จินตภาพแหงเสน สี และชีวิต
IMAGINATIVE IMAGES OF LINE, COLOR AND LIFE
โดย ศรีใจ กันทะวัง by Srijai Kuntawang
จินตภาพแหงเสน สี และชีวิต
IMAGINATIVE IMAGES OF LINE, COLOR AND LIFE
นิทรรศการศิลปะภาพพิมพ์แกะไม้ โดย ศรีใจ กันทะวัง by Srijai Kuntawang
4 - 28 เมษายน 2556 ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ๔ ถนนเจ้าฟา แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ at The National Gallery 4 Chao Fah Road, Phra Nakhon Bangkok 10200
จินตภาพแห่ง เส้น สีและชีวิตในงานภาพพิมพ์ของศรีใจ กันทะวัง ศรีใจ กันทะวัง ศิลปินจากเชียงใหม่ มีความผูกพันกับธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรมของล้านนา ซึ่งเป็นถิ่นกำเหนิด ดังนั้นที่มา ของการทำงานศิลปะของเขาจึงมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตพื้นบ้าน สิ่งแวดล้อมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ยังดำรงอยู่ตราบจนทุกวันนี้ งานภาพพิมพ์แกะไม้ของศรีใจ มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ นอกเหนือจากความสมบูรณ์ทางด้านความงามแล้ว สาระในงาน สะท้อนจิตวิญญาณและวัฒนธรรมของชาวเหนืออย่างเด่นชัด ความเชี่ยวชาญทางด้านฝีมือตลอดจนประสบการณ์ในการแกะไม้และ เทคนิคในการพิมพ์มีความสลับซับซ้อนโดยเฉพาะอย่างยิ่งการพิมพ์สีหลากสีในงานของเขาเป็นการพิมพ์จากแม่พิมพ์แผ่นเดียวกัน
ความพิเศษในงานของศรีใจมิได้อยู่เพียงแค่เรื่องราวเนื้อหาหรือลวดลายที่แสดงความเป็นล้านนาเท่านั้น หากแต่การใช้ทัศนธาตุในงาน
ไม่ว่าจะเป็นเส้นและสีซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของงาน มีจังหวะลีลาประสานกลมกลืนและขัดแย้งกันอย่างลงตัว ภาพชุดต้นไม้ของศรีใจ แสดงให้เห็นถึงฤดูกาล การเปลี่ยนแปลงของต้นไม้ในลักษณะต่างๆตามธรรมชาติซึ่งมีการผลัดใบ
การผลิดอกออกช่อให้ความมีชีวิตชีวา ศรีใจได้รับความบันดาลใจจากประสบการณ์ชีวิตที่แวดล้อมไปด้วยธรรมชาติ รวมทั้งความสนใจใน จังหวะลีลาของ กิ่งก้าน ลำต้นและการเลื้อยของต้นไม้ที่มีอายุจากสถานที่ต่างๆที่เขาได้ไปเยือนเช่นเมืองพุกามในประเทศพม่าและประเทศจีน ศรีใจบันทึกภาพต้นไม้เหล่านั้นไว้เป็นจำนวนมาก ภาพต้นไม้แต่ละต้นในงานศิลปะของศรีใจ มีลักษณะพิเศษเฉพาะและมีมุมมองที่น่าสนใจ ความจริงแล้วต้นไม้ที่แผ่กิ่งก้านสาขาครอบคลุมบริเวณกว้างในความรู้สึกของศรีใจนั้นเปรียบเสมือนความร่มเย็นเป็นสุข ส่วนดอกไม้ที่บาน สะพรั่งเต็มต้นและอยู่ในบริเวณโดยรอบนั้นเกิดจากจินตนาการของเขา ข้อมูลที่ใช้ในการทำภาพพิมพ์ของศรีใจมักจะได้มาจากสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว ภาพชุดนกยูงมีที่มาจากตู้พระธรรมและจิตรกรรมฝาผนัง โบราณในวัดทางภาคเหนือ เช่นวัดภูมินทร์และวัดพระสิงห์ นกยูงในงานของศรีใจ มีความงดงามโดยสมบูรณ์ไม่ว่าจะเป็นการใช้เส้น สีและ รูปทรงสะท้อนให้เห็นถึงความสุขสบายตามวิถีล้านนา ส่วนภาพสัตว์อื่นๆเช่นภาพแม่ไก่และลูกไก่ ในงานภาพพิมพ์ขนาดต่างๆ แฝงสาระ เกี่ยวกับธรรมชาติและความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย ศรีใจใช้ภาพสัตว์พื้นบ้านเป็นสัญลักษณ์ของความรัก ความผูกพันระหว่างสมาชิก
ในครอบครัวและชุมชน ภาพสัตว์โดยเฉพาะไก่นั้นแสดงกิริยาท่าทางที่บ่งบอกถึงความสุข สนุกสนาน ความเบิกบาน ศรีใจมีความเข้าใจ ในชีวิตความเป็นอยู่ของสัตว์พื้นบ้านและสามารถถ่ายทอดความรู้สึกของเขาผ่านลักษณะของสัตว์เหล่านี้โดยมิต้องแสดงภาพของบุคคล
ซึ่งเป็นชาวล้านนา นอกจากนี้ ภาพชุดช้างซึ่งเป็นสัตว์ในท้องถิ่นของภาคเหนือนั้น ศรีใจได้สร้างรูปทรงขึ้นใหม่ตามความรู้สึกและจินตนาการ ของเขา เป็นภาพช้างที่สื่อความหมายถึงความสงบ ภาพไก่และปลาที่อยู่ร่วมกันในภาพแทนค่าความอุดมสมบูรณ์ จะเห็นได้ว่าศรีใจนำภาพ ของสัตว์ต่างๆมาใช้ในเชิงสัญลักษณ์ สื่อความหมายให้เป็นที่เข้าใจได้โดยง่าย ผลงานอี ก ชุ ด หนึ่ ง ซึ่ ง ศรี ใ จถ่ า ยทอดความศรั ท ธาและความยึ ด มั่ น ในพระพุ ท ธศาสนาเป็ น ภาพพระพุ ท ธรู ป ที่ ศ รี ใ จจั ด วาง องค์ประกอบภายในภาพเช่นเดียวกับลักษณะของจิตรกรรมฝาผนัง ภาพดอกไม้ร่วงในพื้นหลังของภาพมีที่มาจากลวดลายบนตู้พระธรรม หรือจิตรกรรมฝาผนังที่ปิดทองของภาคเหนือ ความพิเศษทางด้านเทคนิคที่ปรากฏในภาพพิมพ์ชุดนี้ คือพื้นผิวที่ศรีใจสร้างขึ้นด้วยการ ขุด การถากให้เกิดเป็นร่องรอยบนแม่พิมพ์ประกอบกับลักษณะของการขูดแม่พิมพ์ซ้ำๆหลายครั้งนั้นก่อให้เกิดเป็นบรรยากาศของสี
ในภาพ นอกเหนือจากเอกลักษณ์ในการใช้เส้นเป็นหัวใจสำคัญในการทำภาพพิมพ์แล้ว สิ่งที่จะมองข้ามไปไม่ได้นั้นคือความพิเศษในเรื่อง ของสี การใช้สีในงานเป็นโทนสีที่ไม่ซ้ำแบบใคร ศรีใจมักจะใช้สีเงินและสีทองแทรกหรือผสมไปกับเนื้อสีอื่นๆ มีความงามอีกลักษณะหนึ่ง
ดูแปลกตา มีเสน่ห์และดึงดูดความสนใจจากผู้ชมได้มาก จังหวะลีลาของสีและเส้นในงานภาพพิมพ์แกะไม้ทีศรีใจนำมาแสดงครั้งนี้ทำงาน ร่วมกันอย่างลงตัวและงดงาม ศรีใจ เชื่อมั่นในการทำงานศิลปะที่แสดงออกตามจินตนาการและความรู้สึกอย่างแท้จริง ชีวิตที่แวตล้อมไปด้วยธรรมชาติและ ศิลปวัฒนรรมซึ่งมีคุณค่ายิ่ง ล้วนส่งผลทางความคิดและแนวทางในการสร้างสรรค์งานที่สะท้อนสาระของจิตวิญญาณและสำนึกในความ เป็นวิถีล้านนาที่เขาภาคภูมิใจ สมพร รอดบุญ
Visual Imagination of Line, Colour and Life in Woodcut Prints of Srijai Kantawang Srijai Kantawang, an artist from Chiang Mai, has an affinity with nature and culture of Lanna, his native land. Therefore the root of his art has an association with an ongoing regional way of life, environment, and traditions. His woodcut is unique. Other than being perfectly beautiful, the essence of the works remarkably reflects the spirit and culture of a northerner. His expertise and experience in woodcut technique are displayed in the sophisticate executions, especially in his polychrome prints which derived from a single plate. The special quality of his work is not only in the story or the patterns that reflects the essence of Lanna, but also in his use of visual elements. The lines and colours which are the major components of his works have a rhythmic harmony and a well balanced discord. The tree series of Srijai are a display of seasons, the natural cyclic transformation of trees that grow new leaves, blooming flower buds that bring joy to the heart. Srijai was inspired by his living amongst nature. He has noted the rhythm of the branches, tree trunks and the curves of ancient trees from places he visited like Pagan in Myanmar and China. He recorded myriad pictures of these trees. Each tree in his art has a special character and has an interesting viewpoint. In truth, in Srijai’s heart, the trees that branched out to cover a great expanse, is associated with joyful peace. The blooming flowers that cover the tree and the surrounding areas sprang from his imagination. Srijai gathered his raw materials for print making from his surroundings. The peacock series are from the dharma scripture cabinets and ancient mural paintings in the northern temples such as Wat Phumin and Wat Phra Singha. Peacocks in his works are perfectly beautiful. The use of lines, colours and shapes reflect the happy easy life of Lanna region. Other animals like chicken and her chicks in various print sizes, insinuated the essence of nature and a simple way of life. Srijai uses the images of folk animals as a symbol of loving attachment between family members and community. His animal pictures, especially the chickens, have the postures that show happiness, cheerfulness, joyfulness. Srijai has an understanding of the way of life of these animals and is able to convey his feelings through them without having to resort to illustrating a Lanna human figure. Other than that, in the elephant series, a native animal of the north, he has invented a new form expressing the peacefulness. Vision of chicken and fish that coexist in the pictures represents the prosperity. Evidently Srijai had used the depiction of animals in
a symbolic way that is easy to understand. In another series, Srijai had expressed his firm believe in the Buddhist religion. These are pictures of Buddha in the compositions similar to that of the mural paintings. Falling flowers portrayed in the background originated from the patterns on the northern gilt scripture cabinets or mural paintings. The distinctive technique that is apparent in this series is the texture that had been intentionally scraped repeatedly onto the plate to create an atmospheric colour. Other than the characteristic lines at the heart of print making, the special quality of colour also cannot be overlooked. His use of colour scheme is unique. He often uses gold and silver interwoven into other colours making aesthetic statement that is eye catching and could very much command the attention of the beholder. The rhythmic movement of colour and line of the woodcuts in this exhibition by Srijai works together in beautiful harmony. Srijai is a firm believer of art making that sincerely expressed the imagination and true emotions. Life that is surrounded by nature and invaluable artistic culture influenced his thinking and ways of creating works that reflect the spiritual essence and the gratefulness to the Lanna tradition that he is proud to be a part of. Somporn Rodboon Text translated by U-Kaew Sanasen
IMAGINATIVE IMAGES OF LINE, COLOR AND LIFE
November in Lanna / 2012 woodcut 56 x 76 cm.
December in Lanna / 2012 woodcut 56 x 76 cm.
August in Lanna / 2012 woodcut 56 x 76 cm.
August in Lanna 2 / 2012 woodcut 56 x 76 cm.
February in Lanna / 2013 woodcut 56 x 76 cm.
January in Lanna / 2013 woodcut 76 x 56 cm.
March in Lanna 2 / 2013 woodcut 76 x 56 cm.
March in Lanna / 2013 woodcut 76 x 56 cm.
October in Lanna / 2010 woodcut 76 x 56 cm.
September in Lanna / 2012 woodcut 56 x 76 cm.
December in Lanna / 2009 woodcut 56 x 76 cm.
(left page)
June in Lanna 2012 woodcut 76 x 56 cm.
(right page)
January in Lanna / 2012 woodcut 56 x 76 cm.
May in Lanna / 2012 woodcut 56 x 76 cm.
August in Lanna / 2010 woodcut 56 x 76 cm.
November in Lanna / 2011 woodcut 76 x 56 cm.
October in Lanna / 2011 woodcut 76 x 56 cm.
July in Lanna / 2012 woodcut 56 x 76 cm.
May in Lanna / 2010 woodcut 130 x 220 cm.
December in Lanna / 2011 woodcut 130 x 220 cm.
May in Lanna / 2009 woodcut 76 x 56 cm.
September in Lanna / 2009 woodcut 76 x 56 cm.
June in Lanna / 2008 woodcut 76 x 56 cm.
April in Lanna / 2007 woodcut 76 x 56 cm.
October in Lanna / 2008 woodcut 76 x 56 cm.
August in Lanna / 2008 woodcut 76 x 56 cm.
March in Lanna / 2008 woodcut 56 x 76 cm.
July in Lanna / 2007 woodcut 56 x 76 cm.
August in Lanna / 2007 woodcut 76 x 56 cm.
October in Lanna / 2006 woodcut 76 x 56 cm.
2549 2545
2543
2541
- นิทรรศการ “จังหวะลีลา ของเสนและสี ของศรีใจ” ณ แกลเลอรี ปาณิศา เชียงใหม - นิทรรศการศิลปะภาพพิมพแกะไม “อุนอายในลานนา” ณ 9 Art Gallery/Architect Studio เชียงราย, คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม - นิทรรศการศิลปะภาพพิมพแกะไม “อุนอายในลานนา” ณ หอศิลป คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม - นิทรรศการศิลปะภาพพิมพแกะไม “ลานนาในนาโกยา” MURAZUMI GALLERY JAPAN - นิทรรศการศิลปะภาพพิมพแกะไม “ลานนาในความทรงจำ” ณ โรงแรมสวนดอยเฮาส จ.เชียงใหม - นิทรรศการศิลปะภาพพิมพแกะไม “เดือนเมษายนในลานนา” ณ เชียงใหมพาวิลเลียน จ.เชียงใหม
การแสดงผลงานศิลปกรรมกลุม 2556 - นิทรรศการ “ภาพสะทอน ของธรรมชาติ” ณ หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2555 - นิทรรศการศิลปะ “วิถีชีวิต-ธรรมชาติ และ วัฒนธรรม” ณ หอศิลปรวมสมัยอารเดล กรุงเทพฯ 2552 - นิทรรศการศิลปรรม “กลุมเจ็ดยอด” ครั้งที่ 6 ณ หอศิลป เชียงใหม จ.เชียงใหม - นิทรรศการ Mini Matters ณ Galerie N ถ.วิทยุ กรุงเทพฯ - Lanna Contemporary Art ณ ศูนยศิลปะ Pcc Art Gallery ศรีใจ กันทะวัง กรุงเทพฯ 2551 - นิทรรศการ “คนละเรื่องเดียวกัน” ของนักศึกษาปริญญาโท เกิด 29 ธันวาคม 2504 จังหวัดลำพูน สาขาจิตรกรรม ณ หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม ที่อยู 206/174 หมู 3 ต.แมเหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 - นิทรรศการ “The North Faith” 9 Thai Artists ณ หอศิลป โทรศัพท 053 839 084, 053 433 779, 053 414 250-2 วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม โทรสาร 053 414 253 - นิทรรศการ PONGDEJ & SRIJAI ณ ปาณิศา แกลเลอรี เชียงใหม e-mail srijaipun@gmail.com 2550 - นิทรรศการภาพพิมพ ระหวางคณะวิจิตรศิลป มช. และ มหาวิทยาลัย TAMA ณ Ginza Towa Gallery, Tokyo, Japan., การศึกษา คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2529 - ปวส. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ - นิทรรศการภาพพิมพ ระหวางคณะวิจิตรศิลป มช. และ 2536 - ศิลปศึกษาบัณฑิต (ภาพพิมพ) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (ปทุมธานี) มหาวิทยาลัย TAMA ณ คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2552 - ศิลปมหาบัณฑิต (จิตรกรรม) คณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหม - นิทรรศการศิลปรรม “กลุมเจ็ดยอด” ครั้งที่ 5 ณ Tita Gallery เชียงใหม สถานที่ทำงาน 2549 - นิทรรศการศิลปกรรมลานนา - ลานชาง ณ หอศิลปริมนาน นาน ผูชวยศาสตราจารย ประจำหลักสูตรศิลปะภาพพิมพ สาขา - นิทรรศการศิลปกรรม “ตามฮีต โตยฮอย สลาเมือง” ครั้งที่ 5 ศิลปกรรม คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัย ณ หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม เทคโนโลยี ราชมงคลลานนา เขตพื้นที่ภาคพายัพ เชียงใหม - นิทรรศการศิลปะภาพพิมพขนาดเล็กครั้งที่ 7/2549 ณ สาขาวิชา ศิลปะภาพพิมพ คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช การแสดงผลงานศิลปกรรมเดี่ยว มงคลลานนา วิทยาเขตภาคพายัพ (เจ็ดยอด) เชียงใหม 2556 - นิทรรศการ “จินตภาพแหงเสน สี และชีวิต” - นิทรรศการศิลปกรรมรวมสมัย 49 ศิลปนไทยในแดนลานนา ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป, กรุงเทพฯ ณ หอศิลปไตยวน เชียงราย 2554 - The 2nd Painting & Printmaking ณ Tita Gallery เชียงใหม 2548 - นิทรรศการสรวยศิลป - ศิลปนเหนือ Lanna Contemporary 2553 - Painting & Printmaking ณ Tita Gallery เชียงใหม art ณ ศูนยศิลปะ PCC Art Gallery นนทบุรี
2547
2546
2545
2544
2543
2542
2541
- นิทรรศการศิลปรรม 12 ป กลุมแปนเกล็ด (กลุมแปนเกล็ด ครั้งที่ 4) ณ Art Gallery/Architect Studio เชียงราย - นิทรรศการศิลปะภาพพิมพขนาดเล็กครั้งที่ 6/2547 ณ แผนก วิชาศิลปะภาพพิมพ คณะวิชาศิลปกรรม สถาบันเทคโนโลยีราช มงคลภาคพายัพ (เจ็ดยอด) เชียงใหม - นิทรรศการศิลปรรม “กลุมเจ็ดยอด” ครั้งที่ 4 ณ กองดีสตูดิโอ เชียงใหม - นิทรรศการศิลปะภาพพิมพขนาดเล็กครั้งที่ 5/2546 ณ นอรทเทิรน วิลเลจ ศูนยการคาเซ็นทรัลแอรพอรตพลาซา เชียงใหม - นิทรรศการภาพพิมพและวาดเสนนานาชาติ เนื่องในวาระฉลอง ครบรอบ 60 ป มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ ศูนยศิลปวัฒนธรรม เฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร นครปฐม - NEW TRADITIONAL ART “Thai - Japan”, ART CENTRE, SILPAKORN UNIVERSITY, BANGKOK. - นิทรรศการศิลปกรรม “อะไรๆ ก็ ไทยๆ” ณ ศูนยการคา เดอะ สีลม แกลเลอเรีย กรุงเทพฯ - นิทรรศการผลงานศิลปะภาพพิมพขนาดเล็ก ครั้งที่ 4 ณ แผนก วิชาศิลปะภาพพิมพ คณะวิชาศิลปกรรม สถาบันเทคโนโลยีราช มงคลภาคพายัพ (เจ็ดยอด) เชียงใหม - นิทรรศการ “ศิลปะรวมสมัยของศิลปนลานนา” ณ สุริวงศพลาซา เชียงใหม - นิทรรศการ “จิตวิญญาณลานนา” โดย 7 ศิลปนภาคเหนือ ณ หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม - นิทรรศการศิลปกรรมรวมสมัยโดยศิลปนไทย CHIANGMAI: CITY OF FINE ART / CRAFTS ที่เมือง HAMBURG ประเทศเยอรมันนี - นิทรรศการศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 45 - นิทรรศการศิลปกรรมศิลปนภาคเหนือเทิดพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนม พรรษา 6 รอบ ณ หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย เชียงใหม - นิทรรศการศิลปกรรมผูสอนศิลปะกลุมเจ็ดยอด ครั้งที่ 3 ณ หอศิลปครูเทพ เชียงใหม - ไดรับเชิญใหสงผลงานแสดงศิลปกรรม นานาชาติ ฉลองเอกราช ประเทศบังคลาเทศ - นิทรรศการ ๑๔ ศิลปนลานนา ณ โรงแรมอมารีวอเตอรเกท (ปทุมวัน) กรุงเทพฯ - ศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 44 - นิทรรศการศิลปกรรมรวมสมัย 2541 ณ บมจ. ธนาคารกสิกร ไทย สำนักงานใหญ กรุงเทพฯ - THE 4th SAPPORO INTERNATION PRINT BIENNALE EXHIBITION, JAPAN - NAGOYA INTERNATIONAL ART PRINT EXHIBITION, JAPAN - นิทรรศการศิลปกรรม “๕ คนเมือง” ครั้งที่ 2 ณ หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม
2540
2539
2538
2537 2536
2535
- ศิลปกรรม “๕ คนเมือง” ครั้งที่ 1 ณ หอศิลปผานฟา ศูนยสังคีตศิลป กรุงเทพฯ - ศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 43 ณ หอศิลปแหงชาติ กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปกรรมรวมสมัย 2540 ณ บมจ. ธนาคารกสิกรไทย สำนักงานใหญ กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปกรรมรวมสมัยศูนยศิลปพิฆเณศ 432 ณ ศูนยศิลปพิฆเณศ อาคารสยามมาลาการ เชียงใหม - นิทรรศการศิลปกรรมของศิษยเกาศิลปกรรม วิทยาเขตภาคพายัพ ครั้งที่ 3 ณ อาคารแสดงศูนยสงเสริมการสงออกภาคเหนือ เชียงใหม - นิทรรศการ “กลุมแปนเกล็ด” ครั้งที่ 3 ณ โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพฯ - ศิลปกรรมขนาดเล็ก ของศิลปนภาคเหนือ ณ อาคารแสดงศูนย สงเสริมการสงออกภาคเหนือ เชียงใหม - นิทรรศการศิลปกรรมรวมสมัย 2539 ณ บมจ. ธนาคารกสิกรไทย สำนักงานใหญ กรุงเทพฯ - การแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 42 ณ หอศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ - THE 3rd KOCHI INTERNATIONAL TRIENNIAL EXHIBITION OF PRINTS JAPAN - ศิลปกรรม SEACON SQUARE, กรุงเทพฯ - ศิษยเกาศิลปกรรม วิทยาเขตภาคพายัพ ครั้งที่ 1, เชียงใหม - นิทรรศการศิลปกรรมสัญจร “กลุมแปนเกล็ด” ครั้งที่ 2 ณ พิพิธภัณฑสถานแหง หอศิลป กรุงเทพฯ, หอศิลป กาดสวน แกว เชียงใหม และ หอศิลป อหิงสา เชียงราย - นิทรรศการผลงานจิตรกรรมรวมสมัยพานาโซนิค ครั้งที่ 1 สนับสนุนโดย กรมศิลปากร, มหาวิทยาลัยศิลปากร, คณะวิจิตร ศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม, คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยา ลัขอนแกน, สถาบันราชภัฎสงขลา รวมกับ บริษัท ซิว-เนชั่นแนล จำกัด - นิทรรศการศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 40 - นิทรรศการศิลปกรรมรวมสมัย 2537 ณ บมจ. ธนาคารกสิกรไทย สำนักงานใหญ กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปกรรม “กลุมแปนเกล็ด” ครั้งที่ 1 ณ หองแสดง นิทรรศการศิลปะหมุนเวียน หอศิลปศรีนครพิงค ศูนยสรรพสินคา เชียงอินทรพลาซา, เชียงใหม - การประกวดศิลปกรรม “นำสิ่งที่ดีสูชีวิต” ครั้งที่ 5 ป 2536 สนับสนุนโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร, คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย เชียงใหม, คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, วิทยาลัยครู สงขลา, วิทยาลัยศิลปหัตถกรรม นครศรีธรรมราช รวมกับบริษัท ในเครือโตชิบา ประเทศไทย - นิทรรศการศิลปกรรมรวมสมัย 2536 ณ บมจ. ธนาคารกสิกร ไทย สำนักงานใหญ กรุงเทพฯ - นิทรรศการภาพพิมพนานาชาติ - 7th INTERNATIONAL PRINT BIENALE VARNA 93 BULGALIA - นิทรรศการศิลปกรรมนำสิ่งที่ดีสูชีวิต ครั้งที่ 4 ของบริษัทโตชิบา
Srijai Kuntawang
1994
Born Address
1995
Tel Fax. E-mail
Lumpoon, Thailand 1961 206/174 m.3 Klongcholprathan t.Mae Heer, a.Muang Chiang Mai 50100 053 839 084, 053 433 779, 053 414 250-2 053 414 253 srijaipun@gmail.com
Education 1986 - Diploma, Rajamangala Institute of Technology Northern Campus, Chiang Mai, Fine Art Division 1993 - B.e.d. (Graphic Arts) Rajamangala Institute of Technology, Pathumthani 2009 - Master of Fine Art (Painting) Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University Present Position - Rajamangala Institute of Technology Northern Campus, Chiang Mai Department of Fine Art, Graphic Arts Division 50300 Solo Exhibitions 1998 - “April in Lanna” Chiang Mai Pavilion, Chiang Mai 2000 - “Lanna in Nagoya” Murazumi Gallery, Japan - “Remember in Lanna” Saundoi House Hotel, Chiang Mai 2002 - “Warmth in Lanna” 9 Art Gallery/Architect Studio, Chiangrai - “Warmth in Lanna” The Faculty of Fine Art Gallery Chiang Mai University 2006 - “Rhythmic Lines and Colors” at Gallerie Panisa, Chiang Mai 2010 - Painting & Printmaking at Tita Gallery, Chiang Mai 2011 - The 2nd Painting & Printmaking at Tita Gallery, Chiang Mai 2013 - “Imaginative Images of Line, Cokor and Life” at The National Gallery, Bangkok Selected Exhibition 1992 - The 4th Toshiba “Brings Good Things to Life” Art Competition 1993 - The 5th Toshiba “Brings Good Things to Lift” Art Competition 1993, Bangkok, Chiang Mai, Khonkaen - Contemporary Art Exhibition Thai Farmer Bank 1993, Bangkok - The 7th International Print Biennale Verna’ 93 Bulgaria - The 1st Exhibition by “Pankled Group” , Chiang Mai
1996
1997
1998 1999 2002 2004
2005 2006 2007
2008 2009 2012 2013
- The 40th National Exhibition Thai Farmer Bank 1994, Bangkok - The 2nd Traveling Art Exhibition by “Pankled Group” Bangkok, Chiang Mai - The 1st Panasonic Contemporary Painting Exhibition 1995 Bangkok, Chiang Mai - The 3rd Kochi International Triennial Exhibition of Prints Japan 1996 - The Seacon Square Art Exhibition, Bangkok - The 42nd National Exhibition of Art, Bangkok - Contemporary Art Exhibition Thai Farmer Bank, Bangkok - The 43rd National Exhibition of Art, Bangkok - Contemporary Art Exhibition Thai Farmer Bank, Bangkok - Mini Art Contemporary by Northern Artists, Chiang Mai - The 3rd Pankled Group Art Exhibition, Bangkok - The 3rd Northern Arts Alumni Circle Art Exhibition, Chiang Mai - The 44th National Exhibition of Art, Bangkok - Contemporary Art Exhibition Thai Farmer Bank, Bangkok - Nagoya International Art Print Exhibition, Japan - The 45th National Exhibition, Bangkok - New Tradition Arts Thai-Japan Exhibition, Bangkok - Art Exhibition 4th “Jed Yod Group” at Gong Dee Studio, Chiang Mai. - The International Print and Drawing Exhibition on the Occasion of 60th Anniversary Celebration of Silpakon University. - The 4th Art Exhibition by Paen Kled Group at 9 Art Gallery Chiang Rai. - Lanna Contemporary Art at PCC Art Gallery Bangkok. - International Print Exhibition Tokyo 2007 - Printmaking Exchange Exhibition by Chiang Mai University and Tama Art University at Ginza Town Gallery, Tokyo, Japan - Printmaking Exchange Exhibition by Chiang Mai University and Tama Art University at Faculty of Fine Arts Chiang Mai University Exhibition Hall, Chiang Mai, Thailand. - Art Exhibition “Jad Yod Group” at Tita Gallery Chiang Mai. - Different but The same by Master of Fine Art, Chiang Mai University at Chiang Mai University Art Center. - The North Faith 9 Thai Artists at Number 1 Gallery Bangkok - Art Thesis Exhibition Painting Chiang Mai University - Chiang Mai : Direrse Vision at The Art Center, 7th floore, Center of Academic Resourees Chulalongkorn University - “Way of life : nature/culture” at Ardel Gallery of modern art, bangkok - “Reflection of nature” at Chiang Mai University Art Center
ขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมพร รอดบุญ คุณ ศุภโชค อังคสุวรรณศิริ อาจารย์ อู่แก้ว สาณะเสน คุณ ธวัชชัย สมคง คุณ อลงกรณ์ หล่อวัฒนา คุณ อุกฤษฏ์ วงศ์สัมพันธ์ คุณ นรเศรษฐ์ ฆ้องเลิศ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ร้านแปนเกล็ดคอฟฟี เชียงใหม่
Photo & Catalogue by FLUKE Graphic & Design t: 0804969946 e: f luke.th@gmail.com