นิทรรศการ โฮม Home

Page 1



GROUP EXHIBITION BY E-SAN DIAMOND JARUWAN MUEANGKHWA NARONGCHAI PRATUMMAT THAWORN KWAMSAWAT THANATHORN SUPPAKIJJUMNONG PANYA BUASUDTA SAKON MALEE SANTI SEEDARACH SUNANTA PHASOMWONG 5 October - 3 November 2019 SUBHASHOK THE ARTS CENTRE Bangkok Tel.+662 662 0299 Mail : manager@sac.gallery


ปั กหมุด นี่คงไม่ใช่การรวมตัวของกลุ่มศิ ลปินที่มีพื้นเพ หรือมีภูมิล�ำเนาจากภาคอีสานเหมือนกันเป็นครั้งแรก ชื่อกลุ่ม “เพชรอีสาน” แฝงนัยอารมณ์ขันเหมือนชื่อวงดนตรีหมอล�ำ มากกว่าจะอวดตัวว่าพวกเขาเป็นกลุ่มศิ ลปินระดับเพชร อันล�้ำค่า การรวมตัวแสดงงานร่วมกันในนิทรรศการ “Home/โฮม” ที่ภาษาอังกฤษแปลว่าบ้าน แต่ถ้าเป็นภาษาอีสาน จะแปลว่า การมารวมกัน เพื่อแสดงผลงานสร้างสรรค์ตามแนวทางของแต่ละคน ประหนึ่งว่าการแสดงงานครั้งนี้ เป็นการกระชับความสั มพันธ์ของศิ ลปิน ที่แม้ว่าผลงานพวกเขาจะสะท้อนเรื่องราวหรือแนวทางการสร้างงานเฉพาะ ตนแตกต่างกันไป แต่ทุกคนต่างมีประสบการณ์ร่วมในการโตขึ้นมาจากสถาบันการศึ กษาศิ ลปะที่กระจายตัวออกไป ตามภูมิภาคต่างๆ มาระยะหนึ่งที่นานพอจะท�ำให้สถาบันเหล่านั้นเริ่มอยากสลัดต้นแบบหรือแนวทางการเรียนการสอน ศิ ลปะที่ได้มาจากสถาบันที่มีชื่อเสี ยง แล้วพยายามสร้าง และใส่ ลักษณะเฉพาะทางสั งคมวัฒนธรรมของตนเองเข้าไป ในเวลาเดียวกับที่ผลงานสร้างสรรค์จากสถาบันศิ ลปะส่ วนภูมิภาคเริ่มเป็นที่ยอมรับ จนกลายเป็นความคาดหวังจาก ส่ วนกลาง ถ้าเรามองผ่านกิจกรรมการประกวดศิ ลปะซึ่งต้องมีเกณฑ์บางอย่างในการตัดสิ น และต้องยอมรับว่าการ ส่ งผลงานเข้าประกวดในเวทีต่างๆ เป็นทางเลือกส� ำคัญที่ท�ำให้ผลงานศิ ลปะของนักศึ กษาจากส่ วนภูมิภาคมีโอกาส ได้เป็นที่รู้จัก และมีส่วนช่วยให้เขาเหล่านั้นสามารถศึ กษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และกลายเป็นศิ ลปินที่มีชื่อเสี ยงต่อไปได้ ศิ ลปินในกลุ่มเพชรอีสานทุกคนต่างเรียนรู้การสร้างสรรค์ศิลปะจากสถาบันอุดมศึ กษาในภาคอีสาน แม้บางคนจะ ได้เข้ามาเรียนต่อในกรุงเทพฯ ในระดับทีส ่ ู งขึ้น แต่ทก ุ คนก็ตา่ งมีประสบการณ์และเคยประสบความส� ำเร็จจากกิจกรรม การประกวดมาแล้ว พวกเขาเชื่อว่าก้าวต่อไปของการท�ำงานศิ ลปะคือการหาพื้นที่ในการน�ำเสนอความคิดและผลงาน ในแบบอื่นๆ ที่ไม่อยู่ภายใต้เงื่อนไข และกฏเกณฑ์การประกวดที่ศิลปินต้องค�ำนึง สิ่ งที่เรียกว่าความต่อเนื่องในการ ท�ำงานศิ ลปะก็ไม่จ�ำเป็นต้องมองผ่านรูปแบบหรือความคิดที่มีมาก่อน เช่นเดียวกับการแสดงความเป็นอีสานที่ผู้อื่น คาดหวังก็ไม่ควรเป็นกรงที่คอยขังศิ ลปินจากภาคอีสาน เพราะวันนี้อีสานก�ำลังถูกตีความใหม่ มองใหม่จากสิ่ งที่เป็น ความคิด ไม่ว่าจะเป็นวิธีการปรับรับและพลิกแพลงตัวตนตามสถานการณ์และสภาพแวดล้อม หรือการที่วัฒนธรรม อีสานมีลักษณะเป็นของชาวบ้าน “เอามาเล่นได้” หรือเอามาสร้างสรรค์ต่อได้อย่างไม่รู้จบ โดยไม่เสี่ ยงจะถูกควบคุม เหมือนที่เกิดขึ้นกับความคิดเรื่องความเป็นไทยในหลายๆ เรื่องที่มีความเป็นของสู งและศั กดิ์สิทธิ์ ผมไม่ได้คิดว่า “เพชรอีสาน” เจ้าของงานนี้จะเป็นเพชรแท้ หรือเพชรเก๊ แต่เชื่อว่าพวกเขาจะเป็นเพชรที่กลาย มาจากกรวดแร่ทางความคิด และการใช้ทุนทางวัฒนธรรมสร้างบทสนทนาที่ไม่ใช่ความฝั นและการอยากตอกย�้ำ ความขมขื่นจากเหตุการณ์ในอดีตของอีสานอีก

ประทีป สุ ธาทองไทย มหาสารคาม


ความเป็นมาของกลุ่ม ”เพชรอีสาน” ก่อก�ำเนิด “เพชรอีสาน” ชื่อนี้อาจจะฟั งดูแล้วละม้ายคล้ายคลึงกับวงหมอล�ำน้องใหม่หรือไม่ ขอบอกไว้เลยว่าคุณคิดผิด ปฐมบทเกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของ 8 ศิ ลปินรุ่นใหม่สายเลือดอีสาน 100% อันได้แก่ ถาวร ความสวัสดิ์, สุ นันทา ผาสมวงศ์ , สกล มาลี, สั นติ สี ดาราช, ปั ญญา บัวสุ ดตา, ณรงชัย ประทุมมาตย์, ธนธร สรรพกิจจ�ำนง และจารุวรรณ เมืองขวา ศิลปินเหล่านีซ ้ ่ งึ มีผลงานผ่านหูผา่ นตาในเวทีการประกวดระดับชาติและนานาชาติมาแล้ว โดยศิลปินบางคนการันตี ด้วยรางวัลมากมาย หรือศิ ลปินบางคนก็มุ่นมั่นในวิถีทางของศิ ลปินอาชีพอย่างแท้จริง ศิ ลปินบางคนอาจจะประกอบอาชีพเป็นครู อาจารย์ แม้ว่าเส้ นทางของแต่ละคนอาจจะแยกไปตามความฝั น ความชอบ ความหลงใหลเฉพาะตน แต่ทก ุ คนก็ยงั คงมุง่ มัน ่ และทุม ่ เทให้กบ ั การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเพื่อตอบสนองต่ออารมณ์ความ รู้สึกส่ วนตนอยู่สม�่ำเสมอ จึงเกิดเป็นการรวมตัวของกลุ่มในนาม “เพชรอีสาน” เพื่อเป็นการน�ำเสนอความเป็นอัตลักษณ์ การแสดงออกเฉพาะตัวของศิ ลปินแต่ละคน ผ่านกระบวนการ เทคนิครวมถึงกลวิธีที่แตกต่างและหลากหลายภายใต้ชื่อ นิทรรศการ “โฮม/Home” The background of “E-SAN DIMOND” Here comes the existance of “Pet E-San”. This name may sound similar to or remind you of another new ordinary Mor Lam band (Northeastern-style band); however, we are sorry to tell you that you may be wrong. The prologue began from the gathering of the 8 new generation artists who are 100% E-San full blood, such as Thaworn Kwamsawat, Sunanta Phasomwong, Sakon Malee, Santi Seedarach, Panya Buasudta, Narongchai Pratummat, Thanathorn Suppakijjumnong and Jaruwan Mueangkhwa. These artists had distinguish accomplishment in the past and were experienced from the international contests. Some of these talented people are guaranteed with several winning prizes. Similarly, some of them are truly determined to pursuit and thrive in the professional career of art. Some of them are teachers and professors. Even though each one may have their own separate sets of dreams, preferences and passions, everybody shares one common interest and determination, that is the creation of art. They generally practice it in order to fulfill their personal emotions and feelings. Thus, the “Pet E-San” or “E-San Dimond” band has been formed as a representative of each artist’s unique identities. They represent it through various strategies, processes and techniques under the exhibition called “โฮม/Home”.


จารุวรรณ เมืองขวา Jaruwan Mueangkhwa 2018 ภูมิล�ำเนา Elements of City Mixed Meterial 200 x 150 cm


จารุวรรณ เมืองขวา Jaruwan Mueangkhwa 2019 บ้านของฉัน My Home Town Mixed Meterial 100 x 80 cm


ณรงชัย ประทุมมาตย์ Narongchai Pratummat 2019 แมวเป้า The cat of E-San 1 Acrylic on Canvas 90 x 80 cm


ณรงชัย ประทุมมาตย์ Narongchai Pratummat 2019 แมวโพง The cat of E-San 2 Acrylic on Canvas 90 x 80 cm


ถาวร ความสวัสดิ์ Thaworn Kwamsawat 2019 ท.ทหาร Soldier Mixed media 24 x 10 x 60 cm


ถาวร ความสวัสดิ์ Thaworn Kwamsawat 2019 สั ตว์ จินตนาการ อีสาน 1 Animals fantasy E-san No.1 Mixed media 33 x 100 x 50 cm


ธนธร สรรพกิจจ�ำนง THANATHORN SUPPAKIJJUMNONG / 2019 ควาย ๒ / “Buffalo No.2 ” พิมพ์ดีด / Typewritten on paper 80 x 80 cm


ธนธร สรรพกิจจ�ำนง THANATHORN SUPPAKIJJUMNONG / 2019 ควาย ๑ / “Buffalo No.1 ” พิมพ์ดีด / Typewritten on paper 80 x 80 cm


ปั ญญา บัวสุ ดตา PANYA BUASUDTA / 2019 ร่างสี ด�ำ / BLACK FIGURE WITH OBSESSION Mono print 50 x 50 cm


ปั ญญา บัวสุ ดตา PANYA BUASUDTA / 2019 ตัวฉัน It’s. meN Acrylic on paper 46 x 30 cm


สกล มาลี SAKON MALEE/ 2019 จิตรกรรมวิถี ชีวิต อีสาน หมายเลข ๑ E-san way of Life, Painting No.1 Acrylic and gold leaf powder 120 x 160 cm


สกล มาลี SAKON MALEE/ 2019 จิตรกรรม ไท บ้าน หมายเลข ๔ Thai ban painting No.4 Acrylic and gold leaf powder 180 x 180 cm


สั นติ สี ดาราช Santi Seedarach 2019 สั ญชาตญาณ ๑ Instinct 1 Wood Assembly and Paint 17 x 23 x 125 cm


สั นติ สี ดาราช Santi Seedarach 2019 สั ญชาตญาณ ๒ Instinct 2 Wood Assembly and Paint 26 x 34.5 x 120 cm


สุ นันทา ผาสมวงค์ Sunanta Phasomwong 2019 THE STATE OF SUFFERING (MENTAL THERAPY 2019). BODY. 3 ถักสานลวดทองเหลือง Knit, Weave brass wire 100 x 30 x 60 cm


สุ นันทา ผาสมวงค์ Sunanta Phasomwong 2019 THE STATE OF SUFFERING (MENTAL THERAPY 2019). BODY. 1 ถักสานลวดทองเหลือง Knit, Weave brass wire 100 x 30 x 60 cm


JARUWAN MUEANGKHWA

NARONGCHAI PRATUMMAT

Born in August 21, 1990 Bangkok, Thailand.

Born in December 10, 1990 Roi Et, Thailand

E-mail: ja.210833@hotmail.com/ ja.210833@gmail.com ■ Tel: +66 93 359 5153 ■ www.facebook.com/jar.jaruwan.75 ■ IG: Jarjaruwan_M Educational Background ■ 2016 M.F.A (Master of Arts) : (Painting), Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand ■ 2012 B.F.A (Bachelor of Arts) : (Painting, 2nd Class Honors), Faculty of Fine and Applied Arts, Khon Khan University, Khonkhen, Thailand Working Experience ■ 2017 – Present : Lecturer at Painting Department, Faculty of Fine and Applied Arts, SuanSunandha Rajabhat University, Bangkok, Thailand The relationship of human is linked together in many ways, including communication, telecommunication that resulting in culture, traditions and beliefs. Assimilated into various ethnic, social, community groups on earth. This set of artwork uses an element of art such as lines to create a connection from one area to another, and to create a story about beautiful civilizations. ความสั มพั นธ์รอบๆ ตั วของมนุ ษย์ เชื่ อ มโยงกั น ในหลายๆ ด้าน ทั้งกาติดต่อสื่ อสาร การโทรคมนาคม ท�ำให้เกิดวัฒนธรรม ประเพณี แ ละความเชื่ อ หลอมรวมกั น เป็น กลุ่ ม ชุ ม ชน สั ง คม ชาติพันธุ์ต่างๆ บนโลก ผลงานชุดนี้จึงน�ำเส้ นมาสร้างสรรค์เพื่อ ให้มีความเชื่อมโยงจากพื้นที่หนางสู่ พื้นที่หนึ่งจนเกิดเป็นพื้นที่ใหม่ ที่มีเรื่องเล่าทางอารยธรรมที่สวยงาม

Email: saket_oil@hotmail.com Tel: +66 65 505 2576 ■ www.facebook.com/saket.oil Educational Background ■ 2012 B.F.A Graduated Bachelor of Fine and Applied Arts (Painting), Faculty of Fine and Applied Arts, Mahasarakham University Exhibition and awards ■ 2019 Exhibition E-SAN PARADISE at Naive cafe’ in Art Chiangmai Art Museum ■ 2015 Grand prix painting contest festival “Temperate wood Products of Mae Chan” at Star garden Mae Chan, Chiang Rai The dark night in e-san Imagery of feelings from the hearsay of local people in the E-San (North East of Thailand). Which has mentioned some animals are living in the midst of the night, which are mysterious, terrifying, strange, special, or possessing some power above other animals. In addition, these animals also affect the emotional feelings, and scare people at night. “คืนเดือนดับ” จินตภาพของความรู้สึก จากค�ำบอกเล่าของผู้คนในท้องถิ่น ชนบทอีสาน ซึ่งได้กล่าวถึงสั ตว์บางชนิด ที่ออกหากินท่ามกลาง ความมืดมิดแห่งราตรีกาล เป็นสั ตว์ที่มีความลึกลับ น่าหวั่นเกรง น่าพิศวง แปลกประหลาด มีความพิเศษ หรือมีพลังอ�ำนาจบาง อย่างเหนือกว่าสั ตว์ปกติโดยทั่วไป และสั ตว์เหล่านี้ยังมีผลต่อ ความรู้สึกทางใจ สามารถท�ำให้ผู้คนหวาดกลัวได้ในยามค�่ำคืน


THAWORN KWAMSAWAT

THANATHORN SUPPAKIJJUMNONG

Born in June 9, 1986 Ubonratchathani, Thailand

Born in December 19, 1988 KhonKaen, Thailand

E-mail: thawornart57@gmail.com Tel: +66 87 456 6778

E-mail: deuan_dd@hotmail.com Tel: +66 80 462 7206

■ www.facebook.com/ThawonKobnoyKwamsawat ■ Instagram: thawornart Educational Background ■ 2016 M.F.A. (Painting Sculpture Graphic arts), Silpakorn University ■ 2011 B.F.A. (Faculty of Fine and Applied Arts), Mahasarakham University Work experiences ■ 2014-2015 : Teaching Assistants at Faculty of Fine and Aplied Arts (Program in Visual Arts B.F.A) Mahasarakham University (Thai Art) Present the shape, color, and simplicity of the northeastern folk craftsmen and create them with imagination And share the scent of local Isan ways with a new perspective รูปทรง สี สัน ความเรียบง่ายซึ่งสิ่ งเหล่านี้ได้มา จากการ แสดงออกของผลงานช่างพื้นบ้านอีสาน แล้วมาสร้างสรรค์ตอ ่ ตาม ประสบการณ์ จินตนาการ และบอกเล่ากลิ่นอายแห่งท้องถิ่นวิถี อีสาน (ใหม่)

Educational Background ■ 2016 M.F.A. (Painting Sculpture Graphic arts), Silpakorn University ■ 2012 B.F.A. (Faculty of Fine and Applied Arts), Mahasarakham University When we recall Northeast local animals, we tend to think of buffaloes. Because in the past, buffaloes were normally used for farming and ploughing the rice fields, they were so important for the way of life of E-San people. However, nowadays farmers tend to use tractors instead of buffaloes, so they are less important and forgotten. As such, I employed typewriters to visualize the image of buffaloes to my works since typewriters are important for communication in the past too. But when computers were invented and widely used, typewriters are no longer used and forgotten similar to the case of buffaloes at present. เมื่อนึกถึงสั ตว์ในภาคอีสานสิ่ งแรกๆ ที่นึกถึงคือควาย ควายเป็น สั ตว์ที่อยู่กับภาคอีสานมายาวนานเป็นสั ตว์ท่ีใช้แรงงานในการเกษตร ใช้ ไถนา ในอดีตควายจึงมีความส� ำคัญอย่างมาก ปั จจุบน ั เมือ ่ รถไถนาเข้ามา แทนที่ ควายจึงหมดความส� ำคัญ จึงน�ำเครื่องพิมพ์ดีด มาพิมพ์รูปควาย เพราะมีอะไรเหมือนๆกัน เมื่อก่อนเครื่องพิมพ์ดีดก็ได้รับความนิยมอย่าง มากแต่เมือ ่ คอมพิวเตอร์เข้ามาแทนที่ เครือ ่ งพิมพ์ดด ี จึงหมดความส� ำคัญ เฉกเช่นเดียวกันกับควายในปั จจุบัน


PANYA BUASUDTA

SAKON MALEE

Born in August 11, 1990 Nakhonphanom, Thailand

Born in July 20, 1988 Roi Et, Thailand

Email: job_fa_555@hotmail.com Tel: +66 85 659 5007 Educational Background ■ 2016 M.F.A. (Painting Sculpture Graphic arts), Silpakorn University ■ 2012 B.F.A. (Faculty of Fine and Applied Arts), Mahasarakham University My work is about shapes of obsession which is depicted for desires (passion) in the human mind. To present works on the theme of horror and insatiability of a human by created of desires (passion) forms in beautiful shape, to make people fascinated with beauty but cover-up with fearfulness, it is just an illusion trick into the trap. For this reason, I used beautiful dew-dropped shape and hidden poison to trap insect or prey. I created the shapes, developed and adjusted them with my imagination for something strange unusual shape ผลงานศิ ลปะชุดร่างสี ด�ำกับสิ่ งที่ครอบง�ำจิตใจ สร้าง ขึ้นเพื่ อแสดงให้เห็นถึงกิเลสที่อยู่ในจิตใจของมนุษย์ โดย ถ่ า ยทอดผลงานออกมาในรู ป แบบของความน่ า กลั ว และ ความไม่รู้จักพอของมนุษย์ด้วยการสร้างรูปทรงกิเลสขึ้นมา เพื่อให้เห็นถึงรูปทรงทีส ่ วยงามแพรวพราว แต่แอบแฝงด้วย ความน่ากลัวเพื่ อเป็นสิ่ งที่ล่อตาล่อใจให้หลงใหลในรูปร่างที่ สวยงาม แต่ความสวยงามนั้นมันก็แค่ภาพลวงตาที่หลอกให้ เข้าไปติดกับดัก จึงใช้ลก ั ษณะรูปทรงของต้นหยาดน�้ำค้าง ทีม ่ ี ความสวยงามในตัวของมัน แต่ซ่อนพิษร้ายเอาไว้ เพื่อดักจับ เหยือ ่ ข้าพเจ้าจึงน�ำรูปทรงมาพัฒนา โดยใช้จน ิ ตนาการเข้าไป ในรูปทรงปรับเปลี่ยนให้เกิดเป็นรูปทรงที่มีความแปลกใหม่

Email: sakon.m1988@gmail.com TEL: +66 98 269 8305 ■ www.facebook.com/sakonmalee Educational Background ■ 2011 B.F.A ( 2nd Class Honor ) Thai Art, Rajamangala University of Technology Rattanakosin (RIT) Poh – Chang, Thailand. ■ 2016 M.F.A (Thai Art ) Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts Silpakorn University Bangkok Thailand. Working Experience ■ 2017 – Present : Lecturer at Poh Chang School Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Bangkok, Thailand This painting is inspired by rural society s Lifestyle, which is based on their beliefs faith of cultural customs and traditions. In each province. There are different rules that most people heve in common. Moreover,faith of Buddhism is a light that guides and motivates people in society to live in sufficiency way, simple and helping each other which is completely matched with the way of the e-san rural society, graceful and peaceful. This is also the best staregy of creating consciousness about the pride of community way, the existence of a culture in harmony with the local people ข้าพเจ้าสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรม ทีไ่ ด้รบ ั แรงบันดาลใจมาจากวิถชี วี ต ิ ความเป็นอยู่ของผู้คนในสั งคมชนบทอีสานจากอดีตจวบจนปั จจุบัน ซึ่งมีหลัก ปฏิสัมพันธ์กบ ั ความเชือ ่ ความศรัทธา เกีย ่ วกับจารีตประเพณีวฒ ั นธรรมต่างๆ สื บทอดกันมา โดยวัฒนธรรมแต่ละพื้นถิ่นอาจมีข้อปฏิบัติแตกต่างกันออกไป ซึ่งผูค ้ นส่วนใหญ่ลว้ นมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์ไปในทิศทางเดียวกัน อีกทัง้ ความเชือ ่ ความศรัทธาเกีย ่ วกับพระพุ ทธศาสนาเปรียบเสมือนแสงสว่างน�ำทาง และกระตุ้นให้ผู้คนในสั งคมด�ำรงวิถีชีวิตแบบพอเพียงเรียบง่ายพึ่งพาอาศั ย กันตามแบบอย่างอีสานซึ่งแนบแน่นกลมกลืนและงดงามสงบสุ ขอีกทั้งเป็น กุศโลบายและปลูกจิตส� ำนึกให้เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี


SANTI SEEDARACH

SUNANTA PHASOMWONG

Born in April 16, 1988 Nongbualumphu, Thailand

Born in February21, 1987 Sisaket, Thailand

Email: santi.wood16@gmail.com Tel: +66 85 778 9143 ■ www.facebook.com/santiseedarach ■ IG; santiwoods Educational Background ■ 2016 M.F.A. (Thai Arts), Painting Sculpture Graphic arts, Silpakorn University ■ 2012 B.F.A. (Thai Arts), Faculty of Fine and Applied Arts, Mahasarakham University Work experiences ■ 2016 - Present : Teaching Assistants at Faculty of Fine and Aplied Arts (Program in Visual Arts B.F.A) Mahasarakham University (Thai Art) Everyone has a dream and imagination in a good and bad for the whole life. Instinctively stepping through the truth with courage, purposeful, and with clear goals that leading to the highest point of our life. Problems and obstacles are just a nightmare that we defire ruling to come true, whether we want to confront or keep it in our subconscious mind. If we live our lives with the wisdom and consciousness, those barriers are just imaginations. มนุษย์ทุกคนล้ วนมี ค วามคิ ดฝั น จิ น ตนาการทั้งด้านดีและ ด้านร้ายต่อการด�ำเนินชีวิตทั้งสิ้ น การก้าวข้ามผ่านความเป็นจริง ตามสั ญชาตญาณด้วยความกล้าหาญ เด็ดเดี่ยวและมีเป้าหมาย ที่ชัดเจนย่อมจะน�ำไปสู่ จุดสู งสุ ดของชีวิตที่ตนปราถณาเอาไว้ได้ ปั ญหาและอุปสรรคเป็นเพียงแค่ฝันร้ายที่ตัวเราก�ำหนดกฎเกณฑ์ ให้เกิดขึ้นจริงกับชีวิตว่าเรานั้นต้องการเผชิญหน้าหรือเก็บไว้ใน จิตใต้ส�ำนึก หากเราด�ำเนินชีวต ิ ด้วยการใช้สติและปั ญญาอุปสรรค เหล่านั้นล้วนแล้วเป็นเพียงแค่จินตนาการทั้งสิ้ น

E-mail: meen190@gmail.com Tel. +66 98 105 6656 / +66 63 726 5115 Educational Background ■ 2015 M.F.A. Master’s Degree of Visual Arts, Faulty of Fine Arts, MahasarakhamUniversity, Kantharawichai, Mahasarakham,Thailand. ■ 2011 B.F.A. Branch of Visual Arts (Painting), Faulty of Fine Arts, MahasarakhamUniversity, Kantharawichai, Mahasarakham,Thailand. Work experiences ■ 2016 - Present : Lecturer at Program in Visual Arts, Faculty of Humamities and Social Sciences, Ubonratchathani Rajabhat University, Ubonratchathani, Thailand For me, art is like “mental therapy”. The state of suffering is the work that reflects my personal attitude toward my traumatic experiences in the past such as separating from my beloved ones for a long time. Emotions are transferred through the visual element “lines” which swirl and overlap with one another as if they were relationships tied down to feelings tightly. This results in a variety of shapes of human organs which look as if they were strong but actually fragile and changeable regarding emotions and feelings. I call such things “suffering”. However, whenever I create this art work, I get the pure feeling of happiness and relaxation. Therefore, art, in my view, is the power. It’s the power of mental therapy that can change sorrow into happiness, the Power of Art Unleashed.


กลุ่มเพชรอีสาน E-san Daimond ขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประทีป สุ ธาทองไทย หอศิ ลป์ ศุภโชค ดิ อาร์ต เซนเตอร์ Thank you Asst.Prof.PrateepSuthathongthai Subhashok The Arts Centre (S.A.C.) Bangkok Tel.+662 662 0299 Mail : manager@sac.gallery

catalogue by FLUKE Graphic Design & Printing t:0804969946 www.facebook.com/flukegraphic




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.