G-Magz Vol.48

Page 1

นิตยสาร IT ราย 3 เดือน ฉบับที่ 48 ตุลาคม – ธันวาคม 2559 VOLUME 48 OCTOBER – DECEMBER 2016

e-Magazine

BLOCKCHAIN

+ Blockchain เปลี่ยนโลกธุรกิจ พลิกโฉมธุรกรรมการเง�น-บร�การแหงอนาคต + จับประเด็น SaaS & Software-Enable Service จุดเปลี่ยนอุตสาหกรรมซอฟตแวร? + 12 ปจจัย แหงเศรษฐกิจยุคใหม + ada นวัตกรรมเปลี่ยนโลกของการสื่อสารในองคกร ผานโมบายแอพพลิเคชั�น


เดินหน้า สานต่อ ECO-NOVATION จีเอเบิล รวมพลังจิตอาสา ภายใต้โครงการ G-ABLE Seed Bombs and Fire Line “ ยิงเมล็ดพันธุ์ และ สร้างแนวกันไฟ ” กลุ่มบริษัทจีเอเบิล ผู้น�ำด้านไอทีโซลูชั่นหัวใจสีเขียว ไม่หยุดนิ่งที่จะปลูกจิตส�ำนึกรักษ์โลก โดยตระหนักว่าปัจจุบนั วิกฤตการณ์ดา้ นสิง่ แวดล้อม เป็นสิง่ ทีท่ กุ คนต้องตระหนักถึง เพือ่ ป้องกันและ แก้ปัญหาดังกล่าว สู่การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่ยั่งยืน โดยในปีนี้ ปัญหาใหญ่ทางสิ่งแวดล้อมที่ทั่วโลกนิ่งนอนใจไม่ได้ก็คือ “ปัญหาการลดจ�ำนวน ลงของพื้นที่สีเขียว และปัญหาความสมดุลระบบนิเวศ ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากการบุกรุกพื้นที่ป่า เพือ่ สร้างแหล่งท�ำกินและแหล่งท่องเทีย่ วของผูท้ มี่ คี วามต้องการทีจ่ ะพัฒนาอาชีพ ท�ำให้จำ� นวนพืน้ ที่ ป่าลดลง เกิดความแห้งแล้ง สัตว์ป่าเกิดการล้มตาย เนื่องจากขาดแหล่งอาหารตามธรรมชาติ กลุม่ บริษทั จีเอเบิล จึงขออาสา “ระดมพลช่วยพิทกั ษ์ผนื ป่า” เพือ่ คืนความสมดุลให้ธรรมชาติ ภายใต้โครงการ G-ABLE CSR 2016 “G-ABLE : Seed Bombs and Fire Line ยิงเมล็ดพันธุ์และ สร้างแนวกันไฟ” ในวันเสาร์ที่ 9 กรกฎาคม 2559 ณ หน่วยพิทักษ์ป่าท่าทุ่งนา เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งอดีตเคยเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่ง อุดมไป ด้วยพืชพันธุ์และสัตว์ป่านานาชนิด แต่เนื่องจากปัจจุบันแหล่งทรัพยากรในเขตพื้นที่ดังกล่าวได้ถูกรุกบุกเพื่อสร้างแหล่งท�ำกิน ถือเป็นภัยคุกคามทางระบบ นิเวศที่คณะผู้บริหาร พนักงานและครอบครัวของกลุ่มบริษัทจีเอเบิลผู้มีหัวใจสีเขียว ต้องยื่นมือเข้าไปช่วยเหลือเพื่อเร่งฟื้นฟูผืนป่าคืนความสมดุลในเขตนี้ ให้กลับมาเขียวขจีเช่นเดิม โดยกิจกรรมดีๆ ในโครงการฯ ถูกแบ่งออกเป็น 3 กิจกรรม ได้แก่ • กิจกรรมยิงเมล็ดพันธุ์พืช (Seed Bombs) เป็นการช่วยอนุรักษ์และปลูกต้นไม้แบบง่ายๆ ด้วย แนวคิดการบรรจุเมล็ดพันธุล์ งในกระสุนแคปซูลทีป่ น้ั ด้วยดินเหนียว และยิงแคปซูลออกไปในพืน้ ทีป่ า่ บริเวณ กว้าง เมื่อแคปซูลเกิดการย่อยสลาย เมล็ดพันธุ์ในแคปซูลจะค่อยๆ เติบโตเป็นต้นกล้า หยั่งรากลึกลงใน ผืนดินและเติบใหญ่เป็นต้นไม้ให้ร่มเงาต่อไป ซึ่งเป็นวิธีที่สะดวกและสามารถท�ำได้ปริมาณมากในเวลาอัน รวดเร็ว • กิจกรรมปลูกป่า นอกจากจะเป็นการปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวแล้ว ยังเป็นการปลูก จิตส�ำนึกให้พนักงานและครอบครัวตระหนักถึงคุณค่าของผืนป่า ที่เป็นแหล่งอาหารทางธรรมชาติของ มวลมนุษย์และสัตว์โลก • กิ จ กรรมสร้ า งแนวกั น ไฟ (Fire Line) หรือการป้องกันไฟป่า ซึ่ง เกิดจากความแห้งแล้งนัน่ เอง วิธกี ารคือ การถางก�ำจัดเชื้อเพลิงบนผืนป่า อาทิ ใบไม้และกิ่งไม้แห้ง วัชพืช ด้วยเครื่องมือทางการเกษตร จ�ำพวก ไม้กวาด จอบ คราด ด้วยสองมือของเรา โดยไม่ใช้ สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อพืชและสัตว์ป่า สุดท้ายนี้…กลุ่มบริษัทจีเอเบิล ขอขอบคุณ 2 มือและ 1 หัวใจสีเขียวของ ทุกคนทีร่ ว่ มมือ ร่วมใจ สร้างสรรค์โครงการดีๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ให้ประสบความส�ำเร็จ ตามพันธกิจของบริษทั ทีม่ สี ว่ นรับผิดชอบต่อสังคมและอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม พวกเรา สัญญาว่า “จะสานต่อ แนวคิดรักษ์โลก เพื่อดูแลโลกของเราแบบยั่งยืน ” 2

G-MagZ IT MAGAZINE


CONtents

Editor

นิตยสาร IT ราย 3 เดือน ฉบับที่ 48 ตุลาคม – ธันวาคม 2559 Volume 48 October – December 2016

ช่วงที่ผ่านมาค�ำฮิตติดลม บล็อคเชน (Blockchain) ก�ำลังเป็นทีก่ ล่าวถึงจนหลายส�ำนักระบุวา่ เป็นเทคโนโลยี ทีจ่ ะมาเปลีย่ นหรือปฏิวตั โิ ลกเหมือน .com หรือ Internet นั่นเอง การท�ำธุรกรรมในโลกปัจจุบนั “ความไว้วางใจ” ระหว่างกัน เราต้องอาศัย “ตัวกลาง” จ�ำนวนมากมายหลายรูปแบบในการท�ำให้เรามั่นใจว่าไม่โกง บล็อกเชนคือ “ระบบการจัดการฐานข้อมูล” ส�ำหรับการยืนยันตัวตน การจัดการธุรกรรม บันทึกความเป็นมาเป็นไป รวมถึงความเป็นเจ้าของ ในสินทรัพย์ เช่น Bitcoin ที่เป็นสกุลเงินอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อบล็อคเชนตัดตัวกลางอย่างสถาบันการเงินที่มีอยู่ในโลกปัจจุบัน ออกไป ซึง่ ท�ำให้ตน้ ทุนการท�ำธุรกรรมถูกลง และอาจจะส่งผลให้สถาบัน การเงินทีเ่ ป็นตัวกลาง รวมไปถึงส�ำนักช�ำระบัญชีตา่ งๆ ไม่จำ� เป็นต้องมี อีกเลยในอนาคต หากเทคโนโลยีนี้เข้ามาแทนที่ได้อย่างสมบูรณ์ บล็อคเชนเป็นอีกหนึง่ ใน 12 ปัจจัยของเศรษฐกิจยุคใหม่ เป็นตัวอย่างที่ บอกว่า เศรษฐกิจดิจทิ ลั อยูข่ า้ งหน้าเราแล้ว เป็นตัวทีจ่ ะบอกว่าเราก�ำลัง อยู่ในเศรษฐกิจยุคไหน เก่า หรือ ใหม่ ข้อสังเกตส�ำหรับเศรษฐกิจยุคใหม่คอื การตัง้ อยูบ่ นนวัตกรรม (เศรษฐกิจ นวัตกรรม) โดยมีความส�ำคัญอยู่ที่จินตนาการที่จะสร้างคุณค่าที่แท้จริง โดยจะต้องสร้างระบบการเรียนรู้ทั้งด้านเทคโนโลยี และการสร้าง นวัตกรรมให้เกิดขึ้นพร้อมกัน ยิ่งกว่านั้นจินตนาการที่เกิดขึ้นต้องไปให้ ไกลกว่าสิ่งที่เป็นอยู่ตลอดเวลา อาจกล่าวได้ว่าวันนี้เราอยู่แถวหน้า (Early Bird) ของขบวนเศรษฐกิจ ยุคใหม่ จึงมองเห็นปัญหาในช่วงการเปลีย่ นแปลง เช่น การเข้าถึงข้อมูล คุณภาพชีวิตการท�ำงาน รูปแบบ Start Up ที่พร้อมเสมอที่จะออกไป ท�ำธุรกิจของตนเองด้วยมันสมอง ซึ่งไม่ได้มีแค่เพียงเฉพาะโทรศัพท์ มือถือ และคอมพิวเตอร์ เท่านั้น เมื่อก้าวสู่ยุคใหม่ ทุกอย่างก็ใหม่ เช่น นวัตกรรมใหม่ๆ รูปแบบใหม่ๆ ปัญหาใหม่ๆ การเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ความรู้ใหม่ๆ ดังนั้น อย่าเพิกเฉย ที่จะเรียนรู้ รับรู้ และเข้าใจสิ่งใหม่ๆ ที่จะท�ำให้คุณไม่ตกยุคอย่าง แน่นอน...

04 IT NEWS 08 G-NEWS

G-ABLE ผนึก 2 โซลูชั่น โชว์งาน AWSome Day ASEAN 2016

13 INTERVIEW

Blockchain เปลี่ยนโลกธุรกิจ พลิกโฉมธุรกรรมการเงิน-บริการแห่งอนาคต

16 Special REPORT

จับประเด็น SaaS & Software-Enable Service จุดเปลี่ยนอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์?

20 Tech&Trend New Oracle Database Appliance

Simplified Data Center - ขนาดเล็กประสิทธิภาพไม่เล็ก

25 Success story ada นวัตกรรมเปลี่ยนโลก ของการสื่อสารในองค์กร

ผ่านโมบายแอพพลิเคชั่น

28 Guru Talk

• 12 ปัจจัยแห่งเศรษฐกิจยุคใหม่ • วิดีโอ.. แนวโน้มที่ร้อนแรงในปี พ.ศ. 2560

34 Solutions • สร้าง High Performance VDI ด้วย Software Define Storage จาก Atlantis • G-ABLE Cloud Solution ทางเลือกที่ดีที่สุดของ Data Center

40 Inno&Product

Biowearable ล�้ำหน้าด้วยหมึกน�ำไฟฟ้า

42 Green Idea

Clean Technology พาโลกอุตสาหกรรมหมุนทะยานสู่อนาคต

46 Idea Info SIPA เผยผลส�ำรวจมูลค่าตลาดซอฟต์แวร์ ไทยปี 2558

พร้อมประมาณการปี 59 โต 4.4%

49 คุยกับหมอไอที

IoT พอสังเขป

51 บันทึกมุมมอง

ความสัมพันธ์ พระบิดาและวันเทคโนโลยีไทย

การสอบถามข้อสงสัยในเรื่องบทความและเรื่องของเทคโนโลยี การบอกรับและการเปลี่ยนที่อยู่ การอนุญาต และพิมพ์ซ�้ำสามารถติดต่อขอรายละเอียดได้ที่ G-Magazine@g-able.com

Wanida T. wanida.t@g-able.com จัดท�ำและลิขสิทธิ์ โดย บริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด อาคารปัญจธานี ชั้น 25 เลขที่ 127/27, 29-31 ถนนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 G-ABLE Contact Center โทร. +66 (0) 2685-9333 โทรสาร. +66 (0) 2681-0425 www.g-able.com

G-MagZ IT MAGAZINE

3


IT NEWS เผยผลส�ำรวจประชาชนพอใจ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง

กระทรวงไอซี ที เ ผย “ผลการส� ำ รวจ ความคิดเห็นของประชาชนต่อการด�ำเนินการ ให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในหมู่บ้าน/ ชุมชน ของภาครัฐ ประจ�ำปี 2559” พบประชาชน พึ ง พอใจมากต่ อ โครงการขยายโครงข่ า ย อินเทอร์เน็ตถึง 84.4% โดย 64.6% เห็นว่า อินเทอร์เน็ตมีประโยชน์ในระดับสูง

ตามทีก่ ระทรวงไอซีทไี ด้มอบหมายให้สำ� นักงาน สถิตแิ ห่งชาติ ด�ำเนินการส�ำรวจเพือ่ น�ำข้อมูลที่ ได้ ไ ปใช้ ใ นการวางแผนการด� ำ เนิ น งานของ โครงการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุม ทั่วประเทศให้สอดคล้องกับความต้องการของ ประชาชน โดยผลการส�ำรวจพบว่า ประชาชน ส่วนใหญ่ 97.3% จะมีอุปกรณ์ในการติดต่อ สื่อสารของครัวเรือน ซึ่งโทรศัพท์มือถือเป็น อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ ง านมากที่ สุ ด รองลงมาคื อ คอมพิวเตอร์โน้ตบุก๊ คอมพิวเตอร์พซี ี แท็บเล็ต และโทรศัพท์บ้าน ประชาชน 94.1% เห็นด้วยกับนโยบายของ ภาครั ฐ ที่ มี ก ารยกระดั บ โครงสร้ า งพื้ น ฐาน โทรคมนาคม ส�ำหรับความต้องการใช้บริการ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่ภาครัฐจัดบริการให้ โดยประชาชนส่วนใหญ่มีความต้องการใช้ถึง 86.4% ส�ำหรับเหตุผลที่ประชาชนต้องการใช้ บริการ 5 อันดับแรก คือ ติดตามข่าวสาร ติดต่อ สื่อสารภายในกับครอบครัว/ญาติ/เพื่อน ใช้ใน การศึกษาค้นคว้าข้อมูล เพื่อความบันเทิง และ อ�ำนวยความสะดวกในการเดินทางและบริการ ด้านสาธารณสุข

แอพ “Money Messenger” ส่งเงินไปทั่วโลกได้ง่ายๆ

Exchange4free ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารโอนเงิ น แลกเงิ น และช� ำ ระเงิ น ระดั บ แนวหน้ า ของโลก ประกาศเปิ ด ตั ว แอพพลิ เ คชั่ น “Money Messenger”- Chat. Send. Save. หนึ่งเดียวในวงการที่ท�ำธุรกรรมทางการเงินผ่านระบบส่งข้อความทางมือถือ แอพนี้เปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถส่งเงินไปยังกว่า 100 ประเทศทั่วโลก ผ่านทางระบบส่งข้อความ (Instant Messaging) โดยคิดค่าบริการขั้นต�่ำเพียงแค่ 0.4% และไม่มีค่าธรรมเนียมการโอนหรือค่าคอมมิชชั่น มาร์ค ลอว์สัน กรรมการบริษัท Exchange4free แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ในครั้งนี้ว่า ระบบ ส่งข้อความเป็นช่องทางติดต่อสือ่ สารผ่านโทรศัพท์มอื ถือทีแ่ พร่หลายทีส่ ดุ เราเชือ่ ว่าบริการใหม่ทเี่ รามอบให้กบั ลูกค้านีม้ คี วามพิเศษ เฉพาะตัว และเป็นครั้งแรกส�ำหรับบริการโอนเงินและแลกเงินข้ามประเทศ “ฟีเจอร์และฟังก์ชนั่ ใหม่ๆ ทีน่ า่ สนใจในแอพนี้ จะเปิดให้ใช้งานภายใน 6 เดือนข้างหน้า ซึง่ ถือเป็นความก้าวหน้าครัง้ ส�ำคัญของ Exchange4free ในการมอบบริ ก ารส่ ง เงิ น และแลกเงิ น ที่ ทั น สมั ย และครอบคลุ ม มากที่ สุ ด ด้ ว ยราคาที่ ดี ที่ สุ ด ในตลาด” มาร์ค ลอว์สัน กล่าว

4

G-MagZ IT MAGAZINE


IT NEWs

Google เผยพฤติกรรม ผู้บริโภคออนไลน์ชาวไทย Google Consumer Barometer เผยข้อมูลการส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้ ออนไลน์ในประเทศไทยที่ด�ำเนินการโดย TNS ล่าสุด ระบุว่า 53% ของ คนไทยใช้อนิ เทอร์เน็ตทุกวัน, ในขณะที่ 70% ใช้สมาร์ทโฟนและอีก 58% ใช้อินเทอร์เน็ตพร้อมๆ กับดูทีวีไปด้วย การบริโภคสือ่ ดิจทิ ลั ของคนไทยเติบโตขึน้ อย่างรวดเร็ว โดยมีขอ้ มูล ดังนี้ • คนไทยเข้าถึงอินเทอร์เน็ตเป็นจ�ำนวนมาก (85% เข้าใช้เว็บทุกวัน ซึ่งส�ำหรับกลุ่มผู้ใช้อายุต�่ำกว่า 25 ปี จะสูงถึง 92%) • คนไทยก�ำลังเดินหน้าไปสูว่ ถิ ขี องดิจทิ ลั มากยิง่ ขึน้ (69% ชืน่ ชอบ งานดิจิทัล หรือคิดเป็น 80% ในกลุ่มผู้ใช้อายุต�่ำกว่า 25 ปี) • คนทั่วไปบอกว่ามักเข้าถึงอินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ต่างๆ เป็นหลัก (70% เข้าใช้เว็บจากสมาร์ทโฟน) • การชมวิดีโอออนไลน์: 45% ของคนไทยชมวิดีโอออนไลน์ทุกวัน • คนไทยยังนิยมและคุน้ เคยกับการชมวิดโี อยาวๆ (77% รับชมวิดโี อ นานกว่า 5 นาที) Consumer Barometer เป็นเครื่องมือชี้วัดที่น�ำเสนอข้อมูลเชิงลึก เกีย่ วกับพฤติกรรมออนไลน์ของผูบ้ ริโภคจากทัว่ โลก Google ท�ำงานร่วม กับ TNS ในการสัมภาษณ์ผู้บริโภคจาก 56 ประเทศ เพื่ออัพเดตความ เคลื่อนไหวด้านดิจิทัลเชิงลึกให้กับ นักโฆษณา เอเจนซี่ นักข่าว และ นักวิชาการ

ใหม่จาก Facebook Messenger ให้แชทพร้อมวิดีโอคอล ล่าสุด Facebook Messenger เพิ่มฟีเจอร์ใหม่ เอาใจเทรนด์ Instant Video หรือ วิดีโอคอล ให้สามารถแชทไปพร้อมกับการเปิดวิดีโอคอลได้ เพื่อให้คนสื่อสารกันอย่างเข้าใจมากขึ้น หากใครได้อัพเดทแอพ Messenger ทั้ง iOS และ Android เป็นเวอร์ชั่น ล่าสุดแล้ว ก็ไปลองใช้งาน Instant Video ตัวใหม่นี้กันดู ซึ่งปุ่มจะอยู่ด้าน ขวาบนของหน้าแชท หากใช้งานฟังก์ชั่นวิดีโอคอลนี้จะย่อจอเหลือเท่ากับ ในรูป ให้สามารถใช้การส่งข้อความในการพูดคุยได้ด้วย ปัจจุบันนี้ หลายๆ คนนิยมใช้วิดีโอคอลในการพูดคุยกัน แต่ปัญหาคือ บาง ครั้งมีปัญหาติดๆ ขัดๆ ซึ่งอาจเป็นเพราะสัญญาณ ท�ำให้การพูดคุยไม่ชัด หรือขาดหาย เมือ่ มีฟเี จอร์นที้ ำ� ให้การพูดคุยต่างๆ รู้เรื่อง และชัดเจนมาก ขึ้นจริงๆ ที่มา : http://news.thaiware.com/8536.html G-MagZ IT MAGAZINE

5


IT NEWs กระเทือนไปทั่ววงการอวกาศกับ การระเบิดของจรวด Falcon 9

เมือ่ วันที ่ 1 กันยายน 2559 เกิดการระเบิดลุกไหม้ของจรวด Falcon 9 ระหว่างขั้นตอนการทดสอบก่อนที่จะท�ำหน้าที่น�ำดาวเทียม AmoS-6 ขึ้นวงโคจรในอีกสามวันต่อมา ท�ำให้ดาวเทียมเสียหายไปด้วยพร้อม จรวดที่ลุกไหม้จนเหลือแต่ตอ Amos-6 เป็นดาวเทียมจาก Spacecom ของอิสราเอล เป็นดาวเทียม ดวงแรกในโครงการ Internet.org ของบริษัท Facebook ที่จะขึ้น สู ่ ว งโคจรเพื่ อ กระจายสั ญ ญาณอิ น เทอร์ เ น็ ต ไปยั ง ทวี ป แอฟริ ก า การสูญเสียดาวเทียมท�ำให้โปรเจ็ค Internet.org ล่าช้าลงไปอีก โดยมีมูลค่าความเสียหายกว่า 95 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ หรือราว 3.3 ล้านล้านบาท

ที่มา : http://jimmysoftwareblog.com/node/5083

ในเบื้องต้นบริษัท SpaceX ประกาศผ่านทางทวิตเตอร์ว่าปัญหาเกิด บริเวณแทงค์ออกซิเจนของจรวดท่อนบนสุดระหว่างการเติมเชือ้ เพลิง เพื่อเข้าสู่ขั้นตอน Pre-Launch Static Fire Test โดยในบริเวณ ใกล้เคียงไม่มีเจ้าหน้าที่คนใดอยู่จึงไม่มีใครได้รับบาดเจ็บจากการ ระเบิดในครั้งนี้ และบริษัทจะด�ำเนินการหาสาเหตุที่แท้จริงเพื่อแจ้ง ให้ทราบต่อไป

ซีเอเทคโนโลยี เพิ่มประสิทธิภาพ

โซลูชั่นดูแลการเข้าถึงระบบไอที

ซีเอเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพโซลูชั่น ดูแลการเข้าถึงระบบไอที ลดความเสี่ยงการ เจาะข้ อ มู ล ทั้ ง ที่ เ น็ ต เวิ ร ์ ก และเซิ ร ์ ฟ เวอร์ โซลู ชั่ น อั พ เดทใหม่ สนั บ สนุ น การใช้ ง าน ควบคุ ม ไอดี ที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตพิ เ ศษอย่ า ง ครบวงจรในการใช้งานระดับองค์กรขนาดใหญ่แบบผสมในยุคปัจจุบนั ซีเอเทคโนโลยีได้อัพเดท และรวมโซลูชั่น CA Privileged Access Manager (ซึ่งก่อนหน้านี้ใช้ชื่อว่าXceedium Xsuite) เข้ากับโซลูชั่น CA Privileged Access Manager Server Control โดยจะท�ำงานช่วย ลดความเสี่ยงของการเจาะข้อมูล โดยขยายขอบเขตของการควบคุม การใช้งานยูสเซอร์ที่ได้รับสิทธิ์พิเศษทั้งในแบบวงกว้าง และระดับลึก ได้อย่างครบวงจรตั้งแต่เกตเวย์ไปจนถึงเซิร์ฟเวอร์ และตั้งแต่ระบบ ดาต้าเบสไปจนถึงระบบคลาวด์ โดยมีการใช้งานผ่านหน้าจอควบคุม ที่เป็นหนึ่งเดียว วิค แมนโคเชีย รองประธานฝ่ายรักษาความปลอดภัยและบริหารจัดการ API ประจ�ำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและญี่ปุ่น บริษัทซีเอ เทคโนโลยี กล่าวและเสริมว่า “ในสถานการณ์ทมี่ กี ารโจมตีทางเน็ตเวิรก์ เป้าหมาย หลักของการโจมตีกค็ อื การเข้าระบบ เพิม่ สิทธิใ์ นการใช้งานและสร้าง ความวุ่นวายขึ้นให้กับระบบ ดังนั้นถ้าต้องการที่จะปกป้องระบบที่ ส�ำคัญขององค์กรตลอดจนข้อมูลที่มีอยู่ภายใน ก็จ�ำเป็นที่จะต้อง สามารถควบคุมสิทธิ์พิเศษที่เข้าถึงการใช้งาน” 6

G-MagZ IT MAGAZINE

ไทยสานฝันปั้นสุดยอดหุ่นยนต์ในงาน

IDC RoBoCon 2016

ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) และอีก หลายหน่วยงาน ได้ร่วมกันจัดการแข่งขัน “ออกแบบและ สร้างหุ่นยนต์นานาชาติ : IDC RoBoCon 2016” ครั้งที่ 27 รอบชิงชนะเลิศระดับนานาชาติ ภายใต้คอนเซ็ปต์ “Robot Caregiver” หรื อ หุ ่ น ยนต์ เ พื่ อ ดู แ ลผู ้ สู ง อายุ และผู ้ ป ่ ว ย ซึง่ เป็นการส่งเสริมให้มกี ารตืน่ ตัวด้านเทคโนโลยีหนุ่ ยนต์และ ระบบอัตโนมัติ เพื่อให้สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ได้ในชีวิต ประจ�ำวัน ในปีนี้มีนักศึกษาจาก 7 ประเทศ เข้าร่วมการแข่งขันฯ ทัง้ หมด 50 คน ผลจากการแข่งขัน รอบชิงชนะเลิศ ทีมชนะเลิศ ได้ แ ก่ ที ม สี แ ดง (Red Team) เป็ น ที ม ที่ ป ระกอบด้ ว ย นักศึกษาจากประเทศ อียิปต์ จีน ญี่ปุ่น โมร็อคโค และ ประเทศไทย (นายกร ศิ ริ ตั น ติ วั ฒ น์ นั ก ศึ ก ษาจาก มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง เป็นตัวแทนประเทศไทย) นับเป็น อีกหนึ่งความภูมิใจของชาวไทย


IT NEWs

เกมคลื่นสมองพิ ชิตโรคอัลไซเมอร์ ซึง่ เป็นอีกรูปแบบหนึง่ ในการป้องกันสมองเสือ่ มในผูส้ งู อายุและชะลอ การเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้อีกด้วย โดยผูพ้ ฒ ั นาเกม Game Base Neuro Feedback Cognitive Training หรือเกมคลื่นสมอง ได้ออกแบบระบบฟื้นฟูความคิดด้วยคลื่นสมอง แบบป้อนกลับส�ำหรับผู้สูงอายุ (BSI: Base Neuro Feedback Cognitive Traning System) ซึ่งระบบฝึกฝนสัญญาณคลื่นสมอง แบบป้ อ นกลั บ ผ่ า นการเล่ น เกมที่ ถู ก ออกแบบมาโดยเฉพาะส�ำหรับผู้สูงอายุ เพื่อเพิ่มความสามารถของสมาธิจดจ่อ และคงสภาพการจดจ่อให้ได้นาน รวมถึง ช่วยฝึกฝนความจ�ำช่วงปฏิบัติงาน คุณเชื่อหรือไม่ว่า เราสามารถใช้คลื่นสมองสั่งการและควบคุม สิ่ ง ที่ เ ราต้ อ งการเหมื อ นในนิ ย ายวิ ท ยาศาสตร์ ไ ด้ แ ล้ ว เมื่ อ ทีมแพทย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยอาจารย์แพทย์หญิง โสฬพัทธ์ เหมรัญช์โรจน์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายนวัตกรรมการศึกษา และสารสนเทศ คณะแพทย์ศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และแพทย์ประจ�ำศูนย์ฝกึ สมอง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ร่วมกับ ดร.พศิน อิศรเสนา ณ อยุธยา สุวชิ า จิรายุเจริญศักดิ์ วิศวกรจาก เนคเทค และ ดร.เศรษฐา ปานงาม จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ทีส่ ามารถพัฒนาต่อยอดน�ำเอาคลืน่ สมองมาปรับเป็นเกม เพื่อมาใช้ประโยชน์ในการบ�ำบัดโรคทางการแพทย์โดยเฉพาะ การชะลอสมองเสื่อมจากโรคอัลไซเมอร์เป็นทีมแรกของโลก โดยการพั ฒ นาสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ สุ ด ล�้ ำ ที่ ชื่ อ ว่ า “Game Base Neuro Feedback Cognitive Training” หรือ “เกมคลืน่ สมอง” ซึง่ ได้รบั รางวัล เหรียญทองระดับโลกจากนิทรรศการประกวดสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ ครั้งที่ 44 ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทีมได้อธิบายถึงหลักการท�ำงานอันชาญฉลาดของเกมคลื่นสมองว่า นวัตกรรมนีเ้ ป็นการตรวจจับคลืน่ สมองและคัดเลือกเฉพาะคลืน่ เบต้า และอัลฟาซึ่งเกี่ยวข้องกับสมาธิแบบจดจ่อโดยใช้เทคโนโลยีขจัด สัญญาณเสียงรบกวน ซึง่ เป็นสิทธิบตั รร่วมระหว่างจุฬาฯ และเนคเทค ก่อนจะน�ำเข้าสู่คอมพิวเตอร์และแปลงผลเป็นการเคลื่อนไหว หรือ พลังงานของตัวแสดงในเกมแบบ Real-Time ผลที่เกิดขึ้นไม่เพียงแค่แสดงประสิทธิภาพของคลื่นสมองเท่านั้น แต่ ผูเ้ ล่นยังได้เรียนรูก้ ลวิธที จี่ ะท�ำให้ตวั แสดงในเกม วิง่ เร็วขึน้ มาพลังสูงขึน้ ซึง่ หมายถึงพลังสมาธิทสี่ งู ขึน้ ด้วย โดยกลวิธใี นการเล่นเกมของแต่ละ บุคคลคือ กุญแจดอกส�ำคัญที่จะพัฒนาศักยภาพสมองด้านต่างๆ

โดยใช้สญ ั ญาณจากคลืน่ สมองเบต้าและ อั ล ฟาที่ รั บ จากอุ ป กรณ์ รั บ และขยาย สั ญ ญาณคลื่ น สมองที่ ส วมบนศี ร ษะ และค�ำนวณระดับความจดจ่อและแสดง ค่าผ่านโปรแกรมเกม ท�ำให้ทราบถึง ระดับสมาธิการจดจ่อของตนเอง และ พยายามรักษาสภาวะจดจ่อตลอดการ เล่นเกม จากการศึ ก ษาทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพ ของระบบกับผู้สูงอายุ ผู้ที่มีความรู้คิดบกพร่องระยะแรกและผู้ป่วย อั ล ไซเมอร์ ร ะยะเริ่ ม ต้ น พบว่ า ระบบฝึ ก ฝนสั ญ ญาณคลื่ น สมอง แบบป้อนกลับผ่านการเล่นเกมฝึกสมอง สามารถเพิ่มอัตราส่วนของ คลืน่ สมองย่านเบต้าต่อกับอัลฟา ซึง่ มีความสัมพันธ์กบั ความสามารถ ของความจ�ำช่วงปฏิบัติงาน โดยประเมินจากระบบทดสอบการรู้คิด ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ CANTABTM นอกจากนั้นยังพบว่าความสามารถของสมองในด้าน Executive Functions ของทั้ ง กลุ ่ ม ผู ้ สู ง อายุ ป กติ แ ละกลุ ่ ม ที่ เ ริ่ ม มี ค วามรู ้ คิ ด บกพร่องระยะแรกที่มีความเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์นั้นดีขึ้นอย่าง ชัดเจน ผูส้ นใจสามารถสอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ ศูนย์ฝกึ สมอง คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ (Cognitive Fitness Center) ตึ ก ส.ธ. เพื่ อ ผู ้ สู ง วั ย (ชั้ น 7) โรงพยาบาลจุ ฬ าลงกรณ์ โทร. (02) 256 4000 ที่มา : Money&Banking (กันยายน 2559) G-MagZ IT MAGAZINE

7


G-NEWS

G-ABLE ผนึก 2 โซลูชั่น โชว์งาน AWSome Day ASEAN 2016

G-ABLE ผนึก VERITAS ต่อยอดข้อมูลด้วย Dark Data Assessment Solution

Date: 13 กันยายน 2559 Venue: Bangkok Convention Center B, Centara Grand @ Central World

Date: 8 กันยายน 2559 Venue: The Campus - Union Hall, Grand Hyatt Erawan Bangkok

เมือ่ เร็วๆ นี้ บริษทั จีเอเบิล จ�ำกัด (G-ABLE) ได้รว่ มออกบูธแนะน�ำ โซลูชั่นในงานสัมมนา AWSome Day ASEAN 2016 โดยงานนี้มี วัตถุประสงค์เพือ่ แนะน�ำฟีเจอร์ตา่ งๆ ของ AWS ในทุกขัน้ ตอน และ ระบบการท�ำงานบนคลาวด์ รวมทั้งเป็นเวทีกลางส�ำหรับพันธมิตร ทางธุรกิจในการประชาสัมพันธ์โซลูชั่นและบริการต่างๆ โดยทาง บริษทั ฯ ได้น�ำเสนอเทคโนโลยี Big Data และ G-ABLE Cloud Service ทีต่ อบโจทย์และเพิม่ ทางเลือกให้กลุม่ ลูกค้าในทุกภาคธุรกิจ ได้อย่างรวดเร็ว และยังช่วยลดข้อจ�ำกัดด้านการลงทุน โดยสามารถ น�ำเสนอแบบ End-to-End Solution เริ่มตั้งแต่ให้ค�ำปรึกษา ออกแบบ อิมพลีเม้นต์ รวมถึงสามารถดูแลระบบและการบริการด้าน Managed Service อีกด้วย ทั้งนี้ภายในงานยังมีกิจกรรมต่างๆ มากมาย ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมงานเป็นจ�ำนวนมาก

บริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด ในฐานะเป็นคู่ค้าระดับ Platinum ของ VERITAS (บริษทั เวอร์รทิ สั ประเทศไทย จ�ำกัด) จัดทีมผูเ้ ชีย่ วชาญ น�ำเสนอเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดจาก VERITAS ร่วมโชว์โซลูชั่นด้าน การบริหารจัดการข้อมูลแบบอัจฉริยะ “Dark Data Assessment Solution” ซึ่งเป็นระบบการบริหารจัดการข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ สูงสุด รวมถึงใช้วิเคราะห์ข้อมูลส�ำคัญขององค์กรในเชิงลึก ที่มี ความปลอดภัยสูงสุด เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับทุกภาคส่วน รับมือกับการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี รวมทัง้ ช่วย ให้การบริหารจัดการกับงบประมาณในการพัฒนาระบบข้อมูล องค์กร เป็นไปอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด ต่อยอดสู่การ วิ เ คราะห์ แ ละออกแบบเทคโนโลยี ใ นการพั ฒ นา ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด Innovation ต่างๆ กลับสู่องค์กรได้อย่างไม่หยุดยั้ง

G-ABLE น�ำโซลูชั่น BIG DATA เสริมศักยภาพ สูงสุดแก่ระบบบริหารจัดการข้อมูลองค์กร

Date: 10 สิงหาคม 2559 Venue: Renaissance Bangkok Ratchaprasong Hotel, Bytes, 5th Floor

8

G-MagZ IT MAGAZINE

บริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด น�ำเสนอเทคโนโลยี Big Data ขับเคลื่อน ธุรกิจด้วยข้อมูล ในงานสัมมนา Computing The Speed of Innovation with HPC & Big Data Industry Solution จัดโดย บริษทั ฮิวเลตต์ แพคการ์ด เอ็นเตอร์ไพรซ์ ( ประเทศไทย) จ�ำกัด และบริษัท อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ด้วยการโชว์การท�ำงาน HPE Apollo Systems, Cloudera ส�ำหรับ Hadoop และ Ceph ส�ำหรับ Object Store ช่วยเพิ่ม ความรวดเร็วในการคิด วิเคราะห์ ที่ถูกต้องและแม่นย�ำ ขยาย ประสิทธิภาพการท�ำงานด้านการจัดเก็บข้อมูล ประหยัดพลังงาน และลดพื้ น ที่ ท� ำ ให้ ส ะดวกและง่ า ยในการบริ ห ารจั ด การ บนความปลอดภัยสูงสุด ซึ่งภายในงาน G-ABLE ได้จัดทีม เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญทั้งด้านฮาร์ดแวร์ และแอพพลิเคชั่น BIG DATA ไว้คอยให้ค�ำปรึกษา เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และ ทักษะการใช้งานเทคโนโลยีดังกล่าวอย่างละเอียด


G-NEWs

12 ปี Optimus Soft เติบโตอย่างมั่นคง บนเส้นทางธุรกิจไอที

G-BIZ น�ำเสนอโซลูชั่น Big Data ต่อยอด ทางธุรกิจในอนาคต

Date: 31 สิงหาคม 2559 Venue: ชั้น 26 อาคารปัญจธานี

Date: 18 สิงหาคม 2559 Venue: Renaissance Ratchaprasong Bangkok

บริษัท อ๊อปติมัส ซอฟต์ จ�ำกัด ได้จัดงานครบรอบ 12 ปี ขึ้น ณ ชั้น 26 อาคารปัญจธานี เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองความส�ำเร็จ ที่ผ่านมา บนเส้นทางธุรกิจไอที โดยในช่วงเช้าเป็นพิธีไหว้ศาล เพื่อเป็นสิริมงคล จากนั้นเข้าสู่พิธีการเฉลิมฉลองเค้กวันเกิด น�ำทัพพนักงานโดย คุณสัมฤทธิ์ ตรงตรานนท์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท อ๊อปติมัส ซอฟต์ จ�ำกัด ภายในงานได้รับเกียรติจาก ผู้บริหาร กลุ่มบริษัทจีเอเบิล มาร่วมแสดงความยินดี และกล่าว ให้โอวาทพนักงานทุกท่าน ที่มุ่งมั่น ตั้งใจ ท�ำงานเพื่อบริษัทฯ มาในช่วงตลอดปีที่ผ่านมา

บริษัท จี บิสซิเนส จ�ำกัด (G-BIZ) หนึ่งในเครือจีเอเบิลกรุ๊ป จัดทีม ผู้เชี่ยวชาญ ร่วมงาน HDS BIG DATA Driven Future น�ำเสนอ โซลูชั่นบริหารจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล Big Data ระดับองค์กร ด้วยซอฟต์แวร์ Cloudera, HortonWorks โดยใช้เครือ่ งมือ Hitachi, Pentaho รวบรวมข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อประมวลผลแบบเรียลไทม์ และสร้างแบบจ�ำลองเพือ่ การวิเคราะห์ทำ� นายผล ในรูปแบบทีเ่ ข้าใจ ง่าย รวดเร็ว แม่นย�ำและน่าเชือ่ ถือ ผ่านระบบต้นแบบพร้อมใช้งาน ส�ำหรับทุกภาคอุตสาหกรรม ให้เกิดความคล่องตัว เพิม่ เสถียรภาพ และความปลอดภัยทางด้านข้อมูล พร้อมการน�ำเสนอบริการ ที่ครอบคลุมการให้บริการตั้งแต่ Data Platform และการท�ำ Analytics โดยผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง Data Scientists และ Business Consultant ดูแลและให้ค�ำปรึกษา

Mverge จับมือพั นธมิตรพลิกโฉมธุรกิจ ก้าวสู่ยุค Digital Transformation Date: 26 กรกฎาคม 2559 Venue: Eastin Grand Hotel Sathorn

บริ ษั ท เอ็ ม เวิ ร ์ จ จ� ำ กั ด (Mverge) ในเครื อ จี เ อเบิ ล ร่ ว มกั บ บริษทั ฮิวเลตต์ แพคการ์ด เอ็นเตอร์ไพรซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ บริ ษั ท อิ น เทล ไมโครอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด น�ำเสนอสุดยอดโซลูชั่น Hybrid Cloud ด้วยการใช้ HPE Hyper Converge เจาะกลุ่มองค์กรที่ต้องการขยับตัวสู่ Hybrid Cloud สร้างกลยุทธ์ทางธุรกิจ วางโครงสร้างระบบไอที ให้มกี ารเชือ่ มต่อกัน ปรับกระบวนการท�ำงานของธุรกิจ ให้รวดเร็ว ฉับไว และง่ายดาย รองรับกับการแข่งขันในทุกมิติ เพิ่มศักยภาพให้กับบุคลากรภายใน และทรัพยากรที่มีอยู่ในทุกหน่วยงาน ให้พร้อมตอบสนองต่องาน บริการไอทียุคใหม่ Digital Transformation โดยกิจกรรมดังกล่าว Mverge ได้โชว์ Hybrid Cloud ด้วยการจ�ำลองสถานการณ์การ ท�ำงานเหมือนจริง เพื่อให้ผู้เข้าร่วมงานได้สัมผัสเทคนิคการท�ำงาน แบบการเชื่อมต่อข้อมูลกันระหว่างพนักงาน ข้อมูล และอุปกรณ์ ส่วนตัว ที่สามารถท�ำให้ทุกการท�ำงานไม่เกิดการสะดุด พลิกโฉม การท�ำงานจากเดิม สู่การท�ำงานในยุคดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ

G-MagZ IT MAGAZINE

9


G-NEWs

Mverge โชว์โซลูช่น ั ตอบรับนโยบายรัฐ

Thailand 4.0 ในงาน Microsoft Office 365 U

สร้างระบบงานวิเคราะห์ขอ ้ มูลรูปแบบใหม่

Date: 3 สิงหาคม 2559 Venue: ห้องบอลรูม ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

Date: 5 สิงหาคม 2559 Venue: The Westin Grande Sukhumvit

บริษัท เอ็มเวิร์จ จ�ำกัด หนึ่งในเครือจีเอเบิลกรุ๊ป ได้ส่งทีม ผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์ Microsoft น�ำเสนอโซลูชั่นสร้าง “ระบบอัจฉริยะ” (Systems of Intelligence) เพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิบตั กิ ารและบริการต่างๆ ทีค่ รอบคลุมครบถ้วนทัง้ ด้านการ ท� ำ งานร่ ว มกั น เพิ่ ม ความคล่ อ งตั ว ในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ การ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก และการปฏิบัติตามข้อก�ำหนด การรักษา ความเป็นส่วนตัว และความปลอดภัยให้กับข้อมูลส�ำคัญของ องค์กร รวมถึงระบบการสื่อสารแบบมืออาชีพ เปิดมุมมองใหม่ๆ ในการใช้งาน Office 365, Share Point Online และ Skype for Business ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่าง ต่อเนือ่ งพร้อมทัง้ ตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงได้ทนั ที เดินหน้า พลิกโฉมการท�ำงานให้ทกุ องค์กร สูก่ ารเป็นธุรกิจดิจทิ ลั ในอนาคต สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตามแผนพัฒนาดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจ และสังคมหรือที่เรียกว่า “Thailand 4.0”

บริษัท จี บิสซิเนส จ�ำกัด จับมือคู่ค้ารายใหญ่ Tableau โชว์ Tableau Solutions ด้าน Data Visualization ที่สามารถน�ำข้อมูล ต่างๆ ในองค์กรมาท�ำการวิเคราะห์ให้เป็นข้อมูลเชิงธุรกิจ ช่วยให้ ผูบ้ ริหารมีขอ้ มูลเชิงลึกในการเพิม่ ประสิทธิภาพการตัดสินใจอย่าง รวดเร็ว แม่นย�ำเพิ่มโอกาสการแข่งขันในสังคมยุคดิจิทัลอีกทั้งยัง สร้างทักษะและแนวคิดให้กบั พนักงานระดับปฏิบตั กิ าร ให้สามารถ ใช้ขอ้ มูลเพือ่ การวิเคราะห์ได้มากขึน้ โดยเครือ่ งมือมีคณ ุ สมบัตทิ ใี่ ช้ งานและเข้าใจได้ง่าย ไม่จ�ำเป็นต้องมีทักษะด้าน Programming สามารถใช้งานได้กับผู้ใช้งานทุกระดับ อีกทั้งยังสามารถเชื่อมต่อ กับระบบ Big Data เพือ่ ท�ำการวิเคราะห์ตอ่ ยอดในการท�ำ Advance Analytics ได้อีกด้วย โดย G-BIZ ได้จัดบริการในส่วน Tableau Online ผ่านระบบ Cloud เพือ่ เพิม่ ทางเลือกในการบริหารค่าใช้จา่ ย และยกระดับสู่การเป็นองค์กรยุคดิจิทัลที่มีระบบงานวิเคราะห์ ข้อมูลที่ทันสมัยและชาญฉลาด

Mverge จับมือ HP โชว์โซลูชัน ่ สุดล�ำ้ เติมเต็มแผนที่ยุคดิจิตอล Date: 30 สิงหาคม 2559 Venue: โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น

10

G-BIZ น�ำ Tableau Solution

G-MagZ IT MAGAZINE

บริษัท เอ็มเวิร์จ จ�ำกัด หนึ่งในเครือจีเอเบิลกรุ๊ป ร่วมกับ บริษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ด (ประเทศไทย) จ�ำกัด (HP) น�ำเสนอเทคโนโลยี ใหม่ ภายใต้คอนเซ็ปต์ Future of The Office Workplace ด้วยการน�ำ โซลูชั่นด้าน Workstation & Designjet for Government and Education (Map) เจาะกลุ่มผู้ใช้งาน GIS โดยตรงในส่วนภาครัฐ และสถาบันการศึกษา ที่ต้องอาศัยความละเอียดและความถูกต้อง สูงสุดในการวิเคราะห์และแก้ปญ ั หาต่างๆ ของประเทศและระบบการ ศึกษา โดยได้น�ำ HP Workstation ที่ท�ำงานผสมผสานกับ HP Designjet ทั้ง Printer และ Scanner เพื่อรองรับการแสดงผล ด้านงานพิมพ์ภ าพแผนที่ขนาดใหญ่ได้อย่างเต็มประสิทธิภ าพ อีกทัง้ ยังช่วยลดค่าใช้จา่ ยและเวลาในการปฏิบตั งิ าน ท�ำให้ระบบงาน บริการเกิดความรวดเร็วและแม่นย�ำมากขึ้น ขับเคลื่อนให้เกิดการ สร้างงานบริการในรูปแบบใหม่ๆ เติมเต็มความล�้ำสมัยให้กับระบบ บริหารจัดการข้อมูลแผนที่ดิจิทัลได้อย่างลงตัว


G-NEWs

First Logic ดัน SuperCluster M7

First Logic ควง Oracle จัด New Affordable

ชู Private Cloud ประสิทธิภาพสูง

Enterprise Server, Storage & Appliances

Date: 25 สิงหาคม 2559 Venue: Royal Maneeya Ballroom, M Floor, Renaissance Bangkok Ratchaprasong Hotel

Date: 30 สิงหาคม 2559 Venue: OB Club, 4th Floor Esplanade Ratchada

บริษัท เฟิร์ส ลอจิก จ�ำกัด และบริษัท ออราเคิล คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมงานสัมมนา “GovIT6th 2016” น�ำเสนอ Oracle SuperCluster M7 ที่มาพร้อมกับหน่วยประมวลผล SPARC M7 Processor โดยได้มีการพัฒนาเพิ่มความสามารถ ในเรื่องของ Software in Silicon ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ ท�ำงานของ Oracle Database In-Memory ได้อย่างสูงสุด พร้อม ด้วยเทคโนโลยีที่รองรับการเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูลได้อย่าง รวดเร็ว และมีการท�ำงานร่วมกับ Oracle Exadata Storage ที่มี ซอฟต์แวร์พิเศษเฉพาะผลิตภัณฑ์กลุ่ม Oracle Engineered Systems ซึง่ จะช่วยให้การประมวลผลของงาน Oracle Database และ Oracle WebLogic รวดเร็วขึ้นหลายเท่า จึงท�ำให้ Oracle SuperCluster M7 นั้นเป็นอีกหนึ่งทางเลือกส�ำหรับ Private Cloud Solution ที่เพียบพร้อมด้วยฟังก์ชั่นและประสิทธิภาพใน การท�ำงานที่เหนือกว่าคู่แข่ง First Logic - VERITAS เจาะตลาด Manufacturing โชว์การส�ำรองและ กู้คืนข้อมูล Date: 8 กันยายน 2559 Venue: Yodia 2, 2nd Floor, Classic Kameo Ayutthaya

บริษัท เฟิร์ส ลอจิก จ�ำกัด และบริษัท ออราเคิล คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด จัดงานสัมมนา “New Affordable Enterprise Server, Storage & Appliances – Low Cost, Secured and Efficient” น�ำเสนอเทคโนโลยี และโซลูชั่นจากออราเคิลให้แก่กลุ่ม ลูกค้าองค์กร อาทิ Converged Infrastructure ตอบโจทย์ความ ต้องการขององค์กร ทั้งรูปแบบ On Premise และ On Cloud, Modern Database Server : Oracle Database Appliance (ODA) เป็นเซิรฟ์ เวอร์ทตี่ ดิ ตัง้ ซอฟต์แวร์ของออราเคิลในตัวแบบเต็มพิกดั ประสิทธิภาพสูง สะดวก ในราคาที่คุ้มค่า, New SPARC & MiniCluster with Software in Silicon และการปกป้องข้อมูลที่ เหนือกว่าด้วย Zero Data Loss Recovery Appliance หรือ ZDLRA ปิดท้ายด้วยการแชร์ประสบการณ์ Use Cases และ Reference Solution จากทางออราเคิล

บริษัท เฟิร์ส ลอจิก จ�ำกัด และบริษัท เวอร์ริทัส ประเทศไทย จ�ำกัด ร่ ว มงานสั ม มนา “Manufacturing Day Seminar” น� ำ เสนอ VERITAS NetBackup ที่ช่วยลดความยุ่งยากในการบริหารจัดการ โครงสร้างพืน้ ฐานของระบบส�ำรองข้อมูลทีต่ อ้ งรองรับการ Integrate Solution กับ Platform ใหม่ๆ Virtual Environment, Cloud รวมถึง แอพพลิเคชั่นใหม่ๆ ได้อย่างดีเยี่ยม พร้อมทั้งความสามารถในการ เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Storage Array หรือ Cloud Storage เพื่ อ น� ำ มาใช้ ป ระโยชน์ ใ นการส� ำ รองข้ อ มู ล ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีฟังก์ชั่นใหม่ที่ช่วยให้ End User สามารถ Self Service ด้วยตัวเองส�ำหรับการส�ำรองข้อมูลผ่าน Web Interface ด้วยหน้า Portal ส่วนตัว และ Intelligent Policy ที่เ พิ่มความง่ายดายในการติดตั้ง รวมถึงความสามารถในการ Automatic Protect ส�ำหรับการส�ำรองข้อมูล VMware, Hyper-V, Oracle และ SQL เป็นต้น

G-MagZ IT MAGAZINE

11


G-NEWs

Mobile Banking

ใช้อย่างไรให้ปลอดภัย ดร.ภูมิ ภูมิรัตน ที่ปรึกษาอาวุโส กลุ่มธุรกิจ G-Security

• ไม่คลิกลิงค์จาก E-Mail หรือ SMS ที่ดู เหมือนว่าจะส่งมาจากธนาคารหรือแหล่งทีไ่ ม่ น่าเชื่อถือ ซึ่งต้องสังเกตให้ดี

หากกล่าวถึง Mobile Banking หรือการท�ำธุรกรรมการเงินผ่านอินเทอร์เน็ตบน สมาร์ทโฟน เป็นหนึง่ ในนวัตกรรมทีเ่ กิดขึน้ มาท�ำให้ชวี ติ สะดวกสบายยิง่ ขึน้ เราไม่ตอ้ ง ต่อคิวโอนเงินหน้าตูเ้ อทีเอ็ม หรือเข้าธนาคารเพือ่ ท�ำธุระเรือ่ งการเงินแบบเล็กๆ น้อยๆ อีกต่อไป เพราะทั้งหมดนี้สามารถท�ำได้ผ่านแอพพลิเคชั่น Mobile Banking ของแต่ละธนาคารเพียงปลายนิ้วสัมผัสบนสมาร์ทโฟน ความสะดวกสบายและรวดเร็วนี้ อาจต้องแลกด้วยความเสีย่ งในการถูกขโมยข้อมูล หรืออาจถูกขโมยเงินในบัญชีได้จากการขาดความระมัดระวัง ต่อการใช้งาน Mobile Banking กลุ่มบริษัท จีเอเบิล มีข้อแนะน�ำผ่านบทความจาก ดร.ภูมิ ภูมิรัตน ที่ปรึกษาอาวุโส กลุ่มธุรกิจ G-Security ซึ่งเป็นหนึ่งในทีม ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านระบบความปลอดภัยในโลกไซเบอร์จากกลุม่ บริษทั จีเอเบิล ได้นำ� เสนอ สิง่ ทีค่ วรท�ำ และสิ่งที่ควรระวัง เพื่อการใช้งาน Mobile Banking ให้ปลอดภัย ดังนี้ สิ่งที่ควรท�ำ • ในกรณีที่เข้าใช้งานด้วยชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน ควรตั้งรหัสผ่านที่มีอักขระ พิเศษ (!, @ $, %) ผสมด้วยตัวอักษรตัวใหญ่หรือเล็ก และตัวเลข ผสมกันด้วย ความยาวอย่างน้อย 8 ตัวอักษร หรือใช้รหัสผ่านที่มีความยาว 15 ตัวอักษรขึ้นไป เช่น การใช้ค�ำหรือวลี มาประกอบขึ้นเป็นประโยคยาวๆ ไม่ควรใช้ข้อมูลส่วนตัวมา เป็นส่วนหนึ่งของรหัสผ่าน เช่น หมายเลขบัตรประจ�ำตัวประชาชน เลขวันเดือน ปีเกิด เป็นต้น • ไม่บอกรหัสผ่านให้ผู้อื่นทราบ • ไม่ละเมิดระบบความปลอดภัยของโทรศัพท์ เช่น การ Jailbreak หรือ Root เครือ่ ง • ไม่ตั้งรหัสผ่านของ Mobile Banking ให้เหมือนกับรหัสผ่านของอีเมล์ • เมื่อใช้งานเสร็จต้องท�ำการ Log Out ออกจากโปรแกรมหรือแอพพลิเคชั่น Mobile Banking ทุกครั้ง • ตั้งค่าการใช้งานให้ท�ำการแจ้งเตือนทุกครั้งที่เข้าใช้บริการ Mobile Banking

12

G-MagZ IT MAGAZINE

สิ่งที่ควรระวัง • ตรวจสอบให้มั่นใจว่าได้ท�ำการติดตั้ง โปรแกรม หรือแอพพลิเคชัน่ Mobile Banking จากแหล่ ง ที่ ถู ก ต้ อ งและเชื่ อ ถื อ ได้ เช่ น AppStore, Google Play หรือเว็บไซต์อย่าง เป็นทางการของธนาคารทีใ่ ช้บริการ และควร ตรวจสอบชื่อผู้พัฒนาโปรแกรมว่าเป็นของ ธนาคารหรือไม่ • หลีกเลีย่ งการเชือ่ มต่อ WIFI สาธารณะ เมือ่ จะใช้ Mobile Banking • หลี ก เลี่ ย งการติ ด ตั้ ง โปรแกรมที่ ไ ม่ รู ้ แหล่งที่มาหรือไม่เป็นที่รู้จัก ซึ่งอาจจะเป็น โปรแกรมที่มีการท�ำงานแบบไม่พึงประสงค์ เช่น การดักจับสิ่งที่พิมพ์ (Keylogger) หรือ การขโมยข้อมูลบนเครือ่ งโทรศัพท์ เป็นต้น • ท�ำการปกป้องข้อมูลส่วนตัวด้วยการ ไม่เก็บชือ่ Username Password หมายเลขบัตร ประจ�ำตัวประชาชน หมายเลขบัตรเครดิต หมายเลขบัญชีธนาคารไว้ในโทรศัพท์ หรือ ถ้าจ�ำเป็นต้องเก็บให้ทำ� การป้องกันการเข้าถึง จากบุคคลอืน่ ด้วยการใส่รหัสผ่าน หรือท�ำการ เข้ารหัสข้อมูล หากคุณปฏิบัติ และระมัดระวัง คุณก็จะหยุด ความเสี่ยงได้ด้วยตัวเอง เราควรตระหนัก เสมอว่ า เทคโนโลยี ที่ ส ะดวกสบายย่ อ มมา พร้อมกับความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น การใช้งาน Mobile Banking ควรใช้งานอย่าง ไม่ประมาท เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสีย หายที่อาจเกิดขึ้นได้


Interview

Blockchain เปลี่ยนโลกธุรกิจ

พลิกโฉมธุรกรรมการเงินบริการแห่งอนาคต

Blockchain นวัตกรรมล�้ำยุค น�ำทางสู่การเปลี่ยนแปลง ด้านบริการให้ ง่าย-สะดวก-รวดเร็ว-ต้นทุนต�่ำ บนความ ปลอดภัยที่เชื่อมั่นได้ ด้วยการตัดตอนคนกลางและใช้ เทคโนโลยีเข้าทดแทน ในยุคแห่งการท�ำธุรกรรมการเงินเป็นส่วนหนึง่ ในชีวติ ประจ�ำวัน ของใครหลายคน ความสะดวก ปลอดภัย มั่นใจถือเป็นเรื่อง ส�ำคัญทีจ่ ะท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงต่อไปในอนาคต แต่จะเป็น อย่างไร หากวันหนึ่งผู้คนส่วนใหญ่ จะสามารถเชื่อมโยงการ แลกเปลีย่ นในแบบออนไลน์ได้จากทัว่ โลก ในแบบบุคคลต่อบุคคล (Peer to Peer) โดยไม่จ�ำเป็นต้องอาศัยคนกลาง Centralized Network แม้บคุ คลจะไม่รจู้ กั กันมาก่อน ก็สามารถเชือ่ มต่อถึงกัน ผ่านเครือข่ายร่วมกันได้อย่างอิสระในรูปแบบ Decentralized Network หรือเรียกว่าเทคโนโลยี Blockchain ที่ก�ำลังเป็น กระแสโด่งดังและถูกจับตามองอยู่ในขณะนี้ โอกาสนี้เราได้รับเกียรติจาก ดร.ภูมิ ภูมิรัตน ที่ปรึกษาอาวุโส กลุ่มธุรกิจ G-Security กลุ่มบริษัทจีเอเบิล มาถ่ายทอดความรู้ เกีย่ วกับกลไกส�ำคัญของเทคโนโลยี Blockchain ทีจ่ ะเข้ามาพลิก โฉมโลกของธุรกรรมออนไลน์ในอนาคต รวมทัง้ สร้างความเข้าใจ เทคโนโลยีดังกล่าว และแนวโน้มในการน�ำ Blockchain ไป ประยุกต์ใช้ขององค์กรต่างๆ นอกจากนี้ยังได้เห็นภาพรวม ของเทคโนโลยีที่มีผลกับชีวิตประจ�ำวันต่อการท�ำธุรกรรมและ การเปลี่ ย นแปลงด้ า นบริ การของสถาบั น การเงิ น อี ก ทั้ ง ไข ค�ำถามส�ำคัญในด้านความปลอดภัย และความไว้วางใจได้มาก น้อยเพียงใดส�ำหรับเทคโนโลยี Blockchain

ดร.ภูมิ ภูมิรัตน ที่ปรึกษาอาวุโส กลุ่มธุรกิจ G-Security กลุ่มบริษัทจีเอเบิล

แนวคิดทีถ่ อื เป็นจุดก�ำเนิด Blockchain และความส�ำคัญของเทคโนโลยี มาจากการเปลีย่ นแปลงในตลาดด้านการเงินของโลก โดยในช่วงปี 2008 ได้มีผู้ที่น�ำเอาระบบแลกเปลี่ยนเงินบนโลกออนไลน์ที่เรียกว่า Bitcoin มาใช้ ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ท� ำ ให้ ผู ้ ค นเชื่ อ มั่ น ในเทคโนโลยี ไ ด้ โ ดยไม่ ต ้ อ ง เชื่อมั่นในตัวบุคคล ด้วยการแลกเปลี่ย นเงินออนไลน์ระหว่างผู้ใช้ ด้วยกัน ขณะเดียวกันไม่ต้องอาศัยสถาบันการเงินที่มีความน่าเชื่อถือ จากคนทั่วไปมาเป็นตัวกลาง นั่นคือ จากเดิมที่ต้องอาศัยสถาบันการเงินเป็นตัวกลางในการโอนเงิน ออนไลน์ แต่ด้วยรูปแบบของ Bitcoin ท�ำให้เกิดเป็นการแลกเปลี่ยนกัน ระหว่างบุคคลต่อบุคคลได้ทันทีโดยมีค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่าการโอนเงิน ผ่านบัญชี ที่มีธนาคารเป็นศูนย์กลาง เรียกง่ายๆ ว่าไม่จ�ำเป็นต้องรู้จัก ผู้ที่ท�ำธุรกรรมในเครือข่ายด้วยกัน แต่สามารถเชื่อมั่นได้ด้วยระบบ โดยที่ Bitcoin นี้ มีองค์ประกอบส�ำคัญที่เรียกว่า “Blockchain” อยู่ใน กระบวนการดังกล่าว G-MagZ IT MAGAZINE

13


Interview

องค์ประกอบของเทคโนโลยี Blockchain

ตรวจสอบ กระนั้นจึงท�ำให้เทคโนโลยี Blockchain ได้รับความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัย และความ ถูกต้องสูง

ภาพประกอบ 1

4 องค์ประกอบขับเคลื่อนความเชื่อมั่น Blockchain ประกอบด้วย 4 ส่วนหลักที่ส�ำคัญ (ดังภาพประกอบ 1) ที่ท�ำให้ระบบได้รับความเชื่อมั่นจากผู้ใช้ ได้แก่ กล่องเก็บข้อมูล หรือ Block ท�ำหน้าที่กระจายไปให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องเก็บเอาไว้ โดยข้อมูล เหล่านั้นไม่สามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงได้ และทุกๆ ครั้งที่มีการท�ำ ธุรกรรมใหม่เกิดขึ้นจะมีการสร้างกล่องใหม่ขึ้นมา จากนั้นจึงน�ำกล่อง มาผูกเข้าด้วยกัน หรือที่เรียกว่า Chain โดยการผูกด้วยวิธี Hash Function ซึ่งเปรียบเสมือนลายนิ้วมือของไฟล์ที่ใช้ในการ Verify หรือ ยืนยันความถูกต้องจากข้อมูลที่แต่ละคนถือเอาไว้ ถือเป็นตัวแทนของ ข้อมูลต้นฉบับ ซึ่งค่าที่ได้จากการ Hash นี้มีโอกาสที่ซ�้ำกันยากมาก จึง เป็นคุณสมบัติที่เชื่อมั่นได้ในการน�ำมาใช้ยืนยัน (Verify) ข้อมูลที่แต่ละ บุคคลถือไว้ องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญอีกประการคือ การตกลงร่วมกัน หรือ Consensus เพื่อก�ำหนดข้อตกลงที่ต้องเห็นพ้องร่วมกัน ด้วยอัลกอริทึมต่างๆ แล้วแต่การตกลง ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันในเรื่องกฏ และ เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในเครือข่ายของผูใ้ ช้ รวมทัง้ จะต้องมีขนั้ ตอนการตรวจสอบ หรือ Validation เพือ่ ให้เกิดความเชือ่ มัน่ ร่วมกัน ซึง่ กระบวนการตรวจ สอบต้องเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้น เมื่อมีการท�ำธุรกรรมใดๆ เกิดขึ้น จะสร้างกล่องใหม่ขึ้น จากนั้น จะเข้าสู่กระบวนการเชื่อมโยงกล่องนั้นเข้ากับห่วงโซ่เดิมที่ผูกรวมกัน โดยมีการยืนยันตัวเองของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกรรมนั้น ซึ่งข้อมูล ธุรกรรมที่สร้างใหม่จะต้องได้รับการเห็นชอบจากผู้ใช้คนอื่นๆ ใน ห่ ว งโซ่ ผ ่ า นข้ อ ตกลงที่ มี ร ่ ว มกั น ก่ อ นหน้ า นี้ และระบบจะท� ำ การ 14

G-MagZ IT MAGAZINE

จากความสามารถของระบบด้ า นความ เชื่ อ มั่ น และความปลอดภั ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จึงท�ำให้ผทู้ อี่ ยูใ่ นระบบ Blockchain ท�ำการ แลกเปลีย่ นหรือท�ำสิง่ ต่างๆ ร่วมกันได้ โดยไม่ ต้องผ่านคนกลางที่มีความน่าเชื่อถือ ดังเช่น ปัจจุบันสถาบันการเงินท�ำหน้าที่เป็นคนกลางใน การรับจ่าย โอนเงิน เพื่อสร้างความเชื่อมั่น เป็นต้น เกิดมิติใหม่...การแลกเปลี่ยนคุณค่าผ่านออนไลน์ นอกจากคุณสมบัติที่กล่าวมาข้างต้น Blockchain ยังมีต้นทุนต�่ำเพราะ บริหารจัดการด้วยเทคโนโลยี และยังท�ำให้เกิดการธุรกรรมที่มากกว่า เงิน นั่นคือ “การแลกเปลี่ยนคุณค่าทางอินเทอร์เน็ต” ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้น มาก่อน ดร.ภูมิ ยกตัวอย่าง การแลกเปลี่ยนคุณค่าทางอินเทอร์เน็ต จากการ เปลีย่ นความเป็นเจ้าของโฉนดทีด่ นิ ว่า ต่อไปธุรกรรมดังกล่าวจะด�ำเนิน การซื้อขายจ่ายโอนได้บนเครือข่าย โดยอาศัยรากฐานของเทคโนโลยี Blockchain น�ำมาประยุกต์ โดยการโอนความเป็นเจ้าของผ่านระบบ สามารถตรวจสอบข้อมูลได้ในระบบ สิ่งเหล่านี้ท�ำให้ Blockchain เกิด การแลกเปลี่ ย นคุ ณ ค่ า หรื อ ความเป็ น เจ้ า ของทางอิ น เทอร์ เ น็ ต ได้ ด้วยการแปลงข้อมูลต่างๆ มาอยู่ในรูปแบบดิจิทัล ยิ่งกว่านั้น Blockchain ยังสามารถประยุกต์ใช้กับธุรกรรมอื่นๆ ได้ โดยเฉพาะธุรกิจทีจ่ ะต้องมีคนกลางเข้ามาเกีย่ วข้อง ซึง่ มีความเป็นไปได้ ที่ จะค่อยๆ เกิดขึ้นเรื่อยๆ คล้ายกับยุคที่เกิดอินเทอร์เน็ตที่จะต้องสร้าง ความเข้าใจให้กับผู้คนบนโลกเพื่อก้าวสู่การใช้งานในโลกไซเบอร์เช่น ทุกวันนี้ สถาบันการเงินยังคงจุดแข็งที่แตกต่าง อย่างไรก็ตามสิ่งที่เป็นผลกระทบต่อสถาบันการเงินในฐานะคนกลาง เป็นเพียงส่วนเดียวของธุรกิจสถาบันการงานทั้งหมด โดยสถาบันการ เงินยังคงมีจดุ แข็งอีกหลายด้าน เช่น ธนาคารจ่ายดอกเบีย้ เงินฝากให้กบั ลูกค้า แต่ Blockchain ไม่มกี ารจ่ายดอกเบีย้ ให้กบั เงินทีอ่ ยูใ่ นระบบ คน ทั่วไปยังต้องพึ่งพิงระบบดอกเบี้ยให้เงินงอกเงยในระบบของธนาคาร อยู่ดี


Interview

การน�ำเทคโนโลยี Blockchain ไปประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ

ดร. ภู มิ เสริ ม ในมุ ม มองของทางผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร หรือสถาบันการเงินว่า ถึงแม้ Blockchain จะส่ง ผลกระทบต่ อ ระบบธนาคารบางส่ ว นก็ ต าม แต่หลายแห่งก็เริ่มมีการเตรียมตัว เพื่อให้ สอดคล้ อ งกั บ พฤติ ก รรมที่ เ ปลี่ ย นไป ของลู ก ค้ า อย่ า งเช่ น การโอนเงิ น ต่างธนาคารหรือต่างประเทศ ที่ต้อง อาศัยตัวกลางมีค่าบริการและมีขั้นตอน มากมาย แต่เมื่อน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาช่วย ก็ท�ำให้กระบวนการต่างๆเสร็จสิ้น อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึง่ หากถึงเวลา ที่ผู้คนจะสามารถโอนเงินและท�ำธุรกรรมการเงิน ผ่ า นแอพ ระหว่ า งบุ ค คลต่ อ บุ ค คล โดยไม่ ต ้ อ งผ่ า นคนกลางที่ เชือ่ มัน่ ได้ สถาบันการเงินน่าจะมอง Blockchain เป็นเครือ่ งมือทีจ่ ะน�ำ มาใช้ในการปรับปรุงรูปแบบและสร้างเป็นโมเดลธุรกิจใหม่ เพือ่ รองรับ พฤติกรรมการใช้บริการของลูกค้า ถือว่าเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างมาก เพราะจะต้องประเมินสถานการณ์ให้ทันเวลาและตอบโจทย์กลุ่ม เป้าหมายได้รวดเร็ว G-ABLE ปักหมุดศึกษา Blockchain หาแนวทางสร้างนวัตกรรม ในมุมมองของกลุ่มบริษัทจีเอเบิล เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ จีเอเบิลมี ความมุง่ มัน่ ในการเรียนรูศ้ กึ ษา และสรรหาแนวทางในการน�ำมาใช้เพือ่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ ลูกค้า คูค่ า้ และบริษทั ในฐานะผูน้ ำ� ด้านเทคโนโลยี ใหม่ ต่อกรณีของ Blockchain ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่เอื้อประโยชน์ หลายรูปแบบ ในระหว่างนีจ้ เี อเบิลอยูใ่ นช่วงการศึกษาความเป็นไปได้ ในการประยุกต์ใช้เชิงธุรกิจ “เรามีการศึกษา มีการแลกเปลี่ยนความรู้กับพาร์ทเนอร์ทั้งในและ ต่างประเทศ เพือ่ รวบรวมข้อมูลและบูรณาการร่วมกัน โดยหาจุดลงตัว ระหว่างเทคโนโลยี ความต้องการผูใ้ ช้ การใช้ในธุรกิจ ความร่วมมือกับ ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง ซึง่ เชือ่ ว่าจะใช้เวลาอีกระยะหนึง่ เพือ่ ให้ทกุ ภาคส่วน เกิดความเข้าใจ Blockchain ให้มากพอ ซึ่งคาดว่าจะใช้เวลาจากนี้ถึง การเริ่มใช้ในเชิงธุรกิจต่อไปอีกไม่เกินหนึ่งปี” ในต่างประเทศมีตัวอย่างการใช้งาน Blockchain อยู่มากมาย อาทิ Jack Ma เจ้าของธุรกิจตลาดออนไลน์ของโลกอย่าง Alibaba ที่จะน�ำ Blockchain มาใช้ในการบริหารเงินในมูลนิธิการกุศล เพื่อให้ข้อมูลมี ความโปร่งใส หรือตัวอย่างในสหรัฐอเมริกา ใช้ในระบบการเงิน ออนไลน์ผา่ นทาง Bitcoin ทีม่ คี า่ ใช้จา่ ยน้อยและใช้เวลาสัน้ ๆ ท�ำได้งา่ ย

ภาพประกอบ 2

กว่าระบบศูนย์กลางปกติ ไม่ว่าจะเป็นการโอนเงิน จ่ายเงิน รวมถึง การน�ำมาใช้ในส่วนอืน่ ๆ เช่น การบริการทางสังคม น�ำมาใช้ในการเก็บ โฉนดที่ดิน เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการใช้ยืนยันความเป็นเจ้าของ ตลอดจนการตรวจสอบสถานะตัวบุคคล เช่น ข้อมูลบัตรประชาชน (Digital Identity) ท�ำให้ไม่ต้องกังวลเรื่องการถูกขโมยข้อมูลส่วนตัวอีก ต่อไป นอกจากนี้ความน่าสนใจก็คือ Blockchain ยังน�ำมาประยุกต์ใช้ร่วมใน การ Authentication หรือการยืนยันตัวตนแทนการใช้รหัสผ่านได้ด้วย เช่น ในกรณีที่จะติดตั้งแอพเพื่อเข้าถึงบริการต่างๆ ที่ต้องล็อคอินผ่าน คนกลางที่มีความน่าเชื่อถือ อย่าง Facebook Account หรือ Gmail Account เพียงใช้แอพในการท�ำหน้าที่เชื่อมโยงเข้ากับ Blockchain ในการเช็คความมีตวั ตนได้ทนั ทีและทีส่ ำ� คัญยังมีความเป็นส่วนตัวมาก ขึ้นด้วย (ดังตัวอย่างการประยุกต์ใช้ในภาพประกอบ 2) ส�ำหรับประเทศไทยในช่วงปี 2016 ที่ผ่านมาองค์กรธุรกิจและ ผู้สนใจ ให้ความส�ำคัญกับ Blockchain มีการสร้างคอมมูนิตี้และ กิจกรรมมากมาย เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างให้เกิดความ เข้าใจในวงกว้าง หากแต่อาจยังไม่ได้น�ำไปใช้งานอย่างจริงจัง แต่อย่างไรเชื่อว่า เมื่อทุกอย่างลงตัว ทุกภาคส่วนในประเทศก็ จะมีความพร้อมเกิดขึ้นไม่ต่างจากประเทศอื่นๆ เพราะธุรกิจ และองค์กร ไม่อาจหยุดยั้งเทคโนโลยีได้เลย G G-MagZ IT MAGAZINE

15


Special Report

จับประเด็น

SaaS & Software-Enable Service จุดเปลี่ยนอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์? จากการแถลงข่ า วมู ล ค่ า ตลาดซอฟต์ แ วร์ ของประเทศไทยประจ�ำปี 2558 ของส�ำนักงาน ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมซอฟต์ แ วร์ แ ห่ ง ชาติ (องค์การมหาชน) หรือ (SIPA) โดยท�ำการ ส�ำรวจเป็นประจ�ำทุกๆ ปี ในปีนี้พบว่าตลาด มีอัตราการเติบโตเพียงเล็กน้อย และได้พบ ข้อสังเกตบางประการที่เป็นแนวโน้มใหม่ๆ ในโอกาสนี้ G-Magz จึงได้ไขประเด็นต่างๆ พร้อมกับเจาะลึกความเป็นไปที่อาจเกิดการ เปลีย่ นแปลงในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์เร็วๆ นี้ ตลาดซอฟต์แวร์ปี 2558 โต 1.2% ผลการส� ำ รวจ ซึ่ ง แถลงโดย คุ ณ สุ วิ ม ล เทวะศิลชัยกุล รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงาน ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมซอฟต์ แ วร์ แ ห่ ง ชาติ (องค์การมหาชน) หรือ SIPA ระบุว่ามูลค่า ผลิตซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ประจ�ำปี 2558 มีอัตราการเติบโต 1.2% ด้วยมูลค่า 52,561ล้ า นบาท ซึ่ ง มี มู ล ค่ า การส่ ง ออก ซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ 3,330 ล้าน บาท โดยการส�ำรวจยังครอบคลุมไปถึงมูลค่า การน�ำเข้าซอฟต์แวร์จากต่างประเทศ และการ 16

G-MagZ IT MAGAZINE

ภาพประกอบ 1

พัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้ภายในองค์กร ซึ่งได้ โดยมีการใช้ SaaS (Software as a Service) แสดงไว้ในภาพประกอบ 1 ทดแทนการใช้ซอฟต์แวร์ที่มีไลเซนส์ในการ ติดตั้งลงบนเครื่อง ท�ำให้ซอฟต์แวร์มีราคา อัตราการเติบโตเพียง 1.2% เป็นผลมาจาก ถูกลง นอกจากนี้ยังพบว่าพฤติกรรมตลาด เศรษฐกิ จ ในช่ ว งที่ ผ ่ า นมาไม่ ดี นั ก ขณะ ก�ำลังขยับเข้าสู่ Software-Enable Service เดียวกันพฤติกรรมของตลาดเปลี่ยนแปลงไป มากขึ้น


Special Report

ในการกำ � หนดนิ ย ามของตลาดซอฟต์ แ วร์ ได้ ทำ � การสำ � รวจตลาดตาม หลักการนี้ตลอดหลายปีที่ผ่านมา กลุ่มที่ทำ�การสำ�รวจคือ ซอฟต์แวร์และ บริการซอฟต์แวร์ หรือวงสีส้มในภาพประกอบด้านล่าง ขณะที่วงรอบนอก อย่างสีเหลืองและสีฟา้ ยังไม่ได้มกี ารสำ�รวจ โดยวงสีเหลือง Software-Enable Service หมายถึง บริการทีเ่ กิดจากการใช้ซอฟต์แวร์ และ Software-Using Business หมายถึง ธุรกิจที่ใช้ซอฟต์แวร์เป็นเครื่องมือในการดำ�เนินงาน

เช่นกัน นอกจากนีก้ ารมาของเทคโนโลยีคลาวด์ ยิง่ เสริมให้ SaaS มีแนวโน้มทีจ่ ะแรงมากยิง่ ขึน้ ประเด็นส�ำคัญอีกประการ คือ SaaS ท�ำให้ ตลาดผลิตซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ ขยายตัวได้น้อย ทั้งนี้เนื่องจากผู้บริโภคใช้เงิน จ่ า ยค่ า ซอฟต์ แ วร์ น ้ อ ยลง หรื อ เท่ า กั บ ว่ า ซอฟต์ แ วร์ มี ร าคาถู ก ลง โดยการจ่ า ยเป็ น รายเดือน รายปี หรือรายการใช้งานตามจริง แทนที่จะต้องเสียเงินงบประมาณเป็นก้อนเพื่อ ซื้อซอฟต์แวร์ติตตั้งลงในเครื่อง ดังนั้นจากสัดส่วนรายได้ของ SaaS แม้จะ ดูน้อยแต่จ�ำนวนการใช้งานมีมากพอสมควร ในขณะที่ฝั่งผู้บริโภค ก็ให้ความสนใจ SaaS ด้วยเพราะได้ใช้ซอฟต์แวร์ในราคาที่ถูกลง “จากพฤติกรรมตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป ท�ำให้ ผู้ประกอบการไทยต้องเร่งปรับตัวเอง เพื่อให้ สามารถด�ำเนินธุรกิจ และสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันต่อไปได้ ซึง่ จะเห็นได้วา่ องค์กร จ�ำนวนมากก�ำลังเดินหน้าปรับเปลี่ยนธุรกิจ” รศ.ดร.ธนชาติ นุ่มนนท์ ผู้อ�ำนวยการสถาบัน ไอเอ็มซี กล่าวในฐานะผู้ด�ำเนินโครงการวิจัย และส�ำรวจตลาดซอฟต์แวร์ปี 2558

ส�ำหรับการเติบโตของตลาดซอฟต์แวร์และ บริการซอฟต์แวร์ คาดว่าปี 2559 จะมีมูลค่า การผลิตในประเทศกว่า 54,893 ล้านบาท หรือ มีอตั ราการเติบโต 4.4% ขณะทีป่ ี 2560 คาดว่า จะมีอตั ราการเติบโตราว 4.3% โดยมีมลู ค่ารวม 57,257 ล้านบาท ทัง้ นีเ้ ป็นผลมาจากปัจจัยของ การขับเคลือ่ นนโยบายเศรษฐกิจดิจทิ ลั (Digital Economy) ของรัฐบาล SaaS ผุดผู้บริโภคจ่ายน้อยลง แม้วา่ ปัจจุบนั สัดส่วนระหว่างซอฟต์แวร์ทตี่ ดิ ตัง้ ในเครื่องผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ที่ใช้งานผ่านเว็บ หรือ SaaS ยังห่างกันอยู่พอสมควร ดังเช่นผล ส�ำรวจตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ ปี 2558 ซึ่งเป็นปีล่าสุดพบว่า ซอฟต์แวร์ที่ ติดตั้งในเครื่องผู้ใช้มีสัดส่วน 83.3% ขณะที่ SaaS มีสัดส่วน 16.7% ดังภาพประกอบ 2 แต่ มีแนวโน้มที่ SaaS จะเพิ่มขึ้นนับจากนี้ โดย แนวโน้มการเติบโตของ SaaS เป็นผลมาจาก ตัวอย่างของผู้ผลิตซอฟต์แวร์จากต่างประเทศ

เช่น ไมโครซอฟท์ อะโดบี ฯลฯ มีการเปลี่ยน โมเดลด้านการขายไปสู่ SaaS มากขึ้น รวมทั้ง กระแสการพัฒนาซอฟต์แวร์ในประเทศไทย เพื่ อ ท� ำ ตลาดในรู ป แบบ SaaS ก็ มี ม ากขึ้ น

จึงอาจกล่าวได้ว่า SaaS จะเป็นองค์ประกอบ หนึ่งที่จะท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญ ในอุ ต สาหกรรมซอฟต์ แ วร์ ต ่ อ จากนี้ ไ ปไม่ นานนัก

ภาพประกอบ 2 G-MagZ IT MAGAZINE

17


Special Report ภาพประกอบ 3

สารสนเทศเป็นปีแรก โดยครอบคลุม บัณฑิต สาขาวิ ศ วกรรมคอมพิ ว เตอร์ วิ ท ยาการ คอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศ พบประเด็นว่ามีจ�ำนวนนักศึกษาที่รับเข้า และ จ�ำนวนผู้จบการศึกษาลดลง ซึ่งสอดคล้องกับ ข้อมูลของส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) จึงเป็นแนวโน้มทีน่ า่ กังวลเป็นอย่างมาก สวนทางกับตลาดที่พบจากการส�ำรวจพบว่า ธุรกิจยังคงมีความต้องการบุคลากรเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ดังภาพประกอบ 3

จับตา Software-Enable Service ตัวแปรสู่จุดเปลี่ยน อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ดั ง ที่ ก ล่ า วข้ า งต้ น ถึ ง นิ ย ามขนาดตลาด ซอฟต์แวร์ ซึง่ Software-Enable Service เป็น ส่วนที่ SIPA ยังไม่ได้ท�ำการส�ำรวจ หากแต่ผล การส�ำรวจพบประเด็นทีน่ า่ สนใจ คือ พฤติกรรม ตลาดมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะใช้ Software-Enable Service มากขึน้ โดยบริษทั ผูด้ ำ� เนินธุรกิจจะให้ บริการที่เกิดจากการใช้ซอฟต์แวร์ต่อลูกค้า ตัวอย่างเช่น ผู้ให้บริการจองที่พักและโรงแรม ชื่ อ ดั ง อย่ า ง Agoda หรื อ การขายหนั ง สื อ ออนไลน์สัญชาติไทยอย่าง OokBee รวมทั้ง Netbay ซึ่งเป็นผู้ให้บริการด้าน e-Business ครบวงจร เป็นต้น

จากแนวโน้มของ Software-Enable Service หรือบริการที่เกิดจากการใช้ซอฟต์แวร์ จะเป็น องค์ ป ระกอบหนึ่ ง ในการเปลี่ ย นแปลง อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในภาพรวมเช่นกันกับ SaaS ตามที่กล่าวมาแล้ว บุคลากรเข้าสู่ตลาดลดลง ในปี นี้ มี ผ ลส� ำ รวจการผลิ ต บั ณ ฑิ ต ในสาขา ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การพั ฒ นาซอฟต์ แ วร์ แ ละ

ผลการส� ำ รวจกลุ ่ ม สถาบั น การศึ ก ษาที่ ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต ด้ า นการพั ฒ นาซอฟต์ แ วร์ แ ละ สารสนเทศพบข้อมูลว่า ปี 2556 มีจ�ำนวน ผู้ส�ำเร็จการศึกษา 12,619 คน จาก 3 สาขา ซึ่งมีแนวโน้มที่ลดลง ดังภาพประกอบ 4 โดยผลการส�ำรวจยังมีข้อมูลอีกหลายด้านที่ ไม่ได้น�ำมากล่าวถึงในโอกาสนี้ แต่อย่างไร ก็ตามเชือ่ ว่าบทความนีพ้ อจะเป็นข้อมูลให้ผคู้ น ในแวดวงไอทีได้รับทราบถึงสถานะและการ เปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ (ท่านสามารถติดตามข้อมูลการส�ำรวจตลาด ซอฟต์ แ วร์ ป ี 2558 เพิ่ ม เติ ม ได้ ใ นคอลั ม น์ Idea Info) G

การขยายตัวของ Software-Enable Service มีความน่าสนใจ เนื่องจากซอฟต์แวร์สามารถ สร้างรายได้ และผลก�ำไรให้กับธุรกิจอย่างเป็น กอบเป็นก�ำ และมีแนวโน้มว่า ตลาดส่วนหนึ่ง จะย้ายจากฝั่งซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ มาอยู่ในกลุ่มของ Software-Enable Service ผนวกกับกระแส Tech-Startup ท�ำให้เอื้อต่อ การพัฒนาธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นมุ่งไปใน รู ป แบบของ Software-Enable Service มากขึ้นด้วย ภาพประกอบ 4

18

G-MagZ IT MAGAZINE


Special Report เผยผลสำ�รวจผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ปี 2559 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สพธอ.) หรือ ETDA กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เผยผลสำ�รวจพฤติกรรม ผู้ใช้อนิ เทอร์เน็ต ปี 2559 พบว่า สมาร์ทโฟนยังคงเป็นอุปกรณ์หลักทีผ่ ู้ใช้อนิ เทอร์เน็ต นิยมใช้ ในการเชื่อมต่อ โดยมีจำ�นวนผู้ ใช้งานมากถึง 85.5% และมีจำ�นวนชั่วโมง การใช้งานโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 6.2 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งทั้งจำ�นวนผู้ใช้งานและจำ�นวนชั่วโมง การใช้งานของปีนี้สูงกว่าปีที่แล้วอย่างเห็นได้ชัด โดยในปี 2558 มีจำ�นวนผู้ ใช้งาน 82.1% และมีจำ�นวนชั่วโมงการใช้งานโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 5.7 ชั่วโมงต่อวันเท่านั้น

กิจกรรมยอดนิยม 5 อันดับแรกที่ผู้ ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมทำ�ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ ได้แก่ รองลงมา เป็นการดูวิดีโอผ่าน YouTube (66.6%)

การพูดคุยผ่าน Social Network (86.8%)

การค้นหาข้อมูล (54.7%)

ในส่วนของสือ่ สังคมออนไลน์ยอดนิยม 3 อั น ดั บ พบว่ า อั น ดั บ แรก ได้ แ ก่ YouTube มีผู้ใช้งานมากถึง 97.3% รองลงมา คือ Facebook และ Line มีผู้ใช้งานคิดเป็น 94.8% และ 94.6% ตามลำ�ดับ

การอ่านหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (55.7%) และการทำ�ธุรกรรม ทางการเงิน (45.9%)

ในด้านปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต จากผลการสำ�รวจ พบว่า ปัญหาอันดับแรก ได้แก่ ความล่าช้าในการเชือ่ มต่อ/ใช้อนิ เทอร์เน็ต (70.3%) รองลงมา เป็นเรือ่ งของปริมาณโฆษณาทีม่ ารบกวน (50.7%), การเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตยาก/หลุดบ่อย (32.7%), เสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยแพง (26.8%) และ การให้บริการอินเทอร์เน็ตยังไม่ทั่วถึง (21.2%) ตามลำ�ดับ

จากการสำ�รวจพอจะสรุปได้วา่ คนส่วนใหญ่ยงั คงชืน่ ชอบการสือ่ สารจากการแชทในสังคมออนไลน์มากทีส่ ดุ ขณะทีก่ าร ชมยูทบู เป็นอีกรูปแบบหนึง่ ของความบันเทิงทีเ่ ป็นทีน่ ยิ ม สำ�หรับการอ่านอีบคุ๊ คนไทยยังคงให้ความสำ�คัญเป็นอันดับ 3 ทัง้ หมดช่วยให้การประเมินต่อยอดกิจกรรมต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตของทัง้ ภาครัฐเอง เอกชน และคนทัว่ ไปง่ายขึน้ ในการเข้าถึงพฤติกรรมของผู้บริโภคต่อไป

G-MagZ IT MAGAZINE

19


Tech&Trend ธันยพร วิทยาบัณฑิต System Solutions Engineer บริษัท เฟิร์ส ลอจิก จำ�กัด

New Oracle Database Appliance Simplified Data Center - ขนาดเล็กประสิทธิภาพไม่เล็ก New Oracle Database Appliance (ODA) หนึ่ ง ใน ผลิตภัณฑ์กลุ่ม Engineering System ที่เป็นได้ทั้ง High Availability Database System และ Simplified Data Center ขนาดเล็กซึง่ มาพร้อมกับประสิทธิภาพทีไ่ ม่เล็กอย่างทีค่ ดิ

ออกแบบระบบให้มคี ณ ุ สมบัตดิ งั ทีก่ ล่าวไว้ขา้ งต้น ผูอ้ อกแบบ จะต้องมีความรูค้ วามเข้าใจ และสามารถคัดเลือกส่วนประกอบ ต่างๆ รวมถึงต้องตรวจสอบความเข้ากันได้ (Compatibility) ระหว่างส่วนประกอบต่างๆ ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

Database ถือว่าเป็นองค์ประกอบหลักทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของระบบ แอพพลิ เ คชั่ น เนื่ อ งจากเป็ น ส่ ว นที่ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ของ แอพพลิเคชัน่ หรือเรียกได้วา่ หากระบบ Database ไม่สามารถ ใช้งาน หรือข้อมูลใน Database เสียหาย นั่นหมายถึงระบบ แอพพลิเคชัน่ หลักขององค์กรไม่สามารถใชังานได้เช่นกัน และ มีผลกระทบโดยตรงต่อธุรกิจขององค์กรแน่นอน อาจท�ำให้ องค์กรสูญเสียรายได้ หรือสูญเสียความน่าเชื่อถือจากลูกค้า ก็เป็นได้ ด้วยเหตุนี้ระบบ Database จึงควรจะมีความเสถียร ของข้อมูล รวมถึงสามารถท�ำงานตลอดเวลาแบบ 24x7 หรือ มีคุณสมบัติ High Availability

ในขัน้ ตอนของการติดตัง้ ระบบ Database ทีม่ คี ณ ุ สมบัติ High Availability จ�ำเป็นจะต้องอาศัยผูช้ ำ� นาญการเฉพาะทาง ตัง้ แต่ ติดตั้งและตั้งค่า Server และ Storage, ตั้งค่า Network และ SAN เพื่อเชื่อมต่อส่วนประกอบต่างๆ เข้าด้วยกัน รวมถึง ตั้งค่าให้ส่วนประกอบต่างๆ เป็นแบบ Redundant ไปจนถึง ติดตัง้ และตัง้ ค่า Oracle Database Software และ Clusterware อาจใช้เวลานานหลายสัปดาห์ในการติดตั้งทั้งระบบ รวมถึง ทดสอบระบบจนสามารถใช้งานได้ รวมทัง้ อาจจะส่งผลกระทบ ต่อเนื่องคือเกิดความล่าช้าในการน�ำแอพพลิเคชั่นใหม่ๆ ของ องค์กรออกไปเริ่มใช้งาน ซึ่งคงไม่ตอบโจทย์ส�ำหรับองค์กรที่ ต้องการความยืดหยุ่นและเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาธุรกิจอยู่ ตลอดเวลา

ไม่ ง ่ า ยเลยที่ จ ะออกแบบระบบ Database ที่ มี คุ ณ สมบั ติ สามารถท� ำ งานได้ ต ลอดเวลา (High Availability) และ มีประสิทธิภาพทีด่ ี (High Performance) รวมถึงมีระบบป้องกัน ความเสียหายของข้อมูล (Data Redundancy) เนื่องจากการ 20

G-MagZ IT MAGAZINE

หลังจากทีต่ ดิ ตัง้ ระบบส�ำเร็จและเริม่ ใช้งานแล้ว สิง่ ทีส่ ำ� คัญคือ การดูแลระบบให้ท�ำงานได้อย่างปกติ และเกิด Downtime


Tech&Trend

ให้นอ้ ยทีส่ ดุ จ�ำเป็นต้องใช้ผดู้ แู ลระบบทีม่ คี วามสามารถและช�ำนาญการ ในด้านต่างๆ เช่น System Administrator, Storage Administrator, Network Administrator และ Database Administrator หากเป็นระบบที่อยู่ในองค์กรขนาดเล็ก หรือเป็นระบบของสาขาย่อย ที่แยกตัวออกมาจากสาขาหลัก อาจมีผู้ดูแลระบบที่เป็น Application Admin หรือ Database Admin เพียงคนเดียว ซึง่ เมือ่ เกิดปัญหาทีท่ ำ� ให้ ระบบไม่สามารถท�ำงานได้อย่างปกติ ทางผู้ดูแลนั้นอาจจะไม่สามารถ ค้นพบว่าสาเหตุเกิดจากอะไร และจะสามารถแก้ปัญหาได้อย่างไร เนือ่ งจากไม่ได้มคี วามช�ำนาญในเรือ่ งอืน่ ๆ แต่หากเป็นระบบในองค์กร ขนาดใหญ่ที่มีการแยกผู้ดูแลระบบอย่างชัดเจน ปัญหาที่พบได้เสมอ คือ ใช้เวลานานกว่าจะรูส้ าเหตุของปัญหาเกิดจากส่วนประกอบใดของ ระบบ นอกจากนั้นอาจเกิดปัญหาในการสื่อสารกันระหว่างผู้ช�ำนาญ การในส่ ว นต่ า งๆ ท� ำ ให้ ใ ช้ ร ะยะเวลานานกว่ า จะตรวจสอบและ แก้ปัญหาให้ระบบนั้นใช้งานได้ตามปกติ

Oracle Database Appliance (ODA) เป็น Engineering Product ที่ Oracle ออกแบบขึ้นมาเพื่อใช้งาน Oracle Database โดยเฉพาะ มีการออกแบบโดยผสมผสานระหว่าง Oracle Hardware และ Oracle Software ที่รวมถึงซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการบริหารจัดการ ออกมาเป็น ระบบทีม่ คี วามเรียบง่ายตัง้ แต่ขนั้ ตอนการติดตัง้ ไปจนถึงการดูแลรักษา ทั้งยังมีการปรับแต่งค่าต่างๆ ให้ Oracle Database ท�ำงานบน ODA ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ในขณะที่ Total Cost of Ownership (TCO) ไม่ว่าจะเป็นค่าฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ค่าติดตั้ง ค่าใช้จ่ายใน การดูแลระบบนั้นค่อนข้างต�่ำ สวนทางกับประโยชน์มากมายที่จะ ได้รับจาก ODA จุดเด่นที่ส�ำคัญของ ODA

Simple Simplest Implementation เนื่องจาก ODA ออกแบบมาเพื่อให้ง่ายในการติดตั้ง หรือดูแลรักษา ซึ่ ง ผู ้ ที่ ใ ช้ ง านไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเป็ น ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ เฉพาะทาง หรืออาจจะเป็น Database Admin ก็สามารถติดตั้ง หรือดูแลส่วนประกอบต่างๆ ภายใน ODA ตัง้ แต่ Storage, Server, Network, OS ไปจนถึง Database ได้เนื่องจาก ODA มาพร้อมกับ Software Tool ที่เรียกว่า Oracle Appliance Manager ซึ่งสามารถติดดั้งระบบ Oracle Database ที่มาพร้อมกับ Oracle Real Application Cluster (RAC) โดยผ่าน GUI Tool ซึ่ง Tool นี้จะท�ำหน้าที่ในการสร้างพื้นที่ในการ ใช้งานบน Disk และสร้าง Database รวมถึง จัดการ Network และปรับค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ให้เหมาะสมโดยอัตโนมัติ ท�ำให้ภายในเวลา

G-MagZ IT MAGAZINE

21


Tech&Trend เพียงไม่ถึง 2 ชั่วโมง Oracle Database แรกที่มีคุณสมบัติ High Availability ก็ถูกสร้างขึ้นมาพร้อมใช้งาน Simplest Administration ในการดูแลรักษาระบบเราสามารถใช้ Oracle Enterprise Manager 13c เพื่อมอนิเตอร์ในระดับฮาร์ดแวร์ไปจนถึง Database ภายใน หน้าจอเดียว ท�ำให้ผดู้ แู ลระบบสามารถรูไ้ ด้ทนั ทีวา่ ปัญหาเกิดจากส่วนใด พร้อมค�ำแนะน�ำแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่ช่วยทางผู้ดูแลระบบ สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว โดยที่ผู้ดูแลระบบไม่จ�ำเป็นต้อง มีความรู้ความช�ำนาญในทุกๆ ด้าน นอกจากนี้สามารถใช้ Oracle Enterprise Manager 13c ในการบริหารจัดการเพือ่ ทีจ่ ะเชือ่ มต่อ ODA กับ Oracle Public Cloud ได้อีกด้วย

Simplest Patching ปกติแล้วการ Patching ส�ำหรับระบบทั่วไปในแต่ละครั้ง ทางผู้ดูแล ระบบจ�ำเป็นต้อง ตรวจสอบว่าเมื่อท�ำการ Patching ส่วนใดส่วนหนึ่ง แล้ว จะไปกระทบการท�ำงานของส่วนอื่นๆ หรือไม่ ในขณะที่การ Patching บน ODA นั้น ทาง Oracle จะท�ำออกมาเป็น Patch พิเศษ ส�ำหรับ ODA โดยเฉพาะ และจะมีการออก Patch ใหม่มาเพียงปีละ 4 ครั้งเท่านั้น สามารถเข้าไปดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ของ Oracle ซึ่ง Patch พิเศษนี้จะรวมการอัพเดทส่วนประกอบทุกส่วนของ ODA ตั้งแต่ฮาร์ดแวร์ไปจนถึง Database ไว้ในแพ็คเกจเดียว สิ่งที่ได้คือ ความสะดวกรวดเร็วในการ Patch และสามารถมั่นใจได้ว่าหลังจาก ที่ Patching ไปแล้ว ODA สามารถท�ำงานได้ตามปกติ ยิ่งไปกว่านั้น ยังท�ำงานได้ดยี งิ่ ขึน้ เพราะว่าในการ Patching แต่ละครัง้ จะมีการเพิม่ Feature ความสามารถต่างๆ ให้กับ ODA อีกด้วย Optimized แนวคิดของการออกแบบ ODA คือ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์นั้น จะ เพิม่ ประสิทธิภาพให้กนั และกัน ด้วยพืน้ ฐานของ ODA ทีป่ ระกอบด้วย ฮาร์ดแวร์สว่ นต่างๆ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตทิ เี่ หมาะสม พร้อมจะท�ำงานร่วมกับ Database ทุกๆ ประเภทไม่วา่ จะเป็น OLTP, Data Warehouse หรือ In Memory โดย ODA แบ่งออกเป็น 3 รุ่นหลักดังนี้ 22

G-MagZ IT MAGAZINE

1. Oracle Database Appliance X6-2 HA รุ่นนี้ถูกออกแบบให้ ฮาร์ดแวร์ทุกส่วนเป็นแบบ Redundant เพื่อรองรับการใช้งาน RAC ทีท่ ำ� ให้ Oracle Database สามารถท�ำงานได้แบบ 24x7 โดยทีส่ ามารถ ใช้ GUI เพื่อเลือกเปิดใช้งาน RAC บน ODA ได้โดยไม่ต้องมีขั้นตอน ในการติดตั้งใดๆ ที่ยุ่งยากเพิ่มเติม Storage ของ ODA X6-2 HA จะเป็น Flash Disk ทั้งหมด เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการใช้งาน Database ท�ำให้มีความรวดเร็วทั้งเรื่อง การอ่านและเขียนมากกว่า Harddisk ธรรมดาที่เป็นแบบจานหมุน อย่างมาก ซึ่ง Database บนเครื่อง ODA X6-2 HA นี้จะสามารถให้ บริการแอพพลิเคชัน่ และระบบโดยรวมได้อย่างรวดเร็วมากกว่าหลาย เท่าตัว ซึ่ง Flash Disk ส�ำหรับรุ่นนี้มี 2 ประเภทการใช้งาน ดังนี้ 1) Solid State Drive ที่ใช้เป็นพื้นที่เก็บ Database File มีพื้นที่ พร้อมใช้งานในส่วนนีเ้ ท่ากับประมาณ 4.8 TB (หลังจากการท�ำ Raid) และสามารถขยายได้ถึง 19.2 TB 2) Solid State Drive ส�ำหรับเก็บ Redo Log ของ Database ส่วนนี้จะช่วยเพิ่มความรวดเร็วในการ Commit Database แต่ละ Transaction ท�ำให้ Database Update ข้อมูลได้รวดเร็วยิ่งขึ้น


Tech&Trend ในส่วนของ Network ที่เชื่อมต่อกันภายในระหว่างเซิร์ฟเวอร์ที่ Redundant กันนัน้ จะใช้ Interface ทีเ่ ป็นแบบ Infiniband โดยมีขนาด แบนด์ วิ ด ท์ เท่ า กั บ 40 Gb/sec ในส่ ว นนี้ มี ค วามส� ำ คั ญ มากๆ กับความเร็วในการใช้งาน Database ที่เป็น High Availability เนือ่ งจากการใช้งาน RAC ทีท่ ำ� ให้การท�ำงานของ Database เป็นแบบ Active – Active นั้น จ�ำเป็นต้องส่งข้อมูลกัน ระหว่างเซิรฟ์ เวอร์ที่ Redundant อยูต่ ลอดเวลา นัน่ หมายความว่ายิง่ Network มีขนาดใหญ่ การสื่อสารระหว่างกันยิ่งรวดเร็ว ส่งผล ให้ Database Response ได้รวดเร็วยิ่ง ขึน้ ด้วย คุณสมบัตขิ องเซิรฟ์ เวอร์ 2 เครือ่ งทีท่ ำ� Redundant กัน แต่ละเซิร์ฟเวอร์มีหน่วยประมวลผลจ�ำนวน 20 Core และ Memory ขนาด 256 GB รวมแล้วทัง้ เครือ่ ง ODA X6-2 HA จะมีหน่วยประมวลผลจ�ำนวนมากถึง 40 Core และ Memory รวมขนาด 512 GB ซึง่ สามารถ ขยาย Memory เพิ่มเติมได้สูงสุดเท่ากับ 1.5 TB จะเห็นว่าสเปคของฮาร์ดแวร์ที่ให้มา ค่อนข้างใหญ่ ท�ำให้เครือ่ งรุน่ นีส้ ามารถรองรับ Database ขนาดใหญ่ หรือ Database ขนาด เล็กได้จำ� นวนมาก เหมาะกับการน�ำไปท�ำเรือ่ ง ของการ Consolidate Database หลายๆ งาน จาก Database Server เก่าหลายๆ เครื่อง รวมถึง Storage เก่า ให้มาอยู่บน ODA เพียงเครื่องเดียว ด้วยขนาดเครื่องที่เล็กเพียงแค่ 6 RU ซึ่งช่วยประหยัดพื้นที่ใน Rack และกินไฟฟ้าน้อยลงมาก ท�ำให้ ประหยัดค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ได้อีกด้วย

Virtualized Platform on ODA X6-2 HA

ที่ขาดไม่ได้คือ นอกจาก ODA X6-2 HA นั้นสามารถใช้งานเป็นระบบ High Availability Database แล้วยังสามารถใช้งานเป็น Data Center ขนาดเล็กได้ เนื่องจากมาพร้อมกับ Oracle VM ที่เป็น Virtualization ท�ำให้บน ODA รุน่ นีส้ ามารถใช้งานได้ทงั้ แอพพลิเคชัน่ และ Database บนเครือ่ งเดียวกัน โดยทีร่ ะบบปฎิบตั กิ ารสามารถใช้ได้บน ODA X6-2 HA และเป็นได้ทั้ง Windows, Linux และ Solaris for X86 ซึ่ง Oracle VM นั้นมาพร้อมกับ Auto-Start Feature ที่ท�ำให้ Virtual Machine ของแอพพลิ เ คชั่ น มี คุ ณ สมบั ติ เ ป็ น High Availability คื อ หาก เซิรฟ์ เวอร์มี Virtual Machine ใช้งานอยูไ่ ม่สามารถใช้งานได้ Feature นีจ้ ะท�ำการ Fail-Over Virtual Machine ไปใช้งานทีเ่ ซิรฟ์ เวอร์อกี เครือ่ ง หนึ่งได้โดยอัตโนมัติ

ODA X6-2 HA with Solution-In-A-Box

หากแอพพลิเคชั่นที่ต้องการใช้งานบน ODA X6-2 HA คือ Oracle Middleware/Application ไม่ว่าจะเป็น Oracle WebLogic Server, Oracle JD Edwards, Oracle E-Business Suite หรือ Oracle PeopleSoft ทาง Oracle จะมีเอกสาร Best Practice พร้อม Tool และ

Image ส�ำเร็จรูปทีใ่ ช้ในการติดตัง้ Oracle Application บน ODA X6-2 HA โดยเฉพาะ เพือ่ ช่วยลดขัน้ ตอนและเพิม่ ความสะดวกในการติดตัง้ ท�ำให้สามารถเริ่มใช้งาน Oracle Application ได้เร็วยิ่งขึ้น นอกจากนี้บน ODA นี้ยังมี Certified กับทุก SAP Module ที่อยู่บน SAP NetWeaver 7.x ที่พร้อมใช้งานกับ Oracle Database 12c เพราะฉะนั้น ODA ถือเป็นทางเลือกหนึ่งที่ สามารถรองรับ SAP Application ขนาดกลาง ที่ต้องการคุณสมบัติ High Availability

Database / VM Snapshot

ล่าสุดใน ODA Patch Version 12.1.2.x รองรับ การท�ำ Database Snapshot และ VM Snapshot เพื่ อ สร้ า งระบบแวดล้ อ มที่ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ งาน Development หรือ Test ได้อย่างรวดเร็วภายในไม่กนี่ าที รวมทั้งยังประหยัดพื้นที่ในการเก็บข้อมูลเหล่านี้อีกด้วย 2. Oracle Database Appliance X6-2S/M เป็ น ODA ที่ อ อกแบบมาให้ เ หมาะส� ำ หรั บ องค์กรขนาดเล็ก ทีม่ ี Database ขนาดกลาง และ มีระบบ Database ทีไ่ ม่ตอ้ งการคุณสมบัติ High Availability โดยที่แบ่งออกเป็น 2 รุ่นย่อย คือ • ODA X6-2S จะมีจำ� นวนหน่วยประมวลผล เท่ากับ 10 Core มีขนาด Memory เริ่มต้นเท่ากับ 128 GB (ขยายได้ สูงสุด 384 GB) • ODA X6-2M จะมีจ�ำนวนหน่วยประมวลผลเท่ากับ 20 Core มีขนาด Memory เริ่มต้นเท่ากับ 256 GB (ขยายได้สูงสุด 768 GB) ซึ่งโดยรวมแล้วต่างกันเพียงแค่ส่วนของหน่วยประมวลผล ขนาดของ Memory และจ�ำนวน Port ของ Network ส่วนคุณสมบัติต่างๆ จะ เหมือนกันทุกประการ 3. Oracle Database Appliance X6-2L รุ่นนี้มีพื้นที่ในการเก็บ Database File ขนาดค่อนข้างใหญ่ หรืออาจจะน�ำมาเก็บ Database จ�ำนวนมาก แต่ด้วยการที่ไม่มีคุณสมบัติ High Availability จึงเหมาะ จะเป็นเครือ่ งบนระบบทีเ่ ป็น DR (Disaster Recovery) ใช้ท�ำงานแทน ในกรณีที่ Datacenter หลักไม่สามารถเข้าถึง หรือไม่สามารถใช้งาน ได้เลย ส่วนคุณสมบัติอื่นๆ จะเหมือนกับ ODA X6-2M คือ มีหน่วย ประมวณผลเท่ากับ 20 Core และมี Memory เริ่มต้นที่ 256 GB (ขยายได้สูงสุด 768 GB) ยกเว้นที่ต่างกันคือ พื้นที่พร้อมส�ำหรับเก็บ Database File มีมากกว่าถึง 3 เท่า

Performance NVMe Flash Drive

อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพในการใช้งานของ ODA X6-2S/M/L ก็ไม่ ได้ด้อยตามราคาที่ต�่ำไปด้วย เนื่องจาก Disk ที่ให้มาเป็นแบบ NVMe Flash Drive ส�ำหรับ ODA X6-2S/M มีพื้นที่รองรับ Database G-MagZ IT MAGAZINE

23


Tech&Trend ขนาดประมาณ 2.4 TB (สามารถขยายได้ถงึ 4.8 TB) ถือว่า พืน้ ทีส่ ามารถรองรับ Database ได้คอ่ นข้างใหญ่เมือ่ เทียบ กับขนาดเครือ่ งทีเ่ ล็กเพียง 1 RU ส่วน ODA X6-2L มีพนื้ ที่ รองรับ Database ขนาดใหญ่ประมาณ 7.6 TB (สามารถ ขยายได้ถึง 11.8 TB) ด้วยขนาดเครื่องเพียง 2 RU และ ด้วยการทีใ่ ช้ Storage เป็นแบบ NVMe Flash Drive ท�ำให้ มีความเร็วในการอ่านและเขียนข้อมูลมากกว่า Flash Drive ธรรมดาอยู ่ ม าก และหากจะเปรี ย บเที ย บให้ เ ห็ น ถึ ง ประสิทธิภาพทีช่ ดั ขึน้ มาอีกเมือ่ เปรียบกับการใช้งาน SAS Drive เพราะหากต้องการให้ SAS Drive ความเร็วรอบ 15,000 rpm มีความเร็วในการอ่านเท่ากับความเร็วของ NVMe SSD บน ODA X6-2S/M จ�ำเป็นต้องอ่านข้อมูลพร้อมๆ กัน จาก SAS Drive จ�ำนวนมหาศาล คือ มากกว่า 1200 หน่วย

Fastest Database Deployment and Simplified Patching

หลายคนอ่ า นมาจนถึ ง ตรงนี้ อ าจเกิ ด ค� ำ ถามในใจว่ า แล้ ว ODA X6-2S/M/L นี้มันต่างอย่างไรกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ทั่วไปที่ ใส่ NVMe Flash Drive แล้วน�ำมาติดตั้งระบบปฏิบัติการและ Database เอง ค�ำตอบคือ ODA X6-2S/M/L นี้มีการออกแบบและ Tuning ตั้งแต่ ฮาร์ดแวร์ และระบบปฎิบัติการ Oracle Linux เพื่อสามารถใช้งาน Database ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด รวมถึงใช้เวลาในการ ติดตัง้ และสร้างระบบ Database ทีพ่ ร้อมใช้งานขึน้ มาภายในระยะเวลา เพียงไม่ถึง 40 นาทีผ่านหน้าจอ GUI และมี Patch ที่ท�ำขึ้นมาให้เป็น แพ็คเกจเฉพาะส�ำหรับ ODA ส�ำหรับการอัพเดทตัง้ แต่ฮาร์ดแวร์ ระบบ ปฏิบัติการ ไปจนถึง Database เพื่อให้ผู้ดูแลระบบมีความสะดวก ง่ายดายและมีความมั่นใจในการ Patching แต่ละครั้งนั่นเอง ใน ODA X6-2S/M/L ไม่มี Virtualization มาด้วย ซึ่งหากต้องการลง แอพพลิเคชั่นเพิ่มเติม สามารถติดตั้งรวมไปบนระบบปฎิบัติการเดียว กับที่มี Oracle Database ติดตั้งอยู่ ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการ Oracle Linux 6.7 (บน Patch Version 12.1.2.8) Affordable เนื่องจากการค�ำนวณ Oracle Database License บน ODA เป็นแบบ Capacity on Demand หมายความว่า ต้องการใช้เท่าไรก็สามารถ ซื้อเพียงเท่าที่ใช้เท่านั้น ในขณะที่ Database License บนเครื่อง เซิร์ฟเวอร์ทั่วไปจ�ำเป็นต้องซื้อไปให้เต็มทั้งเครื่อง ในกรณีนี้ ODA สามารถช่วยประหยัดค่า Oracle License ได้มหาศาล และสามารถ ทยอยซื้อเพิ่มตามความต้องการของระบบที่ค่อยๆ เจริญเติบโตได้ (Pay as You Grow) พร้อมยังแถมการซัพพอร์ตในส่วนของ Oracle VM และระบบปฏิบตั กิ าร Oracle Solaris และ Oracle Linux บน ODA โดยที่ไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

Oracle Database License บน ODA X6-2 HA

การใช้งาน Oracle Database บน ODA X6-2 HA นั้นจะต้องใช้งาน เป็น Oracle Database Enterprise Edition เท่านั้น สามารถเลือกใช้ 24

G-MagZ IT MAGAZINE

เป็น Version 11g R2 หรือ 12c ได้ ส่วนการคิดจ�ำนวน License จะ คิดตามจ�ำนวน Core ที่เปิดใช้งาน ซึ่งจ�ำนวน Core เริ่มต้นต�่ำสุดที่ สามารถเปิดใช้งาน Database พร้อม RAC คือ 4 Core หรือถ้าคิดเป็น Processor License จะต้องมี Database และ RAC เท่ากับ 2 License เป็นอย่างน้อย

Oracle Database License บน ODA X6-2S/M/L

Oracle Database บน ODA X6-2S/M ออกแบบให้เหมาะสมกับ Database ที่มีขนาดเล็กไปถึงขนาดกลาง และเน้นเรื่องของการลด ค่าใช้จ่าย จึงสามารถเลือกใช้งานเป็น Oracle Database Standard Edition 2 ทีม่ คี า่ License ต�ำ่ กว่า Enterprise Edition ซึง่ สามารถเลือก Version เป็น 11g R2 หรือ 12c ก็ได้ และจะคิด License ตามจ�ำนวน ของ Physical Socket ที่มีอยู่ หากเป็น ODA X6-2S ต้องมี 1 License ส่วน ODA X6-2M ต้องมี 2 License หรือหากต้องการให้ Database มีประสิทธิภาพและความเร็ว ที่มากกว่า รวมถึงมีฟีเ จอร์พิเ ศษอื่นๆ ก็ยังสามารถเลือกใช้เป็น Enterprise Edition ได้เช่นกัน ซึง่ ค�ำนวณจ�ำนวน License ตามจ�ำนวน Core ที่ใช้งานจริง สามารถเริ่มต้นใช้งานได้ต�่ำสุดที่จ�ำนวน 2 Core หรือ 1 Processor License ส่วน Oracle Database License ที่อยู่บน ODA X6-2L จะเป็น Enterprise Edition เท่านั้น ซึ่งค�ำนวณจ�ำนวน License ตามจ�ำนวน Core ที่ใช้งานจริงเหมือนรุ่นอื่นๆ บทสรุป หากต้องการระบบทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงในการใช้งาน Oracle Database ต้องการความง่ายดายในเรือ่ งของการติดตัง้ และบริหารจัดการ รวมถึง ต้องการประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งในส่วนของ Oracle Database License และค่ า ใช้ จ ่ า ยในส่ ว นของการบริ ห ารจั ด การ Oracle Database Appliance ถือว่าเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากได้ถูก ออกแบบและ Optimize ให้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ท�ำงานร่วมกันจน มีคุณสมบัติดังที่กล่าวในข้างต้นครบถ้วนสมบูรณ์ G


Success story

นวัตกรรมเปลี่ยนโลก ของการสื่อสารในองค์กร ผ่านโมบายแอพพลิเคชั่น

จากการพัฒนารูปแบบการสื่อสารภายในองค์กรให้เป็นหนึ่งเดียว เชื่อมโยงทุกหน่วยธุรกิจเข้าด้วยกัน สู่เวทีการแข่งขันของกลุ่ม บริษัท CDG & G-ABLE Innovation Award กลายเป็นเทคโนโลยี ที่ เ พิ่ ม มู ล ค่ า ให้ กั บ ธุ ร กิ จ ในรู ป แบบของโมบายแอพพลิ เ คชั่ น ตอบโจทย์ได้ตรงกลุ่มผู้ใช้ในองค์กร ให้ติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก และปลอดภัย พร้อมการพัฒนาก้าวต่อไปแอพพลิเคชั่นที่เป็น ศูนย์รวมการสื่อสารในองค์กรเต็มรูปแบบ ด้วยการ “สร้างโซเชียล มีเดียให้องค์กร” ด้วยความส�ำเร็จจากนวัตกรรมทีช่ ว่ ยยกระดับการสือ่ สารในองค์กร ผ่านทางโมบายแอพพลิเคชัน่ สูก่ ารสร้างสรรค์และน�ำมาต่อยอดใน เชิงธุรกิจ จนกลายเป็นโมเดลธุรกิจใหม่

คุณ ปิยะ ตั้งสิทธิชัย Vice President, Information Technology Systems Department

สร้างสรรค์-ผลักดัน-พั ฒนา ต่อยอดสู่โครงการ CDG & G-ABLE Innovation Award เริม่ ต้นจากแนวคิดของ คุณนาถ ลิว่ เจริญ ประธานกรรมการบริหาร กลุ่มบริษัทซีดีจี และกลุ่มบริษัทจีเอเบิล ที่ตอกย�้ำ Disruptive Technology พร้อมกระตุ้นให้สร้าง CDG & G-ABLE Innovation Award เป็นเวทีของพนักงานในการน�ำเสนอแนวคิดใหม่ๆ เพื่อ ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมภายในองค์กร

Inno Project เป็นการประกวดโดยใช้แนวคิดสร้างสรรค์ที่เกิดจาก ภายนอกองค์กร ทั้งในส่วนของโครงการที่สร้างความส�ำเร็จให้กับ ลูกค้า หรือเกิดจากการน�ำเอาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ รวมถึงการใช้ นวัตกรรมและเทรนด์ที่เกิดขึ้นในท้องตลาด ซึ่งน�ำมาพัฒนาจน ส�ำเร็จพร้อมส่งมอบให้กบั ลูกค้า โดยจะถูกน�ำมาวิเคราะห์และพัฒนา จนตกผลึกเป็นบริการที่ได้รับความนิยม ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ แอพพลิเคชั่น JS100 (จ.ส. 100) ซึ่งเป็นแอพพลิเคชั่นที่ท�ำให้ผู้ใช้ รับทราบสถานการณ์บนท้องถนน ดูแผนทีเ่ ดินทาง ติดตามข่าวสาร ข้อมูลทวิตเตอร์ และแจ้งขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน อ�ำนวยความ สะดวกและสร้างความมั่นใจส�ำหรับการเดินทาง

คุณปิยะ ตั้งสิทธิชัย Vice President, Information Technology Systems Department กลุ่มบริษัทจีเอเบิล กล่าวว่า CDG & G-ABLE Innovation Award เปิดกว้างส�ำหรับพนักงานที่มีไอเดีย สร้างสรรค์มาน�ำเสนอ เพือ่ เป็นการจุดประกายให้กบั หน่วยงานต่างๆ ภายในและเป็นการกระตุ้นแนวคิดที่สามารถต่อยอดเป็นโมเดล ธุรกิจต่อไปได้ โดยปีนเี้ ป็นปีที่ 3 ส�ำหรับโครงการ Innovation Award ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทการประกวด คือ Inno Project และ Spark Idea

Spark Idea เป็นการน�ำเสนอไอเดียใหม่ๆ ของพนักงาน ทีส่ ามารถ น�ำมาต่อยอดทางธุรกิจได้ในตลาดไอที ตัวอย่างเช่น แนวคิด โครงการ Harvest Q เพือ่ ช่วยเหลือเกษตรกรในการวางแผนการผลิต และการตลาดอย่างครบวงจร เชื่อมโยงทั้งภาครัฐและเอกชนเข้าสู่ กลุ่มเกษตรกร เพื่อสร้างการพัฒนาภาคการเกษตรที่ยั่งยืน ซึ่งได้ รับรางวัลจากการประกวดในปีทผี่ า่ นมา แม้จะเป็นเพียงการเริม่ ต้น ไอเดีย แต่กเ็ ป็นการจุดประกายไปยังไอเดียอืน่ ๆ ในกลุม่ บริษทั อย่าง ต่อเนื่อง G-MagZ IT MAGAZINE

25


Success story

ผ่านการคัดกรองอย่างเข้มข้น จนตกผลึกสู่รูปแบบธุรกิจ ada ขึ้นแท่น 1 ใน 5 บนเวทีใหญ่ คุณชัยวุฒิ ระตีพูน Core Solution Delivery Manager, Information Technology Systems Department กลุ่มบริษัทจีเอเบิล กล่าวถึงก่อน ที่นวัตกรรมต่างๆ จะถูกน�ำมาพัฒนาเพื่อใช้ ต้อง ผ่านการคัดเลือกที่เข้มข้น ตั้งแต่ในระดับสายงาน Business Unit (BU) ซึง่ แต่ละ BU จะมีการคัดเลือก ไอเดียทีโ่ ดดเด่นเข้ามาพิจารณา และเมือ่ ผ่านระดับ คุณ ชัยวุฒิ ระตีพูน Core Solution Delivery Manager, BU มาแล้ว จึงเข้าสู่เวทีใหญ่ CDG &G-ABLE Information Technology Systems Department Innovation Award ซึ่งในปีที่ผ่านมามีนวัตกรรมที่ เข้าประกวดประมาณ 50 โครงการ แบ่งออกเป็น Inno Project 18 โครงการ และ Spark Idea 27 โครงการ เมื่อผ่านเข้า มาสู่เวทีใหญ่ ก็ต้องผ่านการคัดเลือกโดยคณะกรรมการใหญ่ผู้ทรง ada จากบริการในองค์กร คุณวุฒิอีก 2 รอบ และ ada ได้คว้าต�ำแหน่งชนะเลิศในระดับ BU : สู่ธุรกิจความเชื่อมั่นในตลาด Business Support Innovation Award และก้าวสู่การแข่งขันบนเวที ความส�ำเร็จในด้านการประยุกต์ใช้ในธุรกิจอย่างจริงจัง โดย ada ใช้ ใหญ่ CDG & G-ABLE Innovation Award โดยผ่านเข้าสูร่ อบแรก และ เวลาในการพัฒนาตั้งแต่เป็น Innovation ด้วยการรวบรวมความ ขึน้ แท่น 1 ใน 5 ในรอบทีส่ อง ด้วยนวัตกรรมทีส่ ามารถต่อยอดสูโ่ มเดล ต้องการจากผู้ใช้เป็นเวลา 1 ปี และน�ำมาวิเคราะห์ระบบเพิ่มเติม จน ธุรกิจได้อย่างเต็มภาคภูมิ ส่งให้ถึงมือผู้ใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ ส�ำหรับใช้ในการค้นหาหรือ จองทีน่ งั่ รถรับส่งส�ำหรับพนักงาน ซึง่ สามารถรายงานต้นทาง-ปลายทาง เวทีประกวดคือแรงผลักดัน ของรถแต่ละคัน เพื่อรองรับพนักงานที่เดินทางไปมาจ�ำนวนมาก คุณชลดรงค์ รัตนพร IT Specialist, Information Technology โดยใช้พื้นฐานจากระบบของ ada และน�ำไปประยุกต์ใช้ ด้วยการเพิ่ม Systems Department กลุ่มบริษัทจีเอเบิล กล่าวถึงการเริ่มต้น ฟีเจอร์ให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น การร่วมมือกับผู้พัฒนาในด้าน โครงการ ada ที่เป็นการมองหาโมบายแอพพลิเคชั่นส�ำหรับใช้ใน ซอฟต์แวร์น�ำทาง GPS มาใช้ร่วมกัน เพื่อระบุต�ำแหน่งการเดินรถ องค์กร โดยคาดหวังให้เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารภายใน และ แต่ละคัน พร้อมการก�ำหนดเส้นทางในการเดินทาง มุ่งเป้าไปที่การสร้างโซเชียลมีเดียในองค์กร ซึ่งจุดส�ำคัญคือ ต้องได้ การยอมรับจากผู้ใช้หรือพนักงานและการร่วมมือของฝ่ายสื่อสาร นอกจากนี้ ada ยังมองไปถึงกลุ่มเป้าหมายอื่นๆ เช่น องค์กรที่มี ภายในองค์กร ด้วยการน�ำเสนอบริการในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น พนักงาน 100-500 คน หรือมากกว่า ทีต่ อ้ งการเพิม่ ศักยภาพในระบบ การสนทนา (Chat), การค้นหาเบอร์ตดิ ต่อ (Contact), รวมไปถึงบริการ ติดต่อสื่อสารภายในองค์กร ด้านข่าวสาร (News Feed) เพื่อเชื่อมโยงการสื่อสารในองค์กรได้ง่าย และรวดเร็วที่สุดส�ำหรับพนักงานในทุกที่ ทุกเวลา เดินหน้าสู่เป้าหมายด้วยความเชี่ยวชาญ คุณชัยวุฒิ เสริมข้อมูลเพิม่ เติมในจุดแข็งของ ada ด้วยทีมงานทีม่ คี วาม “นอกจากนี้ยังมีแนวคิดที่จะเสริมเทคโนโลยี VoIP เพื่อลดค่าใช้จ่าย เชี่ยวชาญในระบบไอทีมายาวนาน พร้อมข้อมูลที่มีการรวบรวมจาก โดยคาดว่าจะเริ่มเปิดใช้งานได้ในช่วงประมาณต้นปี 2017 และมี การใช้งานจริงของผู้ใช้ในองค์กร จึงท�ำให้สามารถวิเคราะห์ความ แนวโน้มจะพัฒนาฟังก์ชนั่ เสริม อาทิ ระบบการเชือ่ มโยงของฝ่ายบุคคล ต้องการของลูกค้าได้ตรงจุด เมื่อรวมกับทีมที่มีประสบการณ์ในการ เพือ่ ให้พนักงานทีอ่ ยูต่ ามไซต์งานซึง่ อาจไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์สามารถ พัฒนาด้านโมบายแอพพลิเคชั่น จึงสามารถจัดการผสมผสานบริการ ติดต่อและแจ้งลาได้ง่ายขึ้นผ่านทางแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน ได้อย่างลงตัว ซึ่งต้องยอมรับว่าการรวมทีมที่มากด้วยประสบการณ์ เป็นต้น” คุณชลดรงค์ กล่าว เช่นนี้ จะรองรับความต้องการของลูกค้าได้ในทุกด้าน 26

G-MagZ IT MAGAZINE


Success story

ด้ ว ยตั ว เลขที่ ม ากกว่ า 50% จาก ปริมาณของพนักงานที่ใช้แอพ ada มากกว่า 1,200 คน จากพนักงาน 2 พันกว่าคน ในกลุม ่ CDG & G-ABLE ทั่วประเทศ จึงสร้างความเชื่อมั่นให้ กับผู้ใช้ คุณ ชลดรงค์ รัตนพร IT Specialist, Information Technology Systems Department

นอกจากนี้ยังกล่าวถึงปัจจัยที่ท�ำให้เกิดความส�ำเร็จ “การยอมรับ” จากคนในองค์กร ถือเป็นหัวใจส�ำคัญในการพัฒนา ada น�ำข้อมูล ความต้องการที่ได้จากความคิดเห็นของคนในองค์กรซึ่งเกิดจากการ ใช้งานจริง จนสามารถน�ำมาต่อยอดให้เกิดการพัฒนา และการผลักดัน สูก่ ารเปลีย่ นแปลงในองค์กร เพือ่ ให้สามารถน�ำมาใช้ปรับปรุงแอพพลิเคชัน่ และน�ำไปใช้รว่ มกับองค์กรอืน่ ได้ โดยยังเน้นไปทีต่ ลาดองค์กรขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับแนวทางของ G-ABLE ที่เคยประสบความส�ำเร็จมาแล้ว ใน G-Approval ซึง่ เป็นแอพพลิเคชัน่ ทีช่ ว่ ยให้ผบู้ ริหาร สามารถเข้ามา ตรวจเช็ค ให้ความเห็นและอนุมัติงานของหน่วยงานต่างๆ ได้สะดวก ยิ่งขึ้น อีกทัง้ พบว่าคูแ่ ข่งในธุรกิจลักษณะเดียวกันในตลาดยังไม่มากนัก จึงมี ช่องทางขยายสู่เส้นทางตลาดองค์กรได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ด้วยกลยุทธ์ ส�ำคัญคือ การสร้าง Reference Site แล้วต่อยอดเทคโนโลยีให้เข้าถึง กลุม่ ผูใ้ ช้ โดยมุง่ เป้าในการเจาะกลุม่ ตลาดอืน่ ๆ ทีต่ อ้ งการพัฒนาระบบ สื่อสารองค์กรในอนาคต เดินหน้าเสริมเทคโนโลยีส่อ ื สารให้ครบถ้วน เพื่ อสร้างโซเชียลมีเดียให้องค์กร เพื่อตอบโจทย์ลูกค้าในอนาคต แผนในการพัฒนาขั้นที่สอง จึงเป็น การเสริมเทคโนโลยีใหม่เข้าไปใน ada ไม่ว่าจะเป็นระบบ VoIP ซึ่ง เป็นการโทรฟรีแบบไม่มคี า่ ใช้จา่ ย และระบบงานของแต่ละบุคคล เช่น ตารางงานในแต่ละหน่วยงานและการแชร์ข้อมูลข่าวสารในองค์กร เป้าหมายคือ การสร้างโซเชียลมีเดียให้องค์กร ด้วยการรวมทุกสิ่งให้ เป็นบริการแบบครบวงจร โดยองค์กรสามารถสื่อสารหรือแจ้งข้อมูล ทุกอย่างได้ในแอพนี้ เปรียบเสมือนการย่อระบบ Intranet มาอยู่ใน รูปแบบของโมบายแอพพลิเคชั่น เพื่อให้เข้าถึงพนักงานทุกคนใน องค์กร

ความส�ำเร็จที่เหนือความคาดหมาย ด้วยตัวเลขที่มากกว่า 50% จากปริมาณของพนักงานที่ใช้แอพ ada มากกว่า 1,200 คน จากพนักงาน 2 พันกว่าคน ในกลุ่ม CDG & G-ABLE ทั่วประเทศ จึงสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ใช้ และทีมพัฒนา ยังสามารถต่อยอดจากแนวคิดและข้อเสนอแนะ จากการใช้งานจริง ของกลุม่ ผูใ้ ช้โดยตรง ซึง่ มัน่ ใจว่าเดินมาถูกทาง และสิง่ ทีต่ อ้ งท�ำต่อไป คือ การพัฒนาให้ถูกใจผู้ใช้มากขึ้น ด้วยการน�ำเทคโนโลยีอื่นมาเป็น ส่วนเสริม เทคโนโลยีไม่ใช่อุปสรรค คุณชลดรงค์ กล่าวว่า สิ่งที่อาจส่งผลต่อการพัฒนา ada ไม่ใช่ เทคโนโลยี แต่เป็นเรือ่ งของภาษาทีใ่ ช้ในการสือ่ สารกับระบบ iOS และ Android ทัง้ เรือ่ งของขนาดหน้าจอ ความเข้ากันได้ จึงอาจต้องใช้เวลา ในการปรับปรุงให้เข้ากับข้อมูลความต้องการจากผูใ้ ช้ทหี่ ลัง่ ไหลเข้ามา จึงต้องวางระบบการท�ำงานให้เหมาะสม เพือ่ เป็นแนวทางในการพัฒนา ให้เชื่อมโยงข้อมูลในระบบอื่นๆ ขององค์กรและภายนอก ที่ส�ำคัญคือ การผลักดันให้พนักงานเข้ามาสู่ระบบเพื่อใช้งาน และต้องสามารถดึง ออกมาจากระบบสนทนาพืน้ ฐาน เช่น การน�ำข้อมูลของพนักงานอืน่ ๆ มารวมกันในแอพ และสร้างระบบร่วมเพื่อให้พนักงานสามารถติดต่อ กันง่ายขึ้น อีกทั้งมีการป้องกันข้อมูลรั่วไหลด้วยการเข้ารหัส และให้ ความเป็นส่วนตัวอีกด้วย อีกหนึ่งความส�ำเร็จในการส่งเสริมการเป็นองค์กรนวัตกรรม ทีมงาน ada เริ่มต้นจากทีมผู้ดูแลระบบไอทีกลางของบริษัท และนักพัฒนาซอฟต์แวร์โมบายแอพพลิเคชั่นของ G-ABLE ก้าวสูก่ ารน�ำเสนอโครงการ ด้วยไอเดียทีโ่ ดดเด่นในการประกวด Innovation Award จนเป็นต้นแบบน�ำไปพัฒนาแอพพลิเคชั่น ที่ตอบโจทย์ธุรกิจ นับว่าประสบความส�ำเร็จอย่างน่าชื่นชม G G-MagZ IT MAGAZINE

27


Guru Talk

เรียบเรียงจากพ็อกเก็ตบุ๊ค เศรษฐกิจดิจิทัล (แต่งโดย Don Tapscott ฉบับแปลภาษาไทย)

12 ปัจจัย แห่งเศรษฐกิจยุคใหม่

12 ปัจจัยแห่งเศรษฐกิจยุคใหม่ เป็นเนือ้ หาส่วนหนึง่ ในพ็อกเก็ตบุค๊ “เศรษฐกิจดิจทิ ลั ” ที่แต่งโดย Don Tapscott แปลและเรียบเรียงเป็นฉบับภาษาไทยโดย พรชัย อุรัจฉัท ชัยรัตน์ ด้วยเล็งเห็นถึงคุณค่าของเนือ้ หา จึงได้น�ำ มาเรียบเรียงเพือ่ นำ�เสนอในคอลัมน์ Guru Talk พร้อมกันนี้ขอขอบคุณเจ้าของลิขสิทธิ์ สำ�นักงานคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)

คงต้องยอมรับว่า โลกพัฒนาขึน้ มาได้เพราะรถยนต์และเหล็ก แต่ถนน ที่ปูทางไปสู่เศรษฐกิจยุคใหม่จะประกอบขึ้นมาจาก คอมพิวเตอร์ และ เครือข่าย จึงแตกต่างจากยุคที่ผ่านมา มันมีตัวขับเคลื่อนชนิดใหม่ กฎเกณฑ์ เป็นของมันเอง Alan Webber อดีตบรรณาธิการบริหารของ ฮาร์วาร์ด บิสิเนส รีวิว มีแนวความคิดต่อเรือ่ งนีว้ า่ เศรษฐกิจยุคใหม่ คือ ทุกสิง่ ทุกอย่างทีเ่ กีย่ ว กับการแข่งขันเพือ่ อนาคต ไม่วา่ จะเป็นการผลิต การปรับเปลีย่ นธุรกิจ ต่างต้องใช้ความสามารถ การท�ำความเข้าใจปัจจัยทั้ง 12 ประการนี้ จะท�ำให้คุณรู้ซึ้งถึงความ แตกต่างระหว่างเศรษฐกิจยุคใหม่กบั ยุคเก่า มันท�ำให้คณ ุ พร้อมรับมือ และสร้างการเปลี่ยนรูปองค์กรของคุณได้ส�ำเร็จ I. องค์ความรู้... เศรษฐกิจยุคใหม่คือ เศรษฐกิจแห่งองค์ความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศท�ำให้เศรษฐกิจตั้งอยู่บนพื้นฐานของความรู้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ ปัญญาประดิษฐ์หรือ “เทคโนโลยีที่ฉลาด” สิง่ ต่างๆ ต้องมีปญ ั ญาของมนุษย์เป็นพืน้ ฐาน ปัจจุบนั เราก�ำลังอยูใ่ นยุค “สินค้าฉลาด” ที่เริ่มเข้ามาปฏิวัติสังคมในทุกแง่มุม...ดังเช่น

28

G-MagZ IT MAGAZINE

เสื้อผ้าสมาร์ท: มีการฝังชิพลงไปในสินค้าเพื่อเก็บประวัติต่างๆ เช่น วันผลิต สถานที่ การขนส่ง การขาย ผู้ซื้อ ไปจนถึงการแจ้งเตือนหาก ถูกขโมย สมาร์ทการ์ด: บัตรใบเดียว ใช้ได้ทุกธุรกรรม เช่น บัตรเครดิต บัตร พนักงาน ใบขับขี่ ข้อมูลประวัติบุคคล สถานะต่างๆ โดยรวมถึงความ ปลอดภัย และความเป็นส่วนตัว สมาร์ทโรด: ควรมีระบบตรวจสอบสภาพจราจร อุณหภูมิ ระบุอนั ตราย ล่วงหน้าให้แก่ผู้ขับขี่ หรือสมาร์ทคาร์ มีการจัดตารางเข้าตรวจเช็ค อัตโนมัติ แจ้งเตือนปัญหาของรถ รวมไปถึงมีระบบเตือนผู้ขับขี่ที่เมา มากเกินไป และยังมีตัวอย่างอีกมากมายที่ได้เกิดขึ้น และอาจเกิดขึ้นในอนาคต เช่น สมาร์ทเฮาส์ สมาร์โฟน สมาร์ททีวี สมาร์ทไทร์ ฯลฯ ในยุคที่เศรษฐกิจตั้งอยู่บนมันสมองมากกว่าความทันสมัยนั้น มันจึง ต้องเปลีย่ นการท�ำงานทุกอย่างไปสูอ่ งค์ความรู้ การสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ การก�ำหนดกลยุทธ์ใหม่ๆ และการตลาดแบบใหม่ จึงเป็นกุญแจแห่ง ความส�ำเร็จ


Guru Talk II.เปลี่ยนเป็นดิจิทัล... เศรษฐกิจยุคใหม่คือ เศรษฐกิจดิจิทัล การปฏิวัติในประวัติศาสตร์แต่ละยุคสมัย มีเครื่องมือชนิดใหม่เกิดขึ้น มาเพื่อใช้งาน เช่น ยุคหิน ยุคไฟ ยุคเหล็ก ฯลฯ น�ำไปสู่การพัฒนา สังคม และความมั่งคั่งแบบใหม่ ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าเศรษฐกิจยุค อินเทอร์เน็ตก็ได้เข้ามามีบทบาทต่อการพัฒนาโลก ธุรกิจ และการด�ำรง ชีวิตต่างๆ นาๆ เช่นกัน

่ นด้วยหน่วยย่อย... IV.ขับเคลือ องค์กรเปลีย ่ นจาก “ใหญ่” ไปสู่ “สิง ่ ย่อย” เศรษฐกิจยุคใหม่เป็นเศรษฐกิจทีเ่ กิดจากหน่วยย่อยเล็กๆ เข้ามารวมกัน เป็นองค์กรใหญ่ หน่วยย่อยเล็กๆ มีอิสระในการเข้าท�ำกิจกรรมทาง เศรษฐกิจตามที่ตนเองถนัด องค์กรขนาดใหญ่เทอะทะในแบบเดิม ไม่จ�ำเป็นต้องล้มหายตายจากไป เพียงแต่ต้องเปลี่ยนรูปแบบตนเอง จาก “ความใหญ่” ไปสู่ “สิ่งย่อย”

เมื่ อ พิ จ ารณาเปรี ย บเที ย บวิ ธี ก ารส่ ง จดหมายปิ ด ซองแบบดั้ ง เดิ ม กับการส่งอีเมล์ คุณจะเข้าใจได้ทันทีว่า ผลกระทบจากการที่ทุกอย่าง ถูกแปรรูปเป็นดิจิทัลนั้นเร่งกระบวนการเผาผลาญเศรษฐกิจยุคใหม่นี้ ได้อย่างไร เพราะประโยชน์นนั้ ไม่ได้มแี ค่ความเร็วทีม่ ากกว่า แต่หมาย ถึงความสะดวกสบายแค่ปลายนิ้วเลยทีเดียว

เศรษฐกิจยุคใหม่ทปี่ ระกอบขึน้ จากหน่วยย่อยเล็กๆ เข้ามาท�ำงานร่วมกัน ภายใต้องค์กร หน่วยย่อยจะมีแรงขับเคลื่อนตนเอง มีการเรียนรู้ของ ตนเอง มีองค์ความรู้ น�ำมาแบ่งปันให้กบั หน่วยย่อยอืน่ ๆ แต่รปู แบบนี้ ต้องการโครงสร้างองค์กรที่เอื้อให้หน่วยย่อยเคลื่อนไหว ปรับเปลี่ยน รูปแบบตนเองได้ง่าย สลายและจัดทีมใหม่ได้สะดวก

อีเมล์ คือ จุดเริม่ ต้นของวิธกี ารทัง้ หมดทีม่ นุษย์ จะกระท�ำร่วมกันในโลกยุคใหม่ ไม่วา่ จะร่วมกัน วางแผนผลิตสินค้า โดยผู้คนจากหลากหลาย สถานที่ท�ำงานร่วมกันได้ทันที ปัจจุบันอีเมล์ ไม่ใช่ข้อความเพียงอย่างเดียว แต่เป็นสื่อผสม ที่มีทั้งภาพและเสียงรวมเข้ามา อีเมล์ท�ำให้ มนุ ษ ย์ สื่ อ สารกั น ได้ โ ดยไม่ มี ข ้ อ จ� ำ กั ด ของ สถานที่และเวลา

“องค์ ก รที่ ท� ำ งานอยู่ บ นโลก อินเทอร์เน็ต” จึงมีความหมาย มากกว่าค�ำว่า “องค์กรเสมือน” มากมายนัก เพราะมันเข้าถึง คู่ ค้ า ที่ อ ยู่ ภ า ย น อ ก ไ ด้ ด้ ว ย รวมทั้งปรับเงื่อนไขการสร้าง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ อื่ น ไ ด้ สม�ำ่ เสมอ และเพิ่ มผู้ให้บริการ ภายนอกใหม่ๆ ได้ตลอดเวลา

III.ความเสมือนจริง... ดิจิทัลเปลี่ยนสิ่งที่จับต้องได้ เป็นสิง ่ เสมือนจริง เมื่อข้อมูลถูกเปลี่ยนรูปแบบเป็นดิจิทัล สิ่งที่ เคยจับต้องได้ก็จะกลายเป็นสิ่งเสมือนจริง มัน จะเปลี่ยนกระบวนการเผาผลาญทางเศรษฐกิจ รูปแบบของสถาบัน ต่างๆ และความสัมพันธ์ รวมถึงธรรมชาติการท�ำกิจกรรมต่างๆ ด้วย ในเศรษฐกิจยุคใหม่นี้ มีค�ำบางค�ำที่พวกเราควรท�ำความรู้จัก เช่น... Virtual Alien คือ พนักงานที่ท�ำงานให้เรา แต่อยู่อีกประเทศหนึ่ง ซึ่งเป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไปว่า คนเหล่านี้เป็นแรงงานที่ผิดกฎหมาย Virtual Bulletin Board เชื่อมโยงไปยังกระดานข้อความอื่นๆ ภายใต้คลิกเดียว Virtual Corporation (Virtual Enterprise) การเชื่อมโยงองค์กร บุคคลต่างๆ เข้าด้วยกันเพื่อสร้างธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต Virtual Coupon เป็นคูปองบนอินเทอร์เน็ตที่กระตุ้นให้คุณอยาก ซื้อของ Virtual Market สถานทีบ่ นอินเทอร์เน็ตผูค้ นเข้าไปจับจ่ายซือ้ ของ Virtual Reality เป็นการท�ำสิ่งเสมือนให้ดูสมจริง ...จะเห็นว่าสิ่งเสมือนเหล่านี้เกิดขึ้นแล้ว และก�ำลังจะเกิดขึ้นกับ กิจกรรมด้านอื่นๆ อีกมากมาย

ดังนั้นซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ขององค์กร ต้องออกแบบมาเพื่อให้ท�ำงานเป็นส่วนๆ ขณะที่ นั ก การตลาดต้ อ งเปลี่ ย นการท� ำ ตลาดเพื่อคนหมู่มากให้กลายเป็นหน่วย ย่อยที่แตกต่างกัน ซึ่งก็ต้องได้รับข้อมูลที่ แตกต่างกันด้วย

V.เครือข่ายบูรณาการ... รวมหน่วยย่อยเป็นกลุ่มก้อน เศรษฐกิ จ ยุ ค ใหม่ เ ป็ น เศรษฐกิ จ แห่ ง เครือข่ายทีน่ ำ� เอาแต่ละหน่วยย่อยมารวมกัน เป็ น กลุ ่ ม ก้ อ น การสร้ า งองค์ ก รยุ ค ใหม่ ให้รองรับการท�ำงานในแบบหน่วยย่อย บนกรอบความคิดนี้ คือ ทุกอย่างเปลี่ยน เป็นดิจทิ ลั แต่การเปลีย่ นแปลงนีไ้ ม่งา่ ยเหมือนกับการน�ำเอาความคิด การท�ำงานในองค์กรแบบเป็นทีมมาใช้ และไม่ง่ายเหมือนกับการ ปรับปรุงกระบวนการท�ำงานเพือ่ ลดต้นทุน เพราะต้องจะเปลีย่ นวิธคี ดิ เกี่ยวกับการท�ำงานและความสัมพันธ์ภายในองค์กรใหม่ทั้งหมด

G-MagZ IT MAGAZINE

29


Guru Talk

ในเศรษฐกิจแห่งนวัตกรรมนี้ จิ น ตนาการของมนุ ษ ย์ คื อ “คุณค่าทีแ ่ ท้จริง” จะท�ำอย่างไร จึ ง สร้ า งระบบการเรี ย นรู้ ทั้ ง ด้านเทคโนโลยี และการสร้าง นวัตกรรมให้เกิดขึ้นพร้อมกัน ยิง ้ คุณต้องจินตนาการ ่ กว่านัน ให้ไกลกว่าตลาดอยูต ่ ลอดเวลา และคุณต้องเข้าใจให้ถึงความ ต้องการลูกค้าของลูกค้า...

ทั้งนี้เพื่อท�ำให้กรอบการท�ำงานของทุกฝ่ายในองค์กร รวมถึงขอบแบ่ง ระหว่างภายนอกกับภายในองค์กรนั้นยืดหยุ่นจนถึงขั้น “ซึมผ่านได้” อาจกล่าวได้วา่ “องค์กรทีท่ ำ� งานอยูบ่ นโลกอินเทอร์เน็ต” จึงมีความหมาย มากกว่าค�ำว่า “องค์กรเสมือน” มากมายนัก เพราะมันเข้าถึงคู่ค้าที่อยู่ ภายนอกได้ด้วย รวมทั้งปรับเงื่อนไขการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ สม�่ำเสมอ และเพิ่มผู้ให้บริการภายนอกใหม่ๆ ได้ตลอดเวลา VI.ไร้คนกลาง... พ่อค้าคนกลางจะหายไป ถ้าไม่เพิม ่ คุณค่าให้ตวั เอง ถึงเวลาแล้วที่คุณต้องวิตกกังวล หากคุณอยู่ในธุรกิจที่เป็นสื่อกลางหรือ เป็นพ่อค้าคนกลาง นี่คือ วิกฤติของบรรดานายหน้าทั้งหลาย เมื่อผู้ซื้อ และผู้ขายต่อสายตรงคุยกันผ่านระบบเครือข่าย ดังค�ำที่ John Beach นายหน้าขายบ้านในเบลลีวิลล์ ออนทาริโอ กล่าวเอาไว้ “เมื่อเทคโนโลยี ส่งเสริมให้ผู้จ�ำหน่ายและผู้บริโภคแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้โดยตรง พวก เราก็ต้องค้นหาวิธีใหม่ ที่จะเพิ่มคุณค่าให้แก่ลูกค้า แทนแค่การท�ำ รายการแทนลูกค้า พวกเราต้องเป็นที่ปรึกษา ให้ความรู้ และให้ความ ช่วยเหลือแก่เจ้าของโครงการอสังหาริมทรัพย์ เพราะนั่นจะท�ำให้บริษัท อสังหาฯ ยินดีขายบ้านให้แก่ลูกค้าของพวกเรา แทนการจัดจ�ำหน่าย สินค้าของพวกเขาโดยตรงให้กับผู้ซื้อ” เช่นกันกับธุรกิจตัวแทนอื่นๆ ทั้งเอเจนซี่รับจองตั๋วเครื่องบิน ธุรกิจจอง ที่พักของบริษัททัวร์ ผู้จัดจ�ำหน่ายของโรงงานผลิต ต่างเป็นธุรกิจ คนกลาง หรือพ่อค้าคนกลางที่ควรต้องปรับตัว

30

G-MagZ IT MAGAZINE

VII.หลอมรวมเป็นหนึ่ง... ธุรกิจส�ำเร็จได้ด้วยเครือข่ายรายล้อม ในเศรษฐกิจยุคใหม่ ภาคธุรกิจที่มีความส�ำคัญ และประสบความส�ำเร็จ ได้โดยการสนับสนุนมาจากภาคธุรกิจอืน่ ๆ ทีอ่ ยูร่ อบตัว ส�ำหรับเศรษฐกิจ ยุคใหม่ กุญแจหลักคือ “สือ่ ชนิดใหม่” ซึง่ เป็นผลผลิตมาจากการรวมตัวกัน ของ 3 สิ่ง ได้แก่ ระบบประมวลผลคอมพิวเตอร์ การสื่อสาร และเนื้อหา ในสหรัฐอเมริกา สือ่ ชนิดใหม่ และอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ทีช่ ว่ ยส่งเสริมรวมถึง ผู ้ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารมี มู ล ค่ า รวมมากกว่ า 10% ของ GDP โดยเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสาร ได้กลายเป็นปัจจัยพื้นฐานส�ำหรับชีวิต ประจ�ำวันไปแล้ว ผลก�ำไรส่วนใหญ่จึงต้องเน้นไปยัง “การสร้างเนื้อหาที่ น่าสนใจ” ...กระนัน้ การรวมตัวกันจึงเป็นพืน้ ฐานของทุกภาคส่วน สือ่ ใหม่ พร้อมแล้วที่จะท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง VIII.นวัตกรรม... เศรษฐกิจยุคใหม่ตั้งอยู่บนเศรษฐกิจ แห่งนวัตกรรม กุ ญ แจหลั ก ของเศรษฐกิ จ ยุ ค ใหม่ นอกจาก “สื่ อ ชนิ ด ใหม่ ” ยั ง มี องค์ประกอบหลักอีกประการ คือ “นวัตกรรม” ในบริษัทแห่งนวัตกรรม ทัง้ หลาย อายุสนิ ค้าแต่ละตัวจะคาบเกีย่ วกัน บริษทั ผลิตรถยนต์ในญีป่ นุ่ จะมีค่าเฉลี่ยนอายุรถแต่ละรุ่นอยู่ที่ 2 ปี ขณะที่ Nathan Myhrvold ประธานกลุม่ บริษทั ไมโครซอฟท์ (ผูร้ ว่ มเขียนหนังสือ The Road Ahead ร่วมกับ Bill Gate) ได้ให้ความเห็นไว้ว่า “ไม่ส�ำคัญว่าสินค้าของคุณจะดี แค่ไหน มันจะท�ำให้คุณอยู่ห่างจากความล้มเหลวไปเพียง 18 เดือน เท่านั้น”


Guru Talk กับไอบีเอ็มก็เช่นกัน ยิง่ สินค้าของไอบีเอ็มพัฒนาได้ดมี ากขึน้ เท่าไร อายุ การอยู่ในตลาดของมันก็ยิ่งสั้นลงมากขึ้นเรื่อยๆ เป็นเงาตามตัว และ ผลกระทบนี้แม้แต่สินค้าที่แทบไม่ต้องใช้นวัตกรรม เช่น เบียร์ ก็ยัง ต้องการนวัตกรรม ในเศรษฐกิจแห่งนวัตกรรมนี้ จินตนาการของมนุษย์คอื “คุณค่าทีแ่ ท้จริง” จะท�ำอย่างไรจึงสร้างระบบการเรียนรู้ทั้งด้านเทคโนโลยี และการสร้าง นวัตกรรมให้เกิดขึ้นพร้อมกัน ยิ่งกว่านั้น คุณต้องจินตนาการให้ไกล กว่าตลาดอยูต่ ลอดเวลา และคุณต้องเข้าใจให้ถงึ ความต้องการลูกค้าของ ลูกค้า... IX.ผูบ ้ ริโภคร่วมผลิต... ผูซ ้ อ ้ื มีสว่ นร่วมในการผลิต เมือ่ การผลิตสินค้าคราวเดียวเพือ่ คนหมูม่ ากเปลีย่ นเป็นการผลิตตามใจ ลูกค้า ผู้ผลิตจึงต้องสร้างสินค้าที่ยืดหยุ่นสูง เพื่อให้ปรับเปลี่ยนได้ตาม รสนิยมและความต้องการของลูกค้าแต่ละคนได้โดยง่าย ในเศรษฐกิจ ยุคใหม่ลูกค้าจะเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการผลิต

ดังนั้นระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange : EDI) จึ ง มี ป ระโยชน์ ม าก เพราะมั น เชื่ อ มระบบ คอมพิวเตอร์ระหว่างผูซ้ อื้ และผูข้ ายเข้าด้วยกัน แล้วแลกเปลีย่ นค�ำสัง่ ซือ้ การแจ้งหนี้ การลงรับสินค้า และอื่นๆ ในรูปแบบดิจิทัลทั้งสิ้น EDI ยังไปไกลกว่าที่เป็นอยู่ มันกระตุ้นธุรกิจให้ท�ำงานแบบฉับพลัน และ เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรต่างๆ ได้ด้วย XI.โลกาภิวัตน์... เศรษฐกิจยุคใหม่คือ เศรษฐกิจของทั้งโลก การค้ายุคใหม่มนั อยูภ่ ายใต้สภาพแวดล้อมของ ทั้งโลกที่ไม่มีก�ำแพงขวางกั้น ดังเช่น Peter Ducker กล่าวเอาไว้ว่า “ความรู้ไม่มีพรมแดน” นั่นคือเศรษฐกิจท�ำได้ระดับโลกแม้ว่าคุณจะจัดตั้งบริษัทอยู่ ณ จุดใดใน โลกก็ตาม โลกาภิวัตน์ เป็นยุคที่ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท�ำให้องค์กรด�ำเนิน ธุรกิจได้ตลอด 24 ชัว่ โมง โดยส่งค�ำร้องของลูกค้าข้ามพรมแดนไปให้กบั ทีมงานที่อยู่อีกฟากโลกท�ำงานต่อไป เครือข่ายท�ำให้องค์กรขนาดเล็ก ท�ำงานระดับโลกได้โดยความร่วมมือกับบริษัทอื่นๆ Walter Wriston ประธานของซิตี้คอร์ป กล่าวว่า “ทุกวันนี้โลกทั้งใบ ผูกโยงเข้าด้วยกันด้วยความเร็วแสง ไม่มีสถานที่ให้หลบซ่อนหลงเหลือ อีกแล้ว”

ตัวอย่างเช่น ไครส์เลอร์ ยินยอมให้ลูกค้าสั่งผลิตรถรุ่นพิเศษตามความ ต้องการ และโรงงานผลิตรถยนต์ในโลกยุคใหม่จะประกอบชิน้ ส่วนขึน้ มา จากข้อมูลที่ได้จากลูกค้าทั้งเรื่องการควบคุมเส้นทางและเรื่องความ ปลอดภัย ต่างจากในอดีตที่โรงงานผลิตรถท� ำหน้าที่เพียงประกอบ ชิ้นส่วนเท่านั้น X.ทันการณ์... เคล็ด(ไม่)ลับแห่งความส�ำเร็จ วงจรชี วิ ต สิ น ค้ า ก� ำ ลั ง ตั้ งอยู่บนปากเหว กล่าวคือ ในปี 1990 นั้น จากภาพร่างจนถึงเป็นรถยนต์ออกมา ใช้เวลาทัง้ สิน้ 6 ปี แต่ทกุ วันนีม้ นั ลดลงเหลือแค่ 2 ปี Wim Roelandts จาก เอชพี กล่าวว่า “ทุกวันนี้ราย ได้หลักของบริษัทมาจากสินค้าเกิดใหม่ที่มีอายุไม่เกิน 1 ปี แทบทั้งสิ้น” องค์กรในเศรษฐกิจยุคใหม่จึงต้องเป็นองค์กรทันทีทันใด (Real Time Enterprise) ที่ปรับปรุงตนเองอย่างต่อเนื่องในทันที เพื่อตอบสนองต่อ ข้อมูลทีม่ เี ข้ามา สินค้าจะถูกสัง่ ผลิตและจัดส่งในทันทีทมี่ ใี บสัง่ ซือ้ เข้ามา โดยไม่ต้องผลิตไว้ในโกดัง โดยทุกค�ำสั่งซื้อยิงตรงผ่านระบบเครือข่าย ออนไลน์ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์

XII.ความไม่ลงรอย... ความบาดหมางบนเครือข่ายสังคม เพราะเราอยู่แถวหน้าของขบวนเศรษฐกิจยุคใหม่ พวกเราจึงมองเห็น ปัญหาในเรื่องความเป็นส่วนตัว การเข้าถึงข้อมูล คุณภาพชีวิตการ ท�ำงาน และการใช้ชีวิตส่วนตัว ก�ำลังก่อตัวขึ้นมา มันก�ำลังสร้างความ ขัดแย้งให้เกิดขึ้นในระดับโครงสร้างเลยทีเดียว อาจพบว่าพนักงานยุคใหม่ พร้อมเสมอที่จะออกไปด�ำเนินธุรกิจของ ตนเอง โดยการมีมันสมองที่เยี่ยม มีโทรศัพท์ และมีคอมพิวเตอร์ เพียง เท่านี้ก็พอแล้วส�ำหรับการออกมาท�ำธุรกิจ ปรากฎการณ์นี้แน่นอนว่า ดูจะขัดแย้งกับผู้คนหัวเก่าภายใต้โครงสร้างแบบเก่าๆ โดยเฉพาะคนที่ เป็นเจ้าของเงิน หรือเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม มันไม่ใช่เพราะสังคมขาดความรับผิดชอบมากขึ้น แต่การท�ำงานเริ่ม กลายเป็นสิ่งเดียวกันกับการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น เพราะองค์ความรู้กลาย เป็นส่วนหนึง่ ของผลิตภัณฑ์ไปแล้ว มากกว่านัน้ สถาบันการศึกษาในแบบ เดิมๆ เริ่มไม่ตอบสนองความต้องการของสังคม ขณะที่การศึกษาแบบ ใหม่นั้นตั้งอยู่บนพื้นฐานเครือข่ายทางไกล 12 ปัจจัยแห่งเศรษฐกิจยุคใหม่ อาจเป็นแนวทางในการก�ำหนด กลยุทธ์เพื่อการแข่งขันอันจะสร้างความได้เปรียบในการด�ำเนิน ธุรกิจต่อไป G G-MagZ IT MAGAZINE

31


Guru Talk คุณนาวิก นำ�เสียง คณะกรรมการ สมาคมวิจัยการตลาดแห่งประเทศไทย

วิดีโอ

แนวโน้มที่ร้อนแรง ในปี 2560 ปี 2559 เป็นอีกหนึ่งปีทองของการใช้วิดีโอเพื่อการตลาด โดย พิจารณาจากปริมาณการใช้วิดีโอผ่านอินเทอร์เน็ตและรูปแบบ วิดโี อทีห่ ลากหลายมากขึน้ อย่างไรก็ตามปริมาณการใช้วดิ โี อยัง ไม่ถึงจุดสูงสุด คาดว่าการใช้งานวิดีโอจะยังมีปริมาณการใช้ที่ สูงขึ้นไปอีกมาก คาดการณ์วา่ ปริมาณการใช้เนือ้ หาวิดโี อจะสูงขึน้ ไปถึง 69% ของ การใช้งานอินเทอร์เน็ตทั้งหมดภายใน ปี 2560 โดยวิดีโอเหล่านี้ จะถูกน�ำไปใช้งานที่หลากหลายแตกต่างกันไป ดังเช่น • วิดีโอเพื่อแนะน�ำตัวเอง แนะน�ำธุรกิจ แนะน�ำสินค้าและ บริการ • วิดีโอเพื่อกระจายข่าวสาร • วิดีโอเพื่อประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการ • วิดีโอเพื่อสร้างความผูกพันธ์กับลูกค้า • วิดีโอเพื่อแนะน�ำการใช้งาน เว็บไซต์ Facebook และ Youtube ยังคงเป็นเครื่องมือส�ำคัญใน การเผยแพร่เนื้อหาวิดีโอ โดยเจ้าของแบรนด์สามารถที่จะโพสต์ วิดีโอและกระจายไปยังกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการของตัวเองได้ ที่ส�ำคัญ สองเครื่องมือนี้สามารถระบุกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการ ได้ตามกลยุทธ์และเป้าหมายของการตลาด อย่างไรก็ตามยังมี แนวโน้มอืน่ ๆ เกีย่ วกับการตลาดด้วยวิดโี อทีน่ า่ สนใจและคาดว่า จะเกิดขึน้ ในปี 2560 นี้ ซึง่ เป็นอีกหนึง่ ปีทองในความร้อนแรงของ วิดีโอ

32

G-MagZ IT MAGAZINE

วิดีโอใน Facebook จะมีปริมาณเพิ่ มขึ้นอย่างมาก เว็บไซต์ Facebook เป็นเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ใหญ่ ที่สุดของโลกด้วยผู้ใช้งานมากกว่า 1.65 พันล้านคนต่อเดือน มี อั ต ราเติ บ โตของการโพสต์ เ นื้ อ หาวิ ดี โ อสู ง ขึ้ น 75% และ มีปริมาณการเข้าชมเติบโตจาก 1 พันล้านวิว เป็น 8 พันล้านวิว ระหว่างปี 2557 ถึง 2558 ทั้ ง นี้ เ ว็ บ ไซต์ Facebook ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ เนื้ อ หาวิ ดี โ อที่ อัพโหลดโดยตรงไปยังเว็บไซต์ Facebook เองที่เรียกว่า Native Facebook Video เพราะ Facebook ไม่ต้องการให้ผ้ใู ช้งานไปใช้ เครือ่ งมืออืน่ เช่น Youtube เป็นต้น แล้วน�ำลิง้ ค์วดิ โี อนัน้ มาโพสต์ อีกทีในเว็บไซต์ของ Facebbook จึงไม่แปลกใจที่วิดีโอ Native Facebook Video มีปริมาณการโพสต์สงู ขึน้ ถึง 3.6 เท่า จากช่วง ปี 2557 ถึง 2558 และนี่คือ คู่แข่งส�ำคัญของ Youtube ที่แย่ง ส่วนแบ่งของการใช้งานวิดีโอจาก Youtube ไป วิดีโอถ่ายทอดสด (Live Video) จะมีมากขึ้น เว็บไซต์ Facebook ได้แนะน�ำวิดีโอถ่ายทอดสด (Live Video) ให้กับผู้ใช้งาน รวมถึงการปรับเมนูวิดีโอถ่ายทอดสดให้สะดวก ต่อการใช้งานกว่าเดิม แถมได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีอีกด้วย ท�ำให้แบรนด์สามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้ติดตามได้มากยิ่งขึ้น Twitter ก็เช่นกัน ได้แนะน�ำวิดโี อถ่ายทอดสดด้วยการร่วมมือกับ Periscope (Periscope.tv) ที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถทวิตวิดีโอ ถ่ายทอดสดได้เช่นเดียวกัน ผู้ใช้ Twitter จ�ำนวน 82% จะชม วิดีโอจากข้อความทวิต ดังนั้นจึงไม่ยากส�ำหรับ Twitter เลยที่จะ แนะน�ำวิดีโอถ่ายทอดสดนี้ แน่นอนว่าตัง้ แต่วนั นีจ้ นถึงปีหน้า เราจะเห็นการถ่ายทอดสดด้วย วิดีโอผ่านสื่อสังคมออนไลน์ตลอดเวลาและจะมากยิ่งขึ้นด้วย


Guru Talk วิดีโอ 360 องศาจะแพร่หลายยิ่งขึ้น นอกจากเว็บไซต์ Youtube ที่เปิดบริการวิดีโอ 360 องศาไปก่อนหน้านี้ เว็บไซต์ Facebook ก็เปิดตัวบริการวิดีโอ 360 องศาตามมาติดๆ ซึ่ง เปิดโอกาสให้ผู้พัฒนาเนื้อหาสามารถน�ำเสนอเนื้อหาวิดีโอในรูปแบบ มุมมอง 360 องศา ท�ำให้องค์กรธุรกิจสามารถสร้างความแตกต่างใน ช่วงแรกได้จากการน�ำเสนอแบบดังกล่าว ตัวอย่างของรายการ National Geographic ที่ใช้วิดีโอ 360 องศาน�ำเสนอในเพจของตัวเอง

เวลาการใช้งานหรือกิจกรรมออนไลน์มากขึน้ ตัวอย่างของแอพพลิเคชัน่ อย่าง Snapchat และ Instragram ทีม่ เี นือ้ หาวิดโี อมากยิง่ ขึน้ แค่ Snapchat อย่างเดียวก็มีเนื้อหาวิดีโอมากกว่า 10 พันล้านคลิปที่เผยแพร่ต่อวัน ขณะที่ Instagram ก็ไม่ยอมแพ้น้องใหม่ Snapchat อย่างแน่นอนด้วย การแนะน�ำบริการ Instagram Stories ที่ให้ผู้ใช้สามารถอัพโหลดวิดีโอ ให้ผู้ติดตามได้ชมกัน เหมือนอย่างที่ Snapchat ประสบความส�ำเร็จ มาแล้ว เว็บไซต์ Youtube ยังคงมีอิทธิพลต่อ เนื้อหาวิดีโออยู่ เว็บไซต์ Youtube เป็นหนึ่งบริการของ Google ที่ให้บริการ เนื้อหาวิดีโอที่ใหญ่ที่สุด มีผู้ใช้งานมากกว่าหนึ่งพันล้านคน และที่ส�ำคัญ ผู้ชมส่วนใหญ่จะมาจากผู้ใช้โมบายที่มีการ ใช้งานมากทีส่ ดุ และทีส่ ำ� คัญผูช้ มใช้วดิ โี อนานขึน้ ด้วย จากสถิติ พบว่า ผูใ้ ช้บริการ Youtube ชมเนือ้ หาวิดโี อนานถึง 40 นาที โดยเฉลี่ย ซึ่งสูงขึ้น 50% เมื่อเทียบกับปี 2557

ตัวอย่างหน้าตาวิดีโอของ National Geograph

ปี 2560 จึงเป็นปีทองของวิดีโอ 360 องศาอย่างแน่นอน มันจะสร้าง โอกาสในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น วิดีโอส�ำหรับพนักงานขาย ผู้บริโภคชอบเนื้อหาวิดีโอเพราะว่ามันสรุปเนื้อหาสาระที่ง่ายต่อการ เข้าถึง เทียบกับสื่อสิ่งพิมพ์หรือเนื้อหาข้อความในเว็บไซต์เองก็ตาม ดังนั้นจึงไม่ใช่เรื่องแปลกเลยที่เนื้อหาวิดีโอจะถูกน�ำมาใช้มากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลให้กับพนักงานขาย ผลการวิจัยของ Wyzowl พบว่า • มีเพียง 4% ของพนักงานทีช่ อบเรียนรูส้ นิ ค้าและบริการใหม่จาก การอ่านคู่มือ • มีเพียง 5% ของพนักงานชอบเรียนรู้จากการสนทนากับบุคคล ที่มีความรู้ทางโทรศัพท์ • ส่วนใหญ่ หรือ 44% ของพนักงานชอบการเรียนรู้จากการชม วิดีโอ จึงไม่แปลกที่บริษัทจะต้องเพิ่มเนื้อหาวิดีโอให้กับพนักงาน โดยเฉพาะ พนักงานขายในการเรียนรู้สินค้าและบริการด้วยตนเอง ซึ่งจะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการท�ำงานและการขายได้เป็นอย่างดี แอพพลิเคชั่นวิดีโอจะมีมากขึ้น ผู้บริโภคยุคดิจิทัล อายุ 13-24 ปี ใช้แอพพลิเคชั่นมากกว่าการท่อง เว็บไซต์และชอบเนื้อหาภาพเคลื่อนไหวรวมถึงวิดีโอมากที่สุด ดังนั้น จึงไม่แปลกที่เราจะเห็นแอพพลิเคชั่นวิดีโอมากขึ้น และจะครอบครอง

ตัวอย่างหน้าตาวิดีโอของ Jamie Oliver

ช่องรายการ Youtube ของ Jamie Oliver เป็นหนึ่งตัวอย่างที่ประสบ ความส�ำเร็จในการ น�ำเสนอเนื้อหาวิดีโอรูปแบบการเล่าเรื่องราวและ วิธีการปรุงอาหาร จนมีผู้ติดตามมากกว่า 2 ล้านคนที่เฝ้าติดตามเมนู อาหารใหม่ๆ อย่างใจจดใจจ่อ ตัวอย่างของเว็บไซต์รา้ นค้าออนไลน์ดงั อย่าง Zappos ทีใ่ ช้วดิ โี อน�ำเสนอ บริษัทเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าในหน้า About Us ของเว็บไซต์ วิดีโอนี้จะสร้างความเชื่อมั่นกับลูกค้าพร้อมน� ำเสนอวัฒนธรรมของ องค์กรให้พนักงานทุกคนได้เข้าใจเช่นกัน ปีหน้า 2560 จะเป็นอีกหนึ่งปีทองของการตลาดด้วยวิดีโออย่าง แน่นอน ธุรกิจจะต้องปรับตัวในการน�ำเสนอเนื้อหาและสร้าง กิจกรรมผ่านสื่อวิดีโอมากขึ้น สื่อเดิมๆ เช่น โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ เป็นต้น ที่มีอยู่อาจจะไม่สามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้อย่างมี ประสิทธิภาพอีกต่อไป G

G-MagZ IT MAGAZINE

33


Solutions ณภัค รวิมหธนากุล Virtualization Specialist บริษัท เอ็มเวิร์จ จำ�กัด

สร้าง

High Performance VDI ด้วย Software Define Storage จาก Atlantis

โซลูชนั่ VDI (Virtual Desktop Infrastructure) ได้รบั ความนิยม และมีการเติบโตอย่างต่อเนื่องในหลายปีที่ผ่านมา องค์กร หลายแห่งได้น�ำ VDI เข้ามาประยุกต์ใช้งานเพื่อเพิ่มความ สะดวกรวดเร็วในการท�ำงาน การบริหารจัดการ เพิ่มความ ปลอดภัย และที่ส�ำคัญคือ เพื่อลดค่าใช้จ่ายให้ต�่ำลง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการเติบโตของ VDI นัน้ ยังถือว่าต�ำ่ กว่า ที่ควรจะเป็น หลายองค์กรยังไม่ประสบความส�ำเร็จกับการน�ำ VDI มาประยุกต์ใช้งานเท่าที่ควร โดยมีสาเหตุหลักๆ เนื่องมา จากประสิทธิภาพของ Storage ไม่เพียงพอกับความต้องการ ใช้ ง าน ต้นทุนที่สูงจนเกินไป ความซับซ้อนในการติดตั้ง รวมถึง Capacity ที่ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน โดยข้อมูลจาก Gartner พบว่าต้นทุนหลักในการลงทุนระบบ VDI นั้น เป็น ค่าใช้จา่ ยของ Storage ซึง่ คิดเป็นสัดส่วนสูงทีส่ ดุ ถึง 74% และ เป็นหนึ่งในปัจจัยหลักที่ท�ำให้ VDI ไม่ประสบความส�ำเร็จ 34

G-MagZ IT MAGAZINE

สาเหตุหลักที่ท�ำให้ VDI ไม่ประสบความส�ำเร็จ ปั จ จั ย หลั ก ที่ ท� ำ ให้ ห ลายองค์ ก รอิ ม พลี เ ม้ น ต์ ร ะบบ VDI ไม่ส�ำเร็จ หรือไม่ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ มีดังนี้ • ค่าใช้จ่ายสูง องค์กรต้องการเปลี่ยนมาใช้ VDI ด้วยสาเหตุจากความต้องการลดค่าใช้จ่ายอุปกรณ์และการ บริ ห ารจั ด การ แต่ ใ นความเป็ น จริ ง พบว่ า ต้ น ทุ น ที่ ต ้ อ งใช้ กลับสูงขึ้นกว่าเดิมเมื่อเปรียบเทียบกับการลงทุนซื้อ PC หรือ Laptop • ประสิทธิภาพต�ำ่ พนักงานหรือผูใ้ ช้งาน VDI ภายใน องค์กรพบว่า ประสิทธิภาพของ VDI นั้น ไม่ได้เป็นไปตามที่ คาด มี IOPS ที่ต�่ำและช้ากว่า PC แบบเดิม การใช้งานและรัน แอพพลิเคชั่นช้า ไม่รวดเร็ว อีกทั้งความเร็วในการใช้งานก็ไม่ คงที่


Solutions

• ความยุ่งยากซับซ้อน การออกแบบและอิมพลีเม้นต์ระบบ VDI มีความยุ่งยากและซับซ้อน เนื่องจากต้องมีการค�ำนวณพื้นที่การ ใช้งานที่เหมาะสมและให้มีประสิทธิภาพเพียงพอกับจ�ำนวนผู้ใช้งาน ภายในองค์กรทั้งหมด • การปกป้องข้อมูล การออกแบบให้ระบบ VDI มีความ สามารถในการท�ำ Backup, Snapshot อย่างถูกต้อง รวมไปถึงการ สร้าง DR Site ให้ท�ำงานแบบ Active/Active หรือ Active/Standby เพื่อปกป้องข้อมูลล้วนมีความยุ่งยากและซับซ้อน ข้อควรพิ จารณาในการเลือก Storage ส�ำหรับ VDI การพิจารณาเลือก Storage ส�ำหรับ VDI นั้น ควรค�ำนึงถึงโซลูชั่นที่ สามารถตอบโจทย์และแก้ไขปัญหาที่กล่าวถึงข้างต้นได้ โดยมีข้อควร พิจารณาดังนี้ • มี IOPS ต่อ Desktop ที่สูง เป็นธรรมชาติของ VDI ซึ่งมี การใช้ IOPS ที่สูง หาก Storage ไม่สามารถให้ IOPS ตามที่ VDI ต้องการ ย่อมส่งผลให้ประสิทธิภาพโดยรวมลดลง และสร้างความไม่ พอใจให้กับผู้ใช้งาน ในทางตรงกันข้าม หาก Storage มี IOPS ที่สูง และคงที่ ย่อมท�ำให้ใช้ VDI ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด • ใช้เวลา Startup/Login น้อย ระยะเวลาที่ใช้ในการ Start และ Login นั้นส่งผลต่อประสบการณ์และความพึงพอใจของผู้ใช้งาน หาก Storage ไม่สามารถรองรับปริมาณโหลดได้เพียงพอ ย่อมไม่เป็น ที่ประทับใจในการใช้งาน ดังนั้น Storage ที่น�ำมาใช้ควรจะลดเวลาใน ส่วนนี้ให้เหลือน้อยที่สุด • รันแอพพลิเคชัน่ ได้เร็ว ระบบใช้เวลาในการเปิดไฟล์ Excel นานเท่าไร ระบบสามารถค้นหาไฟล์ได้เร็วหรือไม่ หลายครั้งเราพบ ว่าการท�ำงานบน VDI กลับช้ากว่าการท�ำงานบน PC ธรรมดา ซึง่ ตรง ข้ามกับสิ่งที่ผู้ใช้งานคาดไว้ว่าระบบที่รันบน VDI จะต้องท�ำงานได้ เทียบเท่าหรือเร็วกว่าเมื่อเทียบกับการใช้งานบน PC • ลดพื้นที่การใช้งาน พื้นที่บน Storage เป็นปัจจัยหนึ่งที่มี ความส�ำคัญและส่งผลต่อต้นทุนทัง้ หมดในระบบ VDI หากสามารถหา วิธีเพิ่มประสิทธิภาพหรือลดพื้นที่การใช้งาน Storage ได้ ย่อมส่งผล ให้ต้นทุนโดยรวมลดต�่ำลงด้วย ก้าวข้ามข้อจ�ำกัดของ VDI ด้วย Atlantis Atlantis Computing คือ โซลูชั่น Software Defined Storage (SDS) ส�ำหรับสร้างระบบ Hyper-Converged Infrastructure ที่ได้รับรางวัล Best of VMWorld และ Best of Citrix Synergy Award โดยช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของระบบ VDI ให้มีความเร็วเทียบเท่า All Flash Array Atlantis สามารถเลือกใช้งานได้ทั้งแบบซอฟต์แวร์ (Atlantis USX) ที่ น�ำไปติดตั้งบนเซิร์ฟเวอร์ที่มีอยู่แล้ว หรือแบบ Hardware Appliance (Atlantis HyperScale) ส�ำหรับองค์กรที่ต้องการ Appliance ที่พร้อม ใช้งานได้ทันที

สิ่งที่จะได้รับเมื่อรันระบบ VDI บน Atlantis คือ • ให้ประสิทธิภาพของ VDI ในระดับ All Flash Array ทั้งระบบ • ลดค่าใช้จา่ ยได้ 50–90% โดยไม่จำ� เป็นต้องซือ้ External SAN ทีแ่ พงมาใช้งาน อีกทัง้ ช่วยยืดระยะเวลาในการจัดซือ้ Storage ให้นานออกไปอีก • สามารถเลือกรันบนเซิรฟ์ เวอร์ และไฮเปอร์ไวเซอร์ ทีต่ อ้ งการ ได้โดยไม่มีข้อจ�ำกัดผูกติดกับฮาร์ดแวร์ยี่ห้อใดเป็นพิเศษ • รองรับการขยายเพิ่มประสิทธิภาพได้ในอนาคต Atlantis กับจุดเด่นที่แตกต่างจาก Storage Atlantis มีนวัตกรรมที่เป็นจุดเด่นเฉพาะตัว ซึ่งแตกต่างจากโซลูชั่น Storage ในท้องตลาดโดยทั่วไป ดังนี้ • ลดพืน้ ทีบ่ น Storage ได้สงู ถึง 90% : Atlantis ช่วยลดพืน้ ที่ การใช้ Storage ได้สงู กว่า 90% ไม่วา่ จะใช้ VDI แบบ Non-Persistent หรือ Persistent ก็ตาม องค์กรสามารถลดค่าใช้จา่ ยในการซือ้ Storage ที่แพง ท�ำให้ระบบ VDI ที่รันบน Atlantis มีต้นทุนที่ถูกกว่า PC • In-Line Data Deduplication and Performance Acceleration : ด้วยเทคนิคขั้นสูงในการลดความซ�้ำซ้อนข้อมูล (Deduplication) และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานของข้ อ มู ล (Performance Acceleration) ช่วยให้ลดโหลดบน Storage ส่งผล ให้ได้ IOPS บน VDI เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับระบบแบบเดิมที่ไม่มี การใช้เทคโนโลยีนี้ G-MagZ IT MAGAZINE

35


Solutions ใช้ Login VSI ในการทดสอบ โดย Login VSI จะแสดงค่า Users (VSIMmax) ซึง่ เป็นจ�ำนวนผูใ้ ช้สงู สุดทีร่ ะบบสามารถรองรับได้ ก่อนที่ Performance จะ Drop ลง โดยทดสอบทั้ง Citrix XenDesktop และ VMWare Horizon View ซึง่ สามารถรองรับ IOPS ได้สงู ถึง 171,715 IOPS

• In-Memory Performance : ด้วยสถาปัตยกรรมของ Atlantis ที่ออกแบบมาให้สามารถประมวลผลข้อมูลบน Memory ซึง่ มีความเร็วสูง ช่วยลดปริมาณทราฟฟิคบน Memory ก่อนทีจ่ ะเขียน ลงบน Storage อีกทั้งช่วยเพิ่ม IO บน Storage ให้สูงขึ้น • ใช้งานร่วมกับฮาร์ดแวร์เดิมได้ : Atlantis สามารถท�ำงาน ร่วมกับฮาร์ดแวร์เดิมที่ลูกค้ามีอยู่ได้โดยไม่จ�ำเป็นต้องซื้อฮาร์ดแวร์ ใหม่ • ประหยัดกว่า SAN : เมื่อเปรียบเทียบ Atlantis กับ SAN Storage หรือ Hyper-Converged Infrastructure ทั่วไปในท้องตลาด โซลูชนั่ จาก Atlantis ใช้ฮาร์ดแวร์นอ้ ยกว่า ส่งผลให้ตน้ ทุนโดยรวมลดลง • ความเร็วที่เหนือกว่า : Atlantis ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและ ความเร็วในการใช้งานโดยรวมให้สูงขึ้น ซึ่งผู้ใช้จะสังเกตเห็นความ แตกต่างอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นเวลาที่ใช้ Startup เร็วขึ้น การเรียก ใช้แอพพลิเคชั่นที่เร็วขึ้นแบบทันที (Near Instant) การค้นหาข้อมูล หรืองานที่เคยต้องใช้เวลาหลายนาที ถูกลดลงเหลือเพียงไม่กี่วินาที • Pool Storage ทุกประเภท : Atlantis ท�ำหน้าที่ Pool Storage ทุกประเภทไม่ว่าจะเป็น SAN, NAS, Flash, RAM, DAS, Hybrid Array ช่วยให้การใช้ Storage มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ผลการทดสอบ Atlantis CX-12 ร่วมกับ Citrix XenDesktop สามารถ รองรับ VDI ได้ 608 Users ต่อชุด

ผลการทดสอบ Atlantis CX-12 ร่วมกับ VMWare Horizon View สามารถรองรับ VDI ได้ 583 Users ต่อชุด เมื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบกับ Benchmark จาก Citrix หรือ VMWare จะเห็นได้ชัดเจนว่า Atlantis ให้ Performance ที่ค่อนข้าง สูงเมือ่ เทียบกับระบบ Hyper-Converged Infrastructure ในท้องตลาด โดยทั่วไป ส�ำหรับผู้อ่านที่สนใจรายงานผลการทดสอบโดยละเอียด สามารถติดต่อทีมบริษัท เอ็มเวิร์จ จ�ำกัด เพื่อขอข้อมูลเพิ่มเติม

วัดผลการทดสอบด้วย Login VSI Login VSI เป็นเครื่องมือมาตรฐานที่ใช้ทดสอบ Performance ของ ระบบ VDI โดยสามารถจ�ำลองการท�ำงานที่มีผู้ใช้พร้อมกันได้เสมือน จริง โดย Login VSI จะวัดจ�ำนวน VM หรือ VDI สูงสุดทีร่ ะบบสามารถ รองรับได้ ก่อนที่ Performance ของระบบทั้งหมดจะลดลง (ภายใต้ จุดที่ User Experience ยังอยู่ในระดับปกติที่ยอมรับได้) การทดสอบในครั้งนี้ ใช้ Atlantis HyperScale CX-12 ซึ่งเป็น Hardware Appliance ขนาด 12 TB จ�ำนวน 1 ชุด โดยก�ำหนดสเปค ของ VDI ส�ำหรับแต่ละ User ไว้ที่ 50GB, 2vCPU, 2 GB RAM และ 36

G-MagZ IT MAGAZINE

บทสรุปของ Atlantis Atlantis ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานระบบ VDI ให้สูงขึ้น โดยสิ่ง ทีเ่ ห็นได้ชดั เจนคือ User Experience หรือประสบการณ์ในการใช้งาน ซึ่งได้รับความพึงพอใจจากผู้ใช้ ไม่ว่าจะเป็นความเร็วในการ Startup ความเร็ ว ในการ Login รวมไปถึ ง ความเร็ ว ในการเปิ ด ใช้ ง าน แอพพลิเคชัน่ ต่างๆ ทีเ่ ร็วขึน้ กว่าเดิมอย่างชัดเจน เมือ่ เทียบกับการใช้ PC หรือ Laptop แบบดั้งเดิม Atlantis ได้แก้ปัญหาที่เคยเกิดขึ้นจากการใช้ Storage แบบเดิมให้ หมดไป ไม่ว่าจะเป็นปัญหา Performance ที่ต�่ำ, Capacity ที่ไม่ เพียงพอ, Complexity ในการบริหารจัดการ อีกทัง้ ยังช่วยลดค่าใช้จา่ ย ในการลงทุนฮาร์ดแวร์ให้ต�่ำลง ส่งผลให้ลูกค้าได้ระบบ VDI ที่มี ความเร็วกว่าและมีราคาที่ถูกกว่า PC G


Solutions G-ABLE Cloud Solution Team

G-ABLE Cloud Solution ทางเลือกที่ดีท่ส ี ุดของ Data Center

จุดแข็งของ G-ABLE Cloud Platform ในช่ ว ง 1-2 ปี ที่ ผ ่ า นมา ธุ ร กิ จ มี ก ารยอมรั บ และเกิ ด การ ใช้งาน Cloud มากขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยมีปัจจัยสนับสนุน 3 ประการหลัก ประการแรก ความพร้อมของโครงสร้าง พื้นฐานประเทศไทย ที่มีทั้ง 4G และอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ ในช่วงปีที่ผ่านมา ประการที่สอง การแข่งขันในธุรกิจ Cloud สูงขึน้ จึงท�ำให้เกิดการกระตุน้ ตลาด ประการทีส่ าม ด้านระบบ ความปลอดภัยมีเทคโนโลยีที่ดีขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้กับ องค์กรได้เป็นอย่างดี ซึ่งในปัจจุบันองค์กรต่างๆ หันมาสนใจ Cloud และถูกน�ำมาใช้ให้เป็นประโยชน์กบั Data Center ทัง้ นี้ G-ABLE มีความพร้อมในการน�ำเสนอ Cloud Technology แบบครบวงจรให้กับลูกค้าได้เป็นอย่างดี G-ABLE Cloud Solution ยกระดับลูกค้าสู่บริการ 3rd Generation Data Center

ข้อมูลอยู่ในประเทศไทย มีระบบ SLA อยู่ในระดับ 99.9% มีการมอนิเตอร์ระบบตลอดเวลา หรือ 24x7 Data Center ในระดับ 3 Tier+ (มีมาตรฐานด้านระบบความ ปลอดภัย แหล่งจ่ายไฟ ระบบระบายความร้อน ระบบป้องกัน แผ่นดินไหว และน้ำ�ท่วมไม่ถึง เป็นต้น) ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 27001 ซึ่งเป็นมาตรฐานด้านระบบ ความปลอดภัยสารสนเทศ รองรับสายสัญญาณ หรือลิงก์ จากผู้ให้บริการทุกรายในประเทศไทย มีระบบความปลอดภัยครบครันทั้งในส่วนของ Firewall และ IDS G-ABLE Cloud Platform ยังสร้างความเชือ่ มั่นให้กับลูกค้า ด้วยระบบการสำ�รอง ข้อมูล 3 ชุด สามารถเรียกคืนข้อมูลย้อนหลังได้ถึง 3 วัน และบริการแบบไม่จำ�กัด ปริมาณ

G-ABLE Cloud Solution เป็น End-to-End Solution ด้าน Cloud ช่วยให้ลูกค้าเปลี่ยนจาก Data Center เดิมๆ ให้กลายเป็น 3rd Generation Data Center เพื่ อ ความพร้ อ มส� ำ หรั บ การ ท�ำงานของแอพพลิเคชั่นใหม่ๆ และเป็นการใช้ ประโยชน์จาก Cloud ให้ได้มากที่สุด ขณะที่ G-ABLE Cloud Platform นับว่าเป็น Infrastructure as a Service (IaaS) ของทาง G-ABLE เป็นส่วน ที่เติมเต็ม G-ABLE Cloud Solution เพื่อให้ ลูกค้าเก็บข้อมูลไว้ในประเทศไทย

G-MagZ IT MAGAZINE

37


Solutions

Design – Build – Run บริการแบบที่เดียวจบ ครบ คุ้มค่า G-ABLE Cloud Solution วางระบบและบริการให้แก่ลูกค้าได้อย่าง ครบครัน โดยเริ่มตัง้ แต่ ให้คำ� ปรึกษา ด้วยการเก็บข้อมูลความต้องการ และการใช้งานของลูกค้า จากนัน้ ท�ำการออกแบบ (Design) ด�ำเนินการ สร้างระบบ (Build) วางระบบความปลอดภัย ทดสอบและพัฒนา ให้สามารถใช้งานได้อย่างสมบูรณ์ (Run) ในลักษณะของ Cloud เต็มรูปแบบ พร้อมกันนีย้ งั ให้บริการในการตรวจเช็คระบบ และเชือ่ มโยง โครงข่ายกับผู้ให้บริการ (Provider) ได้อย่างครบครัน จึงเหมาะกับ ลูกค้าทีไ่ ม่ตอ้ งการหรือไม่มที มี บุคลากรด้านไอที ในการดูแลระบบของตน G-ABLE Cloud Solution พร้อมน�ำเสนอโซลูชั่นที่ดีท่ส ี ุด ปัจจุบนั G-ABLE มีบริการทีห่ ลากหลายเพือ่ น�ำเสนอให้แก่ลกู ค้า ลูกค้า สามารถเลือกใช้ได้ความต้องการ หรือตามขอบเขตงาน โดย G-ABLE Cloud Solution ประกอบด้วย IaaS, Enterprise Data Center on Cloud, Private/Hybrid Cloud, Data Center on Cloud และ Desktop as a Service ดังภาพประกอบในหน้าถัดไป G-ABLE Cloud Solution ด้าน Private Cloud เป็นทางเลือกทีด่ สี ำ� หรับ องค์กรที่ต้องการสร้าง Data Center บนระบบ Cloud ซึ่งข้อดีคือ ลดค่ า ใช้ จ ่ า ยในการติ ด ตั้ ง และดู แ ลระบบ Data Center ภายใน ส�ำนักงาน ด้วยการย้ายขึน้ ไปอยูบ่ น Cloud ทัง้ หมด ไม่วา่ จะเป็นข้อมูล 38

G-MagZ IT MAGAZINE

หรือแอพพลิเคชั่น นอกจากนี้ยังให้ความยืดหยุ่นในการปรับเพิ่มหรือ ลดขนาดของระบบ Cloud ได้ตามต้องการ เพื่อให้รองรับ Workload ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้นๆ ได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ G-ABLE Cloud Solution ยังเติมเต็มความต้องการ Disaster Recovery Site หรือระบบส�ำรองฉุกเฉิน ของกลุ่มธุรกิจที่ ข้อมูลขนาดใหญ่ และระบบต้องท�ำงานได้อย่างต่อเนือ่ งแบบหยุดไม่ได้ เช่น Telecom และ Banking ซึง่ กลุม่ นีม้ คี วามต้องการ Disaster Recovery Site แห่งที่ 3 หรือ 4 โดย Cloud Solution เป็นทางเลือกที่ดี การวางแผนส�ำรองรับมือภัยพิ บัติ เพื่ อให้ธุรกิจส�ำคัญท�ำงานได้ต่อเนื่อง G-ABLE Cloud Platform มีบริการออกแบบ สร้างและดูแลระบบไซต์ ส�ำรองให้กบั ลูกค้า ด้วยการวางแผนสร้าง DR Site (Disaster Recovery Site) เพื่อรับมือกับเหตุการณ์หรือภัยพิบัติต่างๆ เช่น อุทกภัย หรือ ปัญหาจราจล ชุมนุมประท้วง รวมถึงมีระบบ DRP (Disaster Recovery Process) ที่เป็นการแนะน�ำขั้นตอนการใช้งานให้ลูกค้า เมื่อเกิด ภัยพิบตั ิ รวมถึงระบบ Desktop as a Service เป็นการสร้างระบบ Virtual Desktop ที่มีการเชื่อมโยงแอพ หรือข้อมูลต่างๆ ของส�ำนักงานไว้บน Cloud ซึ่งจะท�ำให้ผู้ใช้ย้ายการเชื่อมต่อจากระบบเดิมมาสู่ Cloud บน ไซต์ส�ำรองได้ทันที อีกทั้งสามารถเพิ่มหรือลดขนาด Workload ได้ ลูกค้าจึงสามารถด�ำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่องแม้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่ คาดคิดก็ตาม


Solutions

นอกจากนี้ระบบ Desktop as a Service ยังเปลี่ยนรูปแบบจัดเก็บ ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ให้ไปอยู่บนเซิร์ฟเวอร์แทน ด้วย เทคโนโลยี Virtual Desktop หากโน้ตบุก๊ สูญหาย ฮาร์ดดิสก์พัง ข้อมูล จะไม่หายไปด้วย ระบบจะยังมีการส�ำรองไฟล์อย่างสม�่ำเสมอ ท�ำให้ พนักงานสามารถเชือ่ มต่อเข้ามาท�ำงานจากทีใ่ ดก็ได้ อีกทัง้ รองรับการ ใช้งานได้หลากหลายแพลตฟอร์ม ไม่ว่าจะเป็นโน้ตบุ๊ก สมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ต เพื่อความหลากหลายของผู้ใช้ในกลุ่มต่างๆ ขององค์กร G-ABLE Cloud Platform แตกต่างและเติมเต็มบริการด้าน Cloud G-ABLE ค�ำนึงถึงความต้องการในการจัดเก็บข้อมูลของลูกค้าแต่ละ รายเป็นหลัก และน�ำมาใช้ในการน�ำเสนอบริการ เช่น Private Cloud ส�ำหรับลูกค้าที่ต้องการเก็บข้อมูลบางส่วนไว้ในส�ำนักงาน และผสม ผสานกับ G-ABLE Cloud Platform ในการเชื่อมโยงข้อมูลบางส่วน ที่อยู่ภายนอก เช่นเดียวกับการเชื่อมต่อผ่านบริการ Cloud Provider จากภายนอก เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้กบั ลูกค้าในกลุม่ ต่างๆ ทัว่ โลก โดยที่ G-ABLE จะเชือ่ มโยงทุกส่วนเข้าด้วยกัน เพือ่ ให้ลกู ค้าใช้บริการ บน G-ABLE Cloud Platform ครบทุกอย่างในที่เดียว โดยไม่ได้มอง ผูใ้ ห้บริการรายอืน่ เป็นคูแ่ ข่ง แต่เป็นเหมือนการเติมเต็มการให้บริการ และเป็นประโยชน์ต่อลูกค้าได้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

หรือโยกย้ายระบบการท�ำงานทั้งหมดมาที่ Cloud เพื่อเป็นการลด ค่าใช้จา่ ย นอกจากนี้ G-ABLE ยังเสริมระบบความปลอดภัย ด้วยทีม ทีป่ รึกษาและวางระบบให้ลูกค้า เพือ่ ให้เข้าสูย่ คุ Digital Transformation ที่ทุกสิ่งจะเปลี่ยนไปเป็นดิจิทัล ขณะเดียวกัน G-ABLE มีแผนกพัฒนาแอพพลิเคชั่น เพื่อรองรับ การบริการ Software as a Service ในอนาคต ให้เป็น One Stop Shopping ครบวงจรทั้งระบบ อาทิ DOM แอพด้าน Social Analytics ท�ำงานอยู่บน G-ABLE Cloud Platform ที่ให้บริการด้านงานประกัน ภัย ซึง่ เตรียมจะเปิดให้บริการเร็วๆ นี้ และ SPACE แอพส�ำหรับบริหาร จัดการพื้นที่เช่าของ Community Mall รวมถึงการพัฒนาแอพอื่นๆ เพิ่มขึ้นในอนาคต G-ABLE เติบโตมาจาก System Integrator หรือผู้พัฒนาและ วางระบบไอที มีรากฐานความเข้าใจในธุรกิจของลูกค้าหลาก หลายประเภท มีพันธมิตรในกลุ่มธุรกิจมากมาย และมากด้วย ประสบการณ์ความเชี่ยวชาญในการบูรณาการระบบ รากฐาน ดังกล่าว คือ จุดแข็งของ G-ABLE Cloud Solution ภายใต้บริการ จาก G-ABLE ที่สะสมองค์ความรู้ และสร้างความส�ำเร็จให้กับ องค์กรธุรกิจต่างๆ มายาวนานกว่า 20 ปี G

G-ABLE Cloud Platform มีบริการส�ำหรับองค์กรขนาดใหญ่และธุรกิจ ขนาดเล็ก ให้สามารถปรับเพิ่มหรือลดขนาดของ Cloud ที่ต้องการใช้ G-MagZ IT MAGAZINE

39


Inno&Product

Biowearable ล�้ำหน้าด้วยหมึกน�ำไฟฟ้า

“Wearable” หรืออุปกรณ์ที่ใช้สวมใส่บนร่างกาย เป็นแนวโน้มทีม่ าแรงในยุค ปัจจุบัน และก�ำลังขยายตัวอย่างมาก เจ้าแห่งเทคโนโลยีน้อยใหญ่ต่างออก ผลิตภัณฑ์ ใหม่ ในรูปแบบต่างๆ เช่น Smart Watch, Fitness Trackers เป็นต้น ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้มีความสามารถในการตรวจจับอุณหภูมิร่างกาย การเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต รวมไปถึงมีการรายงานอัตราการเผาผลาญ แคลอรี่จากการออกก�ำลังกาย รายงานระยะทางและความเร็ว ฯลฯ แทบจะ เรียกได้วา่ อุปกรณ์ชนิ้ นีบ้ นั ทึกกิจกรรมของคุณเอาไว้อย่างละเอียดเลยทีเดียว แต่ขณะนี้ Wearable อีกทางเลือกหนึ่งก�ำลังจะเกิดขึ้นแล้ว เมื่อมีผู้คิดค้น “หมึกน�ำไฟฟ้า” ที่สามารถ “พิมพ์ลง บนผิวหนัง” เพื่อใช้สร้างเป็นแผงวงจรบนผิวมนุษย์ ท�ำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลเฉกเช่นเดียวกันกับแผงวงจร ในอุ ป กรณ์ ส วมใส่ ต ่ า งๆ ซึ่ ง เท่ า กั บ ว่ า ถู ก ยกระดั บ ให้ เ ป็ น Biowearable นั่ น คื อ ไม่ ต ้ อ งสวมใส่ อุ ป กรณ์ แต่ Biowearable จะติดตัวคุณอยู่ตลอดเวลาโดยไม่ได้เกะกะ หรือสร้างความร�ำคาญให้แม้ในช่วงที่คุณนอนหลับ พักผ่อน

40

G-MagZ IT MAGAZINE


Inno&Product หากจินตนาการน�ำไปใช้ในการช�ำระเงิน ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าจะถูก พัฒนาให้ใช้เพื่อการยืนยันตัวตนในการช�ำระค่าสินค้าและบริการผ่าน ออนไลน์ จะท�ำให้โลกการค้าบนอินเทอร์เน็ตง่ายและปลอดภัยขึ้น อีกมาก

Tech Tats นวัตกรรมจากหมึกน�ำไฟฟ้า จากฉบับที่แล้ว เราได้น�ำเสนอบทความเรื่องหมึกน�ำไฟฟ้าที่ประดิษฐ์ เป็นสวิตซ์ไฟฟ้าแบบสัมผัส ในฉบับนีจ้ งึ ได้หยิบยกการใช้หมึกน�ำไฟฟ้า มาท�ำ Biowearable (ทั้งนี้ในข้อมูล Tech Tats ไม่ได้ระบุว่าเป็นหมึก ที่ผลิตจากสิ่งใด) ที่เรียกว่า Tech Tats ซึ่งเป็นเทคโนโลยีรอยสัก อัจฉริยะ ด้วยคุณสมบัติของหมึกน�ำไฟฟ้า ท�ำให้สามารถใช้ในการ ขีดเขียนเป็นรอยสักแผงวงจรบนผิวหนัง พร้อมต่อเชื่อมกับแบตเตอรี่ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลต่างๆ ตามที่ต้องการ Tech Tats สามารถออกแบบให้เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละ ประเภทงานได้ ซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มว่าจะเริ่มใช้ในแวดวงการแพทย์ ในการตรวจวัดอุณหภูมิของร่างกาย การเต้นของหัวใจ และความดัน โลหิต โดยท�ำการส่งข้อมูลเหล่านั้นไปยังแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน หรือบนคอมพิวเตอร์ เพือ่ รายงานข้อมูลไปยังแพทย์ หรือผูท้ ดี่ แู ลผูป้ ว่ ย แต่อย่างไรก็ตามหมึกน�ำไฟฟ้าดังกล่าวยังต้องพัฒนาต่อไปเพื่อให้ ใช้งานได้นานขึ้นและมีสมรรถนะที่ดีขึ้น สร้างสรรค์นวัตกรรม บนความต้องการที่หลากหลาย นอกเหนือจากการใช้ Tech Tats ในวงการแพทย์ ยังสามารถประยุกต์ ใช้กับงานประเภทอื่นๆ อีกมากมาย เช่น สร้างสรรค์ให้ท�ำงานเสมือน เป็นนาฬิกาอัจฉริยะ เป็น RFID หรือเป็นเครื่องระบุต�ำแหน่งเพื่อ ติดตามบุคคล โดยเว็บไซต์ Weburbanist.com ระบุวา่ นอกจากการ ใช้งานในวงการแพทย์ ยังขยายไปยังวงการการเงิน ลดปัญหาบัตรหาย แล้วมีคนน�ำบัตรไปใช้ ด้วยการเชื่อมโยงไปสู่ข้อมูลธนาคาร หรือใช้ใน การติดตามกระเป๋าเงินสูญหาย ตลอดจนการน�ำไปใช้กับบุตรหลาน คนชรา ทีต่ อ้ งเดินทางไปนอกสถานที่ ซึง่ ท�ำให้งา่ ยต่อการติดตาม และ ยังน�ำไปใช้กับงานประเภทอื่นๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบให้เหมาะสม กับความต้องการ โดยจุดเด่นของ Tech Tats คือ สามารถออกแบบให้เป็นเสมือนเครื่อง ประดับชิน้ หนึง่ จะด้วยวัตถุประสงค์ทตี่ อ้ งการความสวยงาม หรือแม้แต่ เพื่ออ�ำพรางไม่ให้ใครรู้ว่ามีอุปกรณ์ติดตามตัวที่จะช่วยลดปัญหาจาก คนหายด้วยอาการอัลไซเมอร์ รวมทั้งอย่างน้อยจะช่วยลดปัญหาคน หายจากการถูกลักพาตัว

Biowearable คาดลดต้นทุน-รักษ์ส่ง ิ แวดล้อม การมาของ Tech Tats ที่ใช้หมึกน�ำไฟฟ้าในการสร้างสรรค์อุปกรณ์ เสมื อ น ให้ ท� ำ งานตามความต้ อ งการของมนุ ษ ย์ ไม่ ว ่ า จะเป็ น เครื่องตรวจวัดร่างกาย นาฬิกาอัจฉริยะ เซนเซอร์ติดตามบุคคล ฯลฯ คาดการณ์ว่า อุปกรณ์เ สมือน หรือ Biowearable จะมีต้นทุนต�่ำ เนื่องจากไม่มีองค์ประกอบอื่น เช่น โครงพลาสติก หรืออะลูมิเนียม ที่ท�ำให้เป็นรูปทรง ไม่มีสายที่ใช้รัดติดกับร่างกาย เป็นต้น

Tech Tats สามารถออกแบบให้ เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละ ประเภทงานได้ ซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้ม ว่าจะเริ่มใช้ ในแวดวงการแพทย์

จากทีไ่ ม่มคี วามจ�ำเป็นต้องใช้โครงสร้างทีท่ ำ� ให้เป็นรูปทรง ไม่วา่ จะเป็น สายรัด หรือพลาสติก เท่ากับช่วยลดการสร้างชิ้นส่วนต่างๆ ได้บ้าง เป็นการรักษาสิ่งแวดล้อมไปโดยปริยาย แม้ว่าปัจจุบัน Tech Tats ที่ใช้หมึกน�ำไฟฟ้า ยังไม่แพร่หลาย หรืออาจ เรียกได้ว่าอยู่ในขั้นเริ่มต้น แต่มีแนวโน้มว่าจะถูกน�ำไปพัฒนาเพื่อ ใช้งานที่หลากหลายประเภทในอนาคต ด้วยจุดเด่นที่คาดว่า สะดวก ต้นทุนต�่ำ รักษ์สิ่งแวดล้อม แต่อย่างไรก็ตามยังไม่มีข้อสรุปเรื่องของ ต้นทุนในขณะนี้ G ข้อมูล และภาพจาก http://www.chaoticmoon.com/chaos-theory/tech-tats/ http://weburbanist.com/2015/11/29/bio-wearables-tech-tattoos-putworking-circuits-on-your-skin/

G-MagZ IT MAGAZINE

41


Green Idea จนิษฐ์ ประเสริฐบูรณะกุล Senior AEROSPACE Mapping Manager บริษัท จีไอเอส จำ�กัด อาจารย์พิเศษประจำ�ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Clean Technology พาโลกอุตสาหกรรม หมุนทะยานสู่อนาคต

ในปัจจุบันการขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมก่อให้เกิดปัญหามลภาวะต่างๆ มากมาย และก�ำลังเป็นปัญหา ส�ำคัญด้านสิง่ แวดล้อม ทีส่ ง่ ผลกระทบอย่างกว้างขวางไปทัว่ โลก ดังนัน้ ในช่วงทศวรรษทีผ่ า่ นมาจึงมีการพัฒนา หลักการของเทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology) การผลิตที่สะอาด (Cleaner Production) การป้องกัน มลพิษ (Promotion Prevention) รวมไปถึงการลดการเกิดของเสียให้น้อยที่สุดในกระบวนการผลิต (Waste Minimization) ซึ่งเทคโนโลยีต่างๆ เหล่านี้ได้ถูกน�ำมาใช้เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ว่าจะเลือกใช้วิธีการใดในกระบวนการผลิตของตนเอง ส�ำหรับประเทศไทยได้มีการริเริ่มกิจกรรมที่ส่งเสริมเทคโนโลยีสะอาดมาเป็นเวลาหลายปีแล้ว ภายใต้การ สนับสนุนจากองค์การต่างประเทศ เช่น โครงการ USAID-FTI/IEM เป็นความร่วมมือระหว่าง ส�ำนักงานพัฒนา ระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา กับ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จัดตัง้ โครงการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม อุตสาหกรรม, โครงการ GTZ/DIW เป็นความร่วมมือทางเทคนิคระหว่าง ไทย-เยอรมัน โดยสถาบัน GTZ กับ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ศึกษาการลดของเสีย และการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับอุตสาหกรรมฟอกหนัง อุตสาหกรรมปลากระป๋อง อุตสาหกรรมแป้งมันส�ำปะหลัง เป็นต้น โครงการ CDG โดยสถาบัน CDG ร่วมกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เน้นการศึกษาและส่งเสริมการควบคุมและลดมลพิษ ในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดกลาง ส�ำหรับอุตสาหกรรมสิง่ ทอ (ฟอกย้อม) อุตสาหกรรมชุบเคลือบ ผิวโลหะ และอุตสาหกรรมฟอกหนัง นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายโครงการที่ไม่ได้กล่าวถึง 42

G-MagZ IT MAGAZINE


GREEN IDEA

ภาพแสดงการผลิตที่ใช้เทคโนโลยีสะอาดในทุกขั้นตอนการผลิต

เทคโนโลยีสะอาด คืออะไร เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) เรียกชื่อย่อว่า CT เป็นการปรับปรุง พัฒนา หรือเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ก ารใช้ ป ระโยชน์ จ ากพลั ง งาน วั ต ถุ ดิ บ หรื อ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นไปได้ด้วยดีมีประสิทธิภาพ โดยที่ ไม่ก่อให้เกิดผลเสีย ไม่เกิดผลกระทบต่อประชากร หากเกิด ผลกระทบก็ให้เกิดน้อยที่สุด นอกจากนีย้ งั รวมไปถึงการลดมลพิษจากแหล่งก�ำเนิด โดยการ เปลี่ ย นแปลงวั ต ถุ ดิ บ เป็ น การน� ำ กลั บ มาใช้ ใ หม่ (ใช้ ซ�้ ำ ) เรียกว่าเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมไว้ พร้อมๆ กับลดต้นทุน การผลิตไปพร้อมกัน ส�ำหรับการผลิตเป็นกลยุทธ์ที่ใช้ใน การผลิตเชิงอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ วัตถุดิบและพลังงานในการผลิต ท� ำให้สามารถลดต้นทุน โดยการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ บริการ และกระบวนการผลิตอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อลดของเสียจากแหล่งก�ำเนิด อันจะช่วยลดภาระ ในการก�ำจัดของเสีย รวมถึงก่อให้เกิดการใช้พลังงานทรัพยากร และวัตถุดิบต้นทุนอย่างคุ้มค่า อันเป็นการสร้างภาพลักษณ์ ที่ ดี ใ ห้ กั บ ผู ้ ป ระกอบการ ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งความสามารถ ในการแข่งขันในตลาดโลก อีกทั้งยังพัฒนาความสามารถ

และประสิทธิภาพของธุรกิจ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการก้าวสู่ มาตรฐาน ISO 14000 ของอุตสาหกรรมอีกด้วย โครงการเทคโนโลยีสะอาดได้รเิ ริม่ ขึน้ ในปี 2532 โดย Industry and Environment/Programme Activity Center หรือที่เรียก ย่อๆ ว่า IE/PAC ด�ำเนินการเรือ่ ยมา โดยจัดประชุมนานาชาติ ทุก 2 ปี จัดอบรมเผยแพร่ทางวิชาการ ในปัจจุบันมีการจัดตั้ง ศูนย์เครือข่ายเทคโนโลยีสะอาดไปทั่วโลก หลักการของเทคโนโลยีสะอาด โดยหลักมุ่งเน้นไปที่การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ คือ การลดการใช้ พลังงาน การใช้น�้ำ และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ซึ่งหลักการ ของเทคโนโลยี ส ะอาดจะเน้ น ที่ ก ารป้ อ งกั น มากกว่ า การ แก้ปัญหา โดยลดของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการต่างๆ ให้ น้อยที่สุด โดยวิธีการแยกสารพิษที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ ผลิ ต ในทุ ก ขั้ น ตอน ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยการเปลี่ ย นแปลง กระบวนการผลิ ต การเปลี่ ย นแปลงวั ต ถุ ดิ บ ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ผลพลอยได้ที่ไม่เป็นอันตราย รวมทั้งการลดปริมาณของเสีย ทีเ่ กิดขึน้ โดยกระบวนการน�ำกลับมาใช้ซำ�้ (Reuse) หรือการน�ำ กลั บ ไปใช้ ใ หม่ (Recycle) จนกระทั่ ง ของเสี ย เหล่ า นั้ น G-MagZ IT MAGAZINE

43


GREEN IDEA

รูปแสดงแนวความคิดและหลักการเทคโนโลยีสะอาดส�ำหรับการผลิต

ไม่สามารถน�ำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก จึงน�ำไปบ�ำบัด และ ก�ำจัด ตามหลักวิชาการต่อไป จากที่กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปหลักการของเทคโนโลยี สะอาดได้ ดังนี้ 1. การลดมลพิษที่แหล่งก�ำเนิด แบ่งเป็น 2 แนวทางใหญ่ๆ คื อ การเปลี่ ย นแปลงผลิ ต ภั ณ ฑ์ และการเปลี่ ย นแปลง กระบวนการผลิต 1.1 การเปลีย่ นแปลงผลิตภัณฑ์ (Product Reformulation) อาจท� ำ ได้ โ ดยการออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ มี ผ ลกระทบต่ อ สิง่ แวดล้อมน้อยทีส่ ดุ หรือการออกแบบให้มอี ายุการใช้งานของ ผลิตภัณฑ์ได้นานขึ้น 1.2 การเปลีย่ นแปลงกระบวนการผลิต (Process Change) แบ่งได้ 3 กลุ่ม อันประกอบด้วย • การเปลีย่ นแปลงวัตถุดบิ (Input Material Change) โดยเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ ลดหรือเลิกการใช้วัตถุดิบที่ เป็นอันตราย เพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปื้อนของสารอันตราย เข้าไปในกระบวนการผลิต และพยายามใช้วัตถุดิบที่สามารถ น�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ เป็นการเลือกใช้วตั ถุดบิ ทีส่ ะอาด หมายถึง คุ ณ สมบั ติ ข องวั ต ถุ ดิ บ เองหรื อ สิ่ ง ปนเปื ้ อ นมากั บ วั ต ถุ ดิ บ สิ่งสกปรกที่ปนเปื้อนมากับวัตถุดิบ หากเป็นไปได้ควรมีการ ก�ำจัดออกตั้งแต่ต้น คือ แหล่งที่มาก่อนที่จะขนเข้าสู่โรงงาน เพื่อเข้าสู่กระบวนการผลิต รวมทั้งคุณภาพต้องให้ได้ตาม มาตรฐานการผลิตของโรงงานด้วย 44

G-MagZ IT MAGAZINE

• การเปลี่ ย นแปลงเทคโนโลยี (Technology Improvement) เป็นการเพิ่มศักยภาพการผลิตหรือการใช้ ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า ได้แก่ การปรับปรุงแผนผังโรงงาน การเพิม่ ระบบอัตโนมัติ การปรับปรุงเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต รวมถึงการน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ เพื่อก่อให้เกิดของเสีย น้อยทีส่ ดุ เป็นการเพิม่ ศักยภาพการผลิตหรือการใช้ทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การปรับปรุงผังโรงงาน การเพิ่ม ระบบอัตโนมัติ การปรับปรุงเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ในการผลิต และการน�ำเทคโนโลยีใหม่มาใช้ เพื่อให้เกิดของเสียน้อยที่สุด หากของเสียไม่สามารถลดหรือก�ำจัดได้แล้ว ก็ให้หาวิธีน�ำ เทคโนโลยีเพือ่ ท�ำการเคลือ่ นย้ายตัวกลางทางสิง่ แวดล้อมเดิม ไปสู่ตัวกลางใหม่ • การปรับปรุงกระบวนการด�ำเนินงาน (Operation Management) เป็นการบริหารระบบการวางแผนและควบคุม การผลิต เพื่อเพิ่มศักยภาพของกระบวนการผลิต ให้สามารถ ลดต้นทุนในการผลิตและลดการก่อมลพิษทางสิง่ แวดล้อม โดย ก�ำหนดให้มขี นั้ ตอนการผลิต กระบวนการท�ำงาน กระบวนการ บ�ำรุงรักษา รวมไปถึงการจัดการระบบ การบริหารงานใน โรงงานอย่างชัดเจน 2. กระบวนการน�ำกลับมาใช้ใหม่ แบ่งออกได้ 2 แนวทาง คือ 2.1 การใช้ผลิตภัณฑ์หมุนเวียน โดยการน�ำวัตถุดิบที่ไม่มี คุณภาพกลับมาใช้ประโยชน์ หรือการใช้ประโยชน์จากสารหรือ วัสดุทปี่ นอยูก่ บั ของเสีย โดยการน�ำมาใช้ในกระบวนการผลิตเดิม หรือกระบวนการผลิตในขั้นตอนอื่น


GREEN IDEA

2.2 การใช้เทคโนโลยีหมุนเวียน เป็นการน�ำเอาของเสียผ่าน กระบวนการต่างๆ เพื่อน�ำทรัพยากรกลับมาใช้อีก การประยุกต์ใช้หลักการเทคโนโลยีสะอาด ส�ำหรับการประยุกต์ใช้หลักการเทคโนโลยีสะอาด ในภาค อุตสาหกรรมจะประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1) การวางแผนและการจัดองค์กร (Planning and Organization) 2) การประเมินเบื้องต้น (Pre-Assessment) 3) การประเมินผล (Assessment) 4) การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility) 5) การลงมือปฏิบัติ (Implementation) หลังจากน�ำเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ในภาคอุตสาหกรรม ต้องมี การวางแผนและจัดการ มีการส�ำรวจข้อมูล ท�ำการประเมิน เบื้องต้น และท�ำการประเมินในขั้นตอนต่อมา โดยในขั้นตอน การประเมิ น เบื้ อ งต้ น จะเกี่ ย วข้ อ งกั บ การสร้ า งแผนภาพ กระบวนการผลิต พิจารณาการป้อนเข้าและการจ่ายออกของ วั ต ถุ ดิ บ ของแต่ ล ะหน่ ว ยปฏิ บั ติ ก าร จั ด ท� ำ สมดุ ล มวลสาร ท� ำ ให้ ท ราบปริ ม าณของเสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในแต่ ล ะขั้ น รวมทั้ ง ท�ำให้สามารถวิเ คราะห์สาเหตุการเกิดของเสียอันน� ำไปสู่ กระบวนการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อลดของเสียที่เกิดขึ้น โดยทางเลือกทีน่ ำ� เสนอต้องมีความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ ลงทุนไม่สูง และสามารถคืนทุนได้ในระยะสั้น เมื่อวิธีการทาง สิ่ ง แวดล้ อ มสอดคล้ อ งกั บ แนวคิ ด ทางเศรษฐศาสตร์ จึ ง ด�ำเนินการ และต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อก่อให้เกิด การพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า เทคโนโลยีสะอาดจะท�ำให้เรามี สุขภาพที่ดีขึ้น และปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี หรือจาก สารพิษต่างๆ ท�ำให้สขุ ภาพจิตของทุกคนดีขนึ้ เกิดความภูมใิ จ ที่สามารถท�ำให้สังคมดี และสินค้าที่ได้ก็มีคุณภาพสูงตาม ไปด้วย ตลอดจนผู้คนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพราะมลภาวะ ลดน้อยลง และปัญหาขยะในแม่น�้ำล�ำคลองก็ลดปริมาณลง นอกจากนี้ ยั ง ท� ำ ให้ สั ง คมเกิ ด ความสามั ค คี ชุ ม ชนน่ า อยู ่ ช่วยส่งเสริมให้ภาพลักษณ์ของประเทศไทยดีขึ้น ทั้งในด้าน สิง่ แวดล้อมและในด้านการส่งออก ดังนัน้ การจะเกิดเทคโนโลยี สะอาดทีม่ ปี ระสิทธิภาพขึน้ ได้นนั้ จ�ำเป็นต้องอาศัยปัจจัยหลายๆ ด้านเพือ่ น�ำพาไปสูค่ วามส�ำเร็จ ไม่วา่ จะเป็นการสร้างแรงจูงใจ, อาศัยทีมงานที่มีประสิทธิภาพ, แหล่งข้อมูลด้านสารสนเทศ อันทันสมัย, ความมุง่ มัน่ ตลอดจนความมัน่ คงของนโยบายนัน้ ๆ เป็นต้น ในกรณีที่ท�ำได้ก็จะก่อให้เกิดผลดีต่างๆ อีกมากมาย กลับมาสู่ประเทศ

ภาพแสดงการลดมลพิ ษที่แหล่งก�ำเนิด การใช้ซ�ำ้ และการน�ำกลับมาใช้ใหม่

ส�ำหรับแนวคิดของเทคโนโลยีสะอาด คือ การป้องกันมลพิษที่ แหล่งก�ำเนิด และการลดปริมาณสารเคมีที่ใช้ให้น้อยที่สุด โดยท�ำได้ตามขัน้ ตอนทีเ่ รียงล�ำดับความส�ำคัญจากมากไปน้อย ดังนี้ การลดที่แหล่งก�ำเนิด, การใช้หมุนเวียน, การบ�ำบัด และ การปล่อยทิ้ง ฉะนั้นการด�ำเนินการตามหลักการของเทคโนโลยีสะอาด คือ จะเน้นการลดมลพิษที่ต้นก�ำเนิดมากกว่าการแก้ปัญหาที่ ปลายทาง กล่าวคือ ลดปริมาณการใช้ทรัพยากรลง โดยใช้หลัก การบริหารจัดการอย่างมีคณ ุ ภาพเพือ่ ให้เกิดของเสียน้อยทีส่ ดุ ของเสียทีเ่ กิดขึน้ ต้องมีการน�ำกลับมาใช้ใหม่ เพือ่ ลดของเสียทีจ่ ะ ส่งไปสูข่ นั้ ตอนการบ�ำบัดของเสียทีน่ ำ� ไปบ�ำบัดผ่านกระบวนการ บ�ำบัดที่มีประสิทธิภาพจึงสามารถปล่อยสู่สิ่งแวดล้อมได้ อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีสะอาดนับว่าเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ สอดคล้องต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมควบคูไ่ ปกับการอนุรกั ษ์ สิ่งแวดล้อม ตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งหน่วยงาน ภาครั ฐ ควรศึ ก ษาอย่ า งจริ ง จั ง และให้ ก ารสนั บ สนุ น แก่ ภาคอุตสาหกรรมในการปรับเปลีย่ นเทคโนโลยีดงั้ เดิม เพือ่ ช่วย ลดปั ญ หาการจั ด การมลพิ ษ เพิ่ ม ศั ก ยภาพในการแข่ ง ขั น ทางการค้าระหว่างประเทศ G แหล่งข้อมูล: http://www.greenintrend.com http://www.kmutt.ac.th/ctap/index_files/concept.htm http://www.material.chula.ac.th/RADIO45/January/ radio1-3.htm

G-MagZ IT MAGAZINE

45


Idea Info

SIPA

เผยผลสำ�รวจมูลค่าตลาดซอฟต์แวร์ไทยปี 2558 พร้อมประมาณการปี 59 โต 4.4% Idea Info ในฉบั บ นี้ ไ ด้ นำ � ข้ อ มู ล ของ ผลการสำ�รวจอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ปี 2558 ที่จัดทำ� โดยสำ � นั ก งานส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม ซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ (SIPA) มาขยายความเพิ่มเติม เกีย่ วเนือ่ งกับบทความใน Special Report เพื่ อ ให้ ผู้อ่ า นได้ รั บ รู้ ข้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก ต่อตัวเลขและมูลค่าต่างๆ ในโอกาสนี้ ขอขอบคุณ SIPA และสถาบันไอเอ็มซี ในฐานะผู้ดำ�เนินการโครงการสำ�รวจ คาดมูลค่าผลิตซอฟต์แวร์และ บริการ ปี 59 โต 4.4% ผลส�ำรวจพบการผลิตซอฟต์แวร์และบริการ ซอฟต์แวร์ปี 2558 ของไทยมีมูลค่า 52,561 ล้ า นบาท คิ ด เป็นอัตราการเติบโต 1.2% จากปีกอ่ นหน้านี้ โดยในภาพประกอบ 1 ระบุ มู ล ค่ า ตลาดในช่ ว งสามปี พร้ อ มแจกแจง มูลค่าซอฟต์แวร์สำ� เร็จรูปและบริการซอฟต์แวร์

ภาพประกอบ 1

ทั้งนี้ได้อธิบายถึงปัจจัยที่ท�ำให้มูลค่าตลาด มี ก ารเติ บ โตเพี ย งเล็ ก น้ อ ย คื อ 1.2% เนื่องจากโครงการต่างๆ มีก ารชะลอการ ลงทุ น ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากเศรษฐกิ จ หดตั ว รวมทั้ ง ปั จ จั ย พฤติ ก รรมตลาดที่ เ ริ่ ม มี ก าร เปลีย่ นแปลงไปสูก่ ารใช้ซอฟต์แวร์ในรูปแบบ SaaS มากขึ้น ภาพประกอบ 2

46

G-MagZ IT MAGAZINE


Idea Info

ขณะเดี ย วกั น มี ก ารประมาณการมู ล ค่ า ซอฟต์ แ วร์ แ ละบริ ก าร ซอฟต์แวร์ปี 2559 และ 2560 จากความเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ด้วยอัตราการเติบโตที่ 4.4% และ 4.3% ตามล�ำดับ ดังรายละเอียด ภาพประกอบ 2 โดยเกิดจากปัจจัยของการขับเคลื่อนนโยบาย เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) เช่น โครงการพัฒนาระบบ โครงสร้างพื้นฐานของประเทศ (National Infrastructure) และ ปัจจัยจากการขยายตัวในตลาดต่างประเทศของภาคเอกชนทีม่ กี าร ส่งออกซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์

ภาพประกอบ 4

หากจ�ำแนกตามประเภทลูกค้า พบว่าตลาดภาคเอกชนครอง สัดส่วนสูงสุดทั้งด้านซอฟต์แวร์ส�ำเร็จรูปและบริการซอฟต์แวร์ รองลงมาเป็นภาคราชการ ดังภาพประกอบ 3 และขยายความด้วย ภาพประกอบ 3.1 ที่แสดง 5 ประเภทอุตสาหกรรมที่ใช้ซอฟต์แวร์ ล�ำดับต้นๆ

ภาพประกอบ 5

ภาพประกอบ 3

ผลการส�ำรวจซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัว ปี 58 โต 3.5% ส�ำหรับผลการส�ำรวจมูลค่าการผลิตซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัวปี 2558 พบว่ามีอัตราเติบโต 3.5% ด้วยมูลค่า 6,039 ล้านบาท (ภาพประกอบ 4) สืบเนือ่ งมาจากการเติบโตของ 1) ผูอ้ อกแบบและ พัฒนาระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัว โดยมีทรัพย์สินทาง ปัญญาของตนเอง (IP-Based System Designer) มีมูลค่า 2,896 ล้านบาท และ 2) ผูพ้ ฒ ั นาซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัว เพือ่ ใช้กบั สินค้า ของบริษทั โดยมีฐานะเป็นหน่วยผลิตภายใน (In-House Producer) มีมูลค่า 87 ล้านบาท ดังภาพประกอบ 5 ส่วนปี 2559 และ 2560 ประมาณการว่าจะมีอัตราการเติบโต 5% และ 6.9% คิดเป็นมูลค่า 6,340 ล้านบาท และ 6,778 ล้านบาท ตามล� ำ ดั บ โดยเป็ น ผลจากการผลิ ต เพื่ อ ส่ ง ออกมี ก ารเติ บ โต ต่อเนื่องจากปี 2558 นอกจากนี้ยังมีผู้ประกอบการบางรายผลิต สินค้าที่มีซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัวเพื่อควบคุมสินค้าให้สามารถ ต่อเชื่อมอินเทอร์เน็ต (IoT)

ภาพประกอบ 3.1 G-MagZ IT MAGAZINE

47


Idea Info

ผลการส�ำรวจสถานภาพบุคลากรปี 2558 จากการส�ำรวจสถานภาพบุคลากรและการจ้างงานในอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์สำ� เร็จรูปและบริการซอฟต์แวร์ รวมทัง้ ซอฟต์แวร์สมองกล ฝังตัว ในปี 2558 พบว่า จ�ำนวนบุคลากรด้านซอฟต์แวร์ส�ำเร็จรูป และบริ ก ารซอฟต์ แ วร์ รวมทั้ ง สิ้ น 55,873 คน โดยรวมทั้ ง อุตสาหกรรม ทั้งนี้มีจ�ำนวนพนักงานเพิ่มขึ้น ร้อยละ 9.7 เมื่อเทียบ กับผลส�ำรวจในปี 2557 ตามภาพประกอบ 6

ภาพประกอบ 8

ภาพประกอบ 6

ด้านสัดส่วนบุคลากรซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ จ�ำแนกตาม ประเภทต่างๆ พบว่า Programmer / Software Developer / Tester มีจ�ำนวนสูงที่สุด คือ 44.90% ดังภาพประกอบ 7

Tech-Startup ปี 58 มูลค่า 1,188 ล้านบาท เป็ น ปี แ รกที่ ใ ห้ มี ก ารรวบรวมข้ อ มู ล ตลาดซอฟต์ แ วร์ ใ นกลุ ่ ม ผู้ประกอบการใหม่ด้านเทคโนโลยี หรือ Tech-Startup พบว่าใน ประเทศไทยมีจำ� นวน 348 ราย และมีการระดมทุนทีเ่ ปิดเผยในปี 2558 ได้ประมาณ 1,188 ล้านบาท ทั้งนี้ทีมวิจัยระบุว่าได้น�ำข้อมูลจาก แบบสอบถามในกลุ่ม Tech-Startup ประมวลร่วมกับข้อมูลทุติยภูมิ ที่ได้จาก Techsauce1 และรายงานที่ทางบริษัท Google จัดท�ำร่วม กับบริษัท Temasek2 มาใช้ในการพิจารณา ภาพประกอบ 9

ภาพประกอบ 9 1 Tech Startup Report Thailand, Q2 2016, Techsauce 2 e-conomy SEA, Google & Tamesak, พฤษภาคม 2016

ภาพประกอบ 7

ส�ำหรับจ�ำนวนพนักงานที่ต้องการเพิ่มในปี 2559 พบว่าบริษัทใน กลุ่มตัวอย่าง มีความต้องการบุคลากรเพิ่ม โดยจ�ำแนกตามทักษะ ตามภาพประกอบ 8

48

G-MagZ IT MAGAZINE

ทั้งนี้พบว่า ปี 2558 ผู้ประกอบการใหม่ด้านเทคโนโลยี ส่วนใหญ่อยู่ ระหว่างเริ่มต้นด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และอื่นๆ จึงปรากฏ ผลประกอบการที่ต�่ำ แต่อย่างไรก็ตามมีแนวโน้มว่าในปี 2559 จะ เริ่มเห็นผลประกอบมากกว่าปีที่ผ่านมา โดยวัตถุประสงค์ของการส�ำรวจ SIPA ระบุว่า เพื่อรวบรวมและ ติ ด ตามข้ อ มู ล ความก้ า วหน้ า การเปลี่ ย นแปลงที่ ส� ำ คั ญ ของ อุตสาหกรรม ซึ่งสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนนโยบาย และกลยุทธ์ต่างๆ ได้ทั้งภาครัฐและเอกชน G


คุยกับหมอไอที หมอลี

IoT พอสังเขป วันนี้มาคุยกันเรื่อง IoT หรือ Internet of Things แบบง่ายๆ ซึ่งเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่กำ�ลังมาแรง และหลายคน เริ่มพูดถึง เอาเป็นว่าผู้นำ�ทาง IT Technology ของโลก ไม่ว่า Cisco, Microsoft หรือ Intel ต่างก็ ให้ความสนใจ และออกผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องออกมาเป็นที่เรียบร้อย IoT คือ อุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมต่อกันผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และเครือข่ายไร้สาย อุปกรณ์เหล่านั้นจะเป็นอะไรก็ได้ ไม่ว่า มือถือ ตูเ้ ย็น ทีวี ชิพเซ็ต รถยนต์ ท�ำให้เราสามารถทีจ่ ะน�ำ ข้อมูลทีไ่ ด้มาท�ำการวิเคราะห์ สัง่ การไปยังอุปกรณ์ เหล่านั้นได้ ซึ่งนิยามต่างๆ ก็คงประมาณนี้ แต่ที่ส�ำคัญคือ เราสามารถน�ำ IoT ไปสร้างสิ่งที่ เราก� ำ ลั ง นิ ย มพู ด กั น เช่ น Smart City, Smart Home เป็นต้น (อธิบายง่ายๆ คือมีลักษณะที่เครื่องคุยกันเอง แลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล กั น เอง และท� ำ กิ จ กรรมที่ ก�ำหนดให้เอง) แนวความคิดของ IoT Kevin Ashton คนในภาพนี้เป็นต้นคิดเรื่อง IoT แนวคิดเริ่มขึ้นในปี 1999 โดย “Kevin Ashton” ได้ท�ำโครงการ Auto-ID Center ที่ มหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT เขา ได้มีแนวความคิดให้ RFID สามารถเชื่อมต่อกันได้ ซึ่งนี่เป็นประตู ก้าวแรกสู่การที่ท�ำให้อุปกรณ์ต่างๆ สามารถเชื่อมต่อเข้าหากันได้ ซึ่ง Ashton ได้ให้ค�ำเท่ๆ ในการเชือ่ มอุปกรณ์เข้าหากันว่า “Internet-Like”

จากนั้นต่อมาได้มีการพัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น เรื่อยๆ อุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้นจากของเดิมเริ่มมีความฉลาดใน การท�ำงานมากขึ้น มีการน�ำเซนเซอร์ต่างๆ เข้ามาใช้งาน อุปกรณ์เหล่านีจ้ งึ กลายเป็นสิง่ ทีเ่ รียกว่า “Smart Device” ในช่วง เริม่ แรกนั้น อุปกรณ์ต่างๆ สามารถสื่อสารกันได้ด้วย Protocol เฉพาะทาง สร้างเน็ตเวิร์กขึ้นเพื่อติดต่อสื่อสารกันเองภายใน เรียกว่า “WPAN” (Wireless Personal Area Network) G-MagZ IT MAGAZINE

49


คุยกับหมอไอที

หากไม่มี Cloud มารองรับข้อมูลที่ Things ส่งออกมาก็จะยุ่งยากใน การจัดการกับข้อมูลขนาดใหญ่ที่ไหลเข้ามา เราเรียกข้อมูลเหล่านี้ว่า “Big Data” สิง่ ทีจ่ ะมาคูก่ บั Big Data ก็คงหนีไม่พน้ “Machine Learning” เป็นอีกเทคโนโลยีที่มีความสัมพันธ์กับ Big Data ซึ่งมันสามารถน�ำ เอาข้อมูลจ�ำนวนมากมายนี้ไปใช้เพื่อวิเคราะห์ โดยมี Algorithm ใน การเรียนรู้พฤติกรรมของข้อมูล มีหลายกลุ่มบริษัทที่ใช้ Machine Learning บน Cloud โดยเฉพาะเพื่อเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลอันเป็น ประโยชน์ต่อการประกอบธุรกิจ

Protocol ทีน่ ำ� มาใช้งานคือ IEEE 802.15.x พัฒนาขึน้ มาเพือ่ ตอบสนอง ความต้องการ และมาตรฐานที่น�ำมาใช้งานมาจนถึงปัจจุบันนี้ ได้แก่ มาตรฐาน IEEE 802.15.1 ซึ่งเราจะรู้จักกันดีในชื่อ “Bluetooth” ใช้งานคลื่นความถี่ 2.4 GHz ในการติดต่อสื่อสาร, มาตรฐาน IEEE 802.15.4 ได้รับความนิยมคือ “Zigbee” ใช้คลื่นความถี่ 2.4 GHz เช่นกัน รวมถึงมาตรฐาน IEEE 802.15.x ตัวอื่นๆ ที่พัฒนาขึ้นเพื่อ ใช้งานเฉพาะทางทีแ่ ตกต่างกันออกไป ทัง้ หมดนีเ้ พือ่ ใช้เชือ่ มต่อสือ่ สาร ภายในระบบเน็ตเวิร์กของอุปกรณ์แต่ละประเภทเท่านั้น Eco System ของ IoT ผมชอบภาพนี้ของ IBM (ภาพด้านบน) เพราะมันท�ำให้เราเห็นภาพ ทั้งหมดของ IoT ซึ่งจะพบว่าการที่ IoT พัฒนาขึ้นได้อย่างรวดเร็ว เนือ่ งมาจากการพัฒนาของเทคโนโลยีพนื้ ฐานต่างๆ เช่น Cloud, IPv6 (เพราะอุ ป กรณ์ ต ้ อ งการ IP เช่ น กั น ) และอุ ป กรณ์ ที่ มี เ ซนเซอร์ โดย Smart Device นั้น มีขนาดเล็กลง ถูกลง แต่มีความแม่นย�ำสูงขึ้น

50

G-MagZ IT MAGAZINE

การประยุกต์ใช้ จากภาพด้านบนเป็นข้อมูล ณ ปี 2014 แต่มีการพยากรณ์ว่า ท้ายสุด IoT จะไปใช้มากในภาคผลิต โรงงานอุตสาหกรรม และเฮลธ์แคร์ มากขึ้น ดังภาพข้างล่าง (จากเว็บไซต์ของ Intel) ปั จ จุ บั น เรามี IoT Platform ของคนไทยแล้ ว ครั บ ลองไปดู ไ ด้ ที่ www.nectec.or.th สุดท้ายนีข้ อฝากว่า...รักเมืองไทยอย่าลืมเทีย่ วไทย และสนับสนุนคนไทยครับ G


บันทึกมุมมอง สถานีช่องนนทรี

https://nutchicha.wordpress.com/โครงการฝนหลวง/

ความสัมพั นธ์ พระบิดา และวันเทคโนโลยีไทย เข้าไตรมาสสุดท้ายของปี กลิ่นอายวันพ่อและวันเทคโนโลยีไทยก็อบอวล ฉบับนี้จึงมาบันทึก เรื่องราวความเป็นมาแบบย่อและเข้าใจง่ายของ พระบิดา และวันเทคโนโลยีของไทย เมื่อ 16 ปีที่แล้ว คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบถวายการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในฐานะที่ทรงเป็น “พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย” โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในปีพ.ศ. 2543 พร้อมทั้ง ก�ำหนดให้วันที่ 19 ตุลาคมของทุกปีเป็น “วันเทคโนโลยีของไทย” ซึ่งเป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงอ�ำนวยการสาธิตฝนเทียมสูตรใหม่ครั้งแรกของโลก จากเหตุการณ์เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2515 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงอ�ำนวยการสาธิตฝนเทียม สูตรใหม่ครั้งแรกของโลกด้วยพระองค์เอง ณ เขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี โดยบังคับให้ฝนตกลงตรงเป้าหมาย ท่ามกลางสายตาของคณะผูแ้ ทนของรัฐบาลจากต่างประเทศ ข้าราชการและพสกนิกรชาวไทยทีเ่ ข้าชมการสาธิตต่างพา กันชื่นชมยินดีในพระปรีชา การสาธิตฝนเทียมครัง้ นัน้ ถือเป็นต้นก�ำเนิดเทคโนโลยีฝนหลวงทีพ่ ฒ ั นาเป็นการท�ำฝนเทียมมาถึงปัจจุบนั และเพือ่ จารึก ไว้เป็นเหตุการณ์ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ของชาติไทย

51

G-MagZ IT MAGAZINE

G-MagZ IT MAGAZINE

51


บันทึกมุมมอง

www.เรารักพระเจ้าอยู่หัว.com

http://www.myhappyoffice.com/index.php/2012/06/ beloved-king-timeline/

และเนื่องด้วยผลงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ในด้านต่างๆ • ด้ านการพัฒ นาความเป็นอยู่ด้านการเกษตร เช่น ฝนหลวง หญ้าแฝก ป่าเปียก ฝายชะลอความชุ่มชื้น กังหันชัยพัฒนา • ด้านการพัฒนาแหล่งน�ำ้ ได้แก่ โครงการน�ำ้ ดีไล่นำ�้ เสีย สระเติมอากาศ ชีวภาพบ�ำบัด การบ�ำบัดน�้ำเสียด้วย วิธีการเติมอากาศ • ด้านพลังงานทดแทน โดยการน�ำพืชผลการเกษตรมา ผลิตเป็นพลังงานทดแทน เช่น การพัฒนาแก๊สโซฮอล์ ไบโอดีเซลจากน�้ำมันพืชเพื่อใช้ทดแทนน�้ำมันดีเซล การผลิตดีโซฮอล์ซึ่งเป็นการผลิตเชื้อเพลิงจากการ ผสมเอทานอลกับน�้ำมันดีเซล ผลการทดลองพบว่า สามารถใช้เป็นเชือ้ เพลิงให้กบั เครือ่ งยนต์ดเี ซลได้ และ ลดควันด�ำถึง 50%

• ด้ า นคอมพิ ว เตอร์ ทรงคิ ด ค้ น สร้ า งโปรแกรม คอมพิวเตอร์เพือ่ รวบรวมข้อมูลต่างๆ ด้วยพระองค์เอง ทรงติดตัง้ เครือข่ายสือ่ สารคอมพิวเตอร์ เพือ่ สนับสนุน พระราชกรณียกิจต่างๆ และทรงประดิษฐ์ ส.ค.ส. เผยแพร่ทางสื่อมวลชน ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทย หลายแบบ และทรงใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียบเรียง เสียงประสานและพิมพ์โน้ตเพลงส�ำหรับเครื่องดนตรี แต่ละชนิด ในการที่ทรงน�ำเทคโนโลยีความรู้ต่างๆ มาใช้แก้ไขปัญหา เพื่อประโยชน์สุขของราษฎร ให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สามารถพึง่ ตนเองได้ อันเป็นทีป่ ระจักษ์แก่ชาวไทยและนานา ประเทศทั่วโลก เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2536 นาย Richard G. Grimshaw หัวหน้าสาขาวิชาเกษตร ฝ่าย วิชาการภูมิภาคเอเชียของธนาคารโลก ได้ทูลเกล้าฯ ถวาย รางวัลหญ้าแฝกชุบส�ำริด เพื่อเฉลิมพระเกียรติในความ สัมฤทธิ์ผลทางด้านวิชาการและการพัฒนา ในการส่งเสริม เทคโนโลยีการปลูกหญ้าแฝก ในระดับระหว่างประเทศเพื่อ การอนุ รั ก ษ์ ดิ น และน�้ ำ ท� ำ ให้ พ สกนิ ก รไทยซาบซึ้ ง ใน พระมหากรุณาธิคณ ุ จึงพร้อมใจกันเทิดพระเกียรติพระองค์ทา่ น ให้ทรงเป็น “พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย” นั่นเอง G ข้อมูลจาก www.เรารักพระเจ้าอยู่หัว.com

http://www.royalrain.go.th/royalrain/contents/view/472

G-MagZ G-MagZ 52 52 IT MAGAZINE IT MAGAZINE


G-MagZ IT MAGAZINE

51


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.