มุมมองในนิกายมหายาน

Page 1

เขียนโดย : พระมหาวุฒชิ ยั วุฑฒ ฺ ชิ โย

มุมมองในนิกายมหายาน “ดูก่อนอานนท์ บางทีพวกเธอจะพึงมี ความคิ ดอย่างนีว้ ่า ปาพจน์ มีพระศาสดา ล่วงแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มี ข้อนีพ้ วกเธอไม่พึงเห็นอย่างนัน้ ธรรมก็ดี วิ นยั ก็ดี อันใดอันเราแสดงแล้ว ได้บญ ั ญัติไว้แล้วแก่พวกเธอ ธรรมและวิ นยั อันนัน้ จักเป็ นศาสดา แห่งพวกเธอ โดยกาลล่วงไปแห่งเรา”๑ หลักคาสอน คือพระธรรมและวินยั นี ้ได้ ถกู ถ่ายทอดรุ่นแล้ วรุ่นเล่าจากอาจารย์สู่ ศิษย์ เป็ นระยะเวลากว่า ๒,๕๐๐ ปี ในแต่ละช่วงที่เกิดการถ่ายทอด พระพุทธศาสนาก็ เริ่มมีการแบ่งแยกแตกออกเป็ นหลายแขนงหลายนิกาย ทังนี ้ ้ในส่วนของหลักคาสอนก็ เริ่มมีการแตกต่างกันออกไปเล็กน้ อย เกิดความเป็ นรูปแบบเฉพาะของนิกายของตน จน มีนิกายที่เกิดขึ ้นในพระพุทธศาสนามากมายหลายนิกาย ในปั จจุบนั ได้ มีการนับเป็ น นิกายใหญ่ๆได้ ๒ นิกาย คือ นิกายเถรวาท และนิกายมหายาน นิกายเถรวาทนันเป็ ้ น นิกายที่ยงั คงศึกษาพระธรรมคําสัง่ สอนของพระองค์ไม่เปลี่ยนแปลง แต่นิกายมหายาน ได้ มีการปรับปรุงแก้ ไขข้ อปฏิบตั ิ และหลักคําสอนในบางข้ อ

บ่ อเกิดของมหายาน๒ ทังนี ้ ้ผู้เขียนได้ ศกึ ษาก็พบว่า บ่อเกิดของมหายานนันมี ้ หลักฐานที่มาคือ หลังจากพุทธศตวรรษที่ ๕ ไปแล้ ว ได้ เกิดมีขบวนการใหม่ในพุทธศาสนาขึ ้นในอินเดีย ซึง่ เรี ยกตนเองว่ามหายาน ขบวนการนี ้เกิดจากวิวฒ ั นาการอย่างค่อยเป็ นค่อยไป โดยเฉพาะจากคณะสงฆ์นิกายมหาสังฆิกะ ผสมกับชาวพุทธคฤหัสถ์กลุ่มหนึง่ ที่มี ความเห็นพ้ องกันว่าจะต้ องปรับปรุงวิธีการเผยแผ่พทุ ธศาสนาเสียใหม่ มิฉะนันฐานะ ้ ของชาวพุทธศาสนาก็จะทรุดโทรมลง ชาวพุทธคณะนี ้จึงร่วมมือกันสร้ างลัทธิมหายาน

๑ ๒

พระไตรปิ ฎก และอรรถกถาแปล ทีฆนิกาย มหาวรรค เล่มที่ ๑๓ หน้ า ๓๒๐ เสถียร โพธินนั ทะ ประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนา ฉบับมุขปาฐะ ภาค ๑


ขึ ้น เพื่อฟื น้ ฟูพทุ ธศาสนา เพราะในเวลานันศาสนาพราหมณ์ ้ เจริ ญขึ ้นหน้ ามาก ลัทธิ มหายานเป็ นคู่แข่งอย่างสําคัญของพราหมณ์ คณาจารย์ ฝ่ายมหายานได้ ปรั บปรุ ง เพิ่มเติมคติธรรมในพุทธศาสนาขึน้ หลายประการ เพื่อต่ อสู้กับอิทธิพลของ พราหมณ์ เพื่อทาให้ พุทธศาสนาเข้ าถึงหมู่ชนสามัญทั่วไป จะเห็นได้ ว่า มหายาน เกิดขึ ้นมาจากความปรารถนาดี ของคณาจารย์ผ้ ตู ้ องการ ปั กหลักพระพุทธศาสนา และต้ องการสืบทอดพระพุทธศาสนาไปให้ ยาวนาน

มหายานกับความแตกต่ าง หลังจากที่มหายานได้ เกิดขึ ้น อย่างแพร่หลาย ก็ได้ เกิดนิกายที่แตกออกไปมาก ยิ่งขึ ้น โดยนิกายเหล่านี ้บางนิกายมีความแตกต่างไปจากพุทธศาสนาดังเดิ ้ มมาก แม้ ใน ความเป็ นมหายานเอง ก็มีความแตกต่างกันทางด้ านคําสอนอยู่ โดยเฉพาะคําสอนที่ เน้ นทางด้ านอภิปรัชญา ที่มีการขบคิดตีความกัน ทังนี ้ ้ถ้ าจะให้ ผ้ เู ขียนวิเคราะห์ว่าอะไรมี ส่วนทําให้ เกิดความแตกต่างเหล่านี ้ ในทรรศนะของผู้เขียน มีความคิดว่า ธรรมะของ พระพุทธองค์มีมากถึง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ที่ให้ เลือกปฏิบตั ิ ก็อาจจะเป็ นไปได้ ที่ บุคคลใดบุคคลหนึง่ เลือกหยิบเพียงบทใดบทหนึง่ นํามาปฏิบตั ิแล้ วได้ ผลดีจริง ก็นําไป เผยแผ่ โดยมิได้ ศกึ ษาภาพรวมของพระพุทธศาสนา จากการศึกษานิกายมหายาน พบว่า ในบางแนวความคิด แนวความเชื่อบางอย่าง ก็มีความคล้ ายคลึงกับเถรวาทและ ดูน่าสนใจที่จะนําเอามาเป็ นแนวคิดในการปฏิบตั ิ แต่ถ้าต้ องการดูภาพรวม หรื อ เป้าหมายสูงสุด โดยยึดตามหลักแห่งเถรวาทแล้ ว ในบางนิกายก็บ่งบอกไว้ ไม่ชดั ถึง เป้าหมายดังกล่าว การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของคําสอนที่เกิดขึ ้น ในแต่ละช่วงที่ผ่านไป ไม่ได้ เกิดขึ ้นจากคนใดคนหนึง่ เลย หากล้ วนแต่เกิดจากผู้มีปัญญา เป็ นคณาจารย์ผ้ มู ี ความปรารถนาอยากจะเผยแผ่พทุ ธธรรมให้ ปรากฏแก่ชาวโลก ที่พยายามศึกษาค้ นคว้ า เพื่อนํามาปฏิบตั ิ อาจจะมีการตีความพุทธพจน์เหล่านันออกไป ้ เพื่อให้ ชดั เจน และเกิด เป็ นความแตกต่างที่ดเู หมือนจะเล็กน้ อยในเวลานัน้ แต่การถ่ายทอดสืบต่อ ดูเหมือนจะ ส่งผล ให้ เกิดความแตกต่างอย่างมากมาย เราปฏิเสธนิกายเหล่านี ้ที่เกิดกันขึ ้นมาไม่ได้ จึงเป็ นหน้ าที่ของเราที่จะต้ องศึกษาและทําความเข้ าใจนิกายเหล่านัน้ เพื่อทําให้ เราได้ เห็นแง่คิดมุมมองในการที่จะนําไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้ กว้ างไกล


วัชรยานหนึ่งในนิกายมหายาน ผู้เขียนได้ มีโอกาสศึกษานิกายมหายาน ซึง่ มีนิกายหลักๆ อยู่ ๕ นิกาย คือ มาธยมิกะ, โยคาจาร, เซน ,สุขาวดี และวัชรยาน ในนิกายมหายานหลักทัง้ ๕ นิกายนี ้ ผู้เขียนมีความสนใจในนิกายวัชรยานเป็ นพิเศษ เพราะเมื่อผู้เขียนได้ มีโอกาสศึกษา นิกายนี ้เกิดความรู้สกึ ตกใจ และแทบจะไม่เชื่อเลยว่านิกายนี ้จะได้ เกิดขึ ้นจริงใน พระพุทธศาสนาของเรา และเป็ นสิ่งที่ทําให้ ผ้ เู ขียนต้ องการรู้ว่านิกายนี ้เกิดขึ ้นได้ อย่างไร โดยเฉพาะในแง่หลักคําสอนที่แตกต่างกับพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทโดยสิ ้นเชิง และ ในเรื่ องของนักบวชในนิกายนี ้ แทบจะบอกได้ เลยว่า ผู้นบั ถือพระพุทธศาสนานิกายเถร วาทถ้ าได้ ศกึ ษานิกายนี ้ ก็คงจะต้ องปฏิเสธคําสอนในนิกายวัชรยานว่าเป็ น พระพุทธศาสนานิกายหนึ่ง ผู้เขียนได้ ศกึ ษาในนิกายนี ้ก็พบถึงเรื่ องของความแตกต่าง ในหลายๆ อย่างที่ไม่ควรจะนับนิกายนี ้ว่าเป็ นส่วนหนึง่ ของพระพุทธศาสนา และขอ นําเสนออกมาดู

วัชรยาน กับคาสอน ผู้เขียนได้ พยายามศึกษาหาแหล่งที่มาของนิกายวัชรยาน และต้ องการดูคําสอน ที่นิกายนี ้ได้ สอนทังหมด ้ เพื่อจะได้ เห็นถึงความแตกต่างจากคําสอนในนิกายเถรวาท และจะได้ เป็ นแนวทางในการวิเคราะห์ให้ เห็นว่า สิ่งเหล่านี ้เกิดขึ ้นมาได้ อย่างไร และเมื่อ ค้ นพบแหล่งที่มาของวัชรยาน ก็พบว่า วัชรยานมีการนําเข้ ามาของลัทธิตนั ตระใน ศาสนาฮินดู ดังนี ้ ประวัตขิ องพุทธตันตระนิกาย๓ ในปลายสมัยราชวงศ์คปุ ตะโฉมหน้ าของพุทธศาสนาฝ่ ายมหายานในอินเดีย ได้ เปลี่ยนเป็ นระบบใหม่อีกระบบหนึง่ ว่า “พุทธตันตรยาน” หรื อ “มนตรยาน, รหัสยาน, คุ หยาน, สหัชยาน” ลัทธินี ้ได้ นําศาสนาฮินดูเข้ ามาระคนปนเปมาก ความตังใจเดิ ้ ม ต้ องการจะแข่งกับศาสนาฮินดู ซึง่ ปรับปรุงใหม่ในสมัยราชวงศ์คปุ ตะ ทําให้ ประชาชน ๓

เสถียร โพธินนั ทะ ประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนา ฉบับมุขปาฐะ ภาค ๑


ชาวบ้ านสามัญหันกลับมานับถือเป็ นจํานวนมาก เพราะมีสิ่งสนองกิเลสของชาวบ้ าน ฝ่ ายมหายานเห็นว่า ลําพังเนื ้อธรรมแท้ ๆ ยากที่จะทําให้ ชาวบ้ านเข้ าถึงได้ จึงคิดแก้ ไขให้ เหมือนศาสนาฮินดู คือกลับไปยกย่องเรื่ องเวทมนตร์ อาคมขลัง พิธีหาลาภ พิธีเสกเป่ า ต่างๆ ลงเลขยันต์ต่างๆ จนที่สดุ พระสงฆ์เองทําหน้ าที่เหมือนพราหมณ์ทุกอย่าง ลัทธินี ้ เรี ยกว่า “พุทธตันตรยาน” เพราะถือคาถาอาคมเป็ นสําคัญ ข้ อสําคัญในลัทธินี ้มีดงั นี ้ ๑. ถือว่ามี พระอาทิพทุ ธะ คือ พระพุทธเจ้ าซึง่ เป็ นประธานในสากลโลก เป็ นผู้ รังสฤษฏิ์สรรพสิ่ง พระศากยมุนีพทุ ธเจ้ า เป็ นภาคหนึง่ ของพระอาทิพทุ ธะแบ่งลงมา ปฏิมาพระอาทิพทุ ธะแทนที่จะอยู่ในเพศบรรพชิตกลับเป็ นพระทรงเครื่ อง พระพุทธรูป ทรงเครื่ องมีกําเนิดจากลัทธินี ้ ๒. นับถือพระธยานิพทุ ธะ ๕ พระองค์มากเป็ นพิเศษ คือ พระไวโรจนพุทธะ ๑ พระอักโษภยพุทธะ ๑ พระอโมฆสิทธิพทุ ธะ ๑ พระอมิตาภพุทธะ ๑ พระรัตนสมภพพุทธะ ๑ สีพระกายของธยานิพทุ ธะทัง้ ๕ มีต่างๆ คือ สีเหลือง, เขียว, นํ ้าเงิน, แดง, แสด ๓. เกณฑ์ให้ พระพุทธเจ้ า และพระโพธิสตั ว์มีปางดุ ปางโกรธ และปางใจดี เช่นเดียวกับพระเจ้ าของฮินดูเช่นพระอิศวร ในปางดุเป็ นไภรวะ ปางโกรธเป็ นมหากาฬ พระอุมาในปางดุเป็ นทุรคา ปางโกรธ เป็ นกาลี ปางใจดีเป็ นพระอุมา พระพุทธเจ้ าและ พระโพธิสตั ว์มีปางอย่างนี ้เหมือนกัน แต่ไม่ใช่ดหุ รื อโกรธอะไร ลักษณะที่ดรุ ้ ายเป็ นเพียง มายาลักษณะที่พระองค์นิรมิตรขึ ้นเพื่อปราบมารทํานองหนามยอกหนามบ่งเหมือนพวก อันธพาล จะปราบด้ วยความใจดีอย่างเดียวไม่ได้ จะต้ องมีอํานาจบังคับเด็ดขาดจึง สําเร็จ ยกตัวอย่างเช่นพระมัญชุศรี โพธิสตั ว์ ในปางดุ พระองค์นิรมิตเป็ น “ยมาตก” แปลว่าที่ตายของพระยม เพื่อปราบพญายม ปางนี ้มีศีรษะเป็ นโค ผิวพระกายนํ ้าเงินเข้ ม มีหลายเศียร หลายหัตถ์ เอาหัวกะโหลกเป็ นมาลัย เหยียบบนร่างของเทพมนุษย์ และ อสุรยักษ์ ต่างๆ ๔. บัญญัติให้ มีมนตร์ เรี ยกว่า ธารณี ประจําองค์พระพุทธเจ้ าและพระโพธิสตั ว์ ต่างๆ ยาวบ้ างสันบ้ ้ าง มนตร์ แต่ละบทมีอานุภาพขลังๆ ทังนั ้ น้ เช่นสวดจบเดียวก็มี อานิสงส์เป็ นพระอินทร์ ร้อยชาติ หรื อเพียงแต่เขียนคํามนตร์ ลงในผืนผ้ า แขวนเอาไว้ ใคร เดินรอด มีอานิสงส์ทําให้ บาปกรรมที่ทํามา ๙๐ กัลป์แทงสูญ คาถาเหล่านี ้ยกตัวอย่าง เช่น “ ทเม หุม”


๕. บัญญัติมทุ ระ คือ เครื่ องหมายต่างๆ มีการกรี ดนิ ้วยกมือดุจปางพระพุทธรูป มีหลายร้ อยภาค หรื อหลายร้ อยปาง อาการเช่นนี ้เป็ นเครื่ องหมายของอํานาจลี ้ลับ เช่น ผู้ตรึกนึกถึงพระโพธิสตั ว์องค์ใดองค์หนึง่ ก็ย่อมทํามุทระ ตามปางของพระโพธิสตั ว์องค์ นัน้ มุทระที่สําคัญ เช่น สมาธิมทุ ระ อัภยมุทระ วิตกั กมุทระ ภูมิสมั ผัสมุทระ ฯลฯ ๖. บัญญัติมณฑลบูชา หรื อ เรี ยกกันว่ามัตรเวที เช่นจะทําพิธีใดพิธีหนึง่ บูชาพระ โพธิสตั ว์องค์ใดองค์หนึง่ จะต้ องมีเครื่ องบูชาเท่านันเท่ ้ านี ้ จะต้ องจัดบริเวณพิธีด้วย อุปกรณ์อย่างนันอย่ ้ างนี ้ ตัวอย่างมณฑลบูชา พึงเห็นได้ จากพิธีพทุ ธาภิเษกในเมืองไทย ซึง่ สืบมาแต่นิกายนี ้ นิกายดังกล่าวนี ้เองได้ เจริ ญขึ ้นในอินเดียตังแต่ ้ ศตวรรษที่ ๑๐ เป็ นต้ นมา นักบวช ในนิกายนี ้ไม่เรี ยกว่าภิกษุ แต่เรี ยกว่า “สิทธะ” ต่อมาได้ เกิดแตกแยกสาขาออกไปอีก แบ่งเป็ น ๒ พวกใหญ่ คือ พวกทักษิณจารี พวกหนึง่ พวกนี ้ยังประพฤติธรรมวินยั ถ้ าเป็ นพระยังรักษา พรหมจรรย์ อีกพวกหนึง่ เรี ยกว่า วามจารี พวกนี ้ประพฤติเลื่อนเปื อ้ นไม่รักษาพรหมจรรย์ มี ลักษณะเป็ นหมอผีมากขึ ้น คือ อยู่ในป่ าช้ า ใช้ กะโหลกหัวผีเป็ นบาตร และมีภาษาลับ พูดกันเฉพาะพวกเรี ยกว่า “สนธยาภาษา” พวกวามจารี ถือการเสพกามคุณเป็ นการลุ วิโมกข์ เกณฑ์ให้ พระพุทธเจ้ าและพระโพธิสตั ว์มี “ศักติ” คือชายาคู่บารมี พระพุทธ ปฏิมาก็มีรูปอุ้มกอดศักติ การบรรลุนิพพานต้ องทําให้ ธาตุชาย ธาตุหญิงมาสมานกัน ธาตุชายเป็ นอุบาย ธาตุหญิงเป็ นปรัชญา เพราะฉะนันอุ ้ บายบวกปรัชญาได้ ผลคือ นิพพาน พวกทักษิณจารี เข้ าใจตีความให้ เป็ นธรรมโดยกล่าวว่าสัญลักษณ์เหล่านัน้ จะ ถือเอาตรงตัวไม่ได้ เช่นในคัมภีร์สาธนมาลา ของท่านอนังควัชระ ซึง่ เป็ นสิทธาจารย์คน หนึง่ ในนิกายนี ้ ได้ กล่าวว่า “สาธุ” ควรได้ รับการบําเรอจากสตรี เพศ เพื่อให้ ได้ เสวยมหา มธุรา ข้ อความเช่นนี ้เป็ นสนธยาภาษา จะต้ องไขความว่า สตรี เพศในที่นี ้ท่านให้ หมาย เอาปั ญญา สาธุเป็ นเพศชาย จะต้ องสร้ างอุบายเพื่อร่วมเป็ นเอกีภาพ เมื่อเป็ นเช่นนี ้ก็ได้ พระนิพพาน แต่พวกวามจารี หาคิดเช่นนันไม่ ้ พวกเขาได้ ถือเอาตามตัวอักษรเลยทีเดียว ถึงกับสอนว่า ผู้ใดมอบสตรี ให้ สิทธิะจะได้ กศุ ลแรง พวกนี ้ยังตีความอักษร “ม” ๕ ตัวอัน


เป็ นกรรมวิธีทางโยคะอย่าง ๑ ของนิกายมนตรยาน คือสอนว่า สิทธะควรได้ รับการบํารุง จาก ๑. มัทยะ นํ ้าเมา ๒. มางสะ เนื ้อ ๓. มัตสยา ปลา ๔. มุทรา ยัว่ ให้ กําหนัด ๕. ไมถุนะ เสพเมถุน แต่พวกทักษิณจารี ตีความ “ม” ทัง้ ๕ ว่าได้ แก่ปัญจขันธ์ ๕ นี่คือสภาพการพุทธศาสนาในอินเดียยุคปลายซึง่ มีภาวะเสื่อมโทรม และดูจาก คําสอนแล้ วจะเห็นได้ ถึงความแตกต่างอย่างชัดเจนกับในนิกายเถรวาท และแม้ ใน มหานิกายเอง โดยเฉพาะในเรื่ องของกามารมณ์ที่ขดั กับคําสอนในพระพุทธศาสนาโดย สิ ้นเชิง

จุดผิดพลาดของวัชรยาน จากคาสอนของวัชรยานที่ผ้ เู ขียนได้ มีโอกาสศึกษาและพบความผิดแปลกไป อย่างมากจากคาสอนในนิกายเถรวาท จึงนึกธรรมะเหตุที่จะทําให้ พระสัทธรรมเสื่อม สลายนัน้ พระพุทธองค์ได้ ทรงแสดงไว้ ในคัมภีร์องั คุตตรนิกาย ทุกนิบาติว่า “ภิ กษุทงั้ หลาย เหตุ ๒ ประการ ทีท่ าให้สทั ธรรมเสือ่ มสลายหายไป คื อ บท พยัญชนะ (หมายถึงพระพุทธวจนะ) ทีจ่ ามาผิ ด (หรื อคัดลอกมาผิ ด) และเข้าใจ เนือ้ ความไม่ถูกต้อง เมื ่อจาบทพยัญชนะมาผิ ด ก็ย่อมจะเข้าใจเนือ้ ความผิ ดไปด้วย” อีกแห่งหนึง่ พระพุทธองค์ได้ ทรงแสดงเหตุที่จะทําให้ พระสัทธรรมเสื่อมสลายไป ไว้ ว่า “เหตุ ๔ ประการ ทีท่ าให้สทั ธรรมเสือ่ มสลายหายไป คื อ ๑. ภิ กษุทงั้ หลาย ศึกษาเล่าเรี ยนสุตตันตะทีเ่ รี ยนกันมาผิ ดลาดับ ตามบท พยัญชนะทีจ่ ากันมาผิ ด เนือ้ ความแห่งบทพยัญชนะทีจ่ ากันมาผิ ด ก็ทาให้เข้าใจผิ ดกัน ไปด้วย


๒. ภิ กษุทงั้ หลาย เป็ นคนทีว่ ่ายากสอนยาก มี นิสยั ทีว่ ่ายากสอนยาก มี นิสยั ไม่ อดทน ไม่รับฟั งคาสอนโดยเคารพ ๓. บรรดาภิ กษุทีเ่ ป็ นพหูสูต คล่องปริ ยตั ิ ทรงธรรม ทรงวิ นยั ทรงมาติ กา ไม่ตงั้ ใจ ถ่ายทอดสุตตันตะแก่ผอู้ ืน่ เมื ่อท่านเหล่านัน้ ล่วงลับไปแล้ว สุตตันตะก็ขาดรากฐานไม่มี ทีพ่ ึ่งอาศัย (ไม่มีทีอ่ า้ งอิ ง) ๔. บรรดาภิ กษุระดับเถระ เป็ นพระมักมาก เป็ นพระย่อหย่อน เป็ นผูน้ าในทาง คลายความเพียร ละทิ้ งวิ เวก ไม่ระดมความเพียร เพือ่ ถึงธรรมทีย่ งั ไม่ถึง เพือ่ บรรลุธรรม ทีย่ งั ไม่บรรลุ เพือ่ กระทาให้แจ้งซึ่งธรรมทีย่ งั ไม่ได้ทาให้แจ้ง ภิ กษุรุ่นหลังก็พากันเอา เยี ่ยงอย่าง เหตุ ๔ ประการนีท้ ีท่ าให้สทั ธรรมเสือ่ มสลายหายไป” สิ่งที่พระองค์ตรัสนี ้ไม่พ้นจากความเป็ นจริงเลย แต่จากความผิดพลาดของนิกาย วัชรยานที่เกิดขึ ้นนี ้ แท้ จริ งควรเป็ นเหตุจากอะไร ความเป็ นไปได้ แห่ งการเกิดวัชรยาน จากเหตุการณ์แห่งการนําเอาลัทธิตนั ตระฮินดูของมหายานมาใช้ ใน พระพุทธศาสนานี ้ ทําให้ ผ้ เู ขียนนึกย้ อนไปถึงเหตุการณ์ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ทรงใช้ วิธีการเผยแผ่ในสมัยอินเดีย ซึง่ แต่เดิมนับถือศาสนาพราหมณ์กนั มาก ดังเช่นในเรื่ อง โสณทัณฑสูตร๔ “พระผูม้ ี พระภาคเจ้าตรัสถามปั ญหากับโสณะทัณฑพราหมณ์ ในเรื ่ องไตรวิ ชาอัน เป็ นธรรมะในศาสนาพราหมณ์ ทีพ่ ราหมณ์ รู้จกั อย่างดี คื อ ตรัสถามว่า ผูป้ ระกอบด้วย คุณสมบัติกี่อย่างจึงบัญญัติว่าเป็ นพราหมณ์ ได้ และควรเรี ยกตัวเองว่าเป็ นพราหมณ์ โสณทัณฑพราหมณ์ ตอบว่า ๑. มี ชาติ ดี ๒. ท่องจามนต์ ในพระเวทได้ ๓. มี รู ปงาม ๔. มี ศีล ๕. เป็ นผูฉ้ ลาดมี ปัญญา ตรัสถามว่า ใน ๕ อย่างนี ้ ถ้าลดเสีย ๑ เหลื อ ๔ พอจะกาหนดคุณสมบัติของ ควรเป็ นพราหมณ์ ได้หรื อไม่ โสณทัณฑพราหมณ์ ตอบว่าตัดข้อมี ผิวพรรณดี ออก

สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิ ฎกฉบับประชาชน หน้ า ๓๐๐


ตรัสถามว่า ถ้าลดลงเสียอีก ๑ เหลื อ ๓ จะลดอะไร โสณทัณฑพราหมณ์ ลดข้อ ท่องจามนต์ ตรัสถามว่า ถ้าลดลงเสียอีก ๑ เหลื อ ๒ จะลดอะไร โสณทัณฑพราหมณ์ ลดข้อที ่ เกี ่ยวกับชาติ กาเนิ ดจากมารดาบิ ดาเป็ นพราหมณ์ พอลดข้อนีพ้ วกพราหมณ์ ทีม่ าด้วย ก็ช่วยกันขอร้องว่าอย่ากล่าวอย่างนัน้ เพราะ เป็ นการกล่าวการกระทบผิ วพรรณกระทบมนต์ กระทบชาติ จะเสียทีแก่พระสมณโคดม โสณทัณฑพราหมณ์ ก็โต้ตอบว่า หลานของตนคื ออังคกะมาณพทีน่ งั่ อยู่ในที ่ ประชุมนี ้ มี ผิวพรรณท่องจามนต์ ได้ดี เกิ ดดี จากมารดาบิ ดาทัง้ สองฝ่ าย ซึ่งเป็ น พราหมณ์ ดี ท่องจามนต์ ได้ดี เกิ ดดี จากมารดาบิ ดาทัง้ สองฝ่ าย ซึ่งเป็ นพราหมณ์ สืบ ต่อมา ๗ ชัว่ บรรพบุรุษ แต่ก็ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติ ผิดในกาม พูดเท็จ ดื ่มน้าเมา ผิ วพรรณ มนต์ ชาติ จะทาอะไรได้ เมื ่อใด พราหมณ์ เป็ นผูม้ ี ศีล มี ปัญญา รวม ๒ คุณสมบัตินี้ จึงควรบัญญัติว่าเป็ นพราหมณ์ และควรเรี ยกตัวเองว่าเป็ นพราหมณ์ พระผูม้ ี พระภาคตรัสถามว่า ถ้าลดเสีย ๑ เหลื อ ๑ พอจะกาหนดคุณสมบัติของ ผูค้ วรเป็ นพราหมณ์ ได้หรื อไม่ โสณทัณฑพราหมณ์ กราบทูลว่าลดไม่ได้ เพราะศี ลชาระ ปั ญญา ปั ญญาชาระศี ล ในทีใ่ ดมี ศีลในทีน่ นั้ มี ปัญญา ในทีใ่ ดมี ปัญญาในทีน่ นั้ มี ศีล ศี ล กับปั ญญากล่าวได้ว่าเป็ นยอดในโลก เปรี ยบเหมื อนใช้มือล้างมื อ ใช้เท้าล้างเท้า ศี ลกับ ปั ญญาก็ชาระกันและกันฉันนัน้ ผูพ้ ระมี พระภาคตรัสรับรองภาษิ ตของโสณทัณฑพราหมณ์ ว่าถูกต้อง แล้วตรัส ถามต่อไปว่า ศี ลเป็ นอย่างไร ปั ญญาเป็ นอย่างไร โสณทัณฑพราหมณ์ จึงกราบทูลให้ พระผูม้ ี พระภาคตรัสอธิ บาย ฯลฯ ในตัวอย่างเรื่ องนี ้ โสณทัณฑพราหมณ์ยอมตัดความสําคัญเรื่ องผิวพรรณ เรื่ อง มนต์ เรื่ องชาติกําเนิดของพราหมณ์ทิ ้ง ให้ เหลือแต่ศีลกับปั ญญา ก็ทําให้ คนเป็ น พราหมณ์ได้ อันเข้ ากับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา สุดท้ ายพระผู้มีพระภาคเจ้ าก็ได้ ประทานสาธุการรับรองภาษิตของพราหมณ์นนั ้ นี่คือวิธีการสอนของพระพุทธเจ้ า ซึง่ ก็ไม่สามารถล้ มเลิกความคิดของพราหมณ์ ได้ สําเร็จ พราหมณ์ก็ยงั คงถือชาติเป็ นสําคัญตลอดมา แต่จะเห็นได้ ว่า พระพุทธเจ้ ามิได้


แทรกแซงความเชื่อถือของพราหมณ์ ใครจะถือก็ถือไป แต่หลักธรรมมีอยู่อย่างนัน้ ก็ทรง แสดงให้ ฟัง และผลที่ปรากฏก็คือ มีพราหมณ์เข้ ามาบวชในพระพุทธศาสนากันอย่าง มากมาย เข้ าทํานองว่าเมื่อเราไม่สามารถจะเกี่ยวหญ้ ามุงทุ่งทังทุ ้ ่งได้ อย่างน้ อยเอามา มุงหลังคาเฉพาะของเราเอง ก็ยงั ดีกว่าตากแดดตากฝนตามคนอื่น และอย่างไรเสียที่ พระองค์ทรงแสดงหลักธรรมนี ้เป็ นสิ่งดีจริง เดี๋ยวก็คงคิดได้ เอง ที่ยกเรื่ องนี ้ขึ ้นมา ก็เพราะนึกถึงขึ ้นมาว่า จริงๆ แล้ วสาเหตุนงึ ที่ทําให้ เกิดนิกาย วัชรยานขึ ้นมา หรื อถึงแม้ ในนิกายอื่นๆ ถ้ ามาวิเคราะห์สาเหตุก็น่าจะเกิดจากการที่ พยายามจะเผยแผ่พระศาสนา แต่ไม่ได้ นําหลักการในพระพุทธศาสนามาใช้ หากแต่ไป ยึดเอารูปแบบที่เห็นว่าดีมาจากศาสนา ซึง่ สุดท้ ายก็กลายเป็ นว่าเราเองกลับถูกกลืน หลักการและคําสอนที่แท้ จริง ไปยึดถือเอาในส่วนของลัทธิอื่นๆ มาแทน นี่หรื อเปล่าคือ ความผิดพลาดที่เกิดขึ ้นโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ของปราชญ์แห่งพุทธศาสนาในสมัยนัน้ ผู้เขียนจึงได้ แง่คิดประการหนึง่ ว่า พระธรรมวินยั ได้ มีการนําสืบทอดต่อกันมาทัง้ ในรูปแบบการปฏิบตั ิ การสัง่ สอน รวมทังในรู ้ ปของคัมภีร์ การจะรักษาพระสัทธรรมไว้ ได้ นนั ้ ผู้รักษาก็จะต้ องรู้ ว่าอะไรเป็ นแก่นแท้ ที่เป็ นพระสัทธรรม ภิกษุที่จะเป็ นผู้ปกป้อง หวงแหนพระสัทธรรม จึงต้ องควรรู้จกั และทําความเข้ าในพระพุทธศาสนา หรื อสัทธรรม ที่แท้ จริง เพราะถึงแม้ จะรักและหวงแหนพระศาสนา แต่ถ้าไม่ร้ ูจกั พระศาสนา หรื อพระ สัทธรรมที่แท้ ก็อาจจะรักษาสัทธรรมปฏิรูปไว้ ก็ได้ ดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ ใน พระไตรปิ ฎกว่า การที่พระสัทธรรมจะเสื่อมสลายหายสูญไป มิใช่ว่า เพราะไม่มีผ้ รู ักษา มีผ้ รู ักษา แต่อาจจะรักษาไว้ แต่ที่พริ ุ ธคลาดเคลื่อนก็เป็ นได้ ที่กล่าวมานี ้ คือ ตัวสาเหตุที่จะทํา ให้ พระสัทธรรมเสื่อมสูญสลายหายไป ในการทํางานเผยแผ่พระพุทธศาสนา จึงเป็ นสิ่งสําคัญที่ผ้ ทู ี่จะทําการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาต้ องศึกษาพระพุทธศาสนาให้ ละเอียดถ่องแท้ จะต้ องศึกษาและทํา ความเข้ าใจในหลักคําสอนของพระพุทธองค์ว่าอะไรเป็ นแก่นแท้ และสามารถวินิจ วิเคราะห์ในสิ่งที่ตนกระทําได้ เพราะถ้ าหากผู้เผยพระพุทธศาสนายังไม่เข้ าใจหลักการที่ มีในพระพุทธศาสนาอย่างชัดเจนดีพอ ยังไม่เข้ าใจจุดมุ่งหมาย หรื อวัตถุประสงค์ ของ


พระพุทธศาสนาที่ดีพอ ผลที่เกิดขึ ้นก็น่าเป็ นเช่นเดียวกับที่เกิดขึ ้นกับพุทธศาสนาในยุค นัน้ และจากการศึกษาในนิกายวัชรยานก็พบว่า ปั จจุบนั นี ้ภายหลังแนวคําสอน ดังกล่าวได้ สญ ู หายไปแล้ ว ยังคงเหลือแต่วชั รยานในธิเบตและเนปาล แต่พระภิกษุในธิ เบตและเนปาลในปั จจุบนั ก็มิได้ ปฏิบตั ิดงั ในพระสงฆ์นิกายวัชรยานดังเดิ ้ ม คงมีองค์ดา ไลลามะ เป็ นประมุขสงฆ์ มีการศึกษาและปฏิบตั ิสมาธิกนั อย่างจริงจัง ศิลปวัฒนธรรม และความเชื่อดังเดิ ้ มได้ หายไปแล้ ว ภาพที่หลงเหลือยังคงเป็ นรูปพระโพธิสตั ว์องค์ต่างๆ ไม่มีภาพพระโพธิสตั ว์กบั สตรี เพศดังแต่ก่อน ซึง่ แนวคําสอน และวิธีการปฏิบตั ิก็ คล้ ายคลึงกับของในฝ่ ายเถรวาท คงต่างกันอยู่แค่วิธีปฏิบตั ิเล็กน้ อย ตามสภาพแวดล้ อม และวัฒนธรรม นี่ก็เป็ นสิ่งที่ยืนยันความเป็ นจริงประการหนึง่ ว่าคําสอนในพระพุทธศาสนามีจริง ดีจริง และเห็นผลได้ จริง คําสอนที่พระพุทธองค์ได้ ทรงตรัสสอนนันเป็ ้ นสัจธรรมที่ พระองค์ได้ ทรงค้ นพบ ด้ วยการบําเพ็ญเพียรมานานกว่า ๒๐ อสงไขยกับแสนมหากัปป์ หากคําสอนหรื อนิกายที่เกิดขึ ้นในพระพุทธศาสนา ผิดเพี ้ยนไปจากสัจธรรมมาก ก็คงไม่ อาจดํารงอยู่ได้ หากจะเจริญรุ่งเรื องก็คงจะเจริ ญรุ่งเรื องอยู่เพียงชัว่ คราว ไม่อาจโซนแสง สว่างได้ ต่อไป นิกายหรื อคําสอนยังคงดํารงสัจธรรม สามารถนําพุทธศาสนิกชนให้ เกิด ความเลื่อมใสได้ เท่านัน้ ที่จะเปล่งรัศมีเป็ นแสงสว่างให้ แก่พระพุทธศาสนาต่อไป พระพุทธศาสนา หรื อธรรมะ ที่พระพุทธเจ้ าทรงตรัสไว้ ดีแล้ ว พระองค์ทรงเปรี ยบ ธรรมะของพระองค์ด้วยแพว่า แพที่เขาผูกด้ วยหญ้ า ไม้ กิ่งไม้ และใบไม้ ย่อมใช้ ข้าม แม่นํ ้าใหญ่ได้ แต่เมื่อข้ ามถึงฝั่ งแล้ ว ก็ต้องทิ ้งไปฉันใด ธรรมะก็ฉนั นัน้ บุคคลอาศัยข้ าม ห้ วงนํ ้าคือ ความเวียนว่ายตายเกิด ถึงฝั่ งคือ พระนิพพานแล้ ว ก็ไม่จําเป็ นต้ องนํ ้าไปด้ วย แต่ควรละไว้ เบื ้องหลัง ธรรมะจึงไม่ใช่สิ่งสุดท้ ายในตัวเอง แต่เป็ นพาหนะเครื่ องนําไปให้ ถึงจุดสุดท้ าย ดังนันแม้ ้ ว่าพระพุทธศาสนาจะเกิดขึ ้นมามากมายหลายนิกายเพียงใด คํา สอนหรื อแนวทางปฏิบตั ิจะแตกต่างกันไปเฉพาะของตน แต่สิ่งหนึง่ ที่ทกุ ๆ นิกายได้ กระทํา คือ เพื่อแสวงหาทางพ้ นทุกข์ และเพื่อจะให้ ชีวิต ได้ เข้ าใจในความเป็ นแห่งชีวิตที่ แท้ จริง พยายามที่จะเผยแผ่และปั กหลักพระพุทธศาสนา เพื่อให้ อายุของ พระพุทธศาสนาได้ ยืนยาวนานไปตราบนานเท่านาน ถึงเวลาแล้ วที่เราและชาวโลก จะ


ได้ หนั มาศึกษาพระพุทธศาสนา และนําหลักปฏิบตั ิอนั ดีงามไปใช้ ในชีวิตประจําวัน เพื่อ สันติภาพ และความสุขที่จะยังเกิดขึ ้นอย่างแท้ จริง และความตังมั ้ น่ แห่งพระพุทธศาสนา อีกนานแสนนาน

www.dou.us


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.