ปัญหาการุณยฆาตกับทางออกตามแนวพุทธปรัชญา

Page 1

1

บทความทางวิชาการ เรื่ อง ปั ญหาการุ ณยฆาตกับทางออกตามแนวพุทธปรั ชญา เสนอ ศ.ดร.สมภาร พรมทา

จัดทาโดย นางสาวนิรมล เตียงพิทยากร รหัสนักศึกษา 5212000042 รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาวิชาพุทธปรั ชญาวิเคราะห์ ตามหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพุทธวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์ เนีย ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา พุทธศักราช 2552

WWW.DOU.US


2

ปั ญหาการุ ณยฆาตกับทางออกตามแนวพุทธปรั ชญา ความเป็ นมาของการุณยฆาต บทความนี ้เป็ นการนาเสนอความคิดเห็นในแนวพุทธปรัชญาต่อสภาวะที่มนุษย์เผชิญ กับวาระสุดท้ ายแห่งชีวิต ด้ วยพยาธิสภาพที่สิ ้นหวังและเกินกว่าจะเยียวยา และมีคณ ุ ภาพชีวิตใน ภาวะปกติ แล้ วมนุษย์มีสิทธิที่จะหลุดพ้ นจากความทุกข์ทรมาน โดยเลือกที่จะตายได้ ด้วยเงื่อนไข อะไรได้ บ้าง ซึง่ ปรากฏการณ์ "การุณยฆาต" (Euthanasia) เป็ นเรื่ องใหม่ และยังไม่เป็ นที่ยอมรับใน สังคมไทย ซึ่งมีลกั ษณะสังคมที่นบั ถื อพระพุทธศาสนาเป็ นส่วนใหญ่ มีแนวทางการดาเนินชีวิต ด้ วยหลักธรรมคาสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ตามหลักของไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และ ปั ญญา ซึ่งเมื่อเปรี ยบเทียบกับบางประเทศที่มีวฒ ั นธรรมตะวันตก เช่น เนเธอร์ แลนด์ , เบลเยี่ยม, ออสเตรเลีย, และอังกฤษ เป็ นต้ น ที่ถือการุณยฆาตเป็ นเรื่ องที่ยอมรับกันมาก่อนแล้ ว ความคิดเห็นหลากขัวเกี ้ ่ยวกับการจัดการชีวิตสาหรับผู้ป่วยที่หมดหนทางเยียวยาให้ หายจากการเจ็บป่ วย และมีคณ ุ ภาพชีวิตเป็ นมนุษย์อย่างสมบูรณ์ มีศกั ดิ์ศรี ล้ วนมีเหตุผลที่รับฟั ง ได้ ทงสิ ั ้ ้น ไม่ว่าจะเป็ นมุมมองทางการแพทย์ ศาสนา สังคม และความชอบธรรมทางกฎหมายแต่ สาหรับพระพุทธศาสนามีหลักในการตัดสินการมีชีวิตไว้ ซงึ่ จะได้ ศกึ ษาต่อไป ความหมายของการุณยฆาต การุ ณยฆาต หรื อ ปรานีฆาต (Euthanasia หรื อ Mercy killing) คาว่า การุณยฆาต เป็ นศัพท์ทางนิตศิ าสตร์ ส่วนคาว่า ปรานีฆาตเป็ นศัพท์ทางแพทยศาสตร์ หรื อแพทยานุเคราะหฆาต (Physician-assisted suicide) รวมความแล้ วจึงหมายถึง การทาให้ บุคคลตายโดยเจตนาด้ วย วิธีการที่ไม่รุนแรง หรื อวิธีการที่ทาให้ ตายอย่างสะดวก หรื อการงดเว้ นการช่วยเหลือหรื อรักษา บุคคล โดยปล่อยให้ ตายไปเองอย่างสงบ ทังนี ้ เ้ พื่อระงับความเจ็บปวดอย่างสาหัสของบุคคลนัน้ หรื อในกรณีที่บคุ คลนันป่ ้ วยเป็ นโรคอันไร้ หนทางเยียวยา อย่างไรก็ดี การุณยฆาตยังเป็ นการกระทาที่ผิดกฎหมายและเป็ นความผิดอาญาอยู่ใน บางประเทศ กับทังผู ้ ้ ไม่เห็นด้ วยกับการฆ่าคนชนิดนี ้ก็เห็นว่าเป็ นการกระทาที่เป็ นบาป ประเภทของการุณยฆาต 1.การจาแนกประเภทตามเจตนา


3

1) บุคคลซึ่งเจ็บป่ วยสาหัสหรื อได้ รับทุกขเวทนาจากความเจ็บป่ วยเป็ นต้ นสามารถ แสดงเจตนาให้ บคุ คลอื่นกระทาการุ ณยฆาตแก่ตนได้ การกระทานี ้เรี ยกว่า "การุณยฆาตโดยด้ วย ใจสมัคร" หรื อ "การุณยฆาตสมัครใจ" หรื อ "การุณยฆาตจงใจ" (Voluntary euthanasia) 2) ในกรณีที่บคุ คลดังกล่าวไม่อยู่ในฐานะจะแสดงเจตนาเช่นว่า ผู้แทนโดยชอบธรรม กล่าวคือ ทายาทโดยธรรม ผู้ใช้ อานาจปกครอง ผู้พิทกั ษ์ หรื อผู้อภิบาลตามกฎหมาย ตลอดจนศาล อาจพิจารณาใช้ อานาจตัดสินใจให้ กระทาการุ ณยฆาตแก่บุคคลนันแทนได้ ้ การกระทานี ้เรี ยกว่า "การุณยฆาตโดยไม่เจตนา" หรื อ "การุณยฆาตโดยไม่สมัครใจ" (Involuntary euthanasia) อย่า งไรก็ ดี การุ ณ ยฆาตโดยไม่จ านงยัง คงเป็ นที่ ถ กเถี ย งถึ ง ความชอบธรรมตาม กฎหมายอยู่ในขณะ นี ้ เนื่องจากไม่มีหนทางที่ทกุ ฝ่ ายจะมัน่ ใจได้ ว่า ผู้เจ็บป่ วยต้ องการให้ กระทา การุณยฆาตแก่ตนเช่นนันจริ ้ งๆ 2. การจาแนกประเภทตามวิธีฆ่า 1) การุณยฆาตเชิงรับ (Passive euthanasia) คือ การุณยฆาตที่กระทาโดยการตัด การรักษาให้ แก่ผ้ ปู ่ วย วิธีนี ้ได้ รับการยอมรับมากที่สดุ และเป็ นที่ปฏิบตั ิกนั ในสถานพยาบาลหลาย แห่ง 2) การุณยฆาตเชิงรุก (Active euthanasia) คือ การุณยฆาตที่กระทาโดยการให้ สาร หรื อวัตถุใด ๆ อันเร่งให้ ผ้ ปู ่ วยถึงแก่ความตาย ซึง่ วิธีนี ้เป็ นที่ถกเถียงอยูใ่ นปั จจุบนั เช่นกัน 3) การุ ณยฆาตเชิงสงบ (Non-aggressive euthanasia) คือ การุ ณยฆาตที่กระทา โดยการหยุดให้ ปัจจัยดารงชีวิตแก่ผ้ ปู ่ วย ซึง่ วิธีนี ้เป็ นที่ถกเถียงอยูใ่ นปั จจุบนั 3. การจาแนกแบบอื่น ๆ ในพจนานุกรมกฎหมายของเฮนรี แคมป์แบล แบล็ก (Black's Law Dictionary) ได้ จาแนกประเภทการุณยฆาตไว้ คล้ ายคลึงกับสองประเภทข้ างต้ น ดังต่อไปนี ้ 1) การุณยฆาตโดยตัดการรักษา (Passive euthanasia หรื อ negative euthanasia) คือ การปล่อยให้ ผ้ ปู ่ วยตายไปเอง (letting the patient go) เป็ นวิธีที่ปฏิบตั ิกนั ทัว่ ไปในสถานบริ การ สาธารณสุข โดยใช้ รหัส "90" (เก้ าศูนย์) เขียนไว้ ในบันทึกการรักษา มีความหมายว่าผู้ป่วยคนนี ้ไม่ ต้ องให้ การรักษาอีกต่อไป และไม่ต้องช่วยยืดยื ้อชีวิตในวาระสุดท้ ายอีก ปล่อยให้ นอนตายสบาย 2) การุณยฆาตโดยเร่งให้ ตาย (Active euthanasia หรื อ positive euthanasia)


4

(1) การุณยฆาตโดยเจตจานงและโดยตรง (Voluntary and direct euthanasia) คือ การที่ผ้ ปู ่ วยเลือกปลงชีวิตตนเอง (Chosen and carried out by the patient) เช่น ผู้ประกอบ วิชาชีพด้ านสาธารณสุขวางยาที่มีปริมาณมากเกินขนาดจนทาให้ ผ้ รู ับ เข้ าไปตายได้ หรื อยาอันเป็ น พิษ ไว้ ใกล้ ๆ ผู้ป่วย ให้ ผ้ ปู ่ วยตัดสินใจหยิบกินเอง (2) การุณยฆาตโดยเจตจานงแต่โดยอ้ อ ม (Voluntary and indirect euthanasia) คือ การที่ผ้ ปู ่ วยตัดสินใจล่วงหน้ าแล้ วว่าถ้ าไม่รอดก็ขอให้ ผ้ ปู ระกอบวิชาชีพด้ าน สาธารณสุขกระทา การุ ณยฆาตแก่ตนเสีย โดยอาจแสดงเจตจานงเช่นว่าเป็ นหนังสือ หรื อเป็ นพินัยกรรมซึ่งเรี ยกว่า พินยั กรรมชีวิต (living will) ก็ได้ (3) การุ ณ ยฆาตโดยไร้ เจตจ านงและโดยอ้ อม (Involuntary and indirect euthanasia) คือ ผู้ป่วยไม่ได้ ร้องขอความตาย แต่ผ้ ปู ระกอบวิชาชีพด้ านสาธารณสุขสงเคราะห์ให้ เพราะความสงสาร กระบวนทัศน์ ของการุณยฆาตตามแนววัฒนธรรมตะวันตก ในวัฒนธรรมตะวันตกการุ ณยฆาต หรื อ Euthanasia เป็ นภาษากรี ก ประกอบด้ วย คาศัพท์ 2 คา คือ eu หมายถึง good และ thanatos หมายถึง death แปลรวมความว่า ตายดี ตาย สงบ สาหรับแนวคิดตะวันตก การุณยฆาต มีข้อพิจารณา 3 ประการ คือ 1. เมื่ออยูใ่ นภาวะเจ็บปวดทรมานอย่างแสนสาหัส 2. สิทธิสว่ นบุคคลที่จะยุตชิ ีวิตลง 3. บุคคลไม่ควรจะถูกบังคับให้ ยืดชีวิตออกไปในสภาพที่ช่วยตนเองไม่ได้ และไร้ การ รับรู้ทางสมอง ถ้ าหากพิจารณาทัง้ 3 เงื่อนไขในเชิงลึกแต่ละกรณีแล้ ว จะเห็นว่า กรณีแรกที่บคุ คลอยู่ ในภาวะที่เจ็บปวดทรมานอย่างแสนสาหัส โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในสภาพที่มีชีวิตอยู่ด้วยเครื่ องมือและ อุปกรณ์ทางการแพทย์ เพื่อให้ มีลมหายใจ หรื อไม่รับรู้ความเจ็บป่ วยด้ วยการใช้ ยาระงับความ เจ็บปวดทรมาน ข้ อโต้ แย้ งก็คือ เราจะใช้ เทคโนโลยีเอาชนะความเจ็บปวดทรมานได้ มากน้ อย เพียงไรและนานเพียงใด ภายใต้ เงื่อนไขอะไรบ้ าง เราจะแยกแยะระหว่าง "ความเจ็บปวดทรมานที่ บุคคลหนึง่ กาลังเผชิญอยู่และต้ องการหลุดพ้ น โดยที่ไม่กดดันทางอารมณ์ หรื ออยู่ในภาวะซึมเศร้ า ทุกครัง้ ที่ลืมตาตื่นขึ ้นมาพบสภาพที่เจ็บปวดทรมานและเลือกที่จะตายในแต่ละวัน" กับ "ความเห็น


5

ทางการแพทย์ที่วินิจฉัยว่าบุคคลนันๆ ้ ยังมีโอกาสที่จะเยียวยาและมีชีวิตต่อไปได้ อีกระยะหนึ่ง" ได้ อย่างไร ความเห็นประการที่ 2 ที่วา่ บุคคลควรมีสิทธิที่จะยุตชิ ีวิตในสภาวะที่พร้ อมและสมัครใจ ต่อกรณีนี ้ "สิทธิที่จะตาย" ต้ องไม่ถูกหยิบยื่นให้ กับผู้อื่น นอกจากผู้ที่เป็ นเจ้ าของชีวิตจะร้ องขอ เท่านัน้ เงื่อนไขนี ้จะมีชอ่ งว่างทันทีหากผู้ที่หยิบยื่นความตายให้ บคุ คลอื่นใช้ ดุลยพินิจส่วนตัวตัดสิน ว่า บุคคลนันๆ ้ หมดหนทางที่จะเยียวยาได้ จากสภาพทนทุกข์ทรมาน เพราะเป็ นการล่อแหลมต่อ การใช้ "การุณยฆาต" ฟุ่ มเฟื อยเกินไป ความเห็นประการที่ 3 ที่ว่าผู้ป่วยไม่ควรจะถูกบังคับให้ ยืดชีวิตออกไปในสภาพที่ช่วย ตนเองไม่ได้ และไร้ การรับรู้ทางสมอง การยืดชีวิตไว้ ถือเป็ นการละเมิดสิทธิของผู้ป่วยหรื อไม่ เราจะ มีทางเลือกอย่างไรบ้ าง. สาหรับผู้ป่วยที่อยูใ่ นสภาวะ "ฟื น้ ไม่ได้ ตายไม่ลง" จะถือว่าเป็ นการยืดชีวิต โดยที่ผ้ ปู ่ วยไม่ปรารถนาจะทนกับภาวะทรมานนันอี ้ กต่อไปหรื อไม่ (ทังที ้ ่มีสติสมั ปชัญญะครบถ้ วน และไร้ การรับรู้) ทางออกที่มีอยู่ในปั จจุบนั คือ การให้ สิทธิผ้ ปู ่ วยวาระสุดท้ าย อยู่ในสภาพที่พร้ อม ตายอย่างมีศกั ดิ์ศรี สงบ และมี สติ โดยมีคนรักรอบข้ างที่ยอมรับการจากไปอย่างมีสติและเห็น ความตายเป็ นธรรมชาติ แนวคิดในซีกวัฒนธรรมตะวันตกเช่นนี ้เป็ นที่มาของการจัดหาสถานพยาบาลผู้ป่วย ระยะสุดท้ าย (hospice หรื อ in-home hospice) ให้ เตรี ยมตัวตายอย่างมีศกั ดิ์ศรี และตายอย่างมี สติ ปราศจากการยืดชีวิตไว้ ด้วยเทคโนโลยีตา่ งๆ นาไปสูก่ ารุณยฆาตที่ได้ รับอนุญาต ในประเทศตะวันตก การุ ณยฆาตถูกนาไปปฎิบตั ิอย่างกว้ างขวางในหลายประเทศ อาทิ ประเทศเบลเยี่ยม รัฐบาลประกาศออกกฎหมาย เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2545 มีผล บังคับใช้ วนั ที่ 23 กันยายน 2545 อนุญาตเฉพาะผู้ป่วยผู้ใหญ่ และให้ มีผลบังคับใช้ กบั ผู้ป่วยเด็กใน อีก 2 ปี ต่อมา แต่ยงั มีข้อโต้ แย้ งว่า แพทย์จะมีสิทธิ์กระทาการุ ณยฆาตทารกที่มีอาการสมองตายได้ หรื อไม่. ในปี พ.ศ. 2548 มีกฎหมายรองรับให้ เภสัชกรและแพทย์สามารถจาหน่ายและใช้ อปุ กรณ์ การทาการุ ณยฆาต ได้ "การุณยฆาตสาเร็ จรูป" ดังกล่าว ซื ้อขายกันในสนนราคาประมาณ 2,000 บาท ประกอบด้ วย ยากล่อมประสาท เช่น Barbiturate และยาประเภทดมให้ หมดสติ เป็ นต้ น ประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ กฎหมายเปิ ดช่องให้ พิจารณาได้ ว่า แพทย์สามารถกระทา การุณยฆาตได้ โดยไม่ผิดกฎหมาย ตราบใดที่มีหลักฐานพิสจู น์ได้ ว่าไม่มีมลู เหตุที่ "จงใจทาให้ ผ้ อู ื่น ตาย"


6

ประเทศเนเธอร์ แลนด์ ออกกฎหมายรองรับการุณยฆาต ตังแต่ ้ ปี 2539 และพบว่าสถิติ การตายประมาณ 9.1% ของการตายทังหมดต่ ้ อปี เกิดจาก การุณยฆาต (2,300 ราย สมัครใจตาย และ 400 ราย ตายเพราะแพทย์ลงมือเอง และ 1,040 ราย ถูกการุณยฆาตโดยผู้ป่วยไม่มีส่วนรับรู้ หรื อให้ ความยินยอม) นอกจากนี ้กฎหมายยังเปิ ดกว้ างให้ ผ้ ปู ่ วยอายุ 12-16 ปี มีสิทธิร้องขอการุณย ฆาต ได้ โดยพ่อแม่หรื อญาติให้ คายินยอม ประเทศออสเตรเลีย เฉพาะ Northern Territory เท่านันที ้ ่มีกฎหมายรองรับให้ แพทย์ สามารถกระท าการุ ณ ยฆาตได้ ทัง้ ในกรณี ที่ ผ้ ู ป่ วยเองและญาติ ผ้ ูป่ วยร้ องขอ (Passive euthanasia) หรื อกรณี ที่แพทย์ มี ส่วนช่วยเหลื อในการเตรี ยมอุปกรณ์ เพื่ อปลิดชี พ ตามความ ต้ องการของผู้ป่วย และกระทาด้ วย "น ้ามือ" ของผู้ป่วยเอง (Active euthanasia) แต่ภายหลังที่มี เหตุการณ์ ผ้ ปู ่ วย 4 รายปลิดชีพตนเองด้ วยอุปกรณ์ ที่ติดตังโดยแพทย์ ้ (Passive euthanasia) รัฐบาลกลางจึงได้ สงั่ ยกเลิกกฎหมายทันทีในปี พ.ศ. 2540 คือ โปรแกรมการตายด้ วยแล็บท๊ อป และอินเตอร์ เน็ต (Death-by-Laptop & Internet) ประกอบด้ วย สายยางต่อกับเข็มฉีดยาที่บรรจุ ยาระงับความรู้สกึ เช่น Barbiturate ที่ฉีดเข้ าทางเส้ นเลือดดา อุปกรณ์ดงั กล่าวจะทางานพร้ อมกับ โปรแกรมที่บรรจุใน Laptop เมื่อผู้ป่วยตอบคาถามครบ 3 คาถามที่ปรากฏบนจอ การทางานของ โปรแกรมจะเริ่มต้ นทันที คาถามที่สร้ างไว้ ในโปรแกรม คือ 1. ท่านต้ องการเดินเครื่ องฉีดสารพิษเพื่อตาย กดปุ่ ม "ใช่" 2.ท่านพร้ อมที่จะตาย กดปุ่ ม "ใช่"3. ท่านต้ องการให้ ฉีดสารพิษเข้ าเส้ นเลือดภายใน 15 วินาที กดปุ่ ม "ใช่" ดังนัน้ วิธีการของนายแพทย์ Phillip สรุปว่า แพทย์ไม่ได้ ลงมือฆ่าผู้ป่วย แต่เป็ นการ ตายที่ผ้ ปู ่ วยตัดสินใจเอง นายแพทย์ Phillip ไม่หยุดยังความคิ ้ ดของเขาเพียงเท่านัน้ เขาได้ พฒ ั นา โปรแกรมการุณยฆาตที่ผ้ ปู ่ วยสัง่ ได้ ผ่าน Internet เพื่อให้ การุณยฆาตทาได้ เร็ วยิ่งขึ ้นและไม่ต้องมี ผู้เกี่ยวข้ องมาก สนนราคาอยู่ที่ 2,500 บาท นอกจากนี ้ยังมีอปุ กรณ์อื่นๆ อีก เช่น หน้ ากากบรรจุ คาร์ บอนมอนอกไซด์ เป็ นวิธีง่ายกว่าการใช้ เข็มฉีดสารพิษเข้ าเส้ นเลือดดา และเหมาะสาหรับผู้ป่วย อายุมากๆ ในปี 2547 นายแพทย์ Phillip คิดค้ น "ยาเพื่อเป็ นนิรันดร์ " ในราคา 5,000 บาท สามารถเก็บไว้ ในตู้เย็นพร้ อมหยิบออกมาใช้ เมื่ออยากตาย จะเห็นว่า การุณยฆาตกลายเป็ นธุรกิจที่


7

น่าสะพรึงกลัว ซึ่งนายแพทย์ Phillip Nitschke ผู้รณรงค์ให้ การุณยฆาต สามารถกระทาได้ อย่าง ถูกต้ องตามกฎหมาย กระบวนทัศน์ ของการุณยฆาตตามแนวพุทธปรัชญา พุทธปรัชญาสอนให้ มองทุกอย่างในโลกนี ้ตามความเป็ นจริ ง เพราะทุกสิ่งล้ วนเป็ น อนิจจ ทุกข อนตฺตา เปลี่ยนแปลง ไม่คงทน และไม่มีตวั ตนให้ ติดยึด , ทุกข์ -สุขเป็ นของคู่กัน หมุนเวียนกันเข้ ามาในชีวิต เรื่ องของชีวิตและความตายในเชิงพุทธปรัชญาถือว่าการเกิด แก่ เจ็บ ตายเป็ นเรื่ องธรรมดา และสอนให้ เผชิญกับความตายอย่างไม่หวัน่ ไหวพร้ อมยอมรับสภาพ คือ การ เตรี ยมตัวตายอย่างมีสติ การตาย คือ การละสังขาร สิทธิที่จะ "ถูกฆ่าให้ ตาย" หรื อ "สิทธิที่จะฆ่าตัวตาย" (จะ ด้ วยมีผ้ อู ื่นช่วยเหลือหรื อไม่ก็ตาม) เป็ นการละเมิดวัฒนธรรมว่าด้ วยชีวิตตามกฎแห่งธรรมชาติของ คนไทย เพราะพระพุทธศาสนาให้ ความสาคัญ ต่อการละสังขาร คือ การตายอย่างสงบ อย่างมีสติ ดังท่านพุทธทาสได้ กล่าวไว้ วา่ ถ้ าเราฝื นความตายในวาระสุดท้ ายของชีวิต ก็เสมือนว่าจากที่เราจะ" ตายดี - ตายเป็ น" ให้ เป็ น "ตายลาบาก - ตายทรมาน - ตายโหง" พระ

พ ระ 5 ประการ

ยั ง

ทางพระ (Degree)

ไ ด้ มี


8

พระ “ ” พระ

ไม่ นา

พระ ในทางพระ “ “ พระ

กระบวนทัศน์ ของการุณยฆาตในทางกฎหมายของประเทศไทย ร่างพระราชบัญญัตสิ ขุ ภาพแห่งชาติ ว่าด้ วยสิทธิการตาย มาตรา 24 ระบุไว้ ว่า "บุคคลมีสิทธิแสดงความจานงเกี่ยวกับวิธีการรักษาพยาบาล หรื อปฏิเสธการรักษาที่เป็ นไปเพื่อการยืดชีวิตในวาระสุดท้ ายในชีวิตของตนเอง เพื่อการตายอย่าง สงบและมีศกั ดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์" โดยมีคาชี ้แจงว่าเพื่อให้ บุคคลมีสิทธิเลือกตายอย่างสงบ และมีศกั ดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์ ในบันปลายของชี ้ วิต โดยไม่ยืดชีวิต หรื อถูกแทรกแซงการตาย เกินความจาเป็ น และเพื่อไม่ให้ เป็ นภาระทุกๆ ด้ าน โดยให้ มีสิทธิแสดงความจานงล่วงหน้ า (Living


9

will) ในร่ างพ.ร.บ. นี ้ไม่ได้ กล่าวถึงการให้ แพทย์มีสิทธิ์ ฆ่าผู้ป่วยด้ วยความสงสาร (การุ ณยฆาต) และไม่ได้ กล่าวถึงการให้ แพทย์ชว่ ยให้ ผ้ ปู ่ วยฆ่าตัวตายด้ วยการจัดหาอุปกรณ์ ปลิดชีพให้ ผ้ ปู ่ วย มาตรา 10 ระบุไว้ ว่า “บุคคลมีสิทธิทาหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริ การ สาธารณสุข ที่เป็ นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ ายของชีวิตตน” มาตรฐานในการวินิจฉัย ภาวะสมองตายของแพทยสภา มีดงั นี ้ 1. กระทาด้ วยคณะแพทย์ ไม่น้อยกว่า 3 คน คือ แพทย์เจ้ าของผู้ป่วย และแพทย์ สาขาประสาทวิทยา หรื อแพทย์สาขาประสาทศัลยแพทย์ (ถ้ ามี) 2. ต้ องไม่ประกอบด้ วยแพทย์ผ้ ทู าการปลูกถ่ายอวัยวะรายนัน้ 3. ผู้อานวยการโรงพยาบาล หรื อผู้ได้ รับมอบหมายเป็ นลายลักษณ์อกั ษร จะต้ อง ร่วมเป็ นผู้รับรองการวินิจฉัยสมองตายเป็ นผู้รับรองการตาย ประเด็นวิพากษ์ วิจารณ์ เรื่องการุณยฆาตในสังคมไทย เรื่ องของการการุณยฆาตเป็ นที่ถกเถียงกันในสังคมไทยในหลายประเด็น ดังตัวอย่าง ต่อไปนี ้ 1.เรื่องสิทธิการตายคืออะไร การตื่นตัวเรื่ องสิทธิการตายในสังคมไทย กลายเป็ นประเด็นที่ได้ รับความสนใจเพิ่ม มากขึ ้น หากนับจากความพยายามที่จะผลักดันพระราชบัญญัติสขุ ภาพแห่งชาติ เมื่อ 6 ปี ที่ผ่านมา จะเห็นว่า ปั จจุบนั มีกลุ่มต่างๆ เกิดขึ ้นหลายกลุ่ม อาทิ กลุ่มพุทธิกา ที่ประกอบด้ วยสมาชิกจาก หลากกลุ่มอาชีพที่สนใจการดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ ายใน มิติ กาย-จิต-สังคม มากขึ ้น และเห็นว่า การแพทย์แบบประคับประคอง (Palliative care) ให้ ผ้ ปู ่ วยระยะสุดท้ ายเผชิญกับการเจ็บปวด ทรมานน้ อยที่สดุ เป็ นสิ่งที่การแพทย์สมัยใหม่ควรศึกษาอย่างรอบคอบ 2.การุณยฆาตเป็ นทางเลือกเพื่อความมั่นคงของมนุษยชาติหรือไม่ ถ้ าเรามองความตาย เป็ นเรื่ องกฎธรรมชาติ เกิดหนเดียว ตายหนเดียว ก็ดเู หมือนว่า" การุณยฆาต" เป็ นเรื่ องเข้ าใจง่ายขึ ้น แต่ในทางปฏิบตั ไิ ม่ง่ายอย่างที่คิด ตราบใดที่การให้ คณ ุ ค่าของ สิ่งมีชีวิตบนโลกนี ้ต่างกัน ถ้ าหากเราลัน่ กระสุนใส่ม้าแข่งที่พลาดท่าประสบอุบตั ิเหตุขาหักในการ แข่งขัน มนุษย์ไม่ร้ ูสึกผิดอะไร แต่กลับคิดว่าช่วยให้ ม้าแข่งตายโดยไม่เจ็บปวดทรมาน แต่สาหรับ ชีวิตมนุษย์ เราพอใจที่จะมองต่างมุมว่าผู้ป่วยวาระสุดท้ ายอาจมีโอกาสรอดชีวิตได้ ด้ วยเทคโนโลยี ทางการแพทย์ที่ซบั ซ้ อนและราคาสูง เรามักจะคิดว่าต้ องช่วยคนที่เรารักให้ ถึงที่สดุ แม้ ว่าการยืด


10

ชีวิตออกไปอีกช่วงระยะเวลาสันๆ ้ ให้ ความรู้สกึ ที่ดีและเป็ นการได้ ทาอะไรสักอย่างหนึ่งให้ กบั บุคคล ที่เราไม่ อยากให้ จากไป 3.การุณยฆาตในมิตเิ ชิงเศรษฐศาสตร์ ชีวิตมนุษย์ถูกเทียบค่าเป็ นตัวเงิน ถ้ าเราจะต้ องดูแลผู้ป่วยที่มีสภาพที่เรี ยกว่า "ผัก ถาวร" (persistent vegetative state) คือ มีชีวิตอยู่ได้ ด้วยการให้ อาหารและน ้าผ่านเครื่ องช่วย ถ้ า ดึงสายเครื่ องช่วยออกผู้ป่วยก็จะตาย ในแง่นี ้ มีความคิดเห็นแยกเป็ น 2 กลุม่ คือ 1) เมื่ อ ผู้ป่ วยหมดหนทางรั ก ษาให้ ห ายจะมี ป ระโยชน์ ป ระการใดที่ รั ฐ ต้ อ งเสี ย ค่าใช้ จ่ายในการรักษาที่มีต้นทุนสูง ในขณะที่ยงั มีผ้ ปู ่ วยอีกจานวนมากรอความช่วยเหลือ และมี โอกาสรอดชีวิตได้ มากกว่า โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางการแพทย์ด้านการปลูกถ่ายอวัยวะเบียด แทรกเข้ ามาในกระบวนการรักษาพยาบาล ถ้ าด้ วยเหตุผลนี ้เรากาลังแลกชีวิตกับชีวิตใช่หรื อไม่ 2) ในอีกมุมมองหนึ่ง เรามองเห็นประโยชน์ในทางการแพทย์สมัยใหม่หรื อไม่ว่า ผู้มี วิชาชีพแพทย์มีโอกาสทดลองวิธีการเครื่ องมือที่ทนั สมัยเพื่อให้ มนุษย์มีชีวิตยืนยาวต่อไปได้ แต่เมื่อ สุดความสามารถแล้ ว ผู้มีวิชาชีพแพทย์ก็พร้ อมที่จะเป็ น "ยมฑูตชุดขาว" สิ่งที่ท้าทายเราอยู่คือการ แยกแยะระหว่างวิทยาศาตร์ และจริ ยศาสตร์ . เทคโนโลยีการแพทย์สมัยใหม่โน้ มน้ าวให้ เราต้ องการ ยืดชีวิตผู้ป่วยเอาไว้ ด้ วยวิธีการให้ อาหาร ให้ ลมหายใจ และรักษาระบบการหมุนเวียนของโลหิตให้ ทางาน ซึ่งผู้ป่วยอาจมีชีวิตอยู่ในสภาพที่เรี ยกว่า 'จะตายก็ไม่ตาย จะเป็ นก็ไม่เป็ น' มีชีวิตได้ อีก หลายเดือน หรื อนานนับปี โดยต้ องเสียค่าใช้ จ่ายสูงมาก เพียงเพื่อให้ ญาติผ้ ปู ่ วยมีความรู้ สึกว่า ไม่ได้ นิ่งดูดาย ปล่อยให้ ผ้ ปู ่ วยตาย ในสภาพการณ์เช่นนี ้ ชวนให้ คิดได้ ว่า การยืดชีวิตคนตายเอาไว้ ด้วย "พันธนาการทาง การแพทย์" เป็ นการเสียทรัพย์ เสียเวลา เสียเตียงคนไข้ ของโรงพยาบาลที่ยงั มีผ้ ปู ่ วยรายอื่นๆ มีสิทธิ ที่จะใช้ ได้ หรื อไม่ ถ้ ามองในแง่ของความมัน่ คงแห่งมนุษยชาติ เราจะแปลเจตนาตรงนี ้อย่างไร จะ กล่าวได้ ไหมว่า คนที่ตายแล้ ว (ยังอยูไ่ ด้ เพราะมีเครื่ องช่วยชีวิต) ก็ต้องเป็ นคนตาย และควรหยิบยื่น โอกาสและทรัพยากรให้ กับผู้ที่มีโอกาสรอดชีวิตมากกว่า จะถือเป็ นกระบวนการความมัน่ คงของ มนุษยชาติได้ หรื อไม่


11

บทวิเคราะห์ ปัญหาการุณยฆาตกับทางออกตามแนวพุทธปรัชญา ปั ญหาหลักของบทความนี ้คือพุทธศาสนาคิดอย่างไรเกี่ยวกับการทาการุณยฆาต และ จะมีข้อเสนอประการใดอันจะเป็ นแนวทางในทางปฏิบตั ิ (Morality inpractice) อันจะช่วยให้ คน เหล่านันตั ้ ดสินใจได้ อย่างมีเหตุผลและรอบคอบ ในกรณีที่เกี่ยวกับการุณยฆาตที่ควรมาพิจารณา กัน คือ ปั ญหาเรื่ องความตาย (Dying and death) ทัศนะเรื่ องความตายหรื อที่สดุ ของชีวิต (End of life) เป็ นสิ่งที่ต้องพิจารณา ทังในมิ ้ ตทิ างพุทธปรัชญาและมิตทิ างวิทยาศาสตร์ คาจากัดความของคาว่า "ตาย" ซึ่งมีการให้ ทศั นะที่แตกต่างกันมากมาย ในที่นี ้ขอ อ้ างอิงถึง American Medical Association and National Conference of Commissioner on Uniform state Laws ได้ ให้ ความหมายหรื อรูปแบบของการตัดสินว่าความตายได้ เกิดขึ ้นแล้ วว่า “คนใดผู้มีลกั ษณะอาการไม่ว่าจะเป็ น การหยุดการไหลเวี ยนและหน้าที ่ของอวัยวะที ่เกี ่ยวกับการ หายใจ ทีไ่ ม่สามารถกลับมาเป็ นดังเดิ ม หรื อการหยุดทางานของระบบสมองทัง้ หมดรวมทัง้ ตัวหรื อ ก้านสมองด้วยจึ งถื อว่าผู้นนั้ ตาย การตัดสิ นถึ งความตายต้องถูกยอมรับในวงการแพทย์ ด้วย ศาล สูงได้ให้ความเห็นและนาลักษณะการตายนีม้ าเป็ นเครื ่องตัดสิ นทางศาลในสหรัฐอเมริ กาทัง้ หมด” พระพุทธศาสนาได้ ให้ ทศั นะเกี่ยวกับการตายไว้ ว่า อาการที่ถือว่าตาย จากพุทธพจน์ ว่า “เมื ่อใด อายุ ไออุ่นและวิ ญญาณ ละกายนี ้เมื ่อนัน้ กายก็ถูกทอดทิ้ งนอนไร้ จิตใจ” จึงสรุปได้ ว่า การตายในพระพุทธศาสนานัน้ คือการตายทางชีวภาพ ซึ่งหมายถึงอวัยวะทังหมดไม่ ้ ทางาน การ กล่าวอย่างนัน้ เพราะจิตหรื อวิญญาณมีที่อยู่อาศัย คือหทัยรูปซึ่งก็คือหัวใจ ซึ่งเกี่ยวไปถึงสมองซึ่ง เป็ นที่ทางานของวิญญาณ ซึ่งในปั จจุบนั ความก้ าวหน้ าทางการแพทย์สามารถใช้ ยืดอายุผ้ ปู ่ วยได้ เช่น การใช้ เทคโนโลยีเพื่อยืดอายุ ( Prolongation of life) การยืดชีวิตนันหากไม่ ้ เป็ นไปเพื่อ ประโยชน์ตนเองและประโยชน์ผ้ อู ื่น ก็ไม่ควรที่จะทาต่อไป พระพุทธศาสนามองเห็นว่าไม่สมควร ดัง มีคากล่าวไว้ ในคัมภีร์สมันตปาสาทิกาว่า “จริ งอยู่ถ้าภิ กษุผู้อาพาธนัน้ ได้ฟังพรรณนาของภิ กษุนนั้ แล้ว มรณภาพลงในระหว่ าง ในเมื ่ออายุแม้ ยงั เหลื ออยู่ช วนะวาระเดี ยว ด้วยความพยายามมี การอดอาหารเป็ นต้นไซร้ เธอเป็ นผู้ชื่อว่าอันภิ กษุนี้แลฆ่าแล้ว” ท่านแนะนาว่าเราไม่ควรเกี่ยวข้ อง ในการเข้ าไปทาลายซึ่งชีวิตคนป่ วย แต่ควรกระทาโดยการแนะนาถึงมรรคและผลของศีล และให้ พิจารณากายในกาย ธรรมในธรรม เป็ นต้ น หากความตายเข้ ามาสู่ผ้ ปู ่ วยก็ให้ เป็ นไปตามธรรมชาติ หรื อตายไปตามธรรมดาของตน ตามอายุ และตามความสืบต่อ (แห่งอายุ)


12

การถอดสายอาหาร ในทางพระพุทธศาสนายังมองเห็นว่าไม่สมควรกระทา แต่การ ปฏิเสธการรักษา หรื อการให้ ตายตามธรรมชาติโดยไม่ได้ ใช้ เครื่ องมือในการยืดออกไปย่อมกระทา ได้ หากความตายได้ มาถึงแล้ วแต่อยู่ได้ เพียงเครื่ องมือทางการแพทย์ ซึ่งเป็ นความก้ าวหน้ าทาง เทคโนโลยี หลักพระพุทธศาสนาย่อมมองถึงสัจจะของชีวิตว่า การยืดชีวิตนันเป็ ้ นเพราะธรรมดา ของชีวิต หรื อเป็ นเพราะการดารงอยูด้วยเครื่ องมือต่างๆ การใช้ เครื่ องยืดอายุนี ้มีคาถามตามมาว่า การช่วยคนป่ วยที่หมดหวังจะเป็ นประโยชน์ มากเท่าการนาไปช่วยคนที่มีหวังอยู่หรื อไม่ เพราะเท่าที่ปรากฏทางการแพทย์ว่าการรักษาผู้ ป่ วยที่ หมดหวังด้ วยการยืดการตายจะใช้ ทรัพยากรมากกว่าการรักษาพยาบาลผู้ป่วยทัว่ ๆ ไปหลายเท่า หรื อหลายร้ อยหลาย พันเท่า ขึ ้นอยูก่ บั ว่าจะใช้ วิธีการยืดชีวิตให้ วิจิตรพิสดารเพียงไร พระพุทธศาสนาได้ ให้ หลักในการตัดสินใจแล้ ว โดยจากที่กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น พุทธ ศาสนายังมองไม่เห็นเหตุผลเพียงการอ้ างเรื่ องเศรษฐกิจที่ไม่เพียงพอแล้ วกระทาการุณยฆาต แต่ พระพุทธศาสนาเน้ นธรรมชาติข องชีวิต และหากจะพูดถึงการใช้ สิทธิหากมีผลกระทบก่อให้ เกิด ความทุกขเวทนาต่อผู้อื่น พระพุทธศาสนาก็ ไ ม่เห็นสมควร แต่สิ่ง ที่ สามารถกระทาให้ เห็นเป็ น รูปธรรมได้ คือ การเดินตามลักษณะมัชฌิมาปฏิปทา ปั ญ หาเรื่ อ งกรรมกับ แนวคิด เรื่ อ งการุ ณ ยฆาตนัน้ พระพุท ธศาสนาถื อ ว่า เจตนา (Volition) นันคื ้ อกรรม (เจตนาหัง ภิกขเว กัมมัง วทามิ) เป็ นกรรมที่ส่งผลให้ เกิดวิบากในภพต่อๆ ไป มิใช่กรรมที่เป็ นเพียงอากัปกิริยาเคลื่อนไหวเท่านัน้ แต่เป็ นปรากฏการณ์ที่ทุกอย่างขึ ้นตรงต่อ กฎของธรรมชาติ (Law of nature) คือ กฎแห่งกรรม (Law of Kamma) มีคาถามว่า การเข้ าไปกระทาการุณยฆาตนัน้ เป็ นการทาให้ เขาพ้ นทุกข์แล้ วจริ งหรื อ พระพุทธศาสนาให้ คาตอบว่า ยังไม่ใช่ เพราะผู้ใดจะพ้ นกรรมก็โดยตนเองเท่านัน้ จะเห็นจากพระ พุทธพจน์ที่วา่ “เรามี กรรมเป็ นของตน เป็ นผู้รับผลของกรรม มี กรรมเป็ นกาเนิ ดมี กรรมเป็ นเผ่าพันธุ์ มี กรรมเป็ นทีอ่ าศัย เราทากรรมอันใดไว้ดีก็ตามชัว่ ก็ตาม เราจักได้รับผลของกรรมนัน้ ” C ตายเกิด เรี ยกว่า พ


13

พ ระ พระ การ พระ ควรปล่อยให้ ทุกอย่าง เป็ นไปตามวิถีทางที่ควรจะเป็ นตามกฎแห่งกรรม ทุกข์ที่เกิดแก่ทุกคนอาจเป็ นเพราะกรรมเก่าก็ได้ ไม่ควรหนีทกุ ข์ด้วยวิธีนี ้ แต่ควรแสวงหาทางพ้ นทุกข์ ดับทุกข์ ด้ วยหนทางแห่งปั ญญา ได้ แก่การ ปฏิบตั ธิ รรมเพื่อพ้ นทุกข์ อันเป็ นธรรมโอสถ ที่รักษาความเจ็บป่ วยทางกายและทางใจได้ ดัง

คุ ณ

สรุป การกระทาการุณยฆาตนันเป็ ้ นกรณีที่ต้องใช้ การพิจารณาอย่างมาก เพราะเป็ นปั ญหา ซึ่งกาลังถกเถียงกันในวงกว้ างของทัศนะต่อการทาลายชีวิต (Human begin) แต่ประกอบด้ วย ความกรุณา เป็ นเรื่ องที่เป็ นไปไม่ได้ เลย การฆ่า (ปาณาติบาต) ไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตาม ย่อมสาเร็ จ ด้ วยโทสะ คือ ธรรมชาติที่ประทุษร้ ายอารมณ์ เป็ นอกุศลธรรม ซึง่ มีโทษ ให้ ผลเป็ นความทุกข์ ส่วนการฆ่าผู้อื่นที่ได้ รับความทุกข์ทรมานด้ วยความคิดว่าอยากจะให้ พ้นจากความ ทรมานนัน้ ที่ เ รี ย กว่ า การุ ณ ยฆาต ความคิด เช่น นี ไ้ ม่ ใ ช่ เ ป็ นความกรุ ณ าเลยแม้ แ ต่น้ อ ย เป็ น ความเห็นผิดที่เรี ยกว่า นิยตมิจฉาทิฏฐิ คือ เห็นผิดไปว่าการฆ่าไม่เป็ นบาปแต่เป็ นการช่วยเหลือให้ พ้ นจากความทุกข์ ทรมาน ดังนัน้ คาว่าการุ ณยฆาตเป็ นการบัญญัติศพั ท์ ที่ผิด เพราะก่อให้ เกิ ด อกุศลกรรมต่อผู้กระทาและผู้ถกู กระทา ในสังคมไทยอาจมีแนวทางปฏิบตั ิเรื่ องวาระสุดท้ ายแห่งชีวิตและสิทธิการตายได้ ตรง และสอดคล้ องกับกระบวนการและหลักประกันความมัน่ คงแห่งมนุษยชาติได้ อย่างลงตัว ไม่เกิด ความขัดแย้ งระหว่างวิทยาศาสตร์ และจริ ยศาสตร์ เหมือนสังคมตะวันตก. คนไทยควรที่จะมองชีวิต และการสิ ้นสุดชีวิต โดยยึดตามหลักคาสอนของพระพุทธศาสนา ที่ว่าให้ พิจารณาทุกอย่างเป็ น


14

อนิจจัง การเลือกที่จะตายเมื่อเผชิญกับภาวะสุดท้ ายแห่งชีวิต ควรถือหลักปั จจัยเหตุประการ ใดบ้ างที่ทาให้ คนที่จากไปก็สงบและมีศกั ดิศ์ รี ในขณะที่ผ้ ทู ี่ยงั มีชีวิตอยู่ ไม่ร้ ูสึกสูญเสียสิ่งที่เป็ นที่รัก หรื อ คิดว่านี่คือการสิ ้นสุดภาระที่จะดูแลต่อไป เพราะความรู้สึกทังสองประการนี ้ ้แตกต่างกันโดย สิ ้นเชิง และมีนยั ต่อการยอมรับ "การุณยฆาต" ในสังคมไทยอย่างยิ่ง

บรรณานุกรม จากพระไตรปิ ฎก ขุททกนิกาย เล่มที่ 25 ข้ อที่ 18 ขุททกนิกาย เล่มที่ 25 ข้ อที่ ข้ อที่12 วินยั ปิ ฏก. มหาวิ.1/ 180/401 วินยั ปิ ฏก. มหาวิ. 1/167/ 383 วินยั ปิ ฏก. มหาวิ. 1/ 172/388 อัคคัญญสูตร สุต. ที .ปา .11/51-71/87 ส.ข .17/247/174 สุต. สัปปทาสเถรคาถา ข้ อ 352 เล่มที่ 18 ที .อ.2/34 .สังคณี อ .408 สุต. ขุ. ปญจก 22/58/72 ส.ส.15/488/176 สุต. มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ข้อ 6/753 จากหนังสือต่ าง ๆ ณฤพล อริยวโส,พระมหา.(2550) การุณยฆาตกับมุมมองตามแนวพุทธจริยศาสตร์ , วัด สาครสุน่ ประชาสรรค์ มหามกุฏราชวิทยาลัย,(2529).ปฐมสมันตปาสาทิกา แปล 3 ภาค , กรุงเทพฯ: มหามกุฏราช วิทยาลัย ในพระบรมราชูประถัมภ์, หน้ า 124. พระธรรมปิ ฏก,(2538). พระพุทธธรรม กรุงเทพฯ; มูลนิธิพทุ ธธรรม พิมพ์ครัง้ ที่ 4, หน้ า 772. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี สมภาร พรมทา, ศ.ดร.(2541). ศาสนากับปั ญหาจริยศาสตร์ โสเภณี ทาแท้ งและการุณย ฆาต, : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


15

____________,(2542) พุทธปรัชญา, กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้ า 161 อมรา สุนทรธาดา และหทัยรัตน์ เสียงดัง. วาระสุดท้ ายแห่ งชีวิตและสิทธิการตาย (Euthanasia), สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. Death Bok, R.G., Euthanasia and physician-assisted suicide, Cambridge: Cambridge University Press, 1998 หน้ า 107 Keown,Damien,Buddhism and Bioethics , London:Macmillan.2000 ,หน้ า 155,169. Robert Audi, the Cambridge dictionary of philosophy, Cambridge: Cambridge University Press, 1999 หน้ า 252 Tom L. Beauchamp, Robert M, Ethical issues in death and dying, Saddle River, N.J.: Prentice Hall, 1996 หน้ า 7

WWW.DOU.US


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.