็นจริ งถึง คุณโทษหรื อดี ไม่ดีก่อนเชื่อ วิธีปฏิบตั ติ อ่ สิ่งที่ตนสงสัยหรื อหลักความเชื่อ 10 ประการ (กาลามสูตร) หลักธรรมในพระพุทธศาสนาที่พระพุทธเจ้ าทรงแสดงแก่ชาวกาลามะที่อาศัยอยู่ ในเกสปุตตนิคม แคว้ นโกศล เนื่องจากในสมัยนันมี ้ ผ้ อู วดอ้ างตนในคุณวิเศษกันมาก เชิดชูแต่ลทั ธิ ของตัว พูดจากระทบกระเทียบดูหมิ่นลัทธิอื่น พร้ อมทังชั ้ กจูงมิให้ เชื่อลัทธิอื่น เมื่อพระพุทธเจ้ า เสด็จถึงเกสปุตตนิคมดินแดนที่เต็มไปด้ วยผู้อวดอ้ าง ชาวกาลามะได้ ทูลถามด้ วยความสงสัยว่า ใครพูดจริง ใครพูดเท็จ


4

พระพุทธองค์ทรงแสดงกาลามสูตรว่าด้ วย วิธีปฏิบตั ิต่อสิ่งที่ตนสงสัย หรื อหลักความเชื่อ 10 ประการ เป็ นหลักตัดสิน คือ 1. มา อนุสสะเวนะ อย่าปลงใจเชื่อ ด้ วยการฟั งบอกตามๆ กันมา เช่น การเล่าข่าว ไม่ ว่าทางวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ อินเตอร์ เน็ต SMS หรื อ อื่นๆ บางคนเมื่อฟั งตามกันมาก็ เกิดความเชื่อ เมื่อคนนันว่ ้ าอย่างนัน้ คนนี ้ว่าอย่างนี ้ ก็เชื่อตามกันไป โดยบอกว่า "เขาว่า" ปั จจุบนั นี ้การเชื่อตามเขาว่านี ้ ถ้ าไปเป็ นพยานในศาลจะไม่เป็ นที่ยอมรับ เพราะการที่ "เขาว่า" นัน้ มันไม่แน่การฟั งตามกันมาก็เชื่อตามกันมา ฉะนันสุ ้ ภาษิตปั กษ์ใต้ จงึ มีอยูบ่ ทหนึง่ ว่า "กาเช็ดปาก คนว่ากาเจ็ดปาก ปากคนมากกว่าปากกาเป็ นไหนๆ" สุภาษิ ตนีห้ มายความว่า ชายคนหนึ่งเห็นกากินเนือ้ แล้ วเช็ดปากที่กิ่งไม้ ก็มาเล่าให้ เพื่อนฟั งว่า "ฉันเห็นกาเช็ดปาก" เพื่อนคนนันฟั ้ งไม่ชดั กลายเป็ นว่า "ฉันเห็นกาเจ็ดปาก" ก็ ไปเล่าต่อว่า คนโน้ นเล่าให้ ฟัง เมื่อวันก่อนว่าเขาเห็นกาเจ็ดปาก ก็เล่าต่อกันมาเรื่ อย ๆ ว่า กามี เจ็ดปาก นี่เป็ นการเชื่อตามคาเขาว่า ซึ่งบางคนก็ฟังมาไม่ชดั เพราะฉะนัน้ ก็อาจฟั งผิดได้ การ ที่เขาว่าจึงอาจจะถูกหรื อผิดได้ เช่น บัตรสนเท่ห์ เขาว่าอย่างนันอย่ ้ างนี ้ แล้ วก็ว่าตามที่เขาว่านัน้ ซึง่ มีจริงบ้ างไม่จริงบ้ าง ปนกันอยู่ เพราะฉะนัน้ อย่าเพิ่งเชื่อตามที่เขาว่า แต่ให้ ฟังไว้ ก่อนชาวพุทธจะไม่ปฏิเสธการที่เขาว่า แต่จะฟั งไว้ ก่อน โดยยังไม่เชื่อทีเดียว บางทีก็ฟังตามกันมาตังแต่ ้ โบราณ เช่น สมมุติว่าฝนแล้ ง ก็ต้องแห่นางแมวแล้ วฝนจะตก เราจะเชื่อได้ อย่างไรว่าแห่นางแมวแล้ วฝนจะตก บ้ างก็ว่าเป็ น เรื่ องที่เขาเล่ากันมาอย่างนี ้ คือเชื่อตามเขาว่า ซึ่งก็อาจจะไม่เป็ นจริ งตามเขาว่าก็ได้ ดังนัน้ เรา ต้ องเชื่อตามเหตุผล อย่าเชื่อตามเขาว่า 2. มา ปรัมปรายะ อย่าปลงใจเชื่อ ด้ วยการถือสืบกันมาอย่างปรัมปรา เช่น ความเชื่อ ทังหลายที ้ ่เกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งต้ องใช้ การพิจารณาด้ วยปั ญญาให้ ถ่องแท้ ถ้ าหากจะ นาไปประมวลเป็ นองค์ความรู้ บางคนบอกว่าเป็ นของเก่า เป็ นความเชื่อตังแต่ ้ สมัยโบราณเราควร จะเชื่อ เพราะเป็ นของเก่า ถ้ าไม่เชื่อเขาก็หาว่าจะทาลายของเก่า บางคนเห็นผีพ่งุ ไต้ ก็บอกว่า นัน่ แหละวิญญาณจะลงมาเกิด อย่าไปทัก เพราะเป็ นความเชื่อกันมาตังแต่ ้ โบราณ เมื่อมี แผ่นดินไหว คนโบราณจะพูดว่าปลาอานนท์พลิกตัว หรื อเวลามีฟ้าผ่าก็บอกว่ารามสูรขว้ าง ขวาน ฟ้าแลบก็คือนางเมขลาล่อแก้ วเข้ าตารามสูร รามสูรโกรธจึงขว้ างขวานลงมาเป็ นฟ้าผ่า ความเชื่อเช่นดังกล่าวมานี ้เป็ นความเชื่อของคนในสมัยโบราณ ซึ่งไม่ได้ ตงอยู ั ้ ่บนหลัก ของเหตุผล ดังนันความเชื ้ ่อของคนโบราณนันไม่ ้ ใช่ว่าจะถูกหรื อดีเ สมอไป แต่เป็ นความเชื่อ ปรัมปรา เราจึงไม่ควรจะเชื่อ ถ้ ายังไม่แน่ใจถึงแม้ วา่ จะเป็ นเรื่ องนาสืบๆกันมา


5

3. มา อิติกิรายะ อย่าปลงใจเชื่อ ด้ วยการเล่าลือ เช่น ข่าวลือทังหลายหรื ้ อตื่นข่าว เรื่ อง ข่าวนันมี ้ มาก ไม่วา่ จะเป็ นข่าวทันโลก ข่าวช่วงเช้ า ข่าวช่วงเย็น ข่าวเขาว่า ซึ่งมีอยู่มากมาย ถ้ าเราไปเชื่อตามข่าว เราก็อาจจะเป็ นคนโง่ได้ เช่น บางคนอ่านข่าวจากหน้ าหนังสือพิมพ์ก็คิดว่า เป็ นเรื่ องจริงแน่แล้ ว แต่ขา่ วจากหนังสือพิมพ์นนั ้ บางทีลงข่าวตรงกันข้ ามจากข่าวจริ ง ๆ เลยก็มี หรื อมี จริ งอยู่บ้างเพี ยงบางส่วนก็ มี เราจึงควรพิจารณาให้ ดีเสี ยก่อน เพราะข่าวบางข่าวนัน้ หนังสือพิมพ์ฉบับนันต้ ้ องมาลงขอขมากันภายหลังที่ลงข่าวผิด ๆ ไปแล้ วก็มี ดังนัน้ ข่าวลือจึงมี มาก เช่น ลือว่าจะมีการปฏิวตั ิ ลือว่าจะมีการปรับคณะรัฐมนตรี ซึ่งบางทีก็จริ ง บางทีก็ไม่จริ ง หรื อลือกันว่าคนเกิดวันนันวั ้ นนี ้จะตายในปี หน้ า ต้ องรี บทาบุญเสีย ก็เลยพากันเฮมาทาบุญกัน นี ้ ก็เ พราะฟั ง เขาลื อกันมา บางคนก็ ลื อกันแบบกระต่ายตื่นตูม เป็ นข่าวเขาว่าไม่ใช่ข่าวเราว่า เพราะฉะนันก็ ้ อย่าเพิ่งเชื่อ 4. มา ปิ ฎกสัมปะทาเนนะ อย่าปลงใจเชื่อ ด้ วยการอ้ างตาราหรื อคัมภีร์ คาว่า ปิ ฎก ใน ที่นี ้ก็คือ สิ่งที่เราเรี ยกว่าตารา สาหรับพระพุทธศาสนา ก็คือ บันทึกคาสอนที่เขียนไว้ ในใบลาน เอามารวมกันไว้ เป็ นชุดๆ เรี ยก ไตรปิ ฎก แม้ แต่ในบันทึกทางศาสนาก็ ยัง ต้ องใช้ การพิจ ารณา ไตร่ตรองด้ วยปั ญญา ก่อนจะปลงใจเชื่อถ้ าใครเอาตารามาอ้ างให้ เราฟั ง เราก็อย่าเพิ่งเชื่อ เพราะ ตาราก็อาจจะผิดได้ บางคนอาจจะค้ านว่า "ที่เราพูดถึงกาลามสูตรนี ้ ไม่ใช่ตาราหรอกหรื อ" จริ งอยู่ เราก็อ้าง กาลามสูตรซึ่งเป็ นตาราเหมือนกัน แต่ท่านว่า อย่าเพิ่งเชื่อ เพราะอาจจะผิดได้ ดังนัน้ ไม่ ว่าใครจะเอาตาราอะไรก็ตามมาอ้ างเราก็ต้องอย่าเพิ่งเชื่อ พระพุทธเจ้ าตรัสว่าให้ พิจารณาดูก่อน บางคนกล่าวยืนยันว่าตนเอง อ้ างตามตารา ซึ่งแท้ จริ งแล้ วเขาไม่ได้ อ่านตารานันเลย ้ แต่ว่าเอามา อ้ างขึ ้นเอง บางคนก็ต้องการ โดยการอ้ างตารา ดังมีเรื่ องเล่ากันมาว่า "อุบาสก 2 คนเถียงกัน ระหว่างสัตว์น ้ากับสัตว์บกอย่างไหนมีมากกว่ากัน อุบาสกคน หนึ่งบอกว่า สัตว์บกมีมากกว่า เพราะบนบกนัน้ มีสัตว์นานาชนิด เช่น มีแมลงต่างๆ มีมดต่างๆ มากมาย ส่วนอีกคนหนึ่งค้ านว่า สัตว์น ้ามีมากมายหลายชนิดนับไม่ถ้วน แม้ แต่ก้ งุ ปลา ก็นบั ไม่ถ้วนเสียแล้ ว สัตว์น ้าต้ องมากกว่าสัตว์บกแน่ นอน ทังสองคนจึ ้ งไม่อาจตกลงกันได้ อุบาสก คนหนึ่งหัวไวได้ ยกบาลีมาอ้ างว่า "พระพุทธเจ้ าตรัสไว้ ว่า สัตว์น ้ามีมากกว่าสัตว์บก ดังพระ บาลีที่วา่ นัตถิ เม สรณัง อัญญัง แปลว่า สัตว์น ้ามากกว่าสัตว์บก" อุบาสกอีกคนหนึง่ ไม่กล้ าค้ านเพราะกลัวจะตกนรก แท้ ที่จริง คาว่า "นัตถิ เม สรณัง อัญญัง" นัน้ ไม่ได้ แปลว่า "สัตว์น ้ามากกว่าสัตว์บก" แต่แปลว่า "ที่พงึ่ อย่างอื่นของข้ าพเจ้ าไม่มี" ผู้อ้างคิดแปลเอาเองเพื่อให้ คาพูดของตนมีหลักฐาน การอ้ างตาราอย่างนี ้จึงไม่ถกู ต้ องถ้ าใครหลงเชื่อก็อาจถูกหลอกเอาได้


6

นอกจากนี ้ ตาราบางอย่างก็อ้างกันมาผิด พวกที่ไม่ร้ ูภาษาบาลี เมื่อเห็นเขาอ้ างก็คิดว่า จริ ง เช่น บางคนกล่าวว่า "ทุกขโต ทุกขถานัง ให้ ทุกข์แก่ท่าน ทุกข์นนถึ ั ้ งตน" ซึ่งคากล่าวนี ้ เป็ นบาลีที่ไม่ถกู ต้ อง เป็ นประโยคที่ไม่มีประธาน ไม่มีกริ ยา เป็ นบาลีที่แต่งผิด ซึ่งอาจารย์บาง ท่านเรี ยกบาลีเช่นนี ้ว่า "เป็ นบาลีริมโขง" แต่คนกลับคิดว่าเป็ นคาพูดที่ซึ ้งดี เพราะฟั งดูเข้ าที่ดี นี ้ก็เป็ นการอ้ างตาราที่ผิด ถึงแม้ วา่ ตารานันจะเขี ้ ยนถูกแต่ถ้าหากว่าไม่มีเหตุผล เราก็ไม่ควรเชื่อ ดังนันใครอ้ ้ างบาลี เราก็จงอย่าเพิ่งเชื่อต้ องพิจารณาดูให้ ดีวา่ มีอะไรถูกหรื อผิดบ้ างเสียก่อน 5. มา ตักกะเหตุ อย่าปลงใจเชื่อ ด้ วยตรรกะ ด้ วยการใคร่ครวญตามวิธีที่เรี ยกว่า ตรรกะ เพราะว่าตรรกะก็ยงั ผิดได้ ในเมื่อเหตุผลหรื อวิธีใช้ เหตุผลมันผิดอยู่ท่านใช้ คาว่า ตักกเหตุ คือ การ ตรึ ก หรื อการคิด ตรรกวิทยาเป็ นวิชาแสดงเรื่ องความคิดเห็น อ้ างหาเหตุผล แต่พระพุทธเจ้ า ทรงกล้ าค้ านตรรกวิทยาได้ วา่ การอ้ างหาเหตุผลโดยการคาดคะเนนันอาจจะผิ ้ ดก็ได้ การอ้ างหา เหตุผลนันไม่ ้ ใช่วา่ จะถูกไปเสียทุกอย่าง การนึกคาดคะเนหรื อการเดาเอาของคนเรานันผิ ้ ดได้ เช่น หลักตรรกวิทยากล่าวว่า "ที่ใด มีควัน ที่นนมี ั ้ ไฟ" ซึ่งก็ไม่แน่เสมอไป เดี๋ยวนี ้ที่ใดมีควัน ที่นนอาจจะไม่ ั้ มีไฟก็ได้ เช่น เขาฉี ด สารเคมีพ่นยาฆ่าแมลง ก็มองดูว่าเป็ นควันออกมา แต่หามีไฟไม่ หรื อ บางคนก็คิดเดาเอา เองว่าคงจะเป็ นอย่างนัน้ คงจะเป็ นอย่างนี ้ คาว่า คงจะนัน้ มันไม่แน่ เพราะฉะนันเราก็ ้ อย่า เพิ่งตัดสินว่าเรื่ องนี ้ถูกแน่นอนแล้ ว คาว่า คงจะ นันเป็ ้ นการนึกเดาเอา 6. มา นะยะเหตุ อย่าปลงใจเชื่อ ด้ วยการอนุมาน ด้ วยเหตุผลว่าสมเหตุสมผลทางนัยยะ ตัวอย่างเช่น เราคิดว่าเราจะแซงรถคันหน้ าพ้ น ถ้ าเราขับรถเร็วกว่านี ้ซึง่ เป็ นการคาดคะเนเอา บาง ทีเราคาดคะเนความเร็ วไม่ถูก ก็อาจจะชนรถคันหน้ าที่วิ่งสวนมาเข้ าไปเลยก็ได้ การคาดคะเน หรื ออนุมานเอาอย่างนี ้ ทาให้ คนตายมามากแล้ ว การอนุมานเอานีจ้ ึงไม่แน่นอน บางคนคิดว่า ฝนคงจะตกแน่เพราะเห็นเมฆดาก่อตัวขึ ้นมา ก็เป็ นการอนุมานเอาว่าฝนคงจะตก แต่บางทีลม ก็จะพัดเอาเมฆนี ้ลอยพ้ นไปเลยก็ได้ ซึ่งก็ไม่แน่เพราะอนุมานเอา ดังนัน้ พระพุทธเจ้ าจึงตรัสว่า แม้ อนุมานเอาก็อย่าเพิ่งเชื่อ 7. มา อาการะปะริ วิตกั เกนะ อย่าปลงใจเชื่อ ด้ วยการคิดตรองตามแนวเหตุผล ด้ วย การตรึกเอาตามอาการ คือ ตามความคุ้นเคย ที่เรี ยกกันว่า common sense หรื อ สามัญสานึก กล่าวคือ เห็นอาการที่ปรากฏแล้ วก็คิดว่าใช่แน่นอน เช่น เห็นคนท้ องโตก็คิดว่าเขาจะมีลกู ซึ่งก็ ไม่แน่ บางคนแต่งตัวภูมิฐานก็คิดว่าคนนี ้เป็ นคนใหญ่โต ร่ ารวย ซึ่งก็ไม่แน่อีก บางทีก็เป็ น ขโมย แต่งตัวเรี ยบร้ อยมาหาเรา บางคนทาตัวเหมือนเป็ นคนบ้ าคนใบ้ มานัง่ ใกล้ กฏุ ิพระ คนก็ ไม่ส นใจนึกว่าเป็ นคนบ้ า แต่พอพระเผลอก็ขโมยของของพระไป ดัง นัน้ เราจะดูอาการที่


7

ปรากฏก็ไม่ได้ บางคนปวดหัวก็คิดว่าเป็ นโรคอะไรที่หวั แต่ก็ไม่แน่ สาเหตุอาจจะเป็ นที่อื่น แล้ วทาให้ เราปวดหัวก็ได้ เช่น ท้ องผูก เป็ นต้ น หรื อเราขับรถมาถึงสะพานซึ่งมองดูแล้ วคิดว่า สะพานนี ้น่าจะมัน่ คงพอจะขับข้ ามไปได้ แต่ก็ไม่แน่ สะพานอาจจะพังลงมาก็ได้ 8. มา ทิฏฐิ นิชฌานักขันติยา อย่าปลงใจเชื่อ เ พราะเข้ ากันได้ กบั ทฤษฎีของตน อย่า ได้ รับเอาเพราะว่าสิ่งนัน้ ทนได้ ตอ่ การเพ่งด้ วยทิฏฐิ ของตน ตัวเองมีความเห็นอย่างไร ถ้ าเขามา สอนด้ วยคาสอนชนิดที่เข้ ากันได้ กับความเห็นของตัวเอง ก็อย่าเพิ่งถือเอาว่าสิ่งนันถู ้ ก เพราะ ว่าทิฏฐิ ของตัวเองก็ผิดได้ คือเข้ ากับความเชื่อของตน เพราะตนเชื่ออย่างนี ้อยู่แล้ ว เมื่อใครพูด อย่างนี ้ให้ ฟังก็ยอมรับว่าใช่และถูกต้ อง ซึง่ ก็ไม่แน่เสมอไป เพราะสิ่งที่เราเชื่อมาก่อนนันอาจผิ ้ ดก็ มี บางทีคนอื่นก็มาหลอกเรา เพราะเห็นว่าเราเชื่ออยู่ก่อนแล้ ว จึงอาศัยความเชื่อของเราเป็ น เหตุมนั จึงไม่แน่เสมอไป บางคน เมื่อมีใครมาพูดตรงกับความคิดเห็นของตนก็เชื่อแล้ ว ตัวอย่างเช่น เราไม่ชอบ ใครอยู่สกั คนหนึ่ง พอใครมาบอกเราว่าคน ๆ นันไม่ ้ ดี ก็เชื่อว่าเป็ นคนชัว่ แน่ เพราะตนเองก็ไม่ ชอบหน้ าเขาอยู่แล้ ว เรื่ องอย่างนีก้ ็ไม่แน่เสมอไป เพราะคนที่เราไม่ชอบอาจจะเป็ นคนดีก็ได้ แต่วา่ มีคนอื่นมาพูดยุยงให้ เราเข้ าใจไปอย่างนัน้ เราจึงมองผิดไปได้ หรื อคนที่เชื่อเรื่ องพระเจ้ าสร้ างโลก หรื อเรื่ องเครื่ องรางของขลัง พอมีใครมาพูดเรื่ อง เช่นนี ้ก็เชื่อสนิท เพราะไปตรงกับความเชื่อของตน เพราะฉะนัน้ จงอย่าเพิ่งเชื่อ แม้ ในกรณีดงั กล่าวมานี ้ 9. มา ภัพพะรูปะตายะ อย่าปลงใจเชื่อ เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าเชื่อ เพราะเหตุว่าผู้ พูดมีคาพูดที่นา่ เชื่อถือ คือ เห็นว่าคนที่เป็ นคนใหญ่คนโตนัน้ พูดจาควรเชื่อถือได้ เช่น เป็ นถึงชัน้ เจ้ า หรื อตาแหน่งสูง เราก็ควรจะเชื่อคาพูดของเขา แต่มนั ก็ไม่แน่ แม้ แต่พระสงฆ์ก็ไม่แน่ เรา จึงต้ องฟั งดูให้ ดีเสียก่อน แม้ แต่คณะรัฐมนตรี เองก็ไม่แน่อย่าเพิ่งไปเชื่อคาพูดของท่านเหล่านันทั ้ ง้ ร้ อยเปอร์ เซ็นต์ ไม่ได้ ว่าผู้พูดมียศมีตาแหน่งอย่างนี ้แล้ ว จะพูดเรื่ องน่าเชื่อถือได้ เสมอไป เรา ควรจะฟั งหูไว้ หู ฟั งให้ ดีเสียก่อน มิฉะนันแล้ ้ วจะถูกหลอกได้ ง่าย อย่าเพิ่งเชื่อในที่นี ้ มิได้ หมายความว่าไม่ให้ เชื่อ แต่ควรจะพิจารณาดูก่อนแล้ วถึงจะเชื่อ 10. มา สัมโณ โน คะรูติ อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่าท่านนี ้เป็ นครูของเรา แม้ ว่าผู้นนั ้ จะเป็ นครูของเรา ก็ไม่ให้ เชื่อ พระพุทธเจ้ า ท่านไม่ให้ เชื่อ แม้ ว่า เป็ นคาสอนของท่าน ท่านให้ ใช้ ปั ญญา ไตร่ตรอง ลองทา ลองปฏิบตั ิ เมื่อได้ ผลจริง จึง เชื่อ ถือ เอาตามนัน้


8

เมื่ อใดท่านทัง้ หลายพึง รู้ ด้ วยตนเองว่า ธรรมเหล่านี เ้ ป็ นกุศล ธรรมเหล่านี ไ้ ม่มี โทษ ธรรมเหล่านี ้ท่านผู้ร้ ู สรรเสริ ญ ธรรมเหล่านี ้ใครสมาทานให้ บริ บูรณ์แล้ ว เป็ นไปเพื่อประโยชน์ เกื ้อกูล เพื่อความสุข เมื่อนัน้ ท่านทังหลายควรเข้ ้ าถึงธรรมเหล่านันอยู ้ ่ ปั จจุบนั แนวคิดและหลักสูตรที่สอนให้ คนมีเหตุผลไม่หลงเชื่องมงาย ในทานองเดียวกัน กับคาสอนของพระพุทธองค์เมื่อ 2500 ปี ก่อนได้ รับการบรรจุเป็ นวิชาบังคับว่าด้ วยการสร้ างทักษะ การคิดหรื อที่เรี ยกว่า “การคิดเชิงวิจารณ์ ( Critical thinking)” ไว้ ในกระบวนการเรี ยนรู้ ใน มหาวิทยาลัยของประเทศที่พฒ ั นาแล้ ว ข้ อความประเภทนี ้ตรงกับกฎทางวิทยาศาสตร์ เพราะนักวิทยาศาสตร์ จะไม่เชื่อถ้ าเขายัง ไม่ได้ ทดสอบหรื อพิจารณาเหตุผลให้ ปรากฏก่อน และข้ อความเช่นนี ้ไปตรงกันได้ อย่างไรในข้ อที่ ไม่ให้ เชื่อเพราะเหตุ เหล่านี ้ ถ้ าเช่นนันแล้ ้ วเราควรจะเชื่อแบบใด เมื่อปฏิเสธไปหมดเลยทัง้ 10 ข้ อ และเราควรจะเชื่ออะไรได้ บ้าง หัวใจของกาลามสูตร มี 2 ข้ อ 1. มีสติเป็ นผู้ขบั เคลื่อน 2.มีปัญญาเป็ นแผนที่นาทาง พระพุทธวจนะทัง้ 10 ประการข้ างต้ นนัน้ ฟั งดูแล้ วอาจคิดว่า ถ้ าใครถือตามแบบนี ้ ทังหมดก็ ้ มองดูวา่ น่าจะเป็ นมิจฉาทิฎฐิ คือ ไม่เชื่ออะไรเลย แม้ แต่ครูของตนเอง แม้ แต่พระไตร ปิ ฎกก็ไม่ให้ เชื่อ พิจารณาดูแล้ ว น่าจะเป็ นมิจฉาทิฎฐิ แต่ก็ไม่ใช่ คาว่า "มา" อันเป็ นคาบาลีในพระสูตรนี ้ เป็ นการปฏิเสธมีความหมายเท่ากับ No หรื อ นะ คือ อย่า แต่โบราณาจารย์กล่าวว่า ถ้ าแปลว่า อย่าเชื่อ เป็ นการแปลที่คอ่ นข้ างจะแข็ง ไปควรแปลว่า "อย่าเพิ่งเชื่อ" คือให้ ฟั งไว้ ก่อน สานวนนี ้ ได้ แก่สานวนแปลของสมเด็จพระ พุทธโฆสาจารย์ (เจริ ญ) วัดเทพศิรินทราวาส นักปราชญ์รูปหนึง่ ในยุครัตนโกสินทร์ แต่บาง อาจารย์ให้ แปลว่า "อย่าเพิ่งปลงในเชื่อ" แต่บางท่านแปลตามศัพท์วา่ "อย่าเชื่อ" ดังนัน้ การ แปลในปั จจุบนั นี ้จึงมีอยู่ 3 แบบคือ 1. อย่าเชื่อ 2. อย่าเพิ่งเชื่อ 3. อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อ การแปลว่า "อย่าเชื่อ" นัน้ เป็ นการแปลที่คอ่ นข้ างจะแข็ง เป็ นการไม่คอ่ ยยอมกัน ส่วนการแปลอีก 2 อย่างนัน้ คือ "อย่าเพิ่งเชื่อ" และ "อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อ" นันก็ ้ มีความหมาย เหมือนกันแต่คาว่า "อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อ" นันเป็ ้ นสานวนแปล


9

ที่คอ่ นข้ างยาว ดังนัน้ คาว่า "อย่าเพิ่งเชื่อ" เป็ นสานวนที่สนกว่ ั ้ า ง่ายกว่าและเข้ าใจได้ ดีกว่า ฉะนัน้ การที่จะแปลให้ ฟังง่ายและเหมาะสมก็ต้องแปลว่า "อย่าเพิ่งเชื่อ" เพราะฉะนัน้ พระพุทธเจ้ าจึงตรัสว่า ใครจะพูดก็พดู ไป เราก็ฟังไป อย่าไปว่าหรื อค้ านเขา แต่อย่าเพิ่งเชื่อ ต้ องพิจารณาดูก่อนว่าถูกหรื อผิด เป็ นประโยชน์หรื อไม่เป็ นประโยชน์ เป็ นบุญหรื อเป็ นบาป เป็ นไปเพื่อประโยชน์หรื อไม่เป็ นประโยชน์ ในปั จจุบนั นี ้นักวิทยาศาสตร์ นักคิดชาวตะวันตกได้ สรรเสริญพระพุทธศาสนาในแง่ของ การมีเหตุผลไว้ มาก เพราะเป็ นคาสอนอันมีเหตุผลและสอดคล้ องกับหลักวิทยาศาสตร์ ของ พระพุทธศาสนา ดังนัน้ กาลามสูตรจึงเป็ นพระสูตรที่ให้ อิสระในด้ านความคิด แต่ไม่ได้ หมายความว่าไม่ให้ เราเชื่อ แต่ให้ พิจารณาให้ ดีเสียก่อน แล้ วจึงค่อยเชื่อ อย่าเชื่อโดยฟั งตามกันมา แม้ แต่พระ คัมภีร์ก็อย่าเพิ่งเชื่อ ให้ พิจารณาดูเสียก่อน ถ้ าทาได้ อย่างนี ้ ถือว่าสมกับการเป็ นชาวพุทธ ไม่เชื่ออะไรอย่างไร้ เหตุผล โดยไม่พิจารณาว่าควรเชื่อ หรื อไม่เพียงไร เราจึงควรภูมิใจที่เราได้ นบั ถือพระพุทธศาสนา อันเป็ นศาสนาที่มีเหตุผลสอดคล้ องกับ วิทยาศาสตร์ ในโลกปั จจุบนั ไม่เป็ นไปเพื่อเบียดเบียนตนและผู้อื่น แต่เป็ นไปเพื่อประโยชน์ ตนและผู้อื่น และเป็ นไปเพื่อความ สิ ้นทุกข์ในที่สดุ แม้ ทกุ ข์ยงั ไม่หมด แต่ก็มีความสงบสุขใน ชีวิตเพิ่มขึ ้น เมื่อเราได้ ปฏิบตั ไิ ด้ ถกู ต้ องตามพุทธธรรม ไม่เสียทีที่เกิดมาเป็ นมนุษย์พบ พระพุทธศาสนา กล่าวโดยความเป็ นจริ ง กาลามสูตรนัน้ นับเป็ นพระสูตรที่ คนไทยโดยเฉพาะที่ เป็ น พุทธศาสนิกชนล้ วนได้ ยินผ่านหูและเคยอ่านผ่านตากันมาไม่น้อย อีกทังได้ ้ มีการนาพระสูตรนี ้มา วิเคราะห์วิจยั และวิจารณ์ถึงคุณค่ากันมาเสมอไม่น้อยไปกว่าเรื่ องใด ๆ แต่เนื่องจากสังคมไทยเป็ น สังคมฐานความเชื่อ เป็ นสังคมที่เน้ นความสะดวกสบายมากกว่าการเป็ นสังคมแห่งปั ญญา ดังนัน้ “กาลามสูตร” จึงเป็ นเพียงหัวข้ อเรื่ องหรื อเป็ นความรู้ ที่ขาดคนสนใจอย่างจริ งจังอีกอันหนึ่ง เช่นเดียวกันกับบรรดาองค์ความรู้อนั มีคา่ ทังหลายของบรรพบุ ้ รุษที่ถกู ทิ ้งให้ สญ ู สลายหายไปเป็ น จานวนมาก ในส่วนของกาลามสูตร หากสังคมไทยยังไม่ได้ รับการปรับปรุงแก้ ไขอย่างเป็ นระบบและ จริงจังให้ คนไทยและสังคมไทยมีคณ ุ ลักษณะของการ “รักในความรู้ ” แล้ ว การได้ มีพระสูตรชื่อ กาลามสูตรอยูใ่ นสังคมถือเป็ นสิ่งไร้ ความหมาย ดังนันการบุ ้ กเบิกสร้ างคุณค่าให้ แก่มวลความรู้ที่ มีอยู่ในสังคมให้ ได้ นนเป็ ั ้ นสิ่งที่ควรกระทาก่อนเรื่ องอื่นใด และควรให้ ดาเนินควบคู่ไปกับความ พยายามเปลี่ยนแปลง “สังคมฐานความเชื่อ” ให้ กลายเป็ น “สังคมฐานความรู้ ” ซึ่งเมื่อเป็ น


10

ดังนี ้ สังคมไทยทังหมดก็ ้ คงไม่ต้องเป็ นกังวลไปกับกระแสข้ อมูลข่าวสารและความเชื่อที่ขาดการ พิจารณาต่อไป ทังนี ้ ้ก็เพราะสมาชิกของสังคมจะมี “ภูมิค้ มุ กันด้ านวิจารณญาณ” เพิ่มขึ ้น หากมีการดาเนินการกันอย่างต่อเนื่องจริ งจัง และที่สดุ แล้ วสังคมไทยก็จะได้ กลับเป็ น “สังคมที่ เข้ มแข็งด้ วยความรู้ ” เป็ นสังคมที่ใช้ วิจารณญาณในการเชื่อและตัดสินสิ่งต่าง ๆ มากขึ ้น ซึ่ง เชื่อว่าน่าจะเป็ นสังคมที่นา่ อยูแ่ ละมีความมัน่ คงมากที่สดุ สังคมหนึง่ ในอนาคต ความขัดแย้ ง กันทางความเชื่ อ ศรั ทธาของชาวกาลามะในครั ง้ พุทธกาล (องฺ .ทุก . 20/66/255) นัยหนึ่งป็ นการปะทะกันทางความคิด ศรัทธาความเชื่อ นัยหนึ่งเป็ นการโต้ แย้ ง ย้ อนแย้ ง และวิวาทกันอยู่ในที มีผลให้ สงั คมเกิดความระส่าระสายขาดความมัน่ คงในคุณภาพ ชีวิตและการอยู่ร่วมกัน กลับมาที่สงั คมไทยที่กาลังเกิดเหตุการณ์วิกฤติ(เดลินิวส์ :10/03/53) มี นัยยะของการปะทะกันทางความคิด ความเชื่อและมีผลเป็ นพฤติกรรมที่รุนแรง เริ่ มตังแต่ ้ ระดับ บ้ าน พี่ น้ อง ภรรยา สามี เกิดความเห็นต่าง ชุมชน ภูมิภาคเกิดความแตกแยก ดังนันหากน ้ า แนวความคิดของพระพุทธเจ้ าที่ใช้ แก้ วิกฤติแก่ชาวกาลามะในครัง้ กระนัน้ มาเป็ นกรอบในการแก้ และยุติปัญหาในสังคมไทย โดยมุ่งหวังเป็ นชุดความคิดใหม่ให้ มีผลเป็ นความรู้ เก็บผลเป็ น ความเชื่ อทีสมเหตุสมผล มีนยั ยะเป็ นการเปลี่ยนแปลงต่อการแสดงออกตามเฉดสีอย่างมีสติ และเหตุผล ในสังคมปั จจุบนั ปั ญหาที่เกิดขึ ้นก็คาดหวังว่าจะมีผ ลเป็ นยุติ โดยชุดความคิดที่ใช้ แก้ วิกฤติของชาวกาลามะในครัง้ กระนัน้ คือ 1. การใช้ หลักเหตุผล(ตรรกะ-กาลามะสูตรป) พระพุทธเจ้ าแนะนาชาวกาลามะ ให้ ใช้ หลักเหตุผล “ตรรก” ยุคนันคนเยอะ ้ เจ้ าลัทธิมาก แนวปฏิบตั ิเยอะ ศูนย์กลางความเชื่อ มาก เที ยบกับปั จ จุบัน ข้ อมูลข่าวสารมี จานวนมาก ทัง้ จริ งและเท็จ การคัดกรองข้ อมูล ข่าวสารที่ปรากฏในแต่ละวัน ด้ วยวุฒิภาวะ สติปัญญา เหตุผล แล้ วเชื่อและปฏิบตั ิตาม จึง เป็ นความจาเป็ นไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าอดีต ดังนันหลั ้ กเหตุผลเพื่อรู้เข้ าใจด้ วยปั ญญา จึงจาเป็ นทัง้ อดีตและปั จจุบนั 2. ให้ พิจารณาตามหลักการเปลี่ยนแปลง (ไตรลักษณ์) ให้ มองสิ่งที่เกิดขึ ้นเป็ นเพียง ปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ ของช่วงเวลานัน้ ๆ เมื่อถึงที่สดุ ก็จะผ่านไป เพียงแต่พิจารณาให้ จิตให้ ไม่ ยินดียินร้ ายต่อความเปลี่ยนแปลง มีสติ ที่ปัจจัยของตัวมันเอง โดยใช้ ปัญญาพิจารณาย้ อน แย้ งตามหลักแห่งเหตุผล “ตรรกะ” ไม่ใช้ อารมณ์ ความโกรธ และความไม่ร้ ูให้ อยู่เหนือ เหตุผล 3. ใช้ หลักศรัทธาที่ต้องประกอบด้ วยปั ญญา (ศรัทธา-ปั ญญา) ในหลักกาลามสูตร


11

พระพุทธเจ้ าให้ ใช้ ปัญญามาเป็ นเครื่ องกากับศรัทธา ประหนึ่งเมื่อจะเชื่อสิ่งใด สิ่งสาคัญเลยคือ การคัดกรองข้ อมูลอย่างเป็ นระบบ อย่างเพียงพอและก่อให้ เกิดประโยชน์แล้ วจึงใคร่ เชื่อศรัทธา โดยมีปัญญากากับอย่างสมเหตุสมผลง่าย ๆ คือ ปั ญญากับความเชื่อต้ องคูก่ นั ทางานร่วมกัน 4. ให้ พิจารณาตามหลักประโยชน์ (อัตถะ 3 ) ให้ มองเป็ นประโยชน์ส่วนตนก่อน แล้ วพัฒนาไปเป็ นประโยชน์สงั คมส่วนรวม ถ้ าการกระทาใดได้ เฉพาะประโยชน์ตน พวกพ้ อง กลุม่ ตนแล้ ว ชุมชน สังคม ประเทศชาติได้ รับความเสียหาย ความเชื่อต่อประโยชน์นนถื ั ้ อว่าไม่ ถูกต้ องตามหลักประโยชน์แนวพุทธ ต้ องพัฒนาให้ เป็ นผลประโยชน์ในองค์รวมที่หมายถึงสังคม ประเทศชาติด้วย ความเชื่อต่อหลักประโยชน์จะมีผลต่อสังคมในองค์รวม ถ้ าเชื่อผิดสังคมจะ ได้ รับผลกระทบ ถ้ าเชื่อถูก เกิดสันติ การอยูร่ ่วมกันอย่างสงบก็จะเกิดขึ ้น ดังนัน้ เกณฑ์ที่พระพุทธเจ้ าใช้ ในการให้ สติกับสังคมชาวกาลามะที่เคยขัดแย้ ง ทางความคิดและความเชื่อ ให้ เป็ นเครื่ องมือในสภาพ “วิกฤติข้อมูลข่าวสาร” ด้ วยชุด “ตรรกะ-เหตุผล” และมีผลเป็ นการยุตคิ วามรุนแรงอันไม่พึงประสงค์ในสังคมครัง้ กระนัน้ ดังนัน้ ผู้ที่ทาหน้ าที่สร้ าง “ข้ อมูลข่าวสาร” ต้ องรู้จกั จรรยาบรรณ และผู้รับ “ข่าวสาร” ต้ องใช้ หลัก เหตุผ ล สติปัญ ญาตรองตรึ กอย่างเป็ นระบบ เห็นต่างอย่า งสร้ างสรรค์ เพื่ อ การก้ า วไป ข้ างหน้ าของสังคมไทย ย่อมจะเป็ นประโยชน์ร่วมกัน ดังนัน้ การยุติการสื่อสารที่คลาดเคลื่อน เช่น เจ้ าสานักในกาลามะนิคม ศรัทธาที่พร่องพลาดจนกลายเป็ นความรุนแรงก้ าวร้ าวทางสังคม “การมีเหตุผล สติปัญญา และประโยชน์มหาชน” จึงเป็ นชุดความคิดอันดับหนึ่งที่เคยใช้ แก้ วิกฤติทางสังคมในครัง้ พุทธกาลได้ และหวังว่าจะแก้ วิกฤติทางความเชื่อ ศรัทธา จนเป็ น ความรุนแรงที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั ได้ ด้วยเช่นกัน


12

บรรณานุกรม พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดี สุรเตโช)ป.ธ.9 ราชบัณฑิต. พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คาวัด,วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548. พระธรรมปิ ฎก,พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม , สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย , พ.ศ. 2546. พระธรรมปิ ฎก . พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ , สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ. 2546. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต).สมุดบันทึกธรรม .คัดลอกจาก วัดมงคลรัตนาราม ฟอร์ ท วัล ตัน บีช ฟลอริ ดา ที่มา http://dhammajak.net/ ไพศาล บรรจุสวุ รรณ์, เสพข่ าวสารในยุคไอทีด้วยวิธีกาลามสูตร: http://share.psu.ac.th/blog/pisan-surat/3095 12/5/2553 ปั ญญา ใช้ บางยาง และคณะ. “ธรรมาธิบาย หลักธรรมในพระไตรปิ ฎก” กรุงเทพฯ : ธรรมสภา สถาบันบันลือธรรม, 2548. โมไนย พจน์,พุทธทัศนะ:คิดอย่ างชาวพุทธ,หลักเหตุผล(กาลามสูตร):ทางเลือก(เพื่อยุติ ความรุ นแรง)สู่ทางรอดของสังคมไทย:http://learners.in.th/blog/botkvam/366544 12/5/2553 หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์. กาลามสูตรกับสถานการณ์ ข่าว , ข่าวทัว่ ไป, อาทิตย์ที่ 26 เมษายน 2552: http://www.rty9.com/s/tpd/843310 :12/5/2553 สมภาร พรมทา.พุทธปรั ชญา มนุษย์ สังคมและปั ญหาจริยธรรม.กรุงเทพมหานคร:สานักพิมพ์ ศยาม.2548. สมภาร พรมทา, พุทธศาสนากับปั ญหาจริยศาสตร์ , สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 สมภาร พรมทา, ชีวิตกับความขัดแย้ ง ปั ญหาจริยธรรมในชีวิตประจาวัน, สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548. สมภาร พรมทา, พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ , สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540. สมภาร พรมทา.คาบรรยายวิชาพุทธปรัชญาวิเคราะห์ หลักสูตรพุทธศาสตร์ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์ เนีย,2553. http//www.vchaekarn.com/vblog/87759/5 :12/5/2553


13

พระไตรปิ ฎก เล่มที่ 20 พระสุตตันตปิ ฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาตร เกสปุตต สูตร(กาลามสูตร) พระไตรปิ ฎกฉบับสยามรัฐ.(ออนไลน์).เข้ าถึงได้ จาก<[1]>.เข้ าถึงเมื่อ 4-6-52. ธรรมรักษา. พระไตรปิ ฎก ฉบับดับทุกข์ ,พิมพ์ครัง้ ที่ 2 แก้ ไขเพิ่มเติม.กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2529. สุชีพ ปุญญานุภาพ.พระไตรปิ ฎกสาหรับประชาชน ย่ อความจากพระไตรปิ ฎกฉบับบาลี 45 เล่ ม,พิมพ์ครัง้ ที่ 16,กรุงเทพฯ : สมาคมนักศึกษาเก่าพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2539. ยสสีภิกขุ.วิกฤติศรัทธาพระพุทธศาสนากับสังคมไทยยุคไอที ,http://www.yimwhan.com/board/board.php?user=newssong&Cate=5 ,28 ม.ค. 2550 21:26 น วรภัทร์ ภู่เจริญ, ดร., คิดอย่ างเป็ นระบบ และ เทคนิคการแก้ ปัญหา, สานักพิมพ์ อริยชน , 2546. http://www.easyinsurance4u.com/buddha4u/kalamasutta.htm

WWW.DOU.US


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.