LIPIKORN MAKAEW

Page 1

“ขณะจิ ต หนึ ่ ง ” A THOUGHT - MOMENT

ลิปิกร มาแก้ว LIPIKORN MAKAEW



“ขณะจิตหนึ่ง”

A THOUGHT - MOMENT โดย ลิปิกร มาแก้ว 4 - 28 เมษายน 2556 ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพฯ

by Lipikorn Makaew 4 - 28 April 2013 at The National Art Gallery Chao fah Rd., Bangkok


“ขณะจิตหนึ่ง” วิถีชีวิต ประเพณี พิธีกรรม ศิลปะและวัฒนธรรมล้านนา หล่อหลอม ให้ข้าพเจ้าเกิดความรักความผูกพันในพื้นถิ่นล้านนา และได้เป็นแรง บันดาลใจให้สร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม ที่ต่อยอดจากองค์ความรู้ ภูมิปัญญาของบรรพชน ข้าพเจ้าได้น้อมนำหลักธรรมคำสอนขององค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มาเป็นแนวทางในการถ่ายทอดสิ่งที่เกิด ขึ้นใน “ขณะจิตหนึ่ง” ของข้าพเจ้า สื่อแสดงออกผ่านทัศนธาตุทาง ศิลปะเป็นผลงานศิลปกรรมเฉพาะตน โดยมุ่งหมายแสดงสาระแห่ง ธรรมชาติของจิต ที่เกิดขึ้นในวิถีชีวิตประจำวัน ความเป็นธรรมดาใน การดำรงชีวิต ทั้งในขณะจิตที่ระลึกรู้ และขณะจิตที่เกิดความหลง


A THOUGHT - MOMENT The way of life, traditions, ceremonies, art and culture of Lanna had fused within me the love and bond with the Lanna region. They are my inspiration in creating works of art that propagated from the knowledge of the ancestors. I have respectfully applied the dharma of Buddha as my instrument in conveying what happened in “A thought- moment� of my own. They materialized through artistic elements into personal works of art. These are intended to demonstrate the substance of the nature of the soul that happens in everyday life, the normality of living, both when there are awareness and obsessions.


เอกลักษณ์ล้านนาในงานศิลปะของลิปิกร มาแก้ว

นิทรรศการศิลปะ “ขณะจิตหนึ่ง” ของ ลิปิกร มาแก้ว ศิลปินชาวเหนือผู้มีความสามารถและรอบรู้ทางศิลปะประเพณี และวัฒนธรรมล้านนาเป็นอย่างดี ไม่วา่ จะเป็นด้านดนตรีพน้ื เมือง ซึง่ เป็นทีร่ จู้ กั และยอมรับอย่างกว้างขวางแล้ว ผลงานสร้างสรรค์ใน แนวประเพณีใหม่ของเขายังมีเอกลักษณ์เฉพาะ มีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านความคิด ทักษะและสาระในงานที่สะท้อนจิตวิญญาณ และวัฒนธรรมล้านนาได้อย่างน่าประทับใจ ลิปิกร นำเสนอผลงานจิตรกรรมและอินสตอลเลชั่นในลักษณะผสมผสานระหว่างศิลปะแบบประเพณีดั้งเดิมในรูปแบบ ของงานศิลปะร่วมสมัย รวมทั้งการใช้เทคนิคใหม่ได้อย่างกลมกลืนและสัมฤทธิผล ประจักษ์ได้ ในงานอินสตอลเลชั่นชุดเสื้อผ้า พื้นเมืองของชาวเหนือที่เขานำมาแขวนบนไม้ตั้งอยู่บนพื้น ในลักษณคล้ายคนยืนกางแขน สีของชุดเสื้อและกางเกงมีสีขาวและสีดำ อย่างละ 6 ชุดจัดวางเป็นแถวสลับสีกันอย่างเป็นระเบียบ เรื่องราวเนื้อหาบนเสื้อผ้าที่ลิปิกรเขียนขึ้นนั้น มีที่มาจากเสื้อยันต์ที่คนในสมัยโบราณนิยมสวมใส่ด้วยความเชื่อที่ว่า

เสื้อยันต์จะช่วยปกป้องให้พ้นจากภัยอันตรายทั้งปวง บนเสื้อยันต์ดังกล่าวมักจะมีการบันทึกด้วยลายมือ ซึ่งเป็นยันต์ คาถาอาคม และความเชื่อทางไสยศาสตร์ สาระเกี่ยวกับเสื้อยันต์ปรากฏอยู่ในหนังสือโบราณของล้านนาซึ่งบรรพบุรุษของลิปิกรได้สะสมไว้เป็น สมบัติและป็นมรดกตกทอดถึงลูกหลานในปัจจุบัน ลิปิกรสร้างสรรค์งานชุดเสื้อผ้านี้ขึ้นเพื่อต่อยอด ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ลิปิกรใช้รูปทรงและใบหน้าของคนรวมทั้งภาพสัตว์ สิ่งของ ตลอดจนลวดลายล้านนาในเชิงสัญลักษณ์ ลิปิกรคลี่คลี่คลายรูปทรง จากแบบฉบับดั้งเดิมให้ดูเรียบง่ายขึ้น มีการจัดวางองค์ประกอบของรูปทรงต่างๆ บนผืนผ้าได้อย่างเหมาะสมและมีความหมาย ชุดเสื้อผ้ามีด้วยกันทั้งหมด12 ชิ้น บ่งบอกถึงความเป็นตัวตนและแทนค่าร่างกายของมนุษย์ ภาพเขียนปรากฏอยู่บนเสื้อผ้าทั้ง ด้านหน้าและด้านหลังซึ่งผู้ชมสามารถมองเห็นได้โดยรอบในขณะเคลื่อนไหวในพื้นที่ของงาน เทคนิคในการเขียนภาพบนสึ้อผ้านั้น ประกอบด้วยการใช้ดินสอไขสีดำเขียนบนผ้าสีขาว และในทำนองกลับกันดินสอไขสีขาวจะใช้เขียนบนผ้าสีดำส่วนสีแดงในภาพเกิด จากดินสอไขเช่นกัน นอกจากนั้นลิปิกรใช้สีอะคริลิค ซึ่งเป็นสีทองแต่งแต้มให้งานดูขลังและน่าเกรงขามยิ่งขึ้น ลักษณะของความ ขัดแย้งระหว่างชุดเสื้อผ้าสีขาว และสีดำนั้นเป็นความขัดแย้งที่อยู่ด้วยกันได้อย่างมีความสมดุลย์ สะท้อนให้เห็นถึงจิตวิญญาณ ภายในของมนุษย์ ซึ่งมีทั้งด้านบวกและด้านลบ มุมมืดและมุมสว่างภายในจิตใจ ความมีสติ และความมีกิเลส โลภหลง ภาพ เรื่องราวทั้งหมด ให้มุมมองและแง่คิดแก่ผู้ชมผงานของลิปิกรได้มาก นอกเหนือจากชุดเสื้อผ้าแล้ว ลิปิกรยังนำเสนอผลงานจิตรกรรมบนกระดาษสาและผืนผ้า สาระในงานเป็นเรื่องราว

เกี่ยวกับหลักพุทธปรัชญา ศิลธรรมและภาวะอารมณ์ ความรู้สึกใน แต่ละช่วงเวลาขณะที่ลิปิกรเขียนภาพ ทั้งนี้เป็นผลกระทบ

จากเหตุการณ์และสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของเขา สิ่งที่น่าสนใจในงานจิตรกรรมดังกล่าวคือ การจัดวางรูปทรงบนพื้นที่ว่างเปล่ามีลักษณะเป็นนามธรรม บางภาพจะมีการ เว้นพื้นที่สีขาวรอบรูปทรงต่างๆ เน้นให้เรื่องราวในงานมีความเด่นชัดและดูราวกับว่ามีแสงสว่างล้อมรอบ และทำให้รูปทรงเหล่า นั้นล่องลอยอยู่กลางอากาศ ลิปิกรใช้สีอะคริลิคหลากสีมีความบางใสสร้าง รูปทรงต่างๆ และใช้หมึกญี่ปุ่นสีดำตัดเส้นในภายหลัง ผลงานอีกชุดหนึ่งซึ่งสะท้อนวัฒนธรรมล้านนาได้อย่างดียิ่งคือ งานชุดใบลาน ลิปิกรนำวัสดุนี้มาผนึกบนกระดาษแข็ง และใช้เหล็กแหลมจารเป็นลวดลายเส้นที่มีความละเอียด เรื่องราวในงานมีที่มาจากวรรณกรรมล้านนา หลังจากที่ลิปิกรสร้าง

ลายเส้นแล้วเขาใช้เขม่าผสมกับน้ำมันยางอัดลงไปในเส้นให้ทั่วแล้วเช็ดออก ด้วยเทคนิควิธีการนี้ทำให้สีของเส้นเด่นชัดขึ้น ผลงาน ชุดนี้แสดงให้เห็นถึงทักษะและความสามารถในการอนุรักษ์และการใช้เทคนิคดั้งเดิมของลิปิกรได้อย่างดี งานศิลปะของลิปิกรเป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับศิลปินล้านนารุ่นใหม่ที่ผลิตงานศิลปะร่วมสมัยแต่ยังคงดำรงไว้ซึ่งอรรถรส และสุนทรียะของท้องถิ่นล้านนาได้อย่างน่าชื่นชม สมพร รอดบุญ


Lanna Identity in the Works of Art of Lipikorn Makaew

The art exhibition “A Thought-Moment” by Lipikorn Makaew, a talented northern artist who

is well rounded in the knowledge of Lanna art and culture and a well known folk musician, is a creative work in the traditional style. It has a unique character, perfect in concept, skill and content that touchingly reflect the spirit and culture of Lanna. Lipikorn presents paintings and installation in the style that combined the traditional and contemporary. Correspondingly, the new technique works harmoniously and effectively as could

be seen in the installation of Lanna folk costumes. They are displayed hanging on wood placed on the floor in the manner of arm stretched men. The costume constitute of shirt and pants. The colour of a set is either black or white. There are 6 sets of each colour arranged orderly in alternating colours. The story and content of the costumes derived from the yantra clothing that were popular

in ancient times as a talisman to protect the wearer from all harms and dangers. On these clothing are hand written charms and magic. Believes in the occult and substantial knowledge about the yantra clothing can be found in ancient Lanna books collected by Lipikorn’s ancestors, as a treasure and

a heritage for the new generations. The artist created this set of costumes to continue the knowledge of his lineage. Lipikorn uses the shapes of human faces, animals, objects to Lanna symbolic patterns. The original forms were adapted to be more simplified. Shapes on the cloths were arranged in

the composition that is appropriate and meaningful. There are 12 pieces of clothing that tell of

a person and substitute human bodies. Both the front and back of the costumes are painted which could be seen while one moves around the exhibition area. The technique used to create paintings on these clothing are black wax pencil on white cloth and conversely white wax pencil on black cloth. The red is also by wax pencil. Apart from that, gold acrylic colour was used to intensify the mystical and powerful feeling of the work. The opposing characters of white costumes and black costumes are the differences that coexist harmoniously. It is the reflection of human soul within us. There are

a positive side and a negative side, the dark corners and the enlightened in our hearts. Mindful moments and obsessive cravings, the whole picturesque story, could all very well suggest new way

of seeing and be a food for thoughts for Lipikorn’s audience. Lipikorn’s art is a good example of new generation Lanna artists who create contemporary works but which could still keep the tastes and aesthetics of Lanna region in an admirable way. Somporn Rodboon


เสื้อยันต์

เรื่อง : วิลักษณ์ ศรีป่าซาง คำว่า เสื้อ นอกจากจะหมายถึงเสื้อที่คู่กับกางเกงแล้ว ภาษาล้านนาคำนี้ยังหมายถึงการคุ้มครองปกป้อง อี ก ด้ ว ย ผี เ สื้ อ เป็ น คำนาม หมายถึ ง อารั ก ษ์ ห รื อ ผี ป ระจำถิ่ น อย่ า งผี เ สื้ อ วั ด ก็ ห มายถึ ง อารั ก ษ์ ที่ รั ก ษาวั ด

ผีเสื้อเมืองหรือเสื้อเมืองคืออารักษ์รักษาบ้านเมือง เป็นต้น รวมความแล้ว เสื้อ จึงหมายถึงปกปักพิทักษ์รักษา เสื้อยันต์อันจะเขียนเล่าต่อไปนี้หมายถึงเสื้ออย่างที่สวมใส่กันทั่วไป พิเศษตรงที่ลงอักขระและลงรูปลักษณ์ ต่างๆ อาคมอันปู่ครูผู้คงแก่เรียนได้ “ลง” ไว้เพื่อ “บันดาล” ให้เป็นไป เสื้อยันต์บางผืนมีภาพประกอบแฝงความ ลึกล้ำ แบบเสื้อมีลักษณะอย่างที่ชายชาญหาญกล้าสวมใส่ มิใช่เป็นรองทรงยกกระชับอย่างเสื้อสตรี (ในอดีตอาจ

จะมี แต่ไม่เคยเห็น) ส่วนอายุการสร้างบางผืนน่าจะเกิน ๘๐ ปี หรืออาจมากกว่านั้น เสื้อยันต์ในล้านนามีหลายขนาด และหลายแบบ ผืนเล็กๆ ไม่น่าจะใส่ได้ ผืนใหญ่อย่างพอเหมาะสำหรับ ชายวัยออกรบก็มี เสื้อยันต์นับเป็นผ้ายันต์รูปแบบหนึ่ง เอาขึ้นหิ้งครูไว้บูชา และหากใส่ได้ก็คงเป็นเสื้อซ้อนในเสีย มากกว่า คนโบราณจะใส่ออกรบหรืออย่างไรก็ตอบไม่ได้ เพราะไม่เคยเห็น ที่แน่ๆ เคยเห็นแต่เสื้อยันต์ออกศึกของ พ่ออุ๊ย พับเก็บใส่หีบรวมกับพับสาตะกรุดยันต์จิปาถะ แม่อุ๊ยรักษาไว้ในฐานะเครื่องรางของขลัง เอาไว้คุ้มเรือนให้ อยู่เย็นเป็นสุข ไว้ต่างหน้า ยามคิดถึงพ่ออุ๊ย พ่ออุ๊ยสิ้นบุญไปหลายปีแล้วแต่เสื้อยันต์ยังอยู่ ปีใหม่สงกรานต์ทีก็เอามาผึ่งลมพรมน้ำขมิ้นส้มป่อยสระสรง หยิบจับครั้งใดเหมือนได้นั่งคุยกับคนเฒ่า กลิ่นเก่ากลิ่นเดิมต้องจมูก เรื่องเก่าเรื่องหลังก็พรั่งพรู รอยด่างดำจะเป็น คราบน้ำสระสรงเมื่อปีก่อนหรือเป็นคราบว่านยาข่ามขลัง หรืออาจเป็นหยดโลหิตศัตรูเมื่อต้องคมดาบก็เป็นได้ ผู้รู้เรื่องเสื้อยันต์ท่านหนึ่งเล่าว่า บางผืนผู้สร้างลงอักขระไว้เต็ม บางผืนแช่น้ำยาข่าม ยามสวมใส่ได้

ชุ่มเหงื่อ น้ำยาว่านจะซ่านกำซาบซึมลึกสู่ผิวกาย หนังจะเหนียวฟันแทงไม่เข้า ฤทธีเสื้อยันต์บางผืนดีทางป้องกัน เขี้ ย วเล็ บ งา สวมขณะเดินทางไปต่างบ้านต่า งเมื อ งปกห่ ม คุ้ ม ครองดี นั ก บางผื น ดี ท างเมตตามหานิ ย มคนรัก

คนชอบ ค้าแม่นขายหมานคือซื้อง่ายขายคล่องทำนองนั้น ปู่ครูผู้ทำเสื้อยันต์ต้องหาฤกษ์ดี วันดีให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การสร้างอย่างยันต์เมตตาก็ต้องเลือกวัน และเวลาที่เป็นเมตตา ตั้งเครื่องบูชาครูตามขนบที่ปฏิบัติ ก่อนลงอักขระต้องชำระใจกายให้สะอาด เสกปากกา

จุ่มหมึกผสมว่านยาทุกครั้ง ค่อยเพียรทำไปไม่นับเวลา เพราะไม่ใช่งานสั่งทำ เสร็จแล้วสำทับคาถาอีกหลายๆ ครั้ง ประมาณว่าปลุกเสกซ้ำให้ขลังดังใจนึก เสื้อยันต์จะขลังไม่ขลังขึ้นอยู่กับองค์ประกอบนานา เช่น อาจารย์ดี พิธีเด่น ผู้ใช้ก็ใช้เป็น จึงจะสัมฤทธิผล เสื้อยันต์ในปัจจุบัน คนเก็บรักษาคงไม่ได้ใช้งานดังเสื้อที่เราสวมอยู่ทุกวัน หากแต่กลายเป็นเสื้อที่ปกห่ม จิตใจมากกว่า เก็บอดีตเพื่อจะระลึกถึงอดีต เสื้อยันต์เก่าๆ ผืนเดียวเหนี่ยวนำให้ระลึกถึงความหลัง ระลึกถึงตัวตน แค่นี้ก็เป็นสุขแล้ว.




ขณะจิตหนึ่ง ๑ A thought-moment 1 เทคนิค วาดเส้นบนชุดพื้นเมือง, ขนาด ผันแปรตามพื้นที่, 2556 Technique drawing on Lanna traditional costumes, Size variable, 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๑ A thought-moment 1 เทคนิค วาดเส้นบนชุดพื้นเมือง, ขนาด ผันแปรตามพื้นที่, 2556 Technique drawing on Lanna traditional costumes, Size variable, 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๑ A thought-moment 1 เทคนิค วาดเส้นบนชุดพื้นเมือง, ขนาด ผันแปรตามพื้นที่, 2556 Technique drawing on Lanna traditional costumes, Size variable, 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๑ A thought-moment 1 เทคนิค วาดเส้นบนชุดพื้นเมือง, ขนาด ผันแปรตามพื้นที่, 2556 Technique drawing on Lanna traditional costumes, Size variable, 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๒ A thought-moment 2 เทคนิค วาดเส้นบนชุดพื้นเมือง, ขนาด ผันแปรตามพื้นที่, 2555 Technique drawing on Lanna traditional costumes, Size variable, 2012




ขณะจิตหนึ่ง ๓ A thought-moment 3 เทคนิค วาดเส้นบนกระดาษสา ขนาด ๒๐๐ x ๑๐๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique drawing on mulberry paper Size 200 x 100 cm., 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๔ A thought-moment 4 เทคนิค วาดเส้นบนกระดาษสา ขนาด ๒๐๐ x ๑๐๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique drawing on mulberry paper Size 200 x 100 cm., 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๕ A thought-moment 5 เทคนิค วาดเส้นบนกระดาษสา, ขนาด ๑๐๐ x ๓๐๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique drawing on mulberry paper, Size 100 x 300 cm., 2013

ขณะจิตหนึ่ง ๖ A thought-moment 6 เทคนิค วาดเส้นบนกระดาษสา, ขนาด ๑๐๐ x ๓๐๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique drawing on mulberry paper, Size 100 x 300 cm., 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๗ A thought-moment 7 เทคนิค วาดเส้นบนกระดาษสา ขนาด ๒๐๐ x ๑๐๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique drawing on mulberry paper Size 200 x 100 cm., 2013


ศีล Buddhist Precepts เทคนิค วาดเส้นบนกระดาษเยื่อสา, ขนาด ๖๐ x ๘๐ ซม., ๒๕๕๕ Technique drawing on mulberry fiber, Size 60 x 80 cm., 2012


พระสุเมรุ Mount Sumeru เทคนิค วาดเส้นบนกระดาษเยื่อสา, ขนาด ๘๐ x ๖๐ ซม., ๒๕๕๕ Technique drawing on mulberry fiber, Size 80 x 60 cm., 2012



๑๒ ราศี 12 Zodiac Signs เทคนิค วาดเส้น, ทองคำเปลว บนกระดาษสา, ขนาด ผันแปรตามพื้นที่, ๒๕๕๒ Technique drawing, gold leaf on mulberry paper, Size variable, 2008


ขณะจิตหนึ่ง ๘ A thought-moment 8 เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ ขนาด ๘๐ x ๖๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas Size 80 x 60 cm., 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๙ A thought-moment 9

ขณะจิตหนึ่ง ๑๐ A thought-moment 10

เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ ขนาด ๗๙ x ๔๑ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas Size 79 x 41 cm., 2013

เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ ขนาด ๙๐ x ๔๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas Size 90 x 40 cm., 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๑๑ A thought-moment 11 เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ ขนาด ๖๐ x ๘๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas Size 60 x 80 cm., 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๑๒ A thought-moment 12

ขณะจิตหนึ่ง ๑๓ A thought-moment 13

เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ ขนาด ๘๐ x ๖๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas Size 80 x 60 cm., 2013

เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ ขนาด ๘๐ x ๖๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas Size 80 x 60 cm., 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๑๔ A thought-moment 14 เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ขนาด ๘๐ x ๖๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas, Size 80 x 60 cm., 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๑๕ A thought-moment 15 เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ขนาด ๘๐ x ๖๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas, Size 80 x 60 cm., 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๑๖ A thought-moment 16 เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ ขนาด ๘๐ x ๖๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas Size 80 x 60 cm., 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๑๗ A thought-moment 17 เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ ขนาด ๖๐ x ๘๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas Size 60 x 80 cm., 2013

ขณะจิตหนึ่ง ๑๘ A thought-moment 18 เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ ขนาด ๖๐ x ๘๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas Size 60 x 80 cm., 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๑๙ A thought-moment 19 เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ขนาด ๔๐ x ๖๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas, Size 40 x 60 cm., 2013


ขณะจิตหนึ่ง ๒๐ A thought-moment 20 เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ขนาด ๖๐ x ๘๐ ซม., ๒๕๕๖ Technique acrylic on canvas, Size 60 x 80 cm., 2013


อดีต - ปัจจุบัน Past – Present เทคนิค จารใบลาน ขนาด ๖๔ x ๖๕ ซม., ๒๕๕๓ Technique inscription on palm leaf Size 64 x 65 cm., 2010

มารผจญ The Assault of Mara เทคนิค จารใบลาน, ๒๕๔๕ Technique inscription on palm leaf, 2002



ลิปิกร มาแก้ว

- จิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ 18 ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคาร กรุงเทพ ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8 - นิทรรศการศิลปกรรม ปตท. ประจำคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ 2538 - จิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ 19 ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ กรุงเทพ ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 - ศิลปกรรมร่วมสมัย ของธนาคารกสิกรไทย โทรศัพท์ 053–414250–3 - ศิลปกรรมร่วมสมัย พานาโซนิค ครั้งที่ 1 หอศิลป์แห่ง E-mail : lipikornart@gmail.com ชาติ กรุงเทพ - แสดงงานวิทยานิพนธ์ปริญญาตรี ศูนย์การค้าฟิวเจอร์ เกิด 7 มกราคม 2515, เชียงใหม่ ปาร์ครังสิต 2539 - ศิลปกรรมพานาโซนิค ครั้งที่ 2 หอศิลป์แห่งชาติ กรุงเทพ ที่อยู่ปัจจุบัน - ศิลปกรรมความจงรักภักดี มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม เฮินศิลป์ใจ๋ยอง 64 หมู่ 4 ต.บวกค้าง อ.สันกำแพง

ติณสูลานนท์ จ.เชียงใหม่ 50130 โทรศัพท์ 081-9924139 - ศิลปกรรมเมืองไทยสวรรค์ของผู้มาเยือน บริษัทสิงคโปร์ แอร์ไลน์ ประวัติการศึกษา 2540 - ศิลปกรรมสืบสายลายเมือง หอศิลป์ครูเทพ เชียงใหม่ - โรงเรียนเมธีวุฒิกร ลำพูน - ศิลปกรรม SMALL WORK ศูนย์ส่งออกอุตสาหกรรม - ปวช.-ปวส. คณะวิชาศิลปกรรม ภาคเหนือ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ 2541 - ศิลปกรรมร่วมสมัย BELLS VILLA GALERIE เชียงใหม่ - ปริญญาตรี ศบ. จิตรกรรม - ศิลปะบนลานดิน ORIENTAL STYLE เชียงใหม่ ศูนย์กลางสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล - ศิลปกรรมร่วมสมัย AMAZING THAILAND หอศิลป - ปริญญาโท ศม. ศิลปะไทย คณะจิตรกรรม วัฒนธรรมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2542 - ศิลปกรรมร่วมสมัย สัมพันธภาพในความแตกต่าง อมารี วอเตอร์เกท กรุงเทพฯ การแสดงผลงานศิลปกรรม 2543 - ศิลปะบนลานดิน ศูนย์การค้าเกษรพลาซา กรุงเทพฯ แสดงเดี่ยวศิลปกรรม 2544 - จิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที 25 ศูนย์สังคีตศิลป์ 2545 - ลายคำล้านนา ชุด พระบฏ ไร่แม่ฟ้าหลวง เชียงราย ธนาคารกรุงเทพ 2546 - ผลงานศิลปนิพนธ์ปริญญาโท ชุด มารผจญในลักษณะ - นิทรรศการศิลปกรรม ต๋ามฮีต โตยฮอยสล่าเมือง ศิลปะพื้นบ้านล้านนา วัดยางหลวง อำเภอแม่แจ่ม ครั้งที่ 1 หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 2545 - ศิลปกรรมพานาโซนิค ครั้งที 5 หอศิลป์แห่งชาติ กรุงเทพ - นิทรรศการศิลปกรรม ต๋ามฮีต โตยฮอยสล่าเมือง ครั้งที่ แสดงผลงานกลุ่ม 2 หอศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2532- 2536 2546 - นิทรรศการศิลปกรรม ต๋ามฮีต โตยฮอยสล่าเมือง

- แสดงผลงานศิลปกรรมนักศึกษา

ครั้งที่ 3 หอศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ 2547 - นิทรรศการศิลปกรรม ศิลปะจากปลายงวงและชมรมส่ง 2533 - แสดงผลงานศิลปกรรมของนักเรียน นักศึกษา

เสริมสล่าล้านนา ณ ลานโรงแรมอิมพีเรียลแม่ปงิ เชียงใหม่ โดย กลุม่ ลานนา หอสมุดรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ - นิทรรศการศิลปกรรม ศิลปะบนลานดิน ศิลปินบนล้าน 2536 - แสดงผลงานศิลปกรรมโอลิมเปียนแกเลอรี่ นา หอศิลปวัฒนธรรม เมืองเชียงใหม่ - จิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ 17 ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคาร - นิทรรศการศิลปกรรม กุล่มเจ็ดยอด ณ กองดีสตูดิโอ กรุงเทพ เชียงใหม่ 2537 - ศิลปกรรมอวลไอไทยล้านนา ครั้งที่ 1 หอศิลปะครูเทพ 2548 - นิทรรศการศิลปกรรม ต๋ามฮีต โตยฮอยสล่าเมือง ครั้งที่ เชียงใหม่ 4 หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


- นิทรรศการศิลปกรรม จตุทิพยนพีสี

ณ แกลเลอรี ปาณิศา เชียงใหม่ - นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ ณ หอคำหลวงราชพฤกษ์ 2549 2549 - นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ ณ หอคำหลวงราชพฤกษ์ 2549 2550 - นิทรรศการศิลปกรรม ต๋ามฮีต โตยฮอยสล่าเมือง ครั้งที่ 5 หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - นิทรรศการงานศิลปหัตถกรรมไทยสู่สากล “80 พรรษา ปวงประชาสุขศานต์” ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่อง ไคร้ จ.เชียงใหม่ - นิทรรศการอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง จีน – ไทย : ยวี่ซี – ล้านนา ประเทศจีน 2551 - นิทรรศการศิลปกรรม ต๋ามฮีต โตยฮอยสล่าเมือง

ครั้งที่ 6 หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - นิทรรศการศิลปกรรม กุล่มเจ็ดยอด ณ ติตาแกเลอรี เชียงใหม่ 2552 - นิทรรศการศิลปกรรม ต๋ามฮีต โตยฮอยสล่าเมือง ครั้งที่ 7 หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - นิทรรศการศิลปกรรม งานมหกรรมวัฒนธรรมสัญจรสู่ สถานศึกษา โดยสำนักงาน วัฒนธรรมร่วมสมัย จ.ลำปาง - นิทรรศการ ๑ กวี ๑ จิตรกร ๑ สล่า ณ ไร่แม่ฟ้า หลวง จ.เชียงราย 2553 - นิทรรศการปฏิบัติการทัศนศิลป์นานาชาติ

ณ ไร่แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย - นิทรรศการศิลปกรรม แต้มฟ้า ปั้นดาว สลักเดือน สาน ทอฝันสล่าล้านนา ศูนย์การค้าดิเอ็มโพเรียม กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปกรรมทิพยหย้องภูมิผญา ล้านนาสล่า เมือง แอร์พอร์ตพลาซา เชียงใหม่ - นิทรรศการศิลปกรรม เชียงใหม่ บ้านชุ่มเมืองเย็น

ณ 116 แกเลอรี เชียงใหม่ - นิทรรศการ ครุศิลปะสร้างสรรค์งานศิลป์กับศิลปินแห่ง ชาติ ณ สถานกงสุลใหญ่ นครลอสแองเจิลลีส สหรัฐ อเมริกา 2554 - นิทรรศการ Art on Paper ไทย - ออสเตรียเลีย

หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - นิทรรศการ 7th International Art Festival and Art Workshop in Thailand ณ วิทยาลัยเพาะช่าง กรุงเทพฯ - นิทรรศการพุทธศิลป์โลก The International Buddhist Art Gathering 2011 at Bodh Gaya India - นิทรรศการพุทธศิลป์โลก The International Buddhist Art Gathering 2011 at Tibet House in New York City.

- นิทรรศการศิลปกรรมสื่อสานสัมพันธ์กลุ่มอาเซียน

ครั้งที่ ๑ ณ หอศิลป์สถานอารยธรรมศึกษา

โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 2555 - นิทรรศการศิลปกรรม 36 ปี ศิลปะไทย “จากรุ่น...สู่รุ่น” ณ PSG Art Gallery คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - นิทรรศการ 8th International Art Festival and Art Workshop in Thailand ณ วิทยาลัยเพาะช่าง กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปกรรม Ne’-Na Contemporary Art Space in the Gwangju Biennale 2012 ประเทศ เกาหลี - สร้างสรรค์ผลงานร่วม “รังผึ้ง” ในวาระครบ 120 ปี ชาติกาล ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ณ PSG Art Gallery คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2556 - นิทรรศการ 9th International Art Festival and Art Workshop in Thailand ณ วิทยาลัยเพาะช่าง กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปกรรม 1st International Art Festival and Art Workshop in Thailand ณ มหาวิทยาลัย นเรศวร พิษณุโลก - นิทรรศการศิลปกรรม 36 year Thai Art Exhibition Anniversary Thai Art Department ณ หอศิลป์สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิต์ มูลนิธิธนาคารกรุงเทพ - นิทรรศการศิลปกรรม ผู้มีผลงานดีเด่น โครงการ ถ่ายทอดงานศิลป์กับศิลปินแห่งชาติ ณ ศูนย์วัฒนธรรม แห่งชาติ กรุงเทพฯ เกียรติประวัติ • รางวัลที่ 1 เหรียญทองบัวหลวง ครั้งที่ 25 มูลนิธิ ธนาคารกรุงเทพจำกัดมหาชน พ.ศ. 2544 • รางวัลดีเด่น ศิลปกรรมพานาโซนิค ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538 • รางวัลที่ 3 ศิลปกรรมความจงรักภักดี มูลนิธิพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ พ.ศ. 2539 • รางวัลที่ 1 การประกวดผลงานศิลปะของกลุ่มลานนา เชียงใหม่ พ.ศ. 2533 • รางวัลชมเชย ศิลปะนำสิ่งที่ดีสู่ชีวิต บริษัทโตชิบาไทย แลนด์จำกัด พ.ศ. 2533 • ศิษย์เก่าดีเด่นคณะวิชาศิลปกรรม สถาบันเทคโนโลยีราช มงคล วิทยาเขตภาคพายัพ เชียงใหม่ ประจำปี 2546 • ผู้มีผลงานดีเด่น ศิลปินพื้นบ้าน จังหวัดเชียงใหม่ สาขา ทัศนศิลป์ จิตรกรรม พ.ศ.2553 • รางวัล Robinson Bright & Charm Awards 2012 สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมล้านนา


LIPIKORN MAKAEW Born 7 January 1972, Chiang Mai Thailand Address Jai Yong Art Gallery 64 Moo 4 Buakkang Sankamphang District Chiang Mai 50130 Tel. 081-9924139 Present Position Rajamangala University of Technology Lanna Northern Campus (Jedyod) 95 Moo 2 Chiang Mai-Lampang Rd., Muang District Chang Mai 50300 Tel. 053-414250-3 Fax. 053-414253 E-mail lipikornart@gmail.com Education - Rajamangala Institute of Technology Northern Campus, Chiang Mai - B.F.A. Painting The Faculty of Fine Arts Rajamangala Institute of Technology, Prathumthani - M.F.A. Thai Art, The Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University Solo Exhibition 2002 - “Phra Bot” Mae Fha Luang Chiang Rai 2003 - “Temptation of Mara, The Revival of Lanna Folk Art.” Wat Yang Laung, Mae Jam district, Chiang Mai Selected Exhibition 1989 – 2003 - Art Exhibition in Chiang Mai and Bangkok 2004 - 2011 - Art Exhibition “Jed Yod Group” Chaing Mai 2006 – 2013 - 2nd, 3rd, 4th, 5th, 6th, 7th, 8th, 9th International Art Festival and Art Workshop in Thailand 2002 – 2010 - 1st, 2nd, 3rd, 4th, 5th, 6th “The Wisdom of Lanna Arts & Craftsmen” / Art Museum Chiang Mai University, Chiang Mai 2010 - 10 Thai Contemporary Artists Award from the Ministry of Culture, Royal Thai Consulate-General Los Angeles, USA

2011 - Art on Paper Thai - Australia / Art Museum Chiang Mai University, Chiang Mai - Art Exhibition “Thai Art Group” Jaiang Maueg Gallery Chaing Mai - Art Exhibition The International Buddhist Art Gathering 2011 at Bodh Gaya India - Art Exhibition The International Buddhist Art Gathering 2011 at Tibet House in New York City. - Art Exhibition Asean Art Civilization Symposium 1st at Naresuan University 2012 - Thai Art Exhibition by 36 Artists at PSG Art Gallery Silpakorn University - Ne’-Na Contemporary Art Space in the Gwangju Biennale 2012 Korea - Saying of Silpa Bhirasri to Commemorate 120th Anniversary of Professor Silpa Bhirasri at PSG Art Gallery Silpakorn University 2013 - 1st International Art Festival and Art Workshop in Thailand Naresuan University Phitsanulok Honor and Awards 1990 - Admirable Prize (High School Section) Toshiba “Brings Good Things to Life” Art Competition, Bangkok - 1st Prize, 10th Children and Youth Painting Competition by “Lanna group” Chiang Mai 1995 - Award Winner, 1st Panasonic Contemporary Painting Exhibition, Bangkok 1996 - Award Winner, “Young Artist Contemporary Painting contest” by Singapore Airlines - 3rd prize “With All Royal Faith” Art Exhibition 2001 - 1st Prize, Gold Medal, Semi - Traditional, 25th Bua Laung Art Exhibition 2010 - Outstanding Chiang Mai folk artist, visual arts, painting 2010 2012 - Robindon Bright & Charm Awards 2012, in the sector of Lanna art and cultural promotion


ขอบพระคุณ บรรพชนครูภูมิปัญญาสล่าล้านนา ครูเก๊า ครูปาย ครูต๋าย ครูยัง ครูสั่งครูสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ พ่อสมบูรณ์ แม่อุ่น มาแก้ว,แม่ทองใบ พรหมนุชานนท์ และพี่ๆน้องๆหลานๆ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยรัตน ปานสุวรรณจิตร์ คณบดีคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมพร รอดบุญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิลักษณ์ ศรีป่าซาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ถาวร ฝั้นชมภู คุณศุภโชค อังคสุวรรณศิริ คุณธวัธชัย สมคง คุณอลงกรณ์ หล่อวัฒนา เฮินศิลป์ใจ๋ยอง ร้านอาหารพื้นเมืองเฮือนใจ๋ยอง คุณรักชนก มาแก้ว ลูกศิษย์ศิลปะไทย

Photo & Catalogue by FLUKE Graphic & Design t: 0804969946 e: f luke.th@gmail.com



เฮินศิลปใจยอง 64 หมู่ 4 ต.บวกค้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ 50130 Jai Yong Art Gallery 64 Moo 4 Buakkang Sankamphang District Chiang Mai 50130



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.