What a Wonderful World

Page 1

What a Wonderful World พงศ์เดช ไชยคุตร PONGDEJ CHAIYAKUT

A


B


What a Wonderful

World พงศ์เดช ไชยคุตร Pongdej Chaiyakut

6 - 31 January 2021 ณ พิพิธภัณฑ์ศิลปะเชียงใหม่

at ChiangMai Art Museum

1


What a Wonderful World, 2019 Printmaking 68 x 58 cm 2


What a Wonderful World นิทรรศการ “What a Wonderful World” ครั้งนี้ เป็นนิทรรศการศิลปกรรมต่อเนื่องจาก “What’s Up” ซึ่งได้แสดงเผยแพร่ผลงาน “ศิลปะภาพพิมพ์ Installation” จ�ำนวน 200 ชิ้น เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ณ หอนิทรรศการศิลปะราชด�ำเนิน กรุงเทพ ของส�ำนักงานศิลป วัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม โดยได้รับเกียรติจาก นายชวน หลีกภัย ประธาน สภาผู้แทนราษฎร เป็นประธานในพิธี สถานการณ์ของโลกและประเทศไทยยุคปัจจุบัน เกิดความสับสน วุ่นวาย (Chaos) อย่างไม่ เคยมีมาก่อน สภาพสังคม เศรษฐกิจ และจ�ำนวนประชาการของโลก ตลอดจนทรัพยากรที่ ถูกน�ำมาใช้อย่างมหาศาล จน “สมดุลย์” ของโลกเปลี่ยนแปลงไปอย่าง “รุนแรง” ผลงานชุด “What a Wonderful World” ต้องการแสดงให้เห็นถึง “สภาพจิตใจของ ผู้คน” ในสังคมปัจจุบัน “จิตใจที่ผิดปกติ” “ความซึมเศร้า” “โรคจิตวิตถาร” ด้วย “ใบหน้า” ล้อเลียนค�ำกล่าวที่ว่า “What a Wonderful World” ซึ่งมิได้เป็นจริงอีกต่อไป ขอขอบคุณ ส�ำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย, ChiangMai Art Museum อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ ที่มอบโอกาสการแสดงผลงงานครั้งนี้, คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย บรูพา, อ.อินสนธิ์ วงศ์สาม ศิลปินแห่งชาติที่ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดนิทรรศการ, อ.พิชัย นิรันดร์ ศิลปินแห่งชาติที่ให้การสนับสนุนและเป็นก�ำลังใจ, ศ.ดร.ชัยยศ อิษฎ์วรพันธุ์ กรุณาเขียนบทความ, ผศ.สมพร รอดบุญ ได้กรุณาเป็น Curator งานครั้งนี้ และขอขอบคุณ ครอบครัวและเพื่อนศิลปินทุกท่าน

พงศ์เดช ไชยคุตร

3


Graphic Double : A Satirical Narrative of Pongdej Chaiyakut’s Graphic Arts ชัยยศ อิษฎ์วรพันธ์ุ ภาควิชาทฤษฎีศิลป์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มกราคม 2020 Chaiyosh Isavorapant Department of Art Theory Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts Silpakorn University January 2020 มีข ้ อสั งเกตหนึ่ งในงานภาพพิม พ์ของพงศ์เดช ไชยคุตร ชุด พ.ศ. 2561-2562 ซึ่งเกิดขึ้นตั้งแต่แรกชม คือภาพไม่ค่อยจบใน ตั ว เองหรื อ ความหมายของภาพไม่ ไ ด้ ถู ก กั ก เก็ บ ไว้ ใ นกรอบ ภาพหนึ่งๆ อย่างสมบูรณ์ตามที่ควร เป็นที่ทราบกันดีว่าภาพไม่ ว่าจะเป็นจิตรกรรมหรือภาพพิมพ์นั้นโดยทั่วไปศิลปินมักจะมี ความคาดหวังให้มีความสมบูรณ์แบบในตัวเองสอดคล้องไปกับ เทคนิคในการสร้างสรรค์ การที่ภาพจบสมบูรณ์แบบในตัวเอง ก็สอดคล้องกับวัฒนธรรมการอ่านภาพในปัจจุบันที่คาดหวัง เนื้อหาและรูปแบบท�ำงานร่วมกันในภาพหนึ่งๆ อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามความไม่สมบูรณ์ ก็มีข้อดีในตัวเองคือผู้ชมจะมอง หาภาพต่อไปเพื่อสร้างความหมายเพิ่มเติม ลักษณะดังกล่าว เกิดขึ้นเพราะหลากหลายปัจจัยดังมีข้อสังเกตดังนี้ ข้อสังเกตแรกคือหลายภาพในงานชุดนี้ไม่ค่อยมีฉากหลัง เปิด โล่งเป็นพื้นที่ว่างๆ สีขาวหรือสีด�ำโดยมีตัวรูปลอยอยู่ในพื้นที่ ดังกล่าว แม้การเปิดพื้นที่ว่างจะทรงความส�ำคัญในจิตรกรรม ในบางวัฒนธรรม เช่น กรณีภาพเขียนหมึกด�ำในวัฒนธรรมจีน และญี่ปุ่น แต่ในทางกลับกันฉากหลังส�ำคัญมากในวัฒนธรรม การน�ำเสนอเรื่องราวด้วยภาพเขียน ทั้งจิตรกรรมตะวันตกและ จิตรกรรมไทยต่างก็ต้องการฉากหลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาพ ที่มีเรื่องราวเป็นตัวก�ำหนดความหมายของภาพ (ในแง่ตรงข้าม กับภาพนามธรรม) และมีลักษณะการวาดเน้นการเลียนแบบ ความจริงที่เข้มข้นอย่างมากตั้งแต่สมัยเรอเนสซองส์เป็นต้นมา ภาพแบบนี้ต้องการฉากหลังเป็นที่สุดเพราะเป็นตัวก�ำหนดพื้นที่ และเวลาของตัวภาพ แน่นอนว่าภาพชุดนีข้ องพงศ์เดชมีลกั ษณะ เลียนแบบความจริงสูง เราอ่านสัญญะของภาพได้ชัดเจนว่าสื่อ ความถึงใคร สัตว์ชนิดใดหรือกระทั่งตัวอักษรที่ปรากฏ แต่การ ขาดฉากหลังท�ำให้งานชุดนี้ไม่มีจุดพิกัดที่แน่นอน ล่องลอยอยู่ ในพื้นขาวหรือด�ำที่การอ่านพื้นที่และเวลาเป็นไปได้ยากยิ่ง เรา รูว้ า่ ศิลปินวาดอะไรหรือใครแต่เราไม่คอ่ ยเข้าใจว่าตัวละครต่างๆ ในภาพท�ำอะไรอยู่ที่ไหนเวลาใด ผู้ชมมีอิสระ ในการตีความ ข้อสังเกตที่สองคืองานชุดนี้มีตัวอักษรหรือข้อความเป็นส่วน ประกอบจ�ำนวนมาก โดยปกติตัวอักษรและภาพท�ำหน้าที่แตก ต่างกันและท�ำให้ผู้ชมอ่านกันคนละแบบ งานศิลปะที่เน้นแนว

4

One of the distinctive characteristic shown in Pongdej Chaiyakut 2019’s graphic works is that the meaning in each art piece do not seem to finish in its own frame. Normally, paintings or graphic arts always define its meaning by a coherence between figure and background. A story or a narrative should be told within one single frame. The focal point of each work is time represented within space. The incompleteness of Pongdej’s works are nevertheless encouraging the viewers to enhance the meaning outside one frame. Several factors have contributed to this characteristic. First, a lot of works in this series contain no background drawings. The openness in the background is all white or black space; although, it is crucial to some painting tradition like zen ink paintings in China and Japan. On the contrary, the narrative oriented paintings in Thai or western art need background as a setting of storytelling and meaning. In western art, background plays a major role in narratively mimetic paintings since the Renaissance as a space and time frame. Pongdej’s works are mimetic in the sense of likeness in the drawing. The viewers has no problem reading the images whether it is a person, an animal or a word. However, the lack of background in several pieces of works sets the place and time in an indefinite coordinate. We could definitely read the meaning of each figure but hardly understand the action or the story. Second, this series of graphic works is a combination of words and images. Generally, images and words work in different ways. Images give perception because they are more or less similar to the outside world but words are conventions made up inside a particular culture. Conceptual art plays with the idea that


ความคิดมากกว่ารูปแบบใช้ลูกเล่นนี้บ่อยครั้ง ตั้งแต่ประโยค Ce ci n’est pas une pipe ในงาน The Treachery of Images (1929) โดย เรอเน่ มากริตต์ ที่ให้ประโยคหนึ่งๆ ตั้งค�ำถามเกี่ยว กับการเลียนแบบความจริง (mimesis) และการลวงตาของ ภาพ ตัวอักษรในกรณีนี้จึงมีบทบาทในการตั้งค�ำถามเกี่ยวกับ ความหมายของจิตรกรรม One and Three Chairs (1965) ของ โจเซฟ โคสุต ที่ให้บทบาทของการอ่านตัวอักษรเป็นศูนย์กลาง ของการก�ำหนดความหมายของงานศิลปะ งานทั้งสองชิ้นนี้ เป็นตัวอย่างของการเล่นกับความคาดหมายของผู้ชมในการ ตั้งสมมติฐานว่างานศิลปะชิ้นหนึ่งๆ มีความหมายอย่างไร ตัวอักษรในงานของพงศ์เดช มักท�ำหน้าที่ก�ำกับความหมาย กับการส่งต่อความหมาย (relay) ไปพร้อมๆ กัน ตัวอย่าง ประโยคเช่น we live in a nation where ในภาพ Untitled 2019 (2019) เหมือนกับเป็นประโยคเริ่ม ต้นที่เชื่อมต่อตัวเอง เข้ากับประโยคอื่นในภาพอื่นๆ เช่น universities destroys knowledge (สะกดตามภาพ) ในภาพ Untitled 2019 (2019) กระตุ้นผู้ชมให้อ่านความหมายต่อเนื่องกับภาพอื่นๆ ในชุด เดียวกันอีกหลายภาพ การสร้างภาพให้ต่อเนื่องอาจจะเป็น สาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้ศิลปินไม่ต้องควบคุมให้ภาพมีความหมาย สมบูรณ์ ในตัวเองมากนัก นอกจากนี้ยังท้าทายให้ผู้ชมหาความ ต่อเนื่องด้วยตัวเอง ข้อสังเกตสุดท้ายเกี่ยวกับงานชุดนี้คือ “ความดุดัน” ของลาย เส้น ทั้งนี้การตัดสินใจใช้สีด�ำกับเทคนิคการพิมพ์ แม่พิมพ์โลหะ ที่อาจจะมีข้อจ�ำกัดในตัวเอง แต่เราต้องไม่ลืมว่าศิลปินเป็นหนึ่ง ในยอดฝีมือภาพพิมพ์ที่เป็นเลิศใน ทางเทคนิคตั้งแต่สมัยยัง เรียนไม่จบและเมื่อเริ่มเข้าสู่ยุทธจักรใหม่ๆ การลดทอนเทคนิค แบบช่างฝีมอื ทีล่ ะเลียดกับรายละเอียด (ทัง้ เพือ่ ความเพลิดเพลิน เจริญใจของตนเองและส�ำหรับผู้ดูที่จะได้ละเลียดสายตา) แล้ว น�ำเสนอภาพด้วยลายเส้นที่เข้มข้นล้วนท�ำให้เราเข้าถึงเนื้อหา หรืออารมณ์ความพลุ่งพล่านของแต่ละภาพได้มากขึ้น เรียก ได้ว่าศิลปินละทิ้งงานช่างฝีมือของงานศิลปะระดับสูงแล้วมา น�ำเสนอประเด็นเป็นหลักและประสบผลส�ำเร็จอย่างงดงาม เมื่อเปรียบเทียบกับศิลปินแบบเชอร์รี เลอวีน (Sherry Levine) ศิลปินหญิงผู้นี้ต่อต้านแนวคิดของการ “สร้าง” งานศิลปะและ ชูประเด็นแบบโพสต์โมเดิร์นด้วยวิธีแอพโพรพิเอตผลิตซ�้ำตัว งานที่เคยมีแล้ว ยกตัวอย่างภาพ After Walker Evans#7 ภาพถ่ายภาพนี้เป็นการผลิตซ�้ำภาพถ่ายต้นฉบับโดย Walker Evans หนึ่งในศิลปิน ภาพถ่ายที่เป็นไอคอนของสหรัฐอเมริกา ภาพต้นฉบับนั้นถือก�ำเนิดขึ้นในบริบทของการถ่ายภาพความ ยากจนในช่วงเศรษฐกิจตกต�่ำ ในภาพที่แม้จะมีลักษณะแบบ สารคดีถูกศิลปินจัดองค์ประกอบภาพอย่างประณีตและล้าง อัดภาพด้วยเทคนิคชั้นเลิศท�ำให้ได้ภาพที่คมชัด มีคุณภาพทาง สุนทรียศาสตร์แบบศิลปะชั้นสูง มีคนตั้งข้อสังเกตว่าในภาพที่ เลอวินแอพโพรพิเอตขึ้นนั้นท�ำให้คุณภาพเหล่านี้หายไป แต่ คุณภาพทางสุนทรียศาสตร์ที่หายไปนั้นท�ำให้ผู้ชมจึงสามารถ

always makes the viewers astonishingly perplexed. The sentence “Ceci n’est pas une pipe” in Rene Magritte’s “The Treachery of Images” (1929) has been known for one of the best examples of how mimesis and the illusion of image in art can play with the viewers. Words, in this case, thus define (or refuse) the meaning of image. Joseph Kosuth’s “One and Three Chairs” (1965) lets words play a central role in defining the art piece. These works are examples of how the artist plays with the viewer’s assumption of the relationship between images and words. In the case of Pongdej’s graphic art, words always define the meaning of each artwork and simultaneously relay its meaning to the other images. The latter means that the meaning of a specific image could be connected to the other. The sentence “We live in a nation where” in “Untitled 2019” (2019) works as a starting sentence that relay the meaning to another one. The sentence “universities destroys knowledge” (spell as the same as it shows on the artwork itself) can link to the sentence “We live in a nation where” and possibly connected to the other sentences in the other artworks as well. The result is that several artworks in this series has an open meaning which encourage the viewers to freely connect them together. The last remark is the style of the drawing. All drawings in this series are aggressive expressed. They look like sketches rather than a finished work. The artist’s technique may be intentionally limited as we have already learnt that Pongdej is one of the most prolific artists in etching for more than 30 years. The minimisation of a refined technique (for the pleasure of the artist himself or the feast to the eyes of the viewer) resulted in a burst out expression and the aggressive attitude. Focusing on the content apart from its beauty, it could be clearer to explain comparing Pongdej’s works to Sherry Levine’s. In one of her thoughtful ideas, the postmodernist artist defied the idea of “making” art and appropriated the existing art piece instead. Reproducing the original work “After Walker Evans#7” (1981), Levine has raised an issue of people in the photograph on the contrary of the quality of the photograph. Because Levine’s reproduction has diminished the original fine print qualities, it encourages us to concentrate on the subject matter of the image. (Terry Barrett. Criticizing 5


โฟกัสกับประเด็นเรื่องผู้คน (ที่ไม่ปรากฏตัวในภาพ) ได้เต็ม ที่ แ ละชวนให้ เ ข้ า ถึ ง ประเด็ น ที่ ต ้ อ งการมากกว่ า งาต้ น ฉบั บ เสียอีก (Terry Barrett. Criticizing Art: Understanding then Contemporary. 3rd edition, 2012. McGraw-Hill p.41) นอกจากนี้การที่ภาพเน้นสีด�ำก็ท�ำให้มีลักษณะตรงกันข้ามกับ ภาพส่วนใหญ่ในชีวิตปัจจุบันที่เป็นสีตามธรรมชาติ ไม่ว่าเมื่อเรา ชมภาพผ่านสื่อแบบโทรทัศน์หรือสมาร์ตโฟนของเราเองก็ตาม ในแง่นี้การโฟกัสที่ตัว “สื่อ” ก็จะเด่นขึ้นด้วย อาจจะกล่าว ตั้งแต่ตอนนี้ว่าท�ำให้ภาพมีลักษณะเป็นคอมิกส์หรือการ์ตูนช่อง ที่มีลักษณะเด่นหนึ่งคือถูกจ�ำกัดด้วยเทคนิคท�ำให้มักจะพิมพ์ เป็นขาว-ด�ำ และผู้อ่านก็ยอมรับขนบของการไม่มีสีสันของ คอมิกส์ได้ (ส่วนใหญ่ของคอมิกส์เป็นเช่นนี้ แม้ว่าจะมีคอมิกส์ แบบสี่สีแต่ก็เมื่อมีราคาแพงมากๆ) เมื่อรวมข้อสังเกตดังกล่าวเข้าด้วยกันชวนให้คิดว่ามีแนวทาง ในการอ่านผลงานชุดนี้อย่างเป็นรูปธรรมมากกว่าการพยายาม พิจารณาตัวภาพในฐานะภาพหนึ่งๆ เท่านั้น นักประวัติศาสตร์ ท่านหนึ่งได้ชี้ให้เห็นว่าในประวัติศาสตร์ของวรรณกรรมชั้นสูง มีวรรณกรรมชั้นต�่ำหรือวรรณกรรมพื้นบ้านที่มีเนื้อหาย้อนแย้ง วรรณกรรมดังกล่าวมีรูปแบบของการประพันธ์ที่ไม่ละเอียด ถี่ถ้วนเท่า อยู่บนเส้นแบ่งระหว่างความมีสาระกับความไร้สาระ ความมีเหตุผลกับไม่มีเหตุผล เหตุที่เกิดวรรณกรรมเช่นนี้สาเหตุ หลักเพราะงานเขียนชั้นสูงต้องมุ่งเน้นน�ำเสนอภาวะอุดมคติของ เรื่องเล่า (ไม่ว่าจะเป็นวรรณกรรมหรืองานเขียนประวัติศาสตร์ ก็ตาม) การอยู่บนหลักของเหตุผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณี งานเขียนประวัติศาสตร์ที่ถือกันว่าต้องมีทัศนะแบบวัตถุวิสัย และความเป็นกลางทางความคิด ไม่มุ่งเร้าความรู้สึกหรือสร้าง ความบันเทิง เมื่อวางต�ำแหน่งของตัวเองไว้แบบนี้ งานเขียน ประวัติศาสตร์และวรรณกรรมชั้นสูงจึงไม่สามารถพูดถึงความ ย้อนแย้งในประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ส�ำคัญที่ไม่สามารถอธิบาย ด้วยตรรกะแบบนี้ได้ วรรณกรรมคู่ขนานที่ล้อเลียนหรือเสียดสี จึงเป็นทางออก งานวรรณกรรมเหล่านี้ถูกดูดกลืนเข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งของวรรณกรรมหลักนั่นเอง ในการศึกษาเช่นโดยมิคา อิล บัคห์ตนิ หรืออีรคิ ออเออร์บาคห์ จะดึงส่วนเหล่านีอ้ อกมาชีใ้ ห้ เห็นและนิยามว่ามีลักษณะล้อเลียนและเสียดสี (comic-ironic, contre-partie) ค�ำกล่าวสรุปที่ว่า “สิ่งใดก็ตามจะปรากฏออกมาเป็นจริงเป็นจัง ได้ ก็ต่อเมื่อมีคู่ล้อเลียนชวนหัว (comic double) ตามมาด้วย” นั่นเพราะ “...รูปแบบการประพันธ์ที่สูงส่งกว่านั้นไม่เพียงพอ ที่จะน�ำเสนอเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ อันซับซ้อนได้ ทางหนึ่ง เป็นเพราะรูปแบบการประพันธ์ที่จริงจังนั้นยึดติดกับมโนทัศน์ บางอย่างเช่นเรื่องของ วีรกรรม ผู้กระท�ำ และความชัดเจนใน ศีลธรรมของเหตุการณ์ ไม่อาจจัดการกับเรื่องราวของการถูก กระท�ำหรือการเป็นเหยื่อและความก�ำกวมทางศีลธรรมดังเช่น อาชญากรรมต่อมนุษยชาติในศตวรรษที่ 20 ได้ ความย้อนแย้ง ดังกล่าวนอกจากจะแสดงถึงการต่อสู้กันระหว่างรูปแบบการ 6

Art: Understanding then Contemporary. 3rd edition, 2012. McGraw-Hill p.41) The same interpretation could be seen in Pongdej’s works as well. He left no place for contemplation on the technical completion or considering on its aesthetical expression. To view his art is to focus on the issue. Another point should be considered here is that the black and white only of the images contrasts to the image quality we consume in our daily life. Again that the artworks encourage our consciousness not to look for each’s image beauty but more on their raising issues. The black and white only is an opposite side to our perception world today. Benefitted from technology such as smartphones, television screens, offset printing technique or even a colour copying machine, we live in a coloured world. The black and white in Pongdej’s works characterised themselves to one of the media which mostly has been found in black and white, comics. Comics readers accept the convention of cheap printing and mainly enjoy the story within its limit. Integrating all the notices together, to interpret the works as a series is far more understandable than to look at each piece of art as a meaningful image in itself. A historical study of Western literature has shown us that in the elevated style literature, there are always insertions of low style inside. As the name suggested, this low style literature was no sophisticate, standing between sense and nonsense, rational and non-rational. As a form of higher education the elevated literature engaged itself to a heroic and idealistic content therefore rationality is needed. Historical writing, especially, with conventions on objectivity avoids motivating the reader’s emotion and entertaining at all. The irony of satirical literature emerges to record stories opposite to the heroic and idealistic ones. In the study of Makhail Bakhtin or Eric Auerbach, the low style literature was absorbed into the elevated style and became comic-ironic form of writing. The rationality of writing could be comprehensible as it is only because there is always a comic-ironic on the opposite side. (Visarut Phungsoondara. Comics and Historical Genre: Art Spiegelman on Contemporary History. Journal of Fine Arts, Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University. Vol.1 No.1, 15 September 2013. p. 33-53.)


ประพันธ์และระหว่างลักษณะทางภาษาแล้ว ยังแสดงถึงการ ต่อสู่กันระหว่างโลกทัศน์และระหว่างการตีความประวัติศาสตร์ จากแง่มุมที่แตกต่างกันด้วย” นั้นท�ำให้เราเข้าใจบทบาทของ ด้านตรงกันข้ามว่าต่างก็ท�ำหน้าที่ส�ำคัญในโลกของการเล่าเรื่อง ที่ซับซ้อนจนเกินกว่ารูปแบบการเขียนแบบเดียวจะเล่าได้หมด (วิ ศ รุ ต พึ่ ง สุ น ทร คอมมิ ก ส์ กั บ ข้ อ เขี ย นทางประวั ติ ศ าสตร์ : ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยของอาร์ต สปีเกลแมน วารสารวิชาการ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ปีที่ 1 ฉบับที่ 1, 15 กันยายน 2556. น.33-53.) ในกรณีการ์ตูนช่องหรือคอมิกส์ก็มีตัวอย่างที่เห็นได้ชัด การ์ตูน ช่องแบบที่เราเข้าใจกันในปัจจุบันนั้นเป็นสื่อใหม่ และมีลักษณะ เป็ น สามั ญ ทั ศ น์ (stereotype) ในแง่ ที่ ถู ก คาดหมายว่ า จะ ต้องสื่อเนื้อหาที่เน้นความบันเทิง มุ่งส�ำหรับเยาวชน แต่เมื่อ การ์ตูนช่องเหล่านี้ถูกปฏิวัติให้น�ำมาเสนอเนื้อหาที่จริงจังและมี รูปแบบส�ำหรับผูใ้ หญ่มาก ขึน้ ในช่วงทศวรรษที่ 1970 เป็นต้นมา ก็กลายเป็นสื่อที่ท�ำหน้าที่เป็น comic double ของเรื่องเล่า กระแสหลักได้ อาร์ต สปีเกลแมน (Art Spiegelman เกิด 1948) เป็นหนึ่ง ในนักวาดคอมิกส์ที่น�ำเสนอเรื่องราวที่จริงจังและมักมีที่มาจาก ประสบการณ์ตรงของตนเอง ตัวอย่างเช่นคอมิกส์เรื่อง Maus (เสร็จ ค.ศ.1991) และ Maus II ที่น�ำเสนอเรื่องราวของชาว ยิวในเหตุการณ์โฮโลคอสต์จากมุมมองส่วนตัวของสปีเกลแมน และบิดา (เป็นผูร้ อดชีวติ จาก เหตุการณ์โฮโลคอสต์) ว่าเหตุการณ์ ที่เราเข้าใจพื้นฐานตรงกันนั้นมีแง่มุมอื่นๆ แฝงอยู่และน�ำเสนอ มากกว่ าข้ อเท็ จจริงทางประวัติศาสตร์ นัก ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ สนใจศึกษาผลผลิตทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับโฮโลคอสต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน Maus ซึ่งกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่าง รูปแบบการน�ำเสนอผ่านการ์ตูนชวนหัวในการน�ำเสนอความ รุนแรงในประวัติศาสตร์ ในแง่ของความตึงเครียดและไม่ลงรอย ระหว่างข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์กับการประพันธ์ที่มุ่งให้ ความบันเทิงและเสนอเรื่องเหนือจริง เพราะรูปแบบของการ น�ำเสนอด้วยภาษาชัน้ สูงนัน้ เหมาะสมและลงรอยกับเนือ้ หาของ ประวัติศาสตร์มากไปจึงไม่เกิดการกระตุ้นให้เกิดการวิพากษ์ เนื้อหาทางประวัติศาสตร์คอมิกส์แบบ Maus หรือในกรณีนี้ มีชื่อเรียกอีกค�ำหนึ่งว่า graphic novel ที่เน้นเนื้อหาที่จริงจัง กว่าจึงเป็นด้านย้อนแย้งของการเขียนประวัติศาสตร์โฮโลคอส ต์แบบทางการ เมื่อน�ำแนวคิดนี้มาอ่านสถานะการณ์โลกปัจจุบัน การที่สื่อ ประเภทต่างๆ รวมถึงโซเชียลมีเดียที่ท�ำหน้าที่บางด้านของ สื่อได้อย่างทันทีทันควัน ด้วยความ “คมชัด” ของภาพและ ข้อมูล อันนับเป็นการลงรอยกันของเนื้อหา และรูปแบบที่จะสื่อ ยังเหลือพื้นที่ใดที่จะท�ำการวิพากษ์วิจารณ์ประเด็นทางสังคม ดั ง กล่ า ว ยั ง เหลื อ รู ป แบบใดของภาพที่ จ ะท� ำหน้ า ที่ วิ พ ากษ์ วิจารณ์ประเด็นทางสังคมดังกล่าว

To put the idea into an explicit context, the 20th century holocaust event for example, could not be told by the elevated historical writing since its had no place for hero of any ideal. On the contrary, the crimes committed by human to human were far more cruel than any form of writing could be used. Thus it could explain how Art Spiegelman’s MAUS and MAUS II have gained popularity since its first published. Normally, comics is an art form with a stereotype of entertainment and children oriented. But after the revolution of comics in the 1970’s, comics became a medium that could be used to a more serious content such as politics, sex, drugs, etc. These serious comics dubbed as “comix” has became the “double-comic” since its role as comic-ironic to its predecessor, children oriented conventions, in every way possible. In MAUS and MAUS II, Art Spiegelman (born in 1948) drawn his own experience as a son of a survivor from holocaust. In his comics, the Nazi soldiers were portrayed as cats while all Jews were portrayed as mice. Formal perceptions of the holocaust event were expanded into details of how his father survived Auschwitz and became a traumatised man. In Spiegelman’s style of drawing, rough figures filled up with detailed background explicitly tell the reader about the incongruent and often paradoxical relationship between historical writing and comic books representing historical events. In contrast to the elevated style of historical writings which are unable to represent and criticise personal events, comics (or graphic novel) as MAUS and MAUS II which focus on a serious content thus became a satirical form of holocaust historical writings. In the present-day world with social media full of news and high-quality images (or sometimes moving images), contents and medias seem to work together harmoniously. There is no area for social criticising left for any medium which form of image can criticise such social situations. When official medium with such high-quality images work well along with its social attitude, is there only an art form with such an aggressively expression is able to criticise such a social situation? An art form that never have and never will become an ally with its content.

7


My Dogs, 2019 Etching 80 x 100 cm

ในเมือ่ ภาพและสือ่ มาตรฐานท�ำงานได้ในแง่มมุ เดียวคือแง่มมุ ที่ลงรอยกับข่าวสารเท่านั้น มีแต่ศิลปะหรือไม่ที่จะกระชาก หน้ากากความหลอกลวง น�ำเสนอความเป็นจริงในด้านใด ด้านหนึง่ ของสังคมได้อย่างแหลมคมทีส่ ดุ และวิพากษ์วจิ ารณ์ ประเด็นดังกล่าวได้อย่างกระทบใจที่สุดด้วยรูปแบบการ น�ำเสนอที่ดุดัน ไม่ยอมลงรอยกับเนื้อหาและรูปแบบใดๆ ในหลายๆ ภาพพงศ์เดชน�ำเสนอสัตว์หลากประเภทออก มาด้ ว ย ในบางภาพสั ต ว์ มี ฐ านะผู ้ ถู ก กระท� ำ จากมนุ ษ ย์ ดั ง เช่ น My Dogs, 2019 (2019) ในหนั ง สื อ ที่ ไ ด้ รั บ ความนิยมอย่างสูงชื่อ Homo Deus ผู้เขียนได้น�ำเสนอ ประเด็ น ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งคนกั บ สั ต ว์ เ อาไว้ อ ย่ า ง แหลมคมกว่ า มนุ ษ ย์ จ ะยอมรั บ ว่ า สั ต ว์ ก็ มี จิ ต ส� ำ นึ ก นั้ น ก็ เร็ ว ๆ นี้ เ อง กระนั้ น ก็ ต ามสั ต ว์ ยั ง ถู ก มนุ ษ ย์ ก ระท� ำ อย่ า ง โหดร้ายอยู่เป็นส่วนใหญ่ สัตว์อย่างหมู ที่เป็นสัตว์สังคม สูงถูกเลี้ยง อย่างโหดร้ายไม่สามารถมีชีวิตทางสังคมและ ความรู้สึกได้เลย ประเด็นนี้นั้นผลงาน งานของพงศ์เดช น่าจะน�ำเสนอได้แหลมคมด้วยภาพสัตว์ในแง่มุมต่างๆ เช่น ลิง หมู หมาใส่สูท คนมีนกสองหัว คนเป็นแรด หัวคนเป็น สิงห์ ซึ่งอาศัยการเปรียบเปรยแบบไทยๆ นอกจากนี้ภาพบางกลุ่มที่สามารถจัดเรียงอ่านต่อเนื่อง เช่น Bombs (4 ภาพ) กับการปรากฏภาพเหมือนของ ศิลปินบ่อย ครัง้ ทีจ่ ดุ โน้นจุดนีข้ องนิทรรศการอันท�ำให้เราอดเปรียบเทียบ 8

In Pongdej’s art, images of animals have been represented in various positions. Some of them, for example, “My Dogs, 2019” (2019) was drawn as a row of dogs in a slaughter house. The image is so crucial thus uncomfortable to look at. In a famous book “Homo Deus”, the author has shown about the relationship between human and animals. Human race has just admitted that animals also have consciousness recently. Nevertheless they are still being raised and consumed crucially. A study said that one of the animals consumed widely as pig, they too are social oriented animals. Yet, the situation of their farms has not much been improved. Animals in Pongdej’s works, images of monkeys, pigs, dogs in human suit, a human with 2 bird heads and a human with rhinoceros head encourage us to think about the issue of the relationship between human beings and animals again and again. The continuously presented 4 pieces of “Bombs” (2019) and the self portrait of the artist which appeared so frequently led us to compared the works with comics again. To tell narrative in time, comics represented the protagonists and the villains several times in several frames with various actions. In Pongdej’s works, the


My Head x (หลายหัว), 2019, Etching 80 x 100 cm

กับคอมิกส์อกี ครัง้ ไม่ได้ คอมิกส์ตอ้ งน�ำ เสนอภาพตัวละครเอกซ�ำ้ หลายครั้งในหลายกรอบภาพอันจะน�ำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลง ของเวลาและการ ด�ำเนินไปของเรื่องเล่า แม้ศิลปินอาจจะไม่ได้ ตั้งใจจะให้ภาพเหล่านี้ต่อเนื่องกัน แต่การชมภาพเหมือนกว่าสิบ ภาพในอิริยาบทต่างๆ ท�ำให้ผู้ชมอดไม่ได้ที่จะปะติดปะต่อกรอบ ภาพเหล่านี้เข้าหากันเพื่อเชื่อมโยงเรื่องราว ภาพเหมือนใบหน้า ของศิลปินตั้งแต่ใบหน้าชวนฝันไปจนกระทั่งใบหน้าที่อยู่ใน สภาพแวดล้อมที่รุนแรง ศิลปินไม่ได้ชวนให้ผู้ชมรู้จักศิลปินใน ฐานะบุคคลธรรมดา แต่ได้น�ำเสนอภาพของบุคคลที่ก�ำลังเจ็บ ป่วยในสภาพแวดล้อมที่โหดร้ายของการเมืองระดับประเทศ ปัญหาสภาพแวดล้อม คนด้อยโอกาส ฯลฯ และที่น่าจะกระทบ ใจมากที่สุดเห็นจะเป็นภาพ My Head X (2019) ที่ศีรษะ ของศิลปินถูกผ่าตามขวางแยกออกเป็นส่วนๆ บนพื้นด�ำ สนิท ชมภาพนี้แล้วราวกับตกอยู่ในฝันร้ายที่เมื่อตื่นแล้วกลับพบว่า ความจริงโหดร้ายกว่าความฝันเสียอีก ถ้าจะเปรียบเทียบกับแนวคิดเรื่อง comic double ที่การ ประพั น ธ์ รู ป แบบที่ ย ้ อ นแย้ ง กั บ การประพั น ธ์ ห ลั ก งานของ พงศ์เดช ไชยคุตร มีลักษณะเป็น graphic double ท�ำหน้าที่ ต่อต้านและย้อนแย้งกับวัฒนธรรมภาพในสังคมปัจจุบนั ทีช่ ดั เจน ว่องไว มากมาย และล้นเกิน graphic double ของพงศ์เดชนั้น ดุดันและพร้อมท�ำหน้าที่สื่อความหมายด้านที่ขาดหายไปของ สื่อรูปแบบอื่นๆ ในสังคมปัจจุบัน.

viewer inevitably view more than 10 works of his portraits as a connecting images in a time frame. From the dreaming face to the face within a harsh environment, the artist did not introduced himself as an ordinary people living in an ordinary world but more to a people who is living within a damage environment, naturally and socially. National or international politics, environmental issues, underprivileged peoples etc. have been portraying as the artist inner self. The one with the most impact could be “My Head X” (2019) in which the artist’s head was sliced into pieces floating over a strong dark background. Looking at the picture is like a nightmare that could be worse even when waking up. To compare Pongdej’s works with the idea of comic double in which its satirical, low-brow style opposite to the elevated art with aesthetic oriented. Based on the technique of graphic arts and the aggressive style of drawing, we might be able to call this series as a “graphic double”. In the world with tired and weaken of the present day media, Pongdej and his powerful without compromising images could be our way out.

9


What a Wonderful World, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

10


What a Wonderful World, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

11


Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm 12

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm


Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm 13


14

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm


What a Wonderful World, 2019 Printmaking 58 x 68 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm 15


16

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm

Untitled, 2019 Printmaking 68 x 58 cm


What a Wonderful World, 2019 Printmaking 68 x 58 cm 17


Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm 18


Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm 19


20

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm


Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

21


22

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm


Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

23


24

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm


Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

Untitled, 2019 Painting 41 x 30 cm

25


26


My Gallery, 2020 Painting and Drawing, size variable 27


28


29


PONGDEJ CHAIYAKUT BORN

21 October 1954, Bangkok, Thailand

EDUCATION 1973-78 B.F.A. Printmaking, Silpakorn University, Bangkok 1980-83 M.F.A. Printmaking, Silpakorn University, Bangkok 1987-88 Academy of Fine Art, Karkow, Poland, Under Prof. Stanislaw Wejman ADDRESS Residence 179 Moo 13, Laib Klongchonl pratan rd. Soi Wat Chang Thong. Sutep, Chiang Mai 50200 THAILAND Tel. +66 81 671 7897 Office Faculty of Fine Art, Chiang Mai University 50200. THAILAND Line Pongdej Chaiyakut facebook www.facebook.com/pongdej.chaiyakut Email pondejchai@gmail.com www.Rama9art.org/pongdej AWARD - 3rd Prize (print), 29th National Art Exhibition, Bangkok - Honerable Prize, International Art Exhibition from Bata, co.,Ltd. - Poland embassy Grant, 1987-1988 - Freeman fellowship U.S.A., 1998 (Vermont Studio Center) - Selected Artist for Project in celebration of King 6th cycle Birthday Anniversary, 1999 - Silpa Bhirasri Grant for artiist 1993–2001 - Dean of Faculty of Fine Art, Chiang Mai University 2002–2005 - Director of The Center for promotion of Art and Culture, Chiang Mai University 2010–2014 - Dean of Faculty of Fine Art, Chiang Mai University 2014 - Professor 2017 - Emeritus Professor 2018 - Bhirasri Grand 2018 30

ONE MAN EXHIBITION 2021 - One man exhibition “What a Wonderful World”, Burapha University, Chonburi. 2021 - One man exhibition “What a Wonderful World”, Chiang Mai Art Museum, Mea-oun. 2020 - One man exhibition “What’s Up” (What a Wonderful World), Rajadamnern Art Gallery, Bangkok. 2019 - One man exhibition at Maria Curie-Skłodowska University, Lublin Poland. 2016 - “The Journey of my Art” Pongdej Chaiyakut at PSG art gallery. Faculty of Painting Sculpture and Graphic art, Silpakorn University - “The Journey of my Art” Pongdej Chaiyakut at Faculty of Fine Art Gallery. Burapha University. 2015 - “The Journey of my Art” Pongdej Chaiyakut at Chiang Mai Unversity Art Center. - “The Journey of my Art” Pongdej Chaiyakut at Art Bridge, Chiang Rai. 2014 - “Where are we Going?” Chamchuri Art Gallery, Chulalongkorn University 2012 - “To be or not to be” Chiang Mai University Art Center 2010 - Chamchuri Art Gallery Chulalongkorn University, Bangkok - “The Darkness of Braegel” Chamchuri Art Gallery, Chulalongkorn University 2009 - Rim Suan Gallery, Grand Mercure Fortune Bangkok Hotel, Bangkok 2008 - 9 Art Gallery, Chiang Rai - Faculty of Fine Art Chiang Mai University 2007 - The Office of the E.U. deligation, Bangkok - Chamchuri Art Gallery, Chulalongkorn University 2006 - Royal college of Fine art Konsthogskolan Stokholm, Sweden 2003 - 9 Art Gallery, Chiang Rai 2002 - National Art Gallery, Chao-Fa, Bangkok - Chiang Mai University Art Museum, Chiang Mai 2000 - Num Thong Gallery, Bangkok 1998 - Vermont Studio Center Art Gallery, U.S.A. 1993 - Art Forum Bangkok 1988 - Youth Art Gallery, Hiroshima Prefecture Japan (Three places) EXHIBITION 2019 - Group art exhibition at Maria Curie-Skłodowska University, Lublin Poland - Faculty of Fine Art, CMU., art exhibition at Nationnal Gallery, Bangkok 2018 - Chiang Mai - Japan Arts Exhibition 2018, at Gallery Artbridge Chiang Rai (ABCR) 2017 - Artist’s Book, B.A.C.C, Bamgkok. - The Printmaking Exhibition at Mai Gallery, Nimmanhemin, Chiang Mai. - The Art Exhibition of VISUAL ART, Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University. - 8 Thai Artist Exhibition at Gallery West, Tokyo. - Art Work Shop, King Mongkut’s University of Technilogy North, Bangkok.


2016 2014 2012 2011 2010 2008 2007 2006 2005 2003 2002

- Invited Artist, The Art Exhibition by the member’s Faculty of Fine Art, Burapha University at Nationnal art Gallery, Bangkok. - 8 Thai Artist Exhibition in Warsaw, Gdansk, Poland. - “Thai & Australia Art Exhibition”, Ban Tuak, Chiang Mai. - International art Workshop Pulaukatam, Malasia. - International art Workshop Yangon, Myanmar. - “Word and Print” O Kinawa, Janpan. - “Chat” 6 Thai and 6 Australian at Canberra School of Art, A.N.U., Australia - Art Exhibition by Pongdej Chaiyakut, Kade Javanalikikorn at Studio Art Centers International SACI Gallery, Florence, Italy - Exhibition of Art on the occasion of the celebration 30th Anniversary at Bangkok Art and Culture centre and CMU Art Museum, Chiang Mai University - “The Same Rain the Same Wind 2012” at CMU Art Museum, Chiang Mai University - “The Darkness of Bruegel” Exhibition at Gallery Uesuto in Ginza Tokyo, Japan - “International Art Exchange Thailand-USA” at LA ART CORE and CMU Art Museum, Chiang Mai University - 3rd International printmaking at Bangkok Art and Culture centre. - “Confluent of 9” at the National gallery of Thailand, Choa-fa, Bangkok. - Exhibition of Art on the occasion of the celebration 30th Anniversary at CMU Art Museum, Chiang Mai University - “Okinawa – Thailand Exchange Art Exhibition” at CMU Art Museum, Chiang Mai University - “Okinawa – Thailand Exchange Art Exhibition” at Okinawa, Japan and CMU Art Museum, Chiang Mai University - Exhibition at Gallery Uesuto, Tokyo Japan - Oral Presentation “International Art Exchange” USA. - Saoh Gallery, Japan - Yuxi – Lanna Artist at Yuxi Normal University, Yunan, China - Silpakorn University association alumni, Bangkok - “Dhama” Group from Thai artist and Chinese artist Art center Silpakorn University, Khangxi, China - “The same but different” Art Exhibition by Pongdej – Hern, Art Gallery, Fine Art, CMU. - The Exhibition of Art by Thai-Cambodia Artist, Royal Academy of Fine Art, Phnom Phen, Cambodia - Two man Art Exhibition, Peerapong - Pongdej, Chowa Art Gallery, Ginza, Tokyo - The Contemporary Art Exhibition : Thai–American CMU. Art Museum, Chiang Mai - The Exhibition of Art’s Instructors, Faculty of Fine Art Chiang Mai University - Exhibition of Printmaking by Japanese and Thai Artist, Silpakon University Bangkok

- “Message from Chiang Mai Thai Contemporary Art” Tokyo, Japan 2000 - Vietnam – Thailand – Japan Contemporary Art Exchange Exhibition in Funabashi - Bangladej International Contemporary Art 1999 - 80 Northern Artist for celebration of His Majesty King’s 72 birthday - Contemporary Arts Exhibition by the 4 University of Fine Arts, Thailand - Vietnam - Invited artist “The 45th National Exhibition of arts” Bangkok - Arts Exhibition of the Association of Silpakorn University Alumni at Chiang Mai University Art Museum 1998 - 150 Northern Artist at CMU. Art Museum, Chiang Mai - Exhibition of Northern Artist at National Art Gallery, Bangkok and Chiang Mai University 1997 - “Thai – Vietnamese Art Exhibition” Hue, Hanoi, Vietnam 1996 - “Contemporary Prints from Thailand by Pongdej and Bannarak” Bathurst Regional Art Gallery Australia 1994 - Exhibition by the staff of Hue University and Chaing Mai at National Gallery, Bangkok - Exhibition by Kamol Tassananchalee and his artist friends at National Gallery, Bangkok 1992 - “A Decade of Printmaking” / “New part”, Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok - 5th International Biennial of Graphic Art, Taiwan 1991 - International Graphic Art, Soul, Korea 1990 - 1st Kochi International of Print 1990, Japan 1989 - Les Pentes thailandais Traditionels ET contemporians, Paris - From outside looking in” Usis, Chiang mai 1987 - 4th Master Piece Art Gallery Exhibition, Bangkok - “Ecole des Krakowie” Krakow, Poland - Three Man Show. Art Gallery, Warsaw Poland - International Biennial of Graphic Arts, Wagayama, Japan 1985 - 10th International Triennial of Original Prints, Grechen, Switzerland - Kuala Lumper Art Festival. Malaysia - International biennial of Print Exhibition 1986, 88, 90 Taipei, Taiwan, R.O.C. - The Contemporary Art from Asi, Fuguoka, Japan 1984 - 10th International Biellla of Graphic Art Krakow, Poland - 16th International Biellla of Graphic Art, Ljubjana, Yugoslavia 1983 - 7th International Triennial of Graphic Art. Frechen, w. Germany - Premio International Biellla Per Lincisione, Italy 1982-87 - Thai Farmer Bank contemporary Art Exhibition, Bhirasri, Bangkok 1979-89 - National Art Exhibition, Bangkok

31


คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

32




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.