ประกิตศิลป์ วรมิศร์ สมภพ บุตรราช เริงศักดิ์ บุณยวาณิชย์กุล ประทีป คชบัว ศักดิ์วุฒิ วิเศษมณี ประสงค์ ลือเมือง หริธร อัครพัฒน์ สุรกิจ ธรรมาสถิตย์ ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ ธีระวัฒน์ คะนะมะ สาครินทร์ เครืออ่อน พานทอง แสนจันทร์ อลงกรณ์ หล่อวัฒนา วัชระ กล้าค้าขาย อุทัย เขนย ทินกร กาษรสุวรรณ ทวีศักดิ์ ศรีทองดี ทรงเดช ทิพย์ทอง พรชัย ใจมา อานันท์ ราชวังอินทร์ ตะวัน วัตุยา มีมี่ ลิปิกร มาแก้ว ชัชวาล รอดคลองตัน สุริยา นามวงษ์ วีระศักดิ์ สัสดี ชัยวัฒน์ ค�ำฝั้น
Pakitsilp Varamisara Sompop Budtarad Reangsak Boonyavanishkul Prateep Kochabua Sakwut Wisesmanee Prasong Luemuang Haritorn Akarapat Surakit Thammasathit Thongchai Srisukprasert Teerawat Kanama Sakarin Krue-On Phanthong Saenchan Alongkorn Lauwatthana Watchara Klakhakhai Uthai Kanoey Tinnakorn Kasornsuwan Thaweesak Srithongdee Songdej Thipthong Pornchai Chaima Arnan Ratchawang inn Tawan Wattuya Myrtille Tibayrenc Lipikorn Makaew Chatchawan Rodklongtan Suriya Namwong Weerasak Satsadi Chaiwat Kamfun
Drawing for Masterpiece 2019 พไรวา ไรวา พัชราพรรณ ไรวา อนุพงษ์ จันทร ล�ำพู กันเสนาะ วิษณุพงษ์ หนูนันท์ สิโรจน์ พวงบุบผา ทนงศักดิ์ ปากหวาน กิตติศักดิ์ เทพเกาะ อนันต์ยศ จันทร์นวล สุขสันต์ วงศ์วราพันธ์ ชัยยศ จินดากุล ชัชวาลย์ วรรณโพธิ์ แคทลียา พันธ์โตดี จักรี คงแก้ว เทพพงษ์ หงษ์ศรีเมือง โยทะกา จุลโลบล กฤปวุฒิ ประดิษฐ์ ธันวา ห้วงสมุทร จั้ง ย้อนแยง ดารากร สอนพูด วรวัช จันทร์ณรงค์ พัฒน์ดนู เตมีกุล กิตติศักดิ์ ฝั้นสาย วัชรกรนันทน์ ปัญญา จงจิตร มูลมาตย์ นฤพล บ�ำรุงเรือน เทิดธันวา คะนะมะ วันดา ใจมา
Praiva Raiva Phatcharaphan Raiva Anupong Chantorn Lumpu Kansanoh Widsanupong Noonan Siroj Phuangbubpha Thanongsak Pakwan Kittisak Thapkoa Ananyot Jannaul Suksan Wongvarapan Chaiyot Jindagun Chutchawan Wannapo Kattliya Phantodee Jakkee Kongkaew Teppong Hongsrimuang Yotaka Jullobol Kribpawut Pradit Tanwa Hungsamut Jung Yonyang Ko Willing Worawach Jannarong Patdanu Temeekul Kittisak Fansai Watcharakoranan Panya Jongjit Moolmat Naruepon Bamrungruean Terdtanwa Kanama Wanda Chaima
1
I would like to begin with the speech delivered by His Majesty the Late King Bhumibol Adulyadej, KingRama IX, “A society in which generosity and goodwill are mutually shared among its member is, therefore, filled with spirit, friendship,peace and tranquility.” Professor Silpa Bhirasri said that “One hundred pieces of art may contain only one masterpiece which triggers emotional responses, poignancy, thrill and pleasure, as well as being a source of good thoughts and deeds.” Professor Silpa also emphasized that “this is the ultimate achievement of an art exhibition.”
Drawing for Masterpiece
2019
Together, the late King’s speech and the insightful utterance of Professor SilpaBhirasri bring the overwhelming sense of how great “art and happiness” is. Art has been a crucial part of my life over the past few years. Art brings inspiration and positive impacts on my family and me so immensely that it has held me up with life’s challenges in difficult times and lightened me up in good times. It is eventually part of what allows me to know the true happiness of life. This is the precious feeling I would like to share with the people around me, including family, friends, and neighbors. With these thoughts, therefore, the project of art and communities was initiated with the hope of making art available to local communities and a homeland I reside in order to enable people to live and earn their living. Such motives were the impetus to throw this creative art exhibition entitled “Drawing for Masterpiece.” This is the
2
first exhibition of fine arts where I am a curator responsible for organizing such an artistic event. Over the 20-year experience of collecting artworks enables me to appreciate the value of art; some are so difficult to obtain, especially great artist sketches as these items are often kept private to the owners’ collection and not generally traded. The collectors may need a strong personal connection with the artists in order to obtain those pieces. Throughout this period, I have established relationships and formed bonds with several artists. I am, therefore, confident that I can introduce a great many artists to display their important drawings in this exhibition without any troubles, as I have always known that Thai artists are very cooperative and generous. A lot of unexpected things happened to me this year. Most importantly, I was greatly saddened by the sudden loss of my beloved father. That circumstance revealed to me that although there are many temples in my neighborhood, they are not well-prepared to support community activities like those in the big cities. I think the community itself has to thrive to move forward. People in the community also need to be kind and willing to help one another to make the community a pleasant place to live in. I hope that this exhibition will generate profits that can be used to improve public facilities that would be readily available to carry out essential community activities and to enhance the life quality of people in the community. As for “art” to me, every piece is priceless no matter to whom it belongs. In this exhibition, all artists ranging from
the top professionals to the young ones are engaging in displaying their artistic items. The opportunity to exhibit artworks is an issue that requires support from all parties. I imagine numerous great unknown artists are still waiting for support from all collectors and I would like to take this opportunity to invite all of you here to study and collect exclusive pieces of art. It would also be a good opportunity to support new artists. I hope that my ideas will be a tiny drop of water which will gradually refresh the art industry and enrich art potentials of the nation, a saying from Ajarn Thawan Duchanee which has always been engraved in my heart. I would like to thank all the artists who dedicated their favourite pieces of art to this exhibition for their support and kindness. They have all helped make this event as much possible and beneficial to society. Thanks for this great opportunity which allowed me to do what I love and cherish most. It gave me such an immense joy that was difficult to utter everything all at once. Special thanks to Jeng, Thongchai Srisukprasert, and Thorn-HaritornAkarapat, who provided me with the profound sense of arts. I was always happy to discuss with them about art, and because of them, I have now become a “man of arts”. I would also like to express my sincere apologies to everyone for any inconvenience caused by this exhibition. Last, but not least, I hope all of you will find one masterpiece which “provides pleasure, as well as being a source of good thoughts and deeds.” SARAN PATTAROPONG
3
ขออัญเชิญพระราชด�ำรัส พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาล ที่ ๙ ความว่า “สังคมใดก็ตาม ถ้ามีความเอือ้ เฟือ้ เกือ้ กูลกัน ด้วยความมุง่ ดีมงุ่ เจริญ ต่อกัน สังคมนั้นย่อมเต็มไปด้วยไมตรีจิต มิตรภาพ มีความร่มเย็น เป็นสุข น่าอยู่” ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี กล่าวว่า “ในงานศิลปะ ๑๐๐ ชิ้น เราอาจได้พบงานสักชิ้นหนึ่ง ซึ่งก่อให้เรา เกิดอารมณ์ ซาบซ่านสะเทือนใจ ให้ความสุข และ เป็นบ่อเกิดให้คิด ให้ท�ำในสิ่งที่ดีงาม” ท่านอาจารย์ศลิ ป์ยำ�้ ว่า “นีแ่ หละคือความส�ำเร็จในเจตนาขัน้ สุดท้าย ของการแสดงศิลปกรรม”
ภาพร่างผลงานชิ้นส�ำคัญ ๒๕๖๒
4
จากพระรา ชด�ำรัสของในหลวงรัชกาลที่ ๙ และ ค�ำพูดเรื่องศิลปะ ที่มีความหมายลึกซึ้งของ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เมื่อน�ำความ หมายของทัง้ สองประโยคมาเชือ่ มโยงกัน ท�ำให้รสู้ กึ ถึงความยิง่ ใหญ่ ของค�ำว่า “ศิลปะ และ ความสุข” ศิลปะ มีสว่ นส�ำคัญในการด�ำเนิน ชีวิตในช่ วงหลายปีที่ผ่านมา ศิลปะให้ข้อคิดและส่งผลในด้านดีให้ กับผมและครอบครัวมากมาย จนอาจจะกล่าวได้ว่า ศิลปะนั้นช่วย ส่ ง ผลต่ อ ก ารด� ำ เนิ น ชี วิ ต ให้ ไ ด้ สู ้ ฝ ่ า ฟั น อุ ป สรรคในช่ ว งเวลาที่ ยากล�ำบาก และช่วยส่งเสริมในช่วงเวลาทีม่ คี วามสุข ท�ำให้พบว่าใน ท้ายที่สุด ศิลปะก็เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เข้าใจถึงความสุขที่แท้จริง ของชีวิต . .. ผมจึงอยากส่งความรู้สึกที่มีค่านี้ต่อไปให้กับทุกคนที่ อยู่รอบๆ ตัวไม่ว่าจะเป็น เพื่อนฝูงญาติพี่น้อง ไปจนถึงคนในชุมชน และคนทีอ่ ยูร่ อบตัว จึงเกิดความคิดจะท�ำเรือ่ งศิลปะกับชุมชนขึน้ มา และอยากจะช่วยเป็นแรงผลักดันท�ำให้ศิลปะ เข้าถึงชุมชนสังคม ใน ถิ่นฐานที่ผมได้อาศัย ได้ด�ำเนินชีวิตและประกอบสัมมาอาชีพ
ด้วยเหตุผล ดังกล่าว จึงเป็นที่มาของแรงบัลดาลใจในการจัดนิทรรศการ ผลงานสร้าง สรรค์ที่ใช้ชื่อว่า “Drawing for Masterpiece” ซึ่งเป็นครั้ง แรกในการจัดงานแสดงศิลปกรรม ที่ผมได้เข้ามาท�ำหน้าที่เป็นภัณฑารักษ์ ผู้ด�ำเนินการจัดกิจกรรมทางศิลปะขึ้น จากประสบการ ณ์ ในการสะสมงานศิลปะ มากว่า ๒๐ ปี ท�ำให้ผมรู้ว่า ศิลปะบางชิ้ นนั้น เป็นผลงานที่ นักสะสมไม่สามารถจะหามาครอบครอง ได้โดยง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งงาน สเก็ตช์ชิ้นส�ำคัญของศิลปิน เพราะงาน ภาพร่างความคิดเป็นงานที่ไม่ค่อยมีการซื้อขายกันโดยทั่วไป และเป็นงาน ที่ศิลปินมักจะเก็บเอาไว้เป็นงานสะสมส่วนตัวของผู้สร้างงาน และการที่จะ ได้ผลงานลักษณะนีม้ าอยูใ่ นการครอบครองของนักสะสมนัน้ อาจจะต้องใช้ ปฏิสมั พันธ์ทดี่ กี บั ศิลปิน ซึง่ ตลอดระยะเวลาของการสะสมผลงานศิลปะของ ผมในช่วงทีผ่ า่ นมานัน้ ได้สร้างมิตรภาพ และมีความสัมพันธ์ทดี่ กี บั พีๆ่ น้องๆ ศิลปินมากมา ยหลายท่าน ซึ่งท�ำให้เกิดความเชื่อมั่นว่า จะสามารถเป็น ผู้ผสานเชื่ อมโยงให้บรรดาศิลปินได้น�ำผลงาน วาดเส้นชิ้นส�ำคัญมาร่วม จัดแสดงในครั้งนี้ ซึ่งก็เกิดขึ้นได้โดยไม่มีอุปสรรคอันใด เพราะรู้สึกตลอด เวลาว่า ศิลปินไทยของเราเป็นกลุ่มคนที่มีน�้ำใจที่สุดในประเทศ ในช่วงปีที่ ผ่านมา ได้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดกับชีวิตของผมมากมาย และที่ส�ำคัญ มีเรื่องสะเทือนใจ คือ ผมได้สูญเสียคุณพ่ออย่างกะทันหัน จากเหตุการณ์ นี้ ท�ำให้ผมได้รับรู้ว่า ชุมชนที่ผมอาศัยอยู่นั้น แม้นว่าจะมี วัดวาอารามมา กมาย แต่วัดรอบๆ ตัวของผมก็ไม่ได้มีความพร้อมในการ จัดกิจกรรมของคนในชุมชนได้เหมือนวัดใหญ่ๆ ในเมืองกรุง ซึ่งผมมีความ เชื่อว่า ถ้าเราจะก้าวไปข้างหน้า ชุมชนของเราก็ต้องก้าวไปด้วยเช่นกัน ถ้า ชุมชนของเรามีน�้ำใจเกื้อกูลเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน ทุกคนคงจะมีแต่ความสุข ผมหวังว่าการ จัดงานในครั้งนี้จะเกิดรายได้น�ำมาสร้างสิ่งที่เป็นสาธารณะ ให้ชุมชนที่ร่วมอาศัยอยู่นี้ ได้มีความพร้อมในการจัดกิจกรรมที่เป็นความ จ�ำเป็นพื้นฐา นได้สะดวกขึ้น และจะท�ำให้คนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้นไม่มากก็น้อย
“ศิลปะ” ส�ำหรั บผม มีความรู้สึกว่าผลงานศิลปะทุกชิ้นทรงคุณค่าไม่ว่าจะ เป็นผลงานของศิลปินท่านใด ซึง่ เห็นได้จากการจัดงานในครัง้ นี้ ทีม่ ศี ลิ ปิน ตั้งแต่ระดับแน วหน้าของประเทศไปจนถึงศิลปินรุ่นใหม่หลายคนที่ยังคง ต้องการช่องทาง ในการแสดงผลงาน และการให้โอกาสในวงการศิลปะ ยังคงเป็นเรื่อ งส�ำคัญที่ทุกฝ่ายต้องช่วยกันผลักดัน ผมเชื่อว่ายังมีคนดีที่มี ฝีมอื อยูอ่ กี มากทีย่ งั รอคอยการสนับสนุนจากนักสะสมทุกท่าน และผมอยาก ถือโอกาสนี้ ขอเชิญชวนให้หนั มาศึกษาเพือ่ สะสมผลงานในแบบทีแ่ ตกต่าง และยังเป็นการให้การส่งเสริมกับศิลปินรุ่นใหม่บ้างตามก�ำลัง ทัศนคติของผม.. .ขอเป็นหยดน�้ำเล็กๆ ที่จะให้ความชุ่มชื้นในวงการศิลปะ ของประเทศเพื่อให้ศักยภาพทางศิลปะของบ้านเราได้เจริญเติบโตงอกงาม ขึ้น ดั่งเช่นที่ อ.ถวัลย์ ดัชนี เคยกล่าวไว้ และเป็นค�ำพูดที่ประทับอยู่ในใจ ตลอดมา ขอขอบพระคุณ ในมิตรภาพและไมตรีจิต จากพี่น้องศิลปินทุกท่าน ที่ได้ เสียสละผลงานที่ท่านรัก และยินดีส่งเข้ามาร่วมงานในครั้งนี้ ทุกท่านได้ ช่วยให้การจัดงานครัง้ นีป้ ระสพความส�ำเร็จ และเกิดประโยชน์กบั สังคมตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งใจไว้ทุกประการ ผมขอขอบพระคุณที่ท�ำให้ได้ท�ำเรื่องดีๆ ที่ผมรัก และท�ำให้มีความสุขใจเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งไม่สามารถจะกล่าวออกมา เป็นค�ำพูดได้ทั้งหมด ผมขอขอบคุณ พี่เจง ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ พี่ธร หริธร อัครพัฒน์ ที่ให้ ความรู้ เรื่อง ศิลปะ อย่างลึกซึ้งกับผม ในเวลาที่ได้คุยกันนั้นผมมีความสุข มาก จนท�ำให้ผมกลายเป็น “คนศิลปะ” มาจนทุกวันนี้ หากการจัดงานในครั้งนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ขอกราบอภัยทุกท่าน มา ณ ที่นี้ด้วยครับ ท้ายทีส่ ดุ ผมหวังว่าทุกท่านจะพบกับศิลปะสักชิน้ นึงที่ “ให้ความสุขและเป็น บ่อเกิดให้คดิ ให้ทำ� ในสิง่ ทีด่ งี าม และ นีค่ อื ความส�ำเร็จในเจตนาขัน้ สุดท้าย ของการแสดงศิลปกรรม” ศรัณย์ ภัทโรพงศ์
5
ประกิตศิลป์ วรมิศร์ Pakitsilp Varamisara Southern trip drawing Sketch book
6
7
สมภพ บุตรราช Sompop Budtarad มัชฌิมาปฏิปทา Middie way Drawing on paper 30 x 40 cm
8
9
เริงศักดิ์ บุณยวาณิชย์กุล Reangsak Boonyavanishkul (หน้าซ้าย / left page)
Walker Ink on paper ขนาด 37 × 28 cm (หน้าขวา / right page)
Guardian Ink on paper ขนาด 37 × 28 cm
10
11
ประทีป คชบัว Prateep Kochabua เทพเจ้าองค์ใหม่ 2547 New god 2004 Acrylic on paper 29 x 21 cm ปี 2547
12
13
ศักดิ์วุฒิ วิเศษมณี Sakwut Wisesmanee (หน้าซ้าย / left page)
Self Portrait on Poster Drawing on paper 40 x 30 cm (หน้าขวา / right page)
Self Portrait on Poster Mixed Technique 70 x 50 cm
14
15
ประสงค์ ลือเมือง prasong Luemuang นายค�ำ Mr.Kham Oil on canvas 40 x 30 cm ปี 2562
16
17
หริธร อัครพัฒน์ Haritorn Akarapat (บน / top) ไม่มีชื่อ untitled Water color on paper 29.7 x 21 cm (ซ้าย / left) ไม่มีชื่อ untitled Water color on paper 29.7 x 21 cm (ขวา / right) ไม่มีชื่อ untitled Water color on paper 29.7 x 21 cm
18
19
สุรกิจ ธรรมาสถิตย์ Surakit Thammasathit (หน้าซ้าย / left page) Ai wei wei Oil on canvas 30 x 40 cm (หน้าขวา / right page) Picasso Oil on linen 40 x 40 cm ปี 2019
20
21
ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ Thongchai Srisukprasert (หน้าซ้าย / left page) ภาพร่าง นรสิงห์ 2532 Sketh of Narasimha 1989 Ink on paper 23 x 24 cm (หน้าขวา / right page) ภาพร่าง ความขัดแย้ง ครุฑยุทธนาค Sketh of Garuda capturing Naga Ink on paper 23 x 24 cm
22
23
ธีระวัฒน์ คะนะมะ Teerawat Kanama กัลยาณมิตร Good friend Drawing on paper 28 x 38 cm
24
25
สาครินทร์ เครืออ่อน Sakarin Krue-On ภาพร่างศิลปะจัดวาง อนุสรณ์แห่งการตื่นรู้ Sketch for installation-Monument of Awakening Era Ink on paper 28 x 34 cm ปี 2019
26
27
พานทอง แสนจันทร์ Phanthong Saenchan ปางไสยาสน์ Reclining posture Drawing on paper 30 x 40 cm ปี 2549
28
29
อลงกรณ์ หล่อวัฒนา Alongkorn Lauwatthana สุริยะเทพ Solar god Pen on paper 21.5 x 18 cm ปี 2533 (เป็นสเก็ตก่อนงานวิทยานิพนธ์)
30
31
วัชระ กล้าค้าขาย Watchara Klakhakhai เบญกาย...อาย Benyakai...shy Pencil on paper 40 x 30 cm
32
33
อุทัย เขนย Uthai Kanoey อวิชชา Ignorance Graphite on linen & gold leaf 21 x 30 cm ปี 2562
34
35
ทินกร กาษรสุวรรณ Tinnakorn Kasornsuwan (หน้าซ้าย / left page) ชาวนา งานชุดชาวนาได้รางวัลที่ญี่ปุ่น งานปี 1994 Farmer Awarded work at Japan 1994 Pencil EE and acrylic 24 x 32 cm (หน้าขวา / right page) สัญลักษณ์ชนบท งานชุดที่ได้ยอดเยี่ยมโตชิบา งานเก่าปี 1998 Rural symbol Awarded work First prize of Toshiba Art Exhibition 1998 Pencil EE and acrylic 27 x 37 cm
36
37
ทวีศักดิ์ ศรีทองดี Thaweesak Srithongdee Life Drawing on canvas 80 x 60 cm
38
39
ทรงเดช ทิพย์ทอง Songdej Thipthong โพธิ์ Bodhi Pen on papper 32 x 20 cm
40
41
พรชัย ใจมา Pornchai Chaima ภาพร่างเพื่อท�ำจิตรกรรมฝาผนังวัดดอยสะเก็ด ซึ่งเป็นวิทยานิพนธ์ศิลปในระดับปริญญาโท เรื่อง วัฏฏะ Sketch of Watta mural (Master of art thesis) at Doi Saket temple Water color on paper 24 x 136 cm
42
43
อานันท์ ราชวังอินทร์ Arnan Ratchawang inn Sketch Pen on paper 21 x 28 cm
44
45
ตะวัน วัตุยา Tawan Wattuya (หน้าซ้าย / left page) Walking dead watercolor on paper 30 x 45 cm ปี 2014 (หน้าขวา / right page) Last coup watercolor on paper 25 x 38 cm ปี 2014
46
47
มีมี่ Myrtille Tibayrenc Adam & Adam Oil on canvas 32 x 42 cm
48
49
ลิปิกร มาแก้ว Lipikorn Makaew The last sketch / 2005 Engraving 15 x 20 cm ปี 2548
50
51
ชัชวาล รอดคลองตัน chatchawan rodklongtan พระแม่ธรณี Mother Earth Pen and gold leaf on paper 30 x 20 cm ปี 2019
52
53
สุริยา นามวงษ์ Suriya Namwong ภาพเสก็ตต้นแบบ อวตารแห่งจิต 5 Transformation Mind 5 Pencil on paper 40 x 30 cm ปี 2019
54
55
วีระศักดิ์ สัสดี weerasak satsadi Mother Pencil on paper 21 x 36 cm
56
57
ชัยวัฒน์ ค�ำฝั้น Chaiwat Kamfun พลังความเคลื่อนไหวของครุฑยุตนาค 2556 Dynamic movement of Garuda capturing Nagas 2013 Acrylic, Pen, Pencil on paper 12 x 20 cm ปี 2556
58
59
พไรวา ไรวา Praiva Raiva Beginning Crayon on paper 80 x 110 cm
60
61
พัชราพรรณ ไรวา Phatcharaphan Raiva The dots of preparation watercolor on paper 30 x 43 cm
62
63
อนุพงษ์ จันทร Anupong Chantorn ภาพร่างลายเส้นกลุ่มเปรต Sketch of the drawing of Jinn pencil on paper 28 x 39 cm
64
65
ล�ำพู กันเสนาะ Lumpu Kansanoh The sketch of my beloved assistant house wife Drawing on paper 20 x 15 cm ปี 2015
66
67
วิษณุพงษ์ หนูนันท์ Widsanupong Noonan untitled Pencil (EE) on paper 29.7 x 21.1 cm (A4) ปี 2019
68
69
สิโรจน์ พวงบุบผา Siroj Phuangbubpha ภาพร่างต้นแบบชุดหิมพานต์ ๒ Sketch of Himmapan 2 Acrylic and gold leaf on canvas 32 x 25 cm ปี 2553
70
71
ทนงศักดิ์ ปากหวาน Thanongsak Pakwan วัฏฏะสงสาร Round of existences Pen and pencil 27 x 19.5 cm
72
73
กิตติศักดิ์ เทพเกาะ Kittisak Thapkoa ภาพร่างต้นแบบ สังสารวัฏ sketch transmigration Drawing acrylic 30 × 24 cm
74
75
อนันต์ยศ จันทร์นวล Ananyot Jannaul (หน้าซ้าย / left page)
ภาพร่างผลงาน ที่ได้รางวัลศิลปินรุ่นเยาว์ Sketch of honorable young artist award Ink on paper 11.5 x 28.5 cm (หน้าขวา / right page)
ภาพร่างผลงาน ที่ได้รางวัลเหรียญทองบัวหลวง Sketch of gold medal Bua Laung art exhibition Ink on paper 15.5 x 19.5 cm
76
77
สุขสันต์ วงศ์วราพันธ์ Suksan Wongvarapan (หน้าซ้าย / left page)
untitled Oil on acrylic board 32 x 25 cm (หน้าขวา / right page)
untitled Oil on acrylic board 32 x 25 cm
78
79
ชัยยศ จินดากุล chaiyot jindagun (หน้าซ้าย / left page)
เธอ 3, 2013 She 3, 2013 Drawing 41 x 30.5 cm (หน้าขวา / right page)
เธอ 1, 2013 She, 1 2013 Drawing 41 x 30.5 cm
80
81
ชัชวาลย์ วรรณโพธิ์ Chutchawan Wannapo บันทึกบรรยากาศจากความประทับใจและคิดถึง หมายเลข 1 Recording of the atmosphere from the impression and miss no.1 Acrylic on paper 28 x 44 cm
82
83
แคทลียา พันธ์โตดี Kattliya Phantodee Treasure 16 x 20 cm drawing on paper 2018
84
85
จักรี คงแก้ว Jakkee Kongkaew องค์จอมทัพไทย Thai generalissimo Woodcut 35 x 27 cm ปี 2018
86
87
เทพพงษ์ หงษ์ศรีเมือง Teppong Hongsrimuang สุนทรียะแห่งวัฒนธรรม Aesthetics of culture Drawing on paper 29 x 47 cm
88
89
โยทะกา จุลโลบล Yotaka Jullobol Rhinody Venus Acrylic Pen on Peper 39 x 49 cm
90
91
กฤปวุฒิ ประดิษฐ์ Kribpawut Pradit (หน้าซ้าย / left page)
Solitude painter 1 Pencil, gouache on paper 21 x 30 cm (หน้าขวา / right page)
Solitude painter 1 Pencil, gouache on paper 21 x 30 cm
92
93
ธันวา ห้วงสมุทร Tanwa Hungsamut (หน้าซ้าย / left page)
Sketch for a face for nymph, 2018 Drawing on paper 52 x 39 cm (หน้าขวา / right page)
Sketch for Apsara, 2017 Pencil on paper 78 x 52 cm
94
95
จั้ง ย้อนแยง Yonyang Groups จุลชีพ & จิตวิญญาณ Microbiome & Spirituality Acrylic on canvas 81 x 81 cm
96
97
ดารากร สอนพูด Ko Willing Alberto Giacometti Poster color 30 x 22 cm ปี 2016
98
99
วรวัช จันทร์ณรงค์ Worawach jannarong ภาพต้นแบบ เมื่อวานนี้ วันนี้ และพรุ่งนี้ Sketch Yesterday today tomorrow Drawing pencil on paper 76 x 56 cm
100
101
พัฒน์ดนู เตมีกุล Patdanu Temeekul Sketch Colored pencil 52 x 38 cm ปี 2019
102
103
กิตติศักดิ์ ฝั้นสาย Kittisak Fansai ภาพร่าง วิทยานิพนธ์ รูปขันธ์ 2017 Sketch drawing thesis corporeality 2017 Pencils, fountain pen, watercolor on paper 77 × 49 cm ปี 2017
104
105
วัชรกรนันทน์ ปัญญา Watcharakoranan Panya ภาพร่างอุปมาแห่งนารีผล Sketch Drawing NAREEPON Mixed techniques on paper 26 × 18.5 cm ปี 2017
106
107
จงจิตร มูลมาตย์ Jongjit Moolmat ดีลา-ดาลี Dila-Dalí Drawing on paper 30 x 20 cm
108
109
นฤพล บ�ำรุงเรือน Naruepon Bamrungruean Signs of life Leather carving, oil on leather 25.5 x 18 cm ปี 2019
110
111
เทิดธันวา คะนะมะ Terdtanwa kanama ท�ำลายล้าง Annihilate Drawing and gold leaf 42 x 30 cm ปี 2562
112
113
วันดา ใจมา Wanda Chaima หลบหลีกและรักษา Maneuvering and curing Pen and pencil on paper 19 x 25 cm
114
115
Everyone has origin ... men and women from different social ...with the same passion that has agreed to walk on the same path ... And they know the origination of both is two hands and one heart of women known as “Mother” “แม่” ค�ำที่ก่อเกิดวิญญาณชีวิตของลูกทุกคน และก่อเกิดแรงบันดาลใจ ให้สร้างพื้นที่ สวยงามแห่งนี้ คนทุกคนต่างมีที่มา...ชายหญิง จากต่างที่ ต่างสังคม... โคจรมาพบ กัน... ด้วยความชอบที่เหมือนกัน จึงตกลงใจที่จะสร้างสรรค์อนาคตบน เส้นทางเดียวกัน ... จุดเริ่มต้นที่ทั้งคู่ตระหนักตรงกันคือ การก่อก�ำเนิดของทั้งสองจนมาเป็น ทุกวันนี้ ต่างเริม่ มาจากสองมือและหนึง่ หัวใจของผูห้ ญิงทีเ่ รียกขานกันว่า “แม่” จากชายหญิงที่มีชีวิตที่แตกต่างกัน เมื่อทั้งคู่ตกลงใจที่จะร่วมทางเดิน เดียวกัน ...บนความต่างก็มีความเหมือนกัน และหนึ่งในความเหมือน ของทั้งสองที่น�ำมาซึ่งอาณาจักรแห่งนี้ คือความหลงใหลในงานศิลปะ และวัตถุโบราณ ทั้งคู่ต่างท่องไปทั่วทุกมุมโลกเพื่อเสาะแสวงหาสิ่งเหล่า นี้ ...แรกเริ่มเป็นเพียงของสะสม... กาลเวลาผ่านไป วัตถุเหล่านี้ ได้เพิ่ม คุณค่าในตัวเอง จนทั้งสองเห็นว่าสิ่งเหล่านี้ไม่ควรอยู่เพียงแต่ในพื้นที่ ส่วนตัว แต่คุณค่าเหล่านี้ ควรถูกแบ่งปันสู่สังคม...อาณาจักรแห่งนี้ จึง ถือก�ำเนิดขึ้น โดยเริ่มต้นจากที่ดินติดแม่น�้ำเพียงแปลงเดียว แล้วขยาย เป็นที่ดิน 11 แปลง โดยจากเจ้าของ 11 คน เมื่อรวมกันจึงมีอาณาบริเวณ เชื่อมต่อแม่น�้ำถึง 200 เมตร... จากจุดเริ่มที่ตั้งใจแสวงหาเพียงเพื่อสะสม ได้แปรเปลี่ยนเป็นการคิดแบ่งปันคุณค่าแห่งวัตถุโบราณสู่ชุมชน ในที่สุด ขยายกลายเป็นอาณาจักร บูทคี รีสอร์ท... แหล่งชุมชนวัฒนธรรมริมแม่นำ�้
116
“Mother”, the word that inspiration to create this beautiful area A young couple raised by loving mothers met and fell in love. The romance provides the meaning behind “Marnda Dee,” which literally means “good” (dee) “mother” (marnda). A common interest in art and antiques further cemented the young couple’s love. When the time goes by, these objects added value by itself. They both agree that these values should be shared to society. They became discerning collectors but they ran out of space for their acquisitions, so they built a house which also became too small. Their land grew from one parcel to 11, on which they finally built a boutique resort - the cultural communities along the river “The Marndadee Heritage”. The Marndadee Heritage’s first building has its origins in small decorative items from Sra Pathum Palace which later became The Marndadee Heritage’s logo. The four beautifully crafted door decorations are displayed as carefully as the other fine antiques. Visiting The Marndadee Heritageis truly like entering an exhibition of extraordinary, rare antiques. Many have been handed down from one generation to another and have given us the inspiration to make The Marndadee Heritage a place of historical beauty and memories. Main gate had been built during the colonial period or in the reign of King Rama V. It was removed from the royal residence in the Pratumwan area while the emblem on the top of the door inspires to create logo of The Marndadee Heritage.
แรงบันดาลใจและแนวคิดในการออกแบบ เดอะ มารดาดี เฮอริเทจ งานชิน้ นีเ้ กิดขึน้ ได้ดว้ ยความเข้าใจซึง่ กันและกันระหว่างเจ้าของ, สถาปนิก และช่างก่อสร้าง มีคณ ุ ค่า มีศลิ ปะ วัฒนธรรม และธรรมชาติ ดังนัน้ ปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ระหว่าง การออกแบบ การก่อสร้าง และการตกแต่ง จึงเป็นเสมือนเครื่องทดสอบว่าเราจะเดินฝ่ามันไปให้ถึงเป้าหมายของเราได้หรือไม่ วันแรกที่เจ้าของพาสถาปนิกมาดูที่ดิน เราเห็นตรงกันว่าเราจะสร้างหมู่บ้านล้านนาขึ้นที่นี่ เราฝันว่าเราจะสร้างสถาปัตยกรรมล้านนาแต่ละยุคสมัย ให้ผู้มาพักได้ชื่นชมกับ ความงามของวัฒนธรรมล้านนา ไม่ว่าจะเป็นการน�ำหลองข้าวที่เจ้าของสะสมไว้มาออกแบบใหม่ให้เป็นห้องพักที่อยู่ริมแม่น�้ำปิง หรือจะเป็นการออกแบบสถาปัตยกรรม ล้านนาทีม่ อี ทิ ธิพลการก่อสร้างจากจีนผสมผสาน ดังตัวอย่างทีม่ ใี ห้เห็นในย่านวัดเกต และย่านท่าแพ ในใจกลางเมืองเชียงใหม่ นอกจากนี้ ยังมีอาคารล้านนาทีม่ กี ลิน่ อาย โคโลเนี่ยลในยุคที่ฝรั่งเข้ามาท�ำการค้าขายในภูมิภาคนี้ เป็นต้น หมู่บ้านล้านนาแห่งนี้ เปรียบเสมือนตัวแทนของวัฒนธรรมล้านนา ที่ถูกสร้างขึ้นท่ามกลางธรรมชาติริมฝั่งน�้ำปิง โดยการจัดวางตัวอาคารล้อมรอบท้องนา ซึ่งเป็นวิถีชีวิต ของชาวล้านนาในอดีต เราได้วางแนวคิดใหม่ให้มกี ารดึงน�ำ้ บาดาล ซึง่ เป็นน�ำ้ ซับจากแม่นำ�้ ปิงขึน้ มากรองเก็บ และปล่อยให้ไหลผ่านท้องนาเพือ่ หล่อเลีย้ งต้นข้าวให้งอกงาม แล้วไหลกลับลงสู่แม่น�้ำปิงดังเดิมเป็นวัฏจักรธรรมชาติที่ไหลเวียนอยู่ในที่ดินผืนนี้ เป็นแนวคิดของการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่อิงแอบกับธรรมชาติ ต้นไม้ใหญ่น้อยหลายต้นอยู่ในที่ดินมาแต่เดิม เราเก็บไว้เพื่อให้สร้างร่มเงาและความร่มรื่นให้แก่ผู้มาเยือน และปลูกไม้พื้นถิ่นหลากหลายชนิดเพื่อย�้ำเตือนว่าความงดงาม แบบชาวบ้านหาได้ไม่ยากและเป็นเสน่ห์ที่ไม่มีใครเหมือน เดอะ มารดาดี จะไม่มีมนต์เสน่ห์เลยหากขาดซึ่งสิ่งของสะสมของเจ้าของที่ ตั้งใจจัดวางอย่างมีรสนิยม ของบางชิ้นประเมินค่าไม่ได้เพราะเป็นชิ้นเดียวในโลก ยังไม่รวมถึง งานศิลปะมากมายที่เจ้าของน�ำมาประดับตกแต่งอย่างลงตัว
Three style charm Perfect creative arts RICE BARN VILLA “Hlong Khao” in the Northern Thai dialect means rice barn, which resembles a one storey house with an open ground floor and a low ceilinged second floor bordered by a wooden balcony. The advances of rice storage technology have reduced the use of rice barns, which have become an architectural rarity to be preserved by those interested in Lanna tradition. The hlongkhaos of The Marndadee Heritage are well preserved and have been tastefully converted into beautiful residences, each one decorated in a unique style, with art works by leading Thai artists. The open ground floor invites guests to relax in a hammock or to dine at a table wafted by river breezes. Room Type: Presidential Rice Barn Villa, Presidential 2 Bedroom Rice Barn Villa, Executive Rice Barn Villa, Rice Barn Villa, 2 Bedroom Rice Barn Villa LANNA COLONIAL This building combines the use of bricks and timber to recreate the Lanna-European style known as “colonial” and popular during the reign of King Rama V. One of the precious décor items in this building are the antique reclaimed doors. The first floor is European in style and 2nd floor is in Oriental style, luxuriously furnished and equipped, with a Victorian-style bathtub in an open air bathroom area. In front of the building is an installation by the famous Thai artist - Mr.Thongchai Sirsukprasert. Room Type: Lanna Colonial Suite, Lanna Colonial COLONIAL ROOM There are two buildings for Colonial room, Sino Colonial and Oriental Colonial. Sino Colonial building recreates the style and mood of Shanghai in the 1940s. Oriental Colonial building decorated in a European style. Both décor features many interesting and attractive antiques. Elderly or infirm guests are particularly catered for.Sino Colonial building is adjacent to the SPA which is decorated in the same style. The special décor items are the antique Chinese style stucco above the entrances of each door portraying 4 seasons in China.
117
Share the view of the extraordinary beauty in this world The Marndadee Heritage’s first building has its origins in small decorative items from Sra Pathum Palace which later became The Marndadee Boutique Resort Chiang Mai’s logo. We believed that all entities in the world have their proper places and glory in accordance to appropriate time and era. At The Marndadee Heritage, there are more than 300 pieces of antiques and authentic artworks scattering around the resort area. Inside the room, visitors can appreciate with many masterpieces from various Thai artists. Among some artworks that are distinctive and rare to find nowadays.
แบ่งปันมุมมองของความงดงามบนโลกใบนี้ให้เราได้อิ่มเอมใจ จุดเริ่มต้นเมื่อ 10 ปีก่อนกับของสะสมชิ้นแรก คือประตูโบราณที่มีลักษณะ สถาปัตยกรรมแบบอังกฤษ 4 บาน ซึ่งเดิมอยู่ในวังเก่าใจกลางกรุงเทพฯก่อนจะ ถูกรื้อถอนแล้วเปลี่ยนเป็นศูนย์การค้าอันยิ่งใหญ่ใจกลางกรุงเทพฯ... ซึ่งประตู โบราณเหล่านีต้ า่ งมีลวดลายฉลุทสี่ วยงามเป็นเอกลักษณ์ ก่อให้เกิดแรงบันดาล ใจกลายเป็นสัญลักษณ์ของโลโก้ “เดอะ มารดาดี เฮอริเทจ” โดยได้ น� ำ ลวดลายฉลุ ข องไม้ สั ก เหนื อ บานประตู ณ อาคาร ล้ า นนา โคโลเนี่ยลจากลายฉลุครึ่งวงกลมของบานประตูนั้นมาประกบกันจึงปรากฏ เป็นที่มาของโลโก้ นอกจากนี้ที่นี่ยังคงไว้ซึ่งมรดกแห่งความทรงจ�ำในงาน ศิลปะอีกหลากหลายรูปแบบ เช่น ภาพเขียน, รูปปั้น, ประติมากรรมอรหันต์ 8, หีบโบราณ, บ่อน�้ำเก่า, ตู้โบราณ ซึ่งทุกชิ้นได้ถูกจัดวางไว้ตามจุดต่างๆ อย่าง ลงตัวเปรียบเสมือนพื้นที่แสดงงานศิลปะและวัตถุโบราณต่างๆ ซึ่งนอกจากจะ เป็นการถ่ายทอดเรื่องราวการเดินทางค้นหาสิ่งล�้ำค่าของชายหญิงสองคนแล้ว ยังเป็นการแบ่งปันความงดงามในอดีตจากทั่วทุกมุมโลกอีกด้วย ซึ่งทุกท่าน สามารถสัมผัสสิ่งเหล่านี้ได้ ณ “เดอะ มารดาดี” ด้วยความเชือ่ ว่าของทุกชิน้ บนโลกใบนี้ ต้องมีทอี่ ยูท่ เี่ หมาะสมทุกท่านจะสัมผัส บรรยากาศทีท่ รงคุณค่าของของสะสมและผลงานศิลปะมากกว่า 300 ชิน้ กันได้ ณ “เดอะ มารดาดี เฮอริเทจ”
118
Inspiration and Philosophy behind The Marndadee Heritage Project This villa sprang from the mutual understandings among three parties: the owners, the architects, and the constructors. All three of us had the same goal which was to create a unique project consisting of artistic, cultural and natural values. As a result, all the problems occurring during the plan drawing, construction, and decoration were like a big test for us to conquer as we all had the same dream to fulfil. The very first day that the project owner brought the architects to survey the property, we both agreed that a Lanna style home would be erected at its present site. The mutual dream we had was to construct different kinds of Lanna style homes for visitors to cherish Lanna cultures. We thus brought in rice storage which the project owners possessed and renovated them for accommodation situated on the Ping River. We also adapted Lanna architectural style mixed with Chinese influence like that seen at Wat Gate and Tapae areas for one of the accommodations. Lastly, there is one Lanna and Colonial style which reflected the time when westerners had their businesses in Chiang Mai. This Lanny style compound is like the representative of Lanna cultures which are surrounded by nature on the Ping River. The buildings encompass the rice fields reflecting the main old Lanna life style. We also use underground water which is seeping from
the Ping River and store it before letting it flow through the rice fields. Rice grows well from this water and it flows back to the river. This cycle of water usage is a kind of sustainable living with the dependence on nature but maintains its natural state. A few big and small trees have been where they have been and we keep them to give eternal shade to visitors. In addition, we plant native plants to remind us that the local simplicity is not hard to find and it has its own uniqueness. The Marndadee Heritage will not have its charm if there weren’t any of antique collections from the owners. They are placed in where they belong perfectly and some pieces are invaluable as they will not be found anywhere else in the world. The owners of The Marndadee Heritage are a couple who love their mothers to their heart. Thus the name of the “The Marndadee” meaning ‘good mothers’ is coined for their dream-cometrue project. The owners reflected that since they have good mothers, they become good sons and daughters. We can say that this beautiful project becomes a reality because of nature around us being the river and the goddess of land which embrace us with love, and good blessing. Finally, if we want to have a good life, we need to love our mothers, our rivers, and our land to be full humans.
119
มนต์เสน่ห์สามสไตล์ ศิลปะที่สร้างสรรค์อย่างลงตัว ความตั้งใจและบรรจงสร้างสถานที่แห่งนี้ขึ้นมาด้วยความรัก ท�ำให้ เดอะ มารดาดี เฮอริเทจได้รับรางวัล Thailand Boutique Awards 2014-2015 และ 2016-2017 ถึง 2 ปีซ้อนหลังจากเปิดบริการได้เพียงหนึ่งปี เท่านั้น ส่วนที่พักได้ถูกออกแบบให้แยกออกมาไม่ไกลจากอาคารล๊อบบี้จากประตูทางเข้าจะเจอต้นโพธิ์สูงทรงสวย ตั้งตระหง่านต้อนรับแขกทุกท่านด้วยความอบอุ่น ห้องพักทั้ง 36 ห้อง 8 รูมไทป์ ถูกออกแบบตั้งเรียงรายล้อม รอบแปลงนาออร์แกนิคไว้อย่างลงตัว อาคารสถาปัตยกรรมของเชียงใหม่ในอดีตจากแต่ละยุคสมัย ล้วนถูกผสมผสานจากอิทธิพลต่างชาติเมือ่ เข้ามา ท�ำการค้า และท�ำให้เมืองเชียงใหม่ได้มกี ารผสมผสานทางวัฒนธรรม ศิลปะ ค่านิยม รวมถึงแนวคิด ความเชือ่ ท�ำให้เกิดเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวขึน้ มาที่ เดอะ มารดาดี เฮอริเทจ ได้รวบรวมกลิน่ อายของสถาปัตยกรรมของ เชียงใหม่ยคุ อดีตมาไว้ทนี่ ี่ ห้องพักทุกห้องได้ถกู ตกแต่งจัดวางด้วยของตกแต่งและเฟอร์นเิ จอร์โบราณทีห่ ายาก ผลงานศิลปะของศิลปินไทยทีม่ คี ณ ุ ค่า ทีส่ ำ� คัญมีรปู ในหลวงรัชกาลที่ 9 อยูท่ กุ ห้องดังค�ำเปรียบเปรยทีว่ า่ เป็นรูป ทีม่ อี ยูท่ กุ บ้าน แต่กเ็ พียบพร้อมไปด้วยความสะดวกสบายและความทันสมัยของเทคโนโลยียคุ ปัจจุบนั ครบครัน
Room Type: Colonial Room
COLONIAL ROOM (โคโลเนี่ยลรูม) มี 2 อาคาร อาคารแรก Sino Colonial อาคารตึกลูกผสมซึ่งเป็นการผสานของศิลปะระหว่างตะวันตกและ จีนช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ช่วงเวลาที่ชาวจีนอพยพมาตั้งรกรากอยู่ในเชียงใหม่เป็นคหบดีจีนร�่ำรวย จน ก่อก�ำเนิดสถาปัตยกรรมแบบ Sino เช่น ตึกเก่าย่านถนนท่าแพ โดยชั้นล่างมีเพดานสูงโปร่ง ก�ำแพงหนา หน้าต่างวงโค้งเกือกม้า อาคารชั้นล่างมักท�ำช่องโค้งต่อเนื่องกัน แต่ก็ยังมีความร่มรื่นแม้ในเวลาที่แดด สาดส่อง และอีกอาคารชือ่ Oriental Colonial ทีผ่ สมผสานความเป็นตะวันออกกับตะวันตกเข้าด้วยกันตาม สไตล์โคโลเนีย่ ล ทุกห้องพักยังถูกตกแต่งด้วยเฟอร์นเิ จอร์และข้าวของเครือ่ งใช้ทผี่ สมผสานทัง้ ไทยล้านนา พม่า จีน และตะวันตกเข้าด้วยกันอย่างลงตัว
120
Room Type: Lanna Colonial, Lanna Colonial Suite
LANNA COLONIAL (ล้านนา โคโลเนี่ยล) ย้อนสู่อาณานิคมศตวรรษที่ 19 เป็นยุคที่เฟื่องฟูหรูหราของคหบดี และอารยธรรมตะวันตกแบบยุโรป หลอมรวมกับความรู้เชิงช่างจากชาวล้านนา เนรมิตให้เกิด สถาปัตยกรรมแบบล้านนาโคโลเนี่ยลเป็นอาคารสองชั้น โดยชั้นล่างเป็นปูน ชั้นบนเป็นไม้ หลังคาทรงมะนิลา มีระเบียงโดยรอบ แสดงออกถึงอิทธิพลของการก่อ อิฐ และการแกะสลักไม้อย่างชัดเจน เป็นแบบอย่างสถาปัตยกรรมอิทธิพลตะวันตกทีส่ ร้างในเมืองเชียงใหม่ยคุ แรก (สมัยร.5) แขกทีเ่ ข้าพักจะได้สมั ผัสการผสมผสานที่ ลงตัวกับห้องนอนกลิน่ อายล้านนา พร้อมห้องนัง่ เล่นทีห่ รูหราสไตล์ยโุ รปภายในตัวห้อง และอ่างอาบน�ำ้ ด้านนอกระเบียงทีส่ ามารถดืม่ ด�ำ่ ความเขียวขจีของธรรมชาติ ที่ร่มรื่นไปพร้อมกันๆ RICE BARN VILLA (ไรซ์บาร์นวิลล่า) จากแรงบันดาลใจของหลองข้าวหรือยุ้งข้าวโบราณที่สื่อถึงความอุดมสมบูรณ์ของผู้คนและเป็นเครื่องแสดงฐานะในชุมชนเมื่อครั้งอดีต หลองข้าวหรือยุ้งข้าวถูกใช้ ในการเก็บรักษาข้าวให้มีบริโภคตลอดทั้งปี จึงมีลักษณะเด่นคือตัวเรือนถูกยกสูง แข็งแรง และเสาแต่ละต้นเอียงเข้าหากันเพื่อรับน�้ำหนัก จึงท�ำให้เกิดห้องพัก “Rice Barn Villa” ขึ้นที่ เดอะ มารดาดี เฮอริเทจ ตัวเรือนวิลล่าที่เป็นห้องนอนยังคงถูกออกแบบให้ยกสูงเพื่อคงความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของยุ้งข้าวโบราณ มีชาน ระเบียงให้นั่งพูดคุยพักผ่อนกับคนรักพร้อมชมวิวธรรมชาติและแม่น�้ำปิง ห้องพักมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ และความทันสมัยของเทคโนโลยีของยุคปัจจุบันไว้ อย่างครบครัน ท�ำให้การพักผ่อนสมบูรณ์แบบ บริเวณพื้นที่ใต้ถุนยังมีพื้นที่ส�ำหรับนั่งเล่น รับประทานอาหาร หรือจะนอนเล่นอ่านหนังสือบนเปลยวนพร้อมฟังเสียง นกร้องเบาๆ ท่ามกลางธรรมชาติทรี่ ม่ รืน่ และสวยงาม แขกทีเ่ ข้าพักจะได้หวนคิดย้อนอดีตไปสูค่ วามสุขสงบของวิถชี นบท ท่ามกลางแสงแดดอ่อนๆ ทีท่ อดลงมาริมแม่ น�้ำปิงยามเช้า และในยามค�่ำคืนก็ดื่มด�่ำไปกับสายลมหนาวและแสงดาวที่กระจ่างเต็มท้องฟ้า Room Type: Presidential Rice Barn Villa, Presidential 2 Bedroom Rice Barn Villa, Executive Rice Barn Villa, Rice Barn Villa, 2 Bedroom Rice Barn Villa
121
122
123
ขอขอบคุณ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จ�ำกัด (มหาชน) คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี คุณนิติกร กรัยวิเชียร บริษัท เกรท สตาร์ จ�ำกัด อาร์ตทีสติก อดิวิศว์ อังศธรรมรัตน์ ที่มอบงานสะสมให้มาประมูล ศิลปิน ทุกท่านที่ร่วมแสดงงาน อ.ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ ที่ท�ำให้เกิดแรงบันดาลใจในการจัดงาน และช่วยท�ำให้งานนี้ประสพความส�ำเร็จด้วยดี
124
Special Thank Thai Beverage Public Company Limited Thapana Sirivadhanabhakdi Nitikorn Kraivixien Great Stars Artistic Adiwit Ansathammarat give the collection of work to be auctioned All artists participating in the event Thongchai Srisukprasert that inspired the event and help make this event successfully.
Designed & Printed by FLUKE Graphic Design & Printing www.facebook.com/flukegraphic T.0804969946
NAME (in THAI) เดอะ มารดาดี เฮอริเทจ NAME (in ENGLISH) The Marndadee Heritage OWNER Mr. SARAN – Ms. PATCHARLAVILAI PATTAROPONG ADDRESS 9 MOO1 T.KHUAMOONG, SARAPHI CHIANG MAI 50140 TEL. +66 53103703 FAX. +66 53 103 702 E-MAIL info@marndadee.com WEBSITE www.themarndadee.com FACEBOOK The Marndadee Heritage Chiang Mai LOCATION LATITUDE 18.6833611, LONGTITUDE 98.9844979 Awards 2014-2015 2016-2017 2019
Thailand Boutique Awards : Thematic River Thailand Boutique Awards : Thematic River World Boutique Hotel Awards : Southeast Asia’s Best Classic Elegance Hotel 2019