G-Magz Vol.47

Page 1

นิตยสาร IT ราย 3 เดือน ฉบับที่ 47 กรกฎาคม – กันยายน 2559 VOLUME 47 JULY – SEPTEMBER 2016

e-Magazine

FINANCIAL TECHNOLOGY

+ FinTech ความทาทายโลกบร�การ ทางการเง�นยุคใหม + Biometric Authentication Platform การยืนยันตัวตนออนไลนดวยเทคโนโลยีช�วมิติ + อดีตถึงอนาคตของยนตกรรมโลก + พลิกโฉมบร�การงานทะเบียน ม.เกษตรศาสตร ดวย One Stop Student Services (OSS)


EXADATA INSTALLATION AUTHORIZED PARTNER First Logic is only One Partner in Thailand and One of just two in ASEAN Region We are an Oracle leading Value-Added Distributer in Thailand which has experienced in Oracle System, Database, Fusion Middleware and Engineered system solutions and services. Now First Logic is only One Partner in Thailand and One of just two in ASEAN Region which has been certified as an Exadata Installation Partner. This made us qualified and authorized to deliver Exadata services in every phase from Installation to Post-Implementation Maintenance. Our Exadata experts help customers to accelerate adoption and ensure operational readiness through services composed of o Exadata Standard Installation Service, which limited to Oracle Advanced Customer Support (ACS) or Certified Partner (1 in Thailand, 2 in ASEAN) only to deliver this service. o Exadata Enhanced Implementation Service, which extend from just standard installation to full implementation to make system ready for providing database service. o Exadata Post-Implementation Service, which is 7 days a week, 24 hours a day (7x24) on-site, on-call and remote access service to help customer in Exadata problem solving and maintenance tasks.

Contact First Logic today to ensure the success of the implementation and maintenance of your Exadata environment. Contact Us: Rinruedee Lapwararak Channel Development Manager First Logic Co., Ltd. Tel. 02 678 0478 Ext.3323 E-mail : Rinruedee.l@firstlogic.co.th 2 G-MagZ IT MAGAZINE


CONtents

Editor

นิตยสาร IT ราย 3 เดือน ฉบับที่ 47 กรกฎาคม – กันยายน 2559 Volume 47 July – September 2016

ช่วงครึง่ ปีหลังค�ำว่า FinTech เป็นค�ำฮิตติดหู จากกลุม่ ธนาคารรวมถึ ง ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น FinTech หรื อ Financial Technology คือเทคโนโลยีทางการเงิน ทีจ่ ะพลิกโฉมการท�ำธุรกรรมในภาคส่วนต่างๆ ออกไป จากการท�ำธุรกรรมแบบเก่า ตั้งแต่การช�ำระเงินผ่าน โทรศัพท์มือถือ (Mobile Payment) การโอนเงิน (Money Transfer) การกู้ยืมเงิน (Loan) การระดมทุน (Fundraising) และการจัดการ ทรัพย์สนิ (Asset Management) โดยอาศัยความก้าวหน้าด้าน IT รวมไป ถึงแอพพลิเคชั่น โดยเน้นการสร้างมูลค่า การใช้งานง่าย ความสะดวก รวดเร็ว ต้นทุนหรือค่าธรรมเนียมทีต่ ำ�่ กว่า และความปลอดภัยในการท�ำ ธุรกรรม

04 IT NEWS 09 G-NEWS อีกก้าวแห่งความส�ำเร็จของ G-ABLE

กับ “Simple Click Award”

10 INTERVIEW WIL Program #2

ฝึกนักศึกษาเรียนรู้ สร้างสรรค์ พัฒนาทักษะ

16 บทความพิเศษ

10 ธุรกิจที่จะหายไปในอีก 5 ปี

17 Special REPORT

FinTech ความท้าทายโลกบริการทางการเงินยุคใหม่

20 Biz&Consult

หนึ่งใน FinTech คือ แนวคิดเรื่อง Cashless Society และ e-Payment ที่ ก� ำ ลั ง เป็ น กระแสไปทั่วโลก ด้วยเทคโนโลยีข องอุปกรณ์ Mobile Application รวมถึงการพัฒนาด้านเทคโนโลยีของบริษัท FinTech ที่พัฒนานวัตกรรมต่างๆ ออกมาอย่างต่อเนื่อง จนเชื่อว่าในปี 2016 หลายประเทศทั่วโลกจะเข้าสู่สังคมไร้เงินสดอย่างเต็มรูปแบบ รวมถึง ประเทศไทยเองที่เห็นแนวโน้มเรื่อง Cashless Society เช่นกัน โดย ภาครัฐได้เห็นชอบในแผนระบบการช�ำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan) เมื่อปลายปี 2558 ท�ำให้เรื่อง Any ID หรือชื่อไทยคือ “นานานาม” ก�ำลังจะถูกน�ำเข้ามาอยู่ในชีวิต ประจ�ำวันของคนไทย

และเมื่อกลางเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ ประกาศโครงการ พร้อมเพย์ (Prompt Pay) (แทนชื่อเดิมว่า Any ID เนื่องจากชื่อที่ใช้ยังไม่สื่อถึงความหมาย) เป็นการให้บริการรับ-โอนเงิน ระหว่างกันแบบใหม่โดยไม่ต้องใช้เลขที่บัญชีธนาคาร ใช้เพียงแค่ หมายเลขโทรศัพท์มือถือ เลขประจ�ำตัวประชาชน ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น Internet Banking, Mobile Banking, ATM เป็นต้น ท�ำให้การโอน เงิ น ผ่ า นบริ ก ารพร้ อมเพย์มีความสะดวกสบายและปลอดภัย ทั้งนี้ การให้ บ ริ ก ารดั ง กล่ า วถื อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของโครงการพั ฒ นาระบบ โครงสร้างพื้นฐานการช�ำระเงินของประเทศไทย ที่ช่วยลดต้นทุน เพิ่ม ความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพ รวมถึงสนับสนุน Digital Economy และ Digital Government ได้เป็นอย่างดี

Prompt Pay อีกหนึง่ รูปแบบทีเ่ กิดจากการ Transform ของธุรกรรมการ เงิน...เราก�ำลังอยู่ในยุค Digital Transformation จริงๆ

Biometric Authentication Platform การยืนยันตัวตนออนไลน์ด้วยเทคโนโลยีชีวมิติ

22 Tech&Trend Oracle SuperCluster M7 Private Cloud ประสิทธิภาพสูง 25 Hot Issue PromptPay ก้าวเปลี่ยนผ่านการโอนเงินรูปแบบใหม่

ไม่ใช้เลขที่บัญชี

23 Success story พลิกโฉมบริการงานทะเบียน ม.เกษตรศาสตร์

ด้วย One Stop Student Services (OSS)

30 Inno&Product “สวิตซ์ ไฟฟ้าแบบสัมผัส” คุณสมบัติเด่นโปร่งแสง-พับงอ นวัตกรรมจากกราฟีน

32 Guru Talk

• Data Science ก้าวที่ล�้ำหน้ากว่า Big Data (ตอนจบ) • อดีตถึงอนาคต ของยนตกรรมโลก

38 Green Idea

ประเทศไทยกับความท้าทายด้านบัญชีก๊าซเรือนกระจก

42 Idea Info FinTech ดาวรุ่งใหม่การลงทุนไอทีเพื่อต่อยอดเงินลงทุน 47 คุยกับหมอไอที

‘Banking is necessary, banks are not’

49 บันทึกมุมมอง

ชีวิตไม่มีเป้าหมายจะใช้จ่ายมากขึ้น

การสอบถามข้อสงสัยในเรื่องบทความและเรื่องของเทคโนโลยี การบอกรับและการเปลี่ยนที่อยู่ การอนุญาต และพิมพ์ซ�้ำสามารถติดต่อขอรายละเอียดได้ที่ G-Magazine@g-able.com

Wanida T. wanida.t@g-able.com จัดท�ำและลิขสิทธิ์ โดย บริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด อาคารปัญจธานี ชั้น 25 เลขที่ 127/27, 29-31 ถนนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 G-ABLE Contact Center โทร. +66 (0) 2685-9333 โทรสาร. +66 (0) 2681-0425 www.g-able.com

G-MagZ IT MAGAZINE

3


IT NEWS เพื่อช่วยให้ฝ่าย HR ท�ำงานได้ตรงตาม ความคาดหวังของพนักงาน ออราเคิลจึงได้ เปิดตัว Oracle HR Help Desk (HRHD) Cloud และ My Volunteering ซึง่ เป็นฟังก์ชนั่ ที่เพิ่มเข้าไปใหม่ใน Oracle’s Portfolio of Work-Life Applications

เปิดตัว Oracle HCM Cloud Solutions

ยกระดับความสามารถการบริหารงานบุคคล ออราเคิ ล เปิ ด ตั ว Oracle HCM World ณ เมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา เมื่อเร็วๆ นี้ โดยการเปิดตัวฟังก์ชนั่ ใหม่ใน Oracle Human Capital Management (HCM) Cloud ซึ่ง จะช่วยองค์กรในการขับเคลื่อนการบริหาร งานบุคคล (HR Transformation) โดยสิ่งที่ ออราเคิลได้เพิม่ เข้าไป คือ Comprehensive Self-Service Solution จะช่วยให้ทั้งฝ่าย บริ ห ารงานบุ ค คลและพนั ก งานมี ค วาม

คล่องตัวในการแก้ปัญหา รวมทั้งท�ำงานได้ อย่างเต็มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในขณะที่องค์กรต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปสู่ ระบบ Cloud เพื่อสนับสนุนความต้องการ ของฝ่ า ย HR ตั ว องค์ ก รเองก็ เ ผชิ ญ กั บ ความท้าทายในการรักษาคุณภาพการดูแล พนั ก งานของตั ว เองไปพร้ อ มกั บ การที่ องค์กรต้องลดต้นทุนการบริหารงาน ดังนัน้

Oracle HRHD Cloud ถูกพัฒนาภายใต้ Oracle HCM Cloud มาตั้งแต่ต้น มีความ คล้ายคลึงกันในหลายๆ ด้าน อาทิ ขั้นตอน การท� ำ งาน การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ความ สามารถทางสังคม รวมถึงฟังก์ชั่นที่ง่าย ส�ำหรับผู้ใช้งาน ท�ำให้พนักงานสามารถ เรียนรู้การใช้งานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และเพื่อช่วย HR ในการรับรู้ประสบการณ์ ของพนั ก งานแต่ ล ะคน Oracle HRHD Cloud จึงได้เตรียม 360-Degree View of The Workforce เพื่อให้ HR ได้เรียนรู้ สิ่ ง ต่ า งๆ จากมุ ม มองของพนั ก งานใน องค์กร และเพิ่มการค้นหาแบบเหนือระดับ นอกจากนี้ ยังมี Case Management และ Escalation Capabilities ที่จะช่วยฝ่าย HR ในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นได้ ดังนั้น HRHD จึงเป็นกุญแจส�ำคัญทีจ่ ะช่วยให้ HR สามารถดูแลให้บริการพนักงานในองค์กร ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพในราคาที่ถูกลง

Facebook ได้พัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) ภายใต้ชื่อ DeepText ที่มีการเคลมว่า ปัญญา ประดิษฐ์นี้สามารถเข้าใจเนื้อความที่ผู้คนโพสต์ได้แบบใกล้เคียงความเป็นจริงเลยทีเดียว และ สามารถเข้าใจเนื้อความของการโพสต์ได้ถึง 20 ภาษา (ไม่แน่ใจว่ามีภาษาไทยด้วยหรือไม่)

จะดีแค่ไหนถ้า Facebook เข้าใจ ภาษามนุษย์???

เป้าหมายของระบบปัญญาประดิษฐ์ DeepText คือ การน�ำมาใช้ในแอพแชท Facebook Messenger เช่น ถ้าคุณแชทคุยกับเพื่อนว่าต้องการเดินทางไปสถานที่ใดสถานที่หนึง มันก็ สามารถยื่นข้อเสนอในการเรียกแท็กซี่ให้คุณได้ในทันที และส�ำหรับการใช้งานกับ Facebook มันก็สามารถเข้าใจได้ทนั ทีวา่ โพสต์ของคุณมีเจตนาในการเสนอขายสินค้าแฝงอยูม่ นั ก็จะแนะน�ำ ให้คุณใช้เครื่องมือส�ำหรับการค้าขายบน Facebook (Merchant Tools) และยังใช้ในการตรวจ จับการโพสต์ในรูปแบบของ Spam หรือการโพสต์ในท�ำนองข่มขู่ แล้วมันก็จะจัดการคัดกรอง โพสต์นั้นในทันที ซึ่งนี่เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของเทคโนโลยีนี้ และชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าระบบปัญญาประดิษฐ์นี้ ใช้กระบวนการพัฒนาองค์ความรู้แบบ Deep Learning ท�ำให้มนั สามารถเรียนรูแ้ ละฉลาดขึน้ เรือ่ ยๆ โดยที ่ Facebook หวังว่าระบบ DeepText นี้จะฉลาดถึงขั้นที่สามารถท�ำความเข้าใจกับ บุคคล สถานที่ และกิจกรรม ที่อยู่บนเนื้อความ ของการโพสต์ได้อย่างลึกซึ้ง เพื่อการให้ค�ำแนะน�ำได้อย่างตรงจุด เราก็ต้องคอยดูกันต่อไปว่า Deep Text จะเจ๋งจริงอย่างที่ Facebook คุยเอาไว้หรือไม่ ที่มา : http://news.thaiware.com/8058.html

4

G-MagZ IT MAGAZINE


IT NEWs

ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กระทรวงวิทย์ สวทช. & ออโต้เดสก์ ร่วมขยายการผลิตแบบดิจิทัลในไทย

นักวิทยาศาสตร์พัฒนาหุ่นยนต์จ๋วิ เปลี่ยนการท�ำงานของ DNA มนุษย์

การผสมผสานการท�ำงานของวงจรอิเล็กทรอนิกส์เข้ากับเซลล์ของสิง่ มีชวี ติ หรือที่เราอาจจะเคยได้ยินในชื่อ Biochip, Biosensor หรือ Gene-Based Circuits สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ในวงการวิทยาศาสตร์ ถ้ายังจ�ำกันได้ใน ชั่วโมงชีววิทยา เราคงจะรู้ว่าเซลล์ในร่างกายมนุษย์นั้นมีการรับค�ำสั่งจาก สมองผ่านสัญญาณไฟฟ้าและเคมี ดังนั้นหากเราสามารถเปลี่ยนรูปแบบ สัญญาณคลืน่ ไฟฟ้าได้ เราก็จะควบคุมการท�ำงานของเซลล์ในร่างกายของ เราได้เช่นกัน ล่าสุด MIT ได้ท�ำการทดลองพัฒนาวงจรควบคุมแบบพิเศษที่ผสมผสาน การสั่ ง งานทั้ ง Analog Chemical Data และ Digital Computing เข้าไปใน Gene-Based Circuits ซึ่งเมื่อเราส่งสัญญาณไฟฟ้าเข้าไปใน Gene-Based Circuits วงจรควบคุมจะแปลงค่าสัญญาณจาก Analog มา เป็น Digital ที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจค�ำสั่งได้ และแน่นอนว่าเรา สามารถปรับเปลี่ยนค�ำสั่งให้เซลล์ท�ำงานตามที่เราต้องการได้ด้วย นีเ่ ป็นความส�ำเร็จทีส่ ำ� คัญเป็นอย่างมาก และจะเปลีย่ นอนาคตของมนุษย์ ไปอีกก้าวหนึ่ง ลองจินตนาการถึงการรักษาอาการป่วยที่ทุกวันนี้รักษา ยากหรือแทบจะรักษาไม่ได้ เช่น โรคเบาหวานทีเ่ กิดจากเซลล์ผลิตอินซูลนิ ได้ไม่เพียงพอต่อปริมาณของกลูโคส หรือการรักษามะเร็งด้วยการก�ำจัด เซลล์ร้าย และนี่ไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป นักวิทยาศาสตร์วางแผนที่จะ เริ่มทดลองสร้าง Gene Circuit ที่ออกแบบมาส�ำหรับด้านการแพทย์ใน ปีนแี้ ล้ว หากไปได้ดี ในอนาคตโรคร้ายทีท่ กุ วันนีไ้ ม่สามารถรักษาได้ จะลด จ�ำนวนลงไปอย่างแน่นอน

ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ ออโต้เดสก์ ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เพื่อสนับสนุนการขยายศักยภาพการแข่งขันด้านการ ผลิตของประเทศไทย โดยเน้นการน�ำเทคโนโลยี 3 มิติ และระบบการผลิตแบบดิจิทัลที่ล�้ำสมัย ไปใช้ในวงกว้าง ให้ครอบคลุมทั้งวงการอุตสาหกรรม ดร.พิ เชฐ ดุ ร งคเวโรจน์ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวว่า ประเทศไทยใน ศตวรรษที่ 21 จะต้องเปลีย่ นผ่านจากโมเดลประเทศไทย 3.0 เป็น “โมเดลประเทศไทย 4.0” เพือ่ พัฒนาประเทศให้ ก้าวสู่การเป็นประเทศในโลกที่หนึ่ง ปรับเปลี่ยนจาก ประเทศ “รายได้ปานกลาง” เป็นประเทศ “รายได้สูง” โดยปรั บ เปลี่ ย นจากเศรษฐกิ จ ที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ย “ประสิทธิภาพ” เป็นเศรษฐกิจทีข่ บั เคลือ่ นด้วย “นวัตกรรม” กลไกหนึ่งที่จะขับเคลื่อนไปสู่เศรษฐกิจยุคประเทศไทย 4.0 นั้น คือ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมยุค 4.0 ซึ่งจะมี การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาในการผลิตสินค้า ต่างๆ มากยิ่งขึ้น จากความร่ ว มมื อ กั บ บริ ษั ท ชั้ น น� ำ ระดั บ โลกอย่ า ง ออโต้เดสก์กบั สวทช. ในครัง้ นีจ้ ะช่วยยกระดับ SME ไทย ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการออกแบบและผลิต รวม ทั้งยกระดับความสามารถของบุคลากรไทยให้รองรับ อุตสาหกรรมการผลิตในอนาคต น�ำไปสู่อุตสาหกรรม เป้าหมายที่สร้างมูลค่าตามแนวทางของรัฐบาล อาทิ อุตสาหกรรมทางชีวภาพ อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน อุตสาหกรรมด้านวิศวกรรมและการออกแบบอุตสาหกรรม เกี่ยวเนื่องกับคุณภาพชีวิต และอุตสาหกรรมเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ เพื่อความเข้มแข็งของประเทศต่อไป

ที่มา : http://news.thaiware.com/8067.html G-MagZ IT MAGAZINE

5


IT NEWs

่ ใจไทย รองนายกรัฐมนตรี ประจินฯ มัน พร้อมก้าวสู่ “Digital Thailand”

พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายก รัฐมนตรี ปาฐกถาพิเศษ “นโยบายโครงสร้าง พื้นฐานดิจิทัล เพื่อการพัฒนาประเทศไปสู่ ดิจิทัลไทยแลนด์” ในงาน Digital Thailand 2016 จัดโดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร (ไอซีท)ี ว่า เรือ่ งของเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล สามารถสนั บ สนุ น ได้ ใ นทุ ก กิ จ กรรม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการติดต่อสื่อสารกับคน ทัว่ ไปในชีวติ ปิ ระจ�ำวัน เรือ่ งของ e-Learning,

และต่างประเทศ และเพิ่มขีดความสามารถ การให้บริการด้านข้อมูล (Data) และพัฒนา บุคลากรที่จะดูแลในเรื่องระบบไอซีที

นอกจากนี้ ยั ง มี แ ผนการวางโครงข่ า ย e-Book, e-Library รวมถึ ง เรื่ อ งของ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง 4 หมืน่ แห่ง ลงไปยัง สาธารณสุข เรือ่ งของการค้าขาย และกิจกรรม ชุมชนต่างๆ จะเกิดระหว่างเดือนมิถุนายน อื่นๆ อีกหลายด้าน สามารถติดต่อสื่อสารกัน 2559 – มิถุนายน 2560 อย่างแน่นอน ได้ผ่านโลกดิจิทัล “ประเทศไทยยังมีศักยภาพในเรื่องการลงทุน ตัวอย่างเช่น ผู้ประกอบการในชุมชนเข้าใช้ อีกหลายด้าน ทั้งด้านไฟเบอร์ออฟติค ดาต้า บริ ก าร ใส่ ข ้ อ มู ล สิ น ค้ า เพื่ อ ให้ เ กิ ด การ การบริการรูปแบบ Wi-Fi การบริการสมาร์ทโฟน ประชาสัมพันธ์ผา่ นช่องทางออนไลน์ เกิดการ มีอนาคตอย่างแน่นนอน จึงอยากเชิญชวน ติดต่อสื่อสารระหว่างกันทั้งในประเทศและ ทุกท่านที่เป็นผู้ประกอบการมั่นใจว่ารัฐบาล ต่างประเทศ ส่งผลให้เกิดโอกาสในการซือ้ ขาย โดยกระทรวงไอซีที จะใช้เม็ดเงินทีก่ ล่าวมาใน การลงทุนอย่างคุ้มค่าด้วยความโปร่งใสเพื่อ สินค้าได้มากขึ้น ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ ประชาชนและ ด้วยความส�ำคัญดังกล่าว รัฐบาลโดยกระทรวง ประเทศชาติ นอกจากนั้นกระทรวงไอซีทีจะ ไอซีที จึงมีแผนงานชัดเจนว่าในปี 2559 - 2560 อ�ำนวยความสะดวกด้านการค้าการลงทุนรวม จะใช้งบประมาณจ�ำนวน 1.5 หมื่นพันล้าน ทัง้ เปิดโอกาสให้มกี ารร่วมมือกันในทุกภาคส่วน ในการวางโครงข่ายพืน้ ฐานทัง้ หมดครอบคลุม ภายใต้หลักการประชารัฐ” รองนายกรัฐมนตรี ทัว่ ประเทศ ด้วยการเสริมขีดความสามารถใน กล่าวในที่สุด การใช้โครงข่ายเพื่อสนับสนุนทั้งในประเทศ

มจธ. เปิดหลักสูตร ป.ตรี

ด้านหุ่นยนต์ท่แ ี รกในไทย ปัจจุบันวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ได้เข้ามามีบทบาทใน สังคมและเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการในอนาคต และเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรทางด้านวิทยาการเหล่านี้ สถาบัน วิ ท ยาการหุ ่ น ยนต์ ภ าคสนาม (FIBO) มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) เป็นสถาบันอันดับต้นๆ ของประเทศไทย ที่ได้ริเริ่มเปิดหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมหุ่นยนต์และ ระบบอัตโนมัต ิ ทีม่ กี ารเรียนการสอนแบบโมดูลขึน้ เพือ่ ตอบสนองความ ต้องการใช้บคุ ลากรเทคโนโลยีดา้ นวิทยาการหุน่ ยนต์และระบบอัตโนมัติ หุ ่ น ยนต์ แ ละระบบอั ต โนมั ติ ค รบทั้ ง ระดั บ ปริ ญ ญาตรี - โท และเอก ในภาคอุตสาหกรรมที่ก�ำลังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างก�ำลังคนด้านวิศวกรรมหุ่นยนต์รองรับความต้องการของ ภาคอุตสาหกรรม บริการ และสังคมที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นสอดรับกับ รศ.ดร.สยาม เจริ ญ เสี ยง ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิท ยาการหุ่นยนต์ ยุทธศาสตร์หุ่นยนต์ของประเทศ ภาคสนาม (FIBO) กล่าวว่า ฟีโบ้จัดตั้งขึ้นมากว่า 20 ปี มีความ เชี่ยวชาญทางด้าน Robotics และ Automation เริ่มต้นจากการเน้น หลักสูตรนี้ถูกออกแบบโดยแนวคิด Outcome-Based Education ท� ำ วิ จั ย และงานบริ การวิชาการ กระทั่งเปิดสอนหลักสูตร FIBO ทีเ่ น้นการสร้างความมีสว่ นร่วมของนักศึกษาในชัน้ เรียนเป็นส�ำคัญและ Robotics and Automation (FRA) ในระดับปริญญาโทและเอก ตั้งแต่ เทคนิ ค การจั ด การเรี ย นการสอนเพื่ อ รองรั บ นั ก ศึ ก ษาในศตวรรษ ปี 2546 จนล่าสุดฟีโบ้ได้เปิดหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขา ที่ 21 ซึ่งเปลี่ยนจากการเน้นการป้อนเนื้อหาวิชาความรู้ให้นักศึกษา วิชาวิศวกรรมหุน่ ยนต์และระบบอัตโนมัตขิ นึ้ ถือเป็นสถาบันการศึกษา อย่างเดียว เป็นการสนับสนุนการเรียนรูท้ นี่ กั ศึกษาได้มสี ว่ นร่วมในการ แห่งแรกของไทยที่เปิดหลักสูตรให้ปริญญาเฉพาะทางด้านวิทยาการ เรียนรู้และรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับการเรียนรู้มากขึ้น 6

G-MagZ IT MAGAZINE


IT NEWs

“จีเอเบิล” แนะธุรกิจพลิกกลยุทธ์ลุย “Big Data” อาวุธส�ำคัญเสริมแกร่งธุรกิจยุคดิจิทัล

ในบ้านเราธนาคารหลายแห่งก็เริ่มประกาศ ใช้ เ ทคโนโลยี Big Data เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ น องค์กรให้เป็นผู้น�ำทางด้านนวัตกรรมดิจิทัล หรือ Digital Banking กลายเป็นธนาคาร ที่สามารถให้บริการทางการเงินที่ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้ดีท่ส ี ุด

Digital Banking กลายเป็นธนาคารที่สามารถให้บริการทางการเงินที่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดีที่สุด คุณนาถ ลิ่วเจริญ ประธานกรรมการบริหาร กลุ่มบริษัทจีเอเบิล แนะ ธุรกิจเร่งปรับกลยุทธ์สู้ศึกรอบด้าน ลุย Big Data จริงจัง ชี้เป็นข้อมูล ถ่ายทอดเรื่องราวชีวิตพฤติกรรมของมนุษย์ได้ละเอียดหลายมิติจาก “ลูกค้า” โดยตรง ระบุเป็นอาวุธส�ำคัญเสริมแกร่งธุรกิจยุคดิจิทัล แนะ ใช้ข้อมูลวิเคราะห์ ประมวลผลอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลที่เกิดขึ้นบนอินเทอร์เน็ต มีชื่อเรียกที่คุ้นชินว่า “Big Data” ซึ่ง เป็นข้อมูลที่เป็นการถ่ายทอดเรื่องราวชีวิตและพฤติกรรมของมนุษย์ ได้อย่างละเอียดและหลายมิติที่มีผลเชื่อมโยงถึงกันไปหมด และ แน่นอนว่า ย่อมมีผลกระทบต่อองค์กรเราด้วยเช่นกัน Big Data เปรียบเสมือนอาวุธชิน้ ส�ำคัญ ทีท่ ำ� ให้องค์กรธุรกิจฝ่าฟันทุก โจทย์ไปได้อย่างสวยงาม หากมีการดึงเอาข้อมูล Big Data มา ประมวลผลและวิเคราะห์อย่างมีประสิทธิภาพ ยกตัวอย่าง ห้างค้าปลีก รายใหญ่ในสหรัฐอเมริกา น�ำข้อมูลประวัติการซื้อสินค้าของลูกค้า รายได้ เพศ อายุ และสถานะการสมรส มาใช้ท�ำนายรูปแบบการ ซื้อสินค้า เพื่อที่จะน�ำเสนอโปรโมชั่นที่ถูกใจลูกค้ามากที่สุด ซึ่งช่วย เพิ่มยอดขายให้กับห้าง ในบ้านเราธนาคารหลายแห่งก็เริ่มประกาศใช้เทคโนโลยี Big Data เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นองค์ กรให้เป็นผู้น�ำทางด้านนวัตกรรมดิจิทัล หรือ

นัน่ คือตัวอย่างของการใช้ประโยชน์จาก Big Data ทีส่ ง่ ผลกระทบด้าน บวกต่อองค์กรธุรกิจ “เรามาดูความเคลื่อนไหวเรื่อง Big Data ของ ประเทศในอาเซียนว่ามีความตื่นตัวกันมากน้อยเพียงใด ประเทศ สิงคโปร์ประกาศว่าจะเป็นศูนย์กลางการท�ำ Big Data Analytics ตัง้ แต่ ปี ค.ศ.2013 โดยมีการจัดตั้ง Big Data Innovation Center ส่วน ประเทศมาเลเซียก็ได้ประกาศนโยบาย Big Data Analytics (BDA) ใน ปลายปี ค.ศ. 2014” คุณนาถ กล่าว พร้อมกับเสริมว่า ขณะที่ล่าสุดในประเทศไทยเมื่อกันยายนปีที่แล้ว ส�ำนักงานรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ EGA ประกาศแผนท�ำ Big Data ภาครัฐ โดยจะเปิดให้บริการกับทุกหน่วยงานราชการในรูปแบบของ Government Big Data as a Service ที่จะน�ำมาซึ่งประโยชน์ในการ วิเคราะห์ขอ้ มูลต่างๆ ทีจ่ ะมาพัฒนาประเทศ ในอนาคต จะเห็นได้ว่าประโยชน์ที่เกิดจากการน�ำอภิมหาข้อมูล หรือ Big Data มาใช้นั้นมากมายเหนือจินตนาการ ซึ่งในการจัดการน�ำข้อมูลขนาด ใหญ่มาใช้ตอ้ งอาศัยฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ รวมถึง นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล หรือ Data Scientist ที่เชี่ยวชาญสูง หากมอง ในมุมขององค์กรธุรกิจ มั่นใจได้ 100% ว่าอาวุธชิ้นนี้จะปรับรูปแบบ การด�ำเนินธุรกิจให้เป็นไปตามความคิดและพฤติกรรม ของผูบ้ ริโภคอย่าง ทันท่วงที

ที่มา : http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/703669 G-MagZ IT MAGAZINE

7


IT NEWs

จีเอเบิล เปิดตัว Biometric Authentication Platform โซลูชั่นการยืนยันตัวตนบนมาตรฐาน FIDO รายแรกในไทย

ด้วยรหัสผ่าน หรือ Password ไม่เพียงพอ เพราะ ถูกโจรกรรมข้อมูลได้ง่าย ดังตัวอย่างการโจมตี ด้วยเทคนิค Social Engineering เป็นการหลอก ถามรหั ส ผ่ า น ถามข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ฯลฯ ซึ่ ง ประเทศไทยถูกแฮกข้อมูลมากที่สุดเป็นอันดับ สองของโลก ดังนั้นการยืนยันตัวตนที่มากกว่า รหัสผ่านเป็นเครื่องมือที่จะช่วยป้องกันปัญหา ดังกล่าวได้ดีกว่าเดิม

(ซ้ายไปขวา) มร. เพอร์ ลินด์ ASEAN Partner ไฮเปอร์ คอร์ป, คุณสุเทพ อุ่นเมตตาจิต กรรมการ ผูจ้ ดั การ กลุม่ บริษทั จีเอเบิล, ดร.ภูมิ ภูมริ ตั น ทีป่ รึกษาอาวุโส กลุม่ ธุรกิจ G-Security กลุม่ บริษทั จีเอเบิล

การด�ำเนินธุรกิจปี 2559 ของจีเอเบิล เป็นไปตามนโยบายที่ คุณนาถ ลิ่วเจริญ ประธาน กรรมการบริหาร กลุ่มบริษัทจีเอเบิล ได้แถลงไว้เกี่ยวกับเป้าหมายหลักซึ่งโฟกัส 3 ด้าน ประกอบด้วย Big Data, Cloud และ Security หนึ่งในความเคลื่อนไหวด้าน Security ล่าสุดได้เปิดตัวโซลูชั่น Biometric Authentication Platform จากความร่วมมือในการพัฒนากับ HYPR Corp (ไฮเปอร์คอร์ป) จากสหรัฐอเมริกา ผู้พัฒนา Security ด้านการระบุตัวตนที่มีความปลอดภัยสูงด้วย Biometric Technology ซึ่งได้รับการรับรองมาตรฐานสากลจาก FIDO Alliance คุณสุเทพ อุ่นเมตตาจิต กรรมการผู้จัดการ กลุ่มบริษัทจีเอเบิล กล่าวว่า ตั้งแต่ต้นปีได้ ลงทุนการวิจัยและพัฒนาด้าน Cybersecurity อย่างจริงจัง มีการตั้งกลุ่มธุรกิจ G-Security ประกอบด้วย 4 บริการหลัก ได้แก่ Security Consulting Service, Security Implementation Service, Security Managed Service และ Security Sustainability Service การเปิดตัว โซลูชั่น Biometric Authentication Platform ซึ่งเป็นเทคโนโลยีไบโอเมตริกในการยืนยัน ตัวตนในครั้งนี้ เพื่อเสริมทัพบริการด้าน Security Implementation Service สร้างจุดแข็ง ด้วยการเป็นผู้ให้บริการรายแรกในประเทศไทย Biometric Authentication Platform เป็นโซลูชนั่ ทีเ่ หมาะกับธุรกิจการเงิน หน่วยงานรัฐ และ บริการด้านสุขภาพ เพราะต้องการระบบความปลอดภัยสูง ซึง่ จีเอเบิลจะได้นำ� เสนอโซลูชนั่ ดังกล่าวในช่วงครึ่งปีหลัง โดยคาดว่าจะได้ลูกค้า 3-5 ราย ทั้งนี้ปัจจุบันการปกป้องข้อมูล

8

G-MagZ IT MAGAZINE

ดร.ภูมิ ภูมิรัตน ที่ปรึกษาอาวุโส กลุ่มธุรกิจ G-Security กลุ ่ ม บริ ษั ท จี เ อเบิ ล เสริ ม ว่ า เทคโนโลยีดา้ นไบโอเมตริก เป็นการยืนยันตัวตน วิธีหนึ่งที่ปลอดภัยที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากใช้ ข้อมูลชีวมิติทางกายภาพ ในการยืนยันตัวตน เช่น ลายนิ้วมือ ฝ่ามือ ม่านตา ใบหน้า ลายเซ็น ท่าเดิน เสียงพูด เป็นต้น ซึ่งก�ำลังเป็นที่นิยม มากขึน้ ในต่างประเทศ ดังจะเห็นได้จากสมาร์ทโฟน รุ่นใหม่บางรุ่นมีฟังก์ชั่นสแกนลายนิ้วมือ โซลูชั่น Biometric Authentication Platform เกิดจากความร่วมมือในการพัฒนาระหว่างกลุ่ม บริษัทจีเอเบิล กับ HYPR Corp สามารถติดตั้ง เสริมเข้าไปกับระบบความปลอดภัยเดิมทีอ่ งค์กร มีอยู่ โดยใช้เวลาเพียง 3-6 เดือน และมีคา่ ใช้จา่ ย ที่ไม่สูง เป็นระบบ Token หรืออุปกรณ์พกพา ขนาดเล็กส�ำหรับส่ง One Time Password (OTP) คล้ายกับ Token ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน แต่ ส� ำ หรั บ หลั ก การท� ำ งานของ Biometric Authentication Platform มีระบบทีซ่ บั ซ้อน และ เป็นมาตรฐานสากลที่ช่วยให้ผู้ใช้พกพา Token เพียงชิ้นเดียวใช้ร่วมกันได้ทุกระบบ Token ในโซลูชั่น Biometric Authentication Platform ได้รับการรับรองมาตราฐานของกลุ่ม FIDO Alliance ใช้ยืนยันตัวตนแบบชีวมิติทาง กายภาพได้หลายแบบตามความต้องการของ องค์กร เช่น ลายนิ้วมือ ลายเซ็น เสียง ฯลฯ ดังที่กล่าวมา


GNEWS

G-ABLE Cloud ประกบ Huawei ยกระดับไอทีองค์กร ปูพ้ืนฐานระบบไอที

อีกก้าวแห่งความส�ำเร็จของ G-ABLE กับ “Simple Click Award”

Date : 25 – 27 พฤษภาคม 2559 Venue : Westin Grand Sukhumvit Hotel

Date : 6 มิถุนายน 2559 Venue : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ส�ำนักงานใหญ่

บริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด (G-ABLE) ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ยเทคโนโลยี (ประเทศไทย) จ�ำกัด (Huawei) ออกบูธน�ำเสนอ G-ABLE Cloud Solutions เจาะธุรกิจกลุ่มโรงพยาบาล, การเงินและธนาคาร, การ ประกันภัย และกลุ่ม SME Startup เพื่อน�ำทุกองค์กรก้าวกระโดด สร้ า งการเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ด้ ว ยการน� ำ คอนเซ็ ป ต์ Hybrid Cloud จากโซลูชั่น G-ABLE CLOUD รวมเข้ากับเทคโนโลยีที่ ทันสมัยจาก Huawei ที่ชื่อว่า Fusion Cube (Hyper-Converged System) รองรับระบบเสมือนจริง เพื่อสร้างประสิทธิภาพด้านการ จัดเก็บข้อมูลทีเ่ หนือกว่า ตอบโจทย์ให้กบั ทุกองค์กรทีส่ ร้าง Hybrid Cloud ตลอด 3 วัน นอกจากนี้ G-ABLE ยังได้น�ำผู้เชี่ยวชาญร่วม เป็นวิทยากรรับเชิญในหัวข้อ Data Center Revolution: The Age of HYBRID Cloud เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการน�ำระบบ Cloud มาใช้ในองค์กรอย่างเต็มประสิทธิภาพ เพิ่มศักยภาพใน การแข่งขันเพื่อทัดเทียมกับตลาดคู่แข่งทั้งในและต่างประเทศ

คุณสุเทพ อุ่นเมตตาจิต ประธานบริหารกลุ่มงานขาย กลุ่มบริษัท จีเอเบิล ให้เกียรติเป็นตัวแทนขึ้นรับรางวัล “BI Project Award : Simple Click Award” จาก Mr. Noriaki Goto, Krungsri President and Chief Executive Officer ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) ในงาน “Branch Improvement Project Celebration’s Day” เพือ่ ฉลองความส�ำเร็จของโครงการ Branch Improvement (BI) ซึง่ เป็นส่วน ส�ำคัญในการขับเคลื่อนการด�ำเนินธุรกิจของธนาคารกรุงศรีอยุธยา โดยระบบ BI นี้ช่วยให้งานบริการลูกค้า และการบริหารจัดการของ ธนาคารมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งนี้ทางจีเอเบิลมีบทบาทส�ำคัญ ในการติดตั้งระบบ Krungsri Simple Click ให้กับสาขาทั่วประเทศ รวมถึงการทดสอบและให้ค�ำปรึกษาในการปรับปรุงประสิทธิภาพ ของระบบ (Performance Test & Consultancy) และ Outsource Incident Support ณ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ส�ำนักงานใหญ่ (โครงการนี้ถือเป็นความส�ำเร็จจากความร่วมมือของ C&G หลายหน่วยงาน อาทิ G-ABLE/PMO, G-ABLE/G-Sourcing/IMO+AMS และ CDT/TS)

ออราเคิล จับมือ เฟิรส ์ ลอจิก ชู Oracle Cloud Storage ปูทางสู่ Big Data Date : 5 เมษายน 2559 Venue : Conference Room, 4th Floor, Q-House Lumpini Bldg.

บริษัท ออราเคิล คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด (Oracle) และ บริษัท เฟิร์ส ลอจิก จ�ำกัด (First Logic) ร่วมกับสถาบันไอเอ็มซี (IMC) และส�ำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (EGA) จัดงานสัมมนา “Thailand Big Data User Group 2/2016” ขึ้น ภายในงาน เฟิร์ส ลอจิก ได้น�ำเสนอ Oracle Cloud Storage อีกหนึ่งทางเลือกส�ำหรับ Public Cloud Storage ที่สามารถรองรับการเติบโตของเทคโนโลยี Big Data ในปัจจุบัน ซึ่งมาพร้อมกับ เทคโนโลยี Archiving Storage ที่ช่วยให้ลดต้นทุน และสามารถใช้งาน Storage ได้อย่างคุ้มค่า ด้วยคุณสมบัติของ Oracle Storage Cloud Software Appliance ทีเ่ ข้ามาช่วยให้การส่งผ่านข้อมูลนัน้ มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ทัง้ ยังลดปัญหาทางด้านเน็ตเวิรค์ อีกด้วย

G-MagZ IT MAGAZINE

9


G-NEWs

G-ABLE ร่วมสนับสนุนโครงการ COMCAMP ครัง ้ ที่ 28

เฟิรส ์ ลอจิก ดัน Oracle ZDLRA ตอบโจทย์ Backup Solution

Date : 8 เมษายน 2559 Venue : บริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด

Date : 12, 17 พฤษภาคม 2559 Venue : 1001, 10th Floor, CDG House Bldg.

เมื่อเร็วๆ นี้ กลุ่มบริษัทจีเอเบิลและซีดีจี ร่วมสนับสนุนโครงการ ฝึ ก อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารคอมพิ ว เตอร์ เ บื้ อ งต้ น ครั้ ง ที่ 28 (COMCAMP#28) โดยได้รบั เกียรติจาก คุณพงศ์เทพ วัฒนศิรสิ ขุ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายงานบริหารโครงการ และคุณวนิดา ทองเพิม่ สิน ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายการตลาด บริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด เป็นตัวแทน มอบเงินสนับสนุนโครงการดังกล่าวฯ เป็นประจ�ำต่อเนื่องทุกปี ทั้งนี้ COMCAMP ถือได้ว่าเป็นโครงการดีๆ เพื่อเปิดโอกาส ให้ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย แผนการเรี ย น วิทยาศาสตร์ ได้มีโอกาสศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ โดยสามารถน�ำองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ใน อนาคต ตลอดจนเป็นแนวทางในการเลือกศึกษาต่อในระดับ อุดมศึกษาต่อไป

บริษัท เฟิร์ส ลอจิก จ�ำกัด จัดกิจกรรม “ZDLRA Demonstration User Group#1” เพื่อให้ความรู้และแสดงประสิทธิภาพจากการ ท�ำงานจริงของ Zero Data Loss Recovery Appliance หรือ ZDLRA ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม Engineered System ของ Oracle ที่ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาการ Backup และ Restore ข้อมูล Oracle Database ด้วยจุดเด่นในการท�ำ Fast Backup and Restore, Point in Time Recovery และ No Backup Windows Need นั้น สามารถตอบโจทย์องค์กรที่ต้อง เผชิญกับปัญหาต่างๆ ในการ Backup ทีท่ ำ� ให้ระบบโดยรวมไม่เป็น ไปตามที่ ต ้ อ งการ ทั้ ง ในเรื่ อ งของ RTO (Recovery Time Objective) และ RPO (Recovery Point Objective) ที่องค์กร ก�ำหนดไว้

Mverge เดินหน้ายกระดับ ทุกองค์กรสู่ Hybrid Cloud Date : 10 พฤษภาคม 2559 Venue : Sukhumvit 3 Room, Grand Center Point Hotel Terminal 21

บริษทั เอ็มเวิรจ์ จ�ำกัด บริษทั ในเครือจีเอเบิล ร่วมกับ บริษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ด เอ็นเตอร์ ไพรส์ (HPE) ร่วมจัดสัมมนา “Hybrid Model for Business” ด้วยการผนึกทีมวิทยากรมือ อาชีพด้าน Cloud จาก HPE (Thailand) และ G-ABLE ตบเท้าขึ้นมอบสาระความรู้เพื่อ อัพเดทข้อมูลของโลก IT ยุคใหม่ (Digital Transformation) พร้อมกับน�ำทุกองค์กรได้สัมผัสรูปแบบการท�ำงานภายใต้คอนเซ็ปต์ “Hybrid Cloud” อย่างละเอียด ด้วยการใช้ เทคโนโลยีสดุ ล�ำ้ จาก HPE และโซลูชนั่ จาก G-ABLE เพือ่ สร้างงานบริการทีค่ รบวงจร ให้กบั ทุกองค์กรทีต่ อ้ งการสร้างระบบ Hybrid Cloud ผสมผสานการท�ำงานร่วมกันระหว่าง Private Cloud และ Public Cloud พร้อมด้วยเทคโนโลยีจาก HP Software ที่ช่วย ให้ลูกค้าน�ำระบบหรือแอพพลิเคชั่นไปไว้บนคลาวด์เพื่อเชื่อมต่อกับ Private Cloud ที่ลูกค้ามีอยู่ให้สอดคล้องและรองรับความ ต้องการในธุรกิจได้อย่างทันท่วงที กระตุ้นให้เกิดการตื่นตัวและสร้างความพร้อมให้ระบบไอทีก้าวสู่ยุค Digital Transformation อย่างเต็มรูปแบบ

10

G-MagZ IT MAGAZINE


G-NEWs

Mverge โชว์ Business Transformation เทรนด์มาแรง มุง ่ เพิ่มศักยภาพต่อการ เปลีย ่ นแปลงให้องค์กรเติบโตแบบก้าวกระโดด Date : 21 มิถุนายน 2559 Venue : Asoke 1 Room, Grand Center Point Hotel Terminal 21

Optimus Soft คว้ารางวัลคุณภาพ

จาก Red Hat ประกาศเดินหน้าขยาย ฐานลูกค้าอย่างแข็งแกร่ง

Date : 10 พฤษภาคม 2559 Venue : The White Room, Crown Plaza Hotel, Bangkok

บริษัท เอ็มเวิร์จ จ�ำกัด (Mverge) ร่วมกับ บริษัท เอสไอเอส ดิ ส ทริ บิ ว ชั่ น (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด (มหาชน) (SIS) และ บริษัท อีเอ็มซี อินฟอร์เมชั่น ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) (EMC) จัดอัพเดทเทรนด์ไอทีใหม่ Business Transformation เพือ่ ให้ทกุ องค์กรน�ำมาใช้ต่อยอดสู่การพัฒนาระบบไอทีอย่างมืออาชีพ สร้างโอกาสเปลี่ยนข้อมูลที่มีปริมาณมหาศาลให้เข้าสู่ระบบการ บริหารจัดการทีเ่ ฉียบขาดและแตกต่างจากคูแ่ ข่ง โดยภายในงาน ทีมผู้เชี่ยวชาญจาก G-ABLE | Mverge น�ำทีมเสนอ Use Case เด่นจาก EMC โชว์เทคโนโลยีด้าน Big Data ผ่านเครื่อง Isilon รวมถึ ง การน� ำ XtremIO เข้ า เสริ ม และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ความรวดเร็วความคล่องตัวให้กับการท�ำงานแบบ Mobility พร้อมกับการเลือกใช้ VxRail เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดจาก EMC ด้านระบบการจัดเก็บและส�ำรองข้อมูลองค์กรในโซลูชนั่ Disaster Recovery (DR) ปิดท้ายด้วยการน�ำเสนอการลดความเสี่ยงด้าน Business Risk ผ่านโซลูชั่น Data Protection อย่างละเอียด เพื่อมุ่งเน้นให้ทุกองค์กร สามารถปรับใช้เทคโนโลยีจาก EMC ผสมผสานกับโซลูชั่นที่ครบวงจรจาก G-ABLE | Mverge สร้าง โอกาสในการต่อยอดสู่แผนพัฒนาระบบไอทีองค์กรอย่างเต็ม ประสิทธิภาพ

คุณสัมฤทธิ์ ตรงตรานนท์ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บริษทั อ๊อปติมสั ซอฟต์ จ� ำ กั ด (Optimus Soft) หนึ่ ง ในกลุ ่ ม บริ ษั ท จี เ อเบิ ล ร่วมให้เกียรติเป็นตัวแทนขึน้ รับรางวัลใหญ่ “FY16 Strategic Products Partner of the Year” จาก Red Hat Inc. ในงาน Red Hat Thailand Partner Day 2016 โดยรางวัลดังกล่าว เป็ น เครื่ อ งการั น ตี ถึ ง คุ ณ ภาพและศั ก ยภาพสู ง สุ ด ของ Optimus Soft ที่สามารถผลักดันยอดขายและขยายการ ครองส่วนแบ่งตลาดได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว พร้อมกับ ประกาศเดินหน้าสร้างความส�ำเร็จบนฐานลูกค้าที่แข็งแกร่ง ร่วมกัน ด้วยการผนวกความโดดเด่นให้บริการด้าน Business และ Software Solution ตลอดจน Application Development และ Outsourcing ของ Optimus Soft ควบคู่กับการน�ำเสนอ ผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุดจาก Red Hat อย่างต่อเนื่อง เพื่อเสริม แผนพัฒนาระบบไอทีในทุกภาคส่วน ทั้งสถาบันการเงินและ การธนาคาร, กลุ่มบริษัทโทรคมนาคม, สถาบันการศึกษา/ มหาวิทยาลัยต่างๆ, กลุ่มบริการทางการแพทย์ และองค์กร ขนาดใหญ่ มุง่ มัน่ เดินหน้าบุกครองส่วนแบ่งตลาดในไทยและ ภูมิภาคอาเซียน

G-MagZ IT MAGAZINE

11


Interview

WIL Program #2 ฝึกนักศึกษาเรียนรู้

สร้างสรรค์ พั ฒนาทักษะ จากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทำ�ให้ การเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ และการเสริมทักษะ เป็นสิ่งสำ�คัญที่สุด เพื่อ เสริมสร้างให้บคุ ลากรมีความรู้ ความเชีย่ วชาญ ในการใช้เทคโนโลยี ต่างๆ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด รวมถึงสามารถนำ�ไปใช้ตอบโจทย์ความ ต้องการต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ เป้าหมายสูงสุดคือ การที่ บุคลากรได้ก้าวไปสู่ “มืออาชีพ” ด้านเทคโนโลยีต่างๆ อย่างแท้จริง “WIL Program #2” (Work Integrated Learning Program) เป็น อีกหนึ่งโครงการพัฒนาบุคลากร ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ สัมผัสกับประสบการณ์จริง เสริมสร้างทักษะ ให้เกิดความรู้ใน เชิงปฏิบัติ สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเข้าใจและสอดคล้อง กับโจทย์ที่มีอยู่ เพื่อในอนาคตนักศึกษาที่ผ่านโครงการ จะก้าว สู่สังคมเป็นบุคลากรระดับมืออาชีพในองค์กร หรือเป็นเจ้าของ ธุรกิจในแบบฉบับที่ตนต้องการ โครงการ WIL Program เกิ ด จากความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และกลุ่ม บริษัทจีเอเบิล เป็นโครงการที่มุ่งเน้นฝึกฝนทักษะจากการท�ำ Workshop ซึ่งในปีนี้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 2 ภายใต้ธีม “Machine Learning” เพือ่ สร้างประสบการณ์ให้นกั ศึกษาได้ฝกึ แก้ไขปัญหา จากโจทย์จริง

12

G-MagZ IT MAGAZINE

รศ.ดร.ธี ร ณี อจลากุ ล Academic Director, Big Data Experience Center มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) อาจารย์ผดู้ ำ� เนินโครงการ WIL Program กล่าวว่า ความ ร่วมมือในโครงการดังกล่าวเกิดจากความต้องการทีป่ ระสานสอด รับกัน ด้วยสถาบันต้องการให้นักศึกษาได้พัฒนาองค์ความรู้ ขณะที่ผู้ประกอบการมีความคาดหวังในมิติต่างๆ ทั้งการเรียนรู้ สิง่ ใหม่ การสร้างความรับผิดชอบ เพือ่ เสริมศักยภาพให้นกั ศึกษา มีความสามารถที่สอดคล้องกับความต้องการในตลาดงาน นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการศึกษาอยู่ปี 3 และปี 4 โดยได้แบ่ง Workshop ออกเป็ น 4 กลุ ่ ม หลั ก คื อ Digital Business Transformation, Hadoop, Data Science และ Machine Learning ซึ่งในแต่ละกลุ่มจะมีจ�ำนวนสมาชิกแตกต่างกันขึ้นอยู่ กับความสนใจของนักศึกษา


Interview

คณะผู้บริหารและนักศึกษา ร่วมถ่ายภาพหลังมอบ Certificate

WIL Program เรียนรู้ศาสตร์วิชาการ-รู้โลกการท�ำงานบริษัท

รศ.ดร.ธีรณี กล่าวว่า WIL Program เป็นหนึง่ ในวิชาเลือกทีม่ เี อกลักษณ์ เฉพาะ คือ นอกจากจะได้ความรู้ ได้ประสบการณ์เชิงปฏิบัติที่ร่วมงาน กับภาคธุรกิจโดยตรงแล้ว ยังได้สัมผัสกับบรรยากาศของสังคมการ ท�ำงาน ซึ่งท�ำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจที่มากกว่าการเรียน ท�ำให้ รู้จักตนเองมากขึ้นด้วยการพิสูจน์จากความท้าทายในโครงการ WIL Program ท�ำให้นักศึกษาสามารถน�ำการเรียนรู้ในครั้งนี้ไปใช้เพื่อการ วางแผนอนาคตของตนเอง รูปแบบการเรียนใน WIL Program จะมีลักษณะการเรียนที่ต่างจาก ทั่วไป โดยการผสมผสานระหว่างการเรียนและการท�ำงานเข้าด้วยกัน ท� ำ ให้ นั ก ศึ ก ษามี ทั้ ง องค์ ค วามรู ้ และประสบการณ์ ท� ำ งานจริ ง รศ.ดร.ธีรณี กล่าวว่า เราให้นักศึกษาเข้าปฏิบัติงานในบริษัทสัปดาห์ ละ 2 วัน โดยมีพเี่ ลีย้ งคอยให้คำ� แนะน�ำ จึงเป็นการท�ำ Workshop จาก สนามจริง ซึ่งการเรียนในรูปแบบนี้จะแตกต่างจากการฝึกงานที่ส่ง นักศึกษาเข้าไปท�ำงานเสมือนเป็นพนักงาน “นักศึกษาภาควิชาคอมพิวเตอร์ ของมหาวิทยาลัย ส่วนใหญ่มพี นื้ ฐาน ความรู้จัดอยู่ในเกณฑ์ที่ดี มีทักษะที่พร้อมต่อการเรียนรู้เรื่องใหม่ๆ การเข้าร่วม WIL Program จึงท�ำให้นักศึกษาเกิดความสามารถด้าน การประยุกต์ ที่จะน�ำไปสู่การแก้ปัญหาในโจทย์อื่นๆ ซึ่งสอดคล้อง กับความเป็นจริงในองค์กรธุรกิจที่มักมีโจทย์ใหม่ๆ เกิดขึ้นเสมอ” รศ.ดร.ธีรณี กล่าว

คุณปาจรีย์ แสงค�ำ ประธานบริหารกลุ่มงานโซลูชั่นทางธุรกิจและ บริการ กลุ่มบริษัทจีเอเบิล กล่าวว่า ก่อนที่จะเกิดความร่วมมือ บริษัท ได้หารือกับหลายสถาบัน ซึง่ แต่ละสถาบันมีแนวทางและความโดดเด่น ต่างกัน ส�ำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มีความ ลงตัวทั้งเรื่องแนวคิด และแนวทางที่ตรงกัน “แต่ความยากของโครงการนี้ในมุมของบริษัทคือ การหาโครงการให้ นักศึกษาท�ำ ซึ่งจะต้องไม่ง่ายเกินไปเพราะจะไม่เกิดการเรียนรู้ และ ต้องไม่ยากจนเกินไปเนื่องจากนักศึกษามีเวลามาท�ำงานไม่มากนัก แต่ทุกโจทย์ต้องเป็นไปตามเป้าหมายของเราคือ การที่ให้นักศึกษาได้ เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ”

รศ.ดร.ธีรณี อจลากุล Academic Director, Big Data Experience Center มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)

คุณปาจรีย์ แสงคำ� ประธานบริหารกลุ่มงานโซลูชั่น ทางธุรกิจและบริการ กลุ่มบริษัทจีเอเบิล G-MagZ IT MAGAZINE

13


Interview เกิดความร่วมมือต่อเนื่อง Startup & Business Coaching นอกเหนือจากโครงการ WIL Program ทั้งสององค์กร ยังต่อยอด ความร่วมมือในรูปแบบอื่นๆ เช่น ในอนาคตจะเกิดโครงการ Work Integrated Senior Project กับนักศึกษาบางกลุม่ มีแนวโน้มในการท�ำ Startup รวมไปถึงการจัดอบรม การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และมี ความเป็นไปได้ทจี่ ะก้าวสูก่ ารท�ำโปรเจ็กอืน่ ๆ ร่วมกันในเชิง Business Coaching

บรรยากาศในการมอบ Certificate

WIL Program ได้ประโยชน์ทุกฝ่าย มหาวิทยาลัย-จีเอเบิล-นักศึกษา ส�ำหรับความคาดหวังของโครงการคือ ต้องการให้นักศึกษาที่เข้าร่วม โครงการ เมือ่ จบการศึกษาจะมีความรูค้ วามสามารถเป็นทีต่ อ้ งการของ ตลาด ด้วยทักษะ ประสบการณ์ และความรู้ที่มีจุดเด่นด้านเทคโนโลยี ใหม่ๆ ซึ่งส�ำคัญที่สุดคือ นักศึกษามีความคิดสร้างสรรค์ ส่วนประโยชน์ทเี่ กิดขึน้ ต่อมหาวิทยาลัย รศ.ดร.ธีรณี เสริมว่า นอกจาก ได้พัฒนานักศึกษาแล้ว มหาวิทยาลัยยังได้เห็นถึงความต้องการด้าน บุคลากรของภาคอุตสาหกรรม เห็นทิศทางแนวโน้มว่าภาคอุตสาหกรรม ในขณะนีเ้ ป็นอย่างไร ต้องการบุคลากรแบบใด เพือ่ มหาวิทยาลัยจะได้ น�ำไปพัฒนาหลักสูตรต่อไป โดยมหาวิทยาลัยพร้อมที่จะทุ่มเทความ ร่วมมือกับภาคเอกชนในการสร้างบุคลากร ซึง่ คาดหวังว่าจะเกิดความ ร่วมมือกันในระยะยาว” คุณปาจรีย์ กล่าวเสริมในมุมมองของภาคเอกชนว่า จากปัญหาด้าน การหาบุคลากรเข้ามาท�ำงานที่ยาก และต้องใช้เวลาในการพัฒนา บุคลากรจบใหม่ให้ทำ� งานได้จริงนัน้ ต้องสูญเสียทรัพยากรจ�ำนวนมาก ซึ่งโครงการ WIL Program ช่วยให้บริษัทได้เข้าถึงกลุ่มนักศึกษาที่มี ศักยภาพ เพียงเข้าร่วมโครงการก็ยิ่งแสดงถึงความสามารถมากขึ้น “บริษัทได้โอกาสที่ดีจากโครงการนี้มาก เราได้มีโอกาสดึงเด็กกลุ่มนี้ เข้ามาท�ำงานกับเรา และจากทีเ่ ราเห็นศักยภาพของเด็กแล้วเราเชือ่ ว่า เมือ่ เขามาท�ำงานจะสามารถท�ำงานได้เลย โดยไม่ตอ้ งเสียเวลาสอนให้ ท�ำงานเป็น และในขณะเดียวกัน เด็กก็จะได้รสู้ ภาพแวดล้อมการท�ำงาน กับเรา ก่อนที่จะตัดสินใจเลือก” กลุ่มบริษัทจีเอเบิล ด�ำเนินธุรกิจทางด้านไอที เทคโนโลยีมีการปรับ เปลีย่ นอย่างรวดเร็วตลอดเวลา มีการสร้างวัฒนธรรมองค์กรใหม่ๆ เพือ่ ให้สอดคล้องกับการปรับเปลีย่ น ส�ำหรับคนรุน่ ใหม่ทเี่ ข้าสูว่ ยั ท�ำงานมัก จะมีการเรียนรู้ตลอดเวลา ซึ่งสิ่งนี้เป็นสิ่งส�ำคัญต่อองค์กรยุคใหม่ 14

G-MagZ IT MAGAZINE

“ปัจจุบนั นักศึกษารุน่ ใหม่ ส่วนใหญ่มี Creative Idea หากต้องการผลัก ดันให้นำ� แนวคิดมาสร้างสรรค์เป็นผลงาน การสนับสนุนให้นกั ศึกษาได้ รับประสบการณ์จริงจากภาคองค์กรธุรกิจจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น ดังนั้นทั้ง มหาวิทยาลัย และภาคเอกชน จ�ำเป็นต้องร่วมกันผลักดัน Creative Idea ของนั ก ศึ ก ษา เพื่ อ ให้ เ กิ ด Innovation ได้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง ” คุณปาจรีย์ กล่าว นอกจาก WIL Program มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และกลุ่มบริษัทจีเอเบิล ยังมีความร่วมมือด้าน Big Data ภายใต้ชื่อ Big Data eXperience Center ซึ่งเป็นศูนย์ Big Data ที่เปิดให้บริษัท เอกชน และหน่วยงานรัฐ ได้เข้ามาใช้บริการ WIL Program #2 สร้าง 21 นักศึกษาเฉพาะทาง WIL Program #2 ในครั้งนี้เป็นนักศึกษาปี 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จ�ำนวน 21 คน ดังรายชือ่ ด้านล่าง โดยแบ่งกลุ่มตามหัวข้อ Workshop ออกเป็น 4 กลุ่ม ดังภาพประกอบด้านล่าง หัวข้อ Digital Business Transformation Hadoop Data Science Machine learning *ผู้ผ่านการเข้าร่วม Workshop จะได้รับ Certificate จากจีเอเบิล

1. นายกฤติพงศ์ กาญจนพิบูลย์ 2. นายทีปภัทร ศิริสมบูรณ์เวช 3. นายศุภณัฐ ทัตตินาพานิช 4. นายอินทัช คุณากรธรรม 5. นายอินทัช แสงกระจ่าง 6. นายธนาธิป โคกระบิน 7. นายธรรมสรณ์ หาญผดุงกิจ 8. นายณภัทร พรเชนศวรพงศ์ 9. นายพสธร สุวรรณศรี 10. นายสินทวี รุ่งแสงรัตนกุล 11. นายธนาพนธ์ ตรีเลิศกุล 12. นายวสวัตติ์ ตั้งศิริวัฒนกุล

13. นายปุริมพัฒน์ เจียรสุนันท์ 14. นายปัถย์ เทียนทองดี 15. นายพีรณัฐ ทวีชลพิสิฐ 16. นายพีรพล พัชรวัฒน์ 17. นางสาวชัญญา ปฐมธนสาร 18. นายบารมี สานแสงธรรม 19. นายธนัท ลัพธวรรณ์ 20. นายเมธัส นาคเสนีย์ 21. นายพีรณัฐ ตระกูลสิทธิสุข


Interview ความคิดเห็นต่อโครงการ กลุ่ม Digital Business Transformation เล็ ง เห็ น ว่ า เป็ น เรื่ อ งใหม่ ที่ น ่ า สนใจ ซึ่ ง มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ เป็นการน�ำเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ด�ำเนินธุรกิจที่สอดคล้องกับยุคนี้ โดยเทคโนโลยีสามารถตอบโจทย์ทางธุรกิจ ซึ่งทีมจะต้องคิดให้ได้ว่า จะต้องท�ำอย่างไรเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการ โดยในกระบวน ความคิดท�ำให้ได้ความรู้ใหม่ด้านธุรกิจ เป็นการเปิดโลกใหม่ ท�ำให้ เข้าใจระบบหรือขบวนการในการท�ำธุรกิจมากขึ้น รู้ว่าธุรกิจต้องเริ่ม จากอะไร และต่อยอดอย่างไร ซึง่ โครงสร้างธุรกิจแตกต่างจากเรือ่ งของ วิศวกรรมอย่างมาก เพราะธุรกิจมีปจั จัยหลายด้านเข้ามาเกีย่ วข้อง เมือ่ เกิดขึ้นแล้วอาจจะไม่สามารถควบคุมได้ และท�ำให้รู้ว่าการท�ำ Startup ไม่ใช่เรือ่ งง่าย ต้องรูเ้ รือ่ ง Business และเข้าใจขบวนการทาง Business อย่างละเอียด เพื่อท�ำให้เกิดผลส�ำเร็จ กลุ่ม Hadoop เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยสนับสนุนการท�ำงานของ Big Data จึง มีความสนใจ โดยได้เรียนรูก้ ารบริหารจัดการข้อมูลในแต่ละธุรกิจ รวม ไปถึงการวิเคราะห์ และการจัดเก็บข้อมูลเพื่อให้เกิดความเหมาะสม รู้ถึงรูปแบบในการบริหารจัดการ (ภายใต้หัวข้อ Hadoop ได้แบ่งทีม ย่อยออกเป็นการศึกษาในหัวข้อต่างๆ ) ภายหลังจากทีไ่ ด้ศกึ ษาข้อมูลต่างๆ แล้วนัน้ ได้นำ� โปรดักส์แต่ละตัวมา จั ด ท� ำ ในรู ป แบบใหม่ ที่ มุ ่ ง เน้ น ให้ ต อบโจทย์ ท างธุ ร กิ จ ที่ มี อ ยู ่ ไ ด้ สมบูรณ์แบบ และท�ำให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับ Big Data และ Platform เพิ่มขึ้น รวมถึงทีมได้สร้างผลงานเพื่อน�ำเสนอ โดยเป็นการน�ำเสนอ เทคโนโลยีใหม่ที่เป็นพื้นฐานในการสร้าง Platform เพื่อรองรับธุรกิจ กลุ่ม Machine Learning เนื่องจากได้รับข้อมูลว่าเป็นหัวข้อที่ยากที่สุด ซึ่งทีมก็ได้พบว่ามีความ ยากจริงๆ โดยน�ำเสนอเทคโนโลยีที่เน้นเกี่ยวกับ Security เป็น การค้นหาสิ่งแปลกปลอม การหลอกลวง หรือการโจมตีใหม่ๆ จาก Machine Learning เพื่อให้เกิดการพัฒนาการท�ำงานของระบบให้มี ประสิทธิภาพมากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านความซับซ้อนของข้อมูล ขนาดใหญ่ที่ต้องมีการบริหารจัดการที่ดี เพื่อท�ำให้ระบบคอมพิวเตอร์ สามารถตัดสินใจแทนคนได้

คุณสุเทพ อุ่นเมตตาจิต กรรมการผู้จัดการ กลุ่มบริษัทจีเอเบิล มอบ Certificate ให้นักศึกษาที่ร่วมโครงการ

กลุ่ม Data Science การท�ำ Workshop ในครัง้ นีไ้ ด้ประโยชน์อย่างมาก เพราะได้เรียนรูจ้ าก ของจริง ทั้งข้อมูลจริง ท�ำการวิเคราะห์จริง เรียนรู้การแก้ปัญหา ท�ำให้ ได้ข้อมูลเพื่อใช้ในการประกอบการตัดสินใจ อีกทั้งยังได้สร้างสรรค์ ผลงานออกมา จึงท�ำให้ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ซึ่งแม้จะเป็น เพียงแค่ระยะเวลาไม่นานนัก แต่นบั ว่าได้มโี อกาสร่วมท�ำงานในบริษทั จากการที่ทีมได้เข้ามาร่วม Workshop ในโครงการ WIL Program กับจีเอเบิล ในครั้งนี้ ท�ำให้ได้รับประสบการณ์จริงจากการท�ำงาน ร่วมกันกับพี่ๆ ในบริษัทที่มีประสบการณ์และเชี่ยวชาญในแต่ละด้าน จึงได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เทคโนโลยีใหม่ๆ ซึ่งอยากให้มีโครงการแบบนี้ ต่อเนื่องทุกปี เพื่อเปิดโอกาสให้รุ่นน้องเรียนรู้ปัญหาที่หลากหลาย การก้าวผ่านปัญหาต่างๆ ด้วยการศึกษาข้อมูลอย่างรอบด้าน รวมทั้ง การปรึ ก ษากั บ ผู ้ ที่ มี ค วามรู ้ ค วามเชี่ ย วชาญ เพื่ อ น� ำ ไปปรั บ ใช้ ใ ห้ เหมาะสม และสอดคล้องกับผลงานการสร้างสรรค์ของทีม และมีโอกาส ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง จีเอเบิลคาดหวังว่า WIL Program จะเป็นอีกโครงการหนึ่งที่ช่วย สนับสนุนให้นักศึกษาได้มีเวทีในการแสดงออก การได้ท�ำงานจริง ได้ เรียนรู้ ได้สัมผัสของจริง เป็นการสร้างสมประสบการณ์ และสร้างแรง บันดาลใจให้กับนักศึกษา เพื่อการพัฒนาและสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้เกิด ประโยชน์ต่อไป G

การท�ำ Workshop ท�ำให้ได้รบั ความรูม้ ากยิง่ ขึน้ เพราะได้ศกึ ษาค้นคว้า จากข้อมูลจริง ได้ศึกษาระบบการท�ำงานจริง ที่ส�ำคัญยังได้น�ำผลงาน ที่ทีมร่วมกันพัฒนามาใช้งานจริง เป็นประสบการณ์ที่ได้ทดลองใช้งาน กับเทคโนโลยีใหม่จริงๆ ท�ำให้รวู้ า่ Machine Learning ไม่ใช่เรือ่ งทีย่ าก เกินไป

G-MagZ IT MAGAZINE

15


บทความพิเศษ 3. บัตรเครดิต ภายในปี 2020 สมาร์ทโฟนจะเข้ามาท�ำหน้าทีท่ างการเงินแทนบัตรเครดิต สามารถจ่ายสินค้าโดยการบอกรหัสหรือเบอร์โทรศัพท์ โดยไม่ตอ้ งเสียเวลา รูดบัตร ตรวจสอบ เช็ครายละเอียดข้อมูล และรอเซ็นก�ำกับความถูกต้อง จนคนข้างหลังต้องต่อคิวยาวเหยียด

10

4. กระเป๋าสตางค์ เมื่อสมาร์ทโฟนบริหารจัดการทางการเงินได้ทุกอย่าง ก็ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ กระเป๋าสตางค์เพื่อใส่บัตรต่างๆ อีกต่อไป

ธุรกิจ

ที่จะหายไป ในอีก 5 ปี

เป็นที่ทราบกันดีว่า นับวันดิจิทัลจะเข้ามามีบทบาท ต่ อ ชี วิ ต ของผู้ ค นในสั ง คมมากขึ้ น มี ก ารคิ ด ค้ น นวั ต กรรมรู ป แบบใหม่ ๆ ออกมาคาดกั น ว่ า เมื่ อ ถึ ง ปี 2020 ธุ ร กิ จ บางกลุ่ ม อาจจะหมดความ หมายกระทั่งต้องมีอันล้มหายตายจากไปในที่สุด ส่วนจะเป็นธุรกิจอะไรบ้างสำ�นักข่าว THAIQUOTE รวบรวมมาให้ดูว่ามีธุรกิจอะไรบ้าง เพื่อเป็นแนวคิด ก่อนทำ�ธุรกิจ ดีกว่าไม่รู้เลย.. 10 ธุรกิจที่ว่านั้นมีอะไรบ้าง?

1. กระดาษ มีสัญญาณมาก่อนหน้านี้หลายปีว่ากระดาษเริ่มถูกลดบทบาทลง ธุรกิจหนังสือถูกปิดตัวลงอย่างต่อเนือ่ ง หลายองค์กรรณรงค์ลดใช้ กระดาษแม้กระทัง่ การส่งเอกสารหรือทีร่ จู้ กั กันดีในนามของแฟกซ์ ก็ แ ทบจะไม่ มี ใ ห้ เ ห็ น ในปั จ จุ บั น ทุ ก อย่ า งสื่ อ สารกั น ทางไลน์ เฟซบุ๊ค และอีเมล์ 2. โทรศัพท์บ้าน ทุกวันนีโ้ ทรศัพท์พนื้ ฐานในหลายๆ บ้าน เป็นเพียงสิง่ ของประดับ ชิ้นหนึ่งที่ถูกวางทิ้งไว้โดยแทบจะไม่ได้ใช้ประโยชน์ และบางคน อาจลืมไปด้วยซ�้ำว่าเบอร์โทรศัพท์บ้านของตัวเองเบอร์อะไร เนื่องจากถูกแทนที่ด้วยโทรศัพท์มือถือนั่นเอง 16

G-MagZ IT MAGAZINE

5. โรงภาพยนตร์ สิ่งที่เริ่มสัมผัสในวันนี้คือ โปรโมชั่นภาพยนตร์ใหม่ๆ ให้ดูผ่านโทรศัพท์ มือถือ 3-4 เรื่องต่อสัปดาห์ เพราะฉะนั้นไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็สามารถดูหนัง เรื่องโปรดได้ หากต้องการระบบเสียงรอบทิศทางก็เพียงแค่ต่อเข้ากับ เครื่องเล่นซึ่งสามารถหาซื้อได้ในราคาไม่แพงมาก ไม่จ�ำเป็นต้องซื้อตั๋ว เข้าไปนัง่ ดูในโรงภาพยนตร์ ซึง่ ท้ายทีส่ ดุ ก็จะท�ำให้ธรุ กิจโรงภาพยนตร์ซบเซา และเลิกราไป เหมือนกับโรงภาพยนตร์ชนั้ 2 ทีว่ นั นีแ้ ทบไม่มใี ห้เห็นกันแล้ว 6. เคเบิลทีวี ปัจจุบนั ยอดสมาชิกหดหายไปเรือ่ ยๆ เนือ่ งจากคนหันไปหาทีวอี นิ เทอร์เน็ต ที่มีสตอรี่ให้เลือกหลากหลายกว่า มีความสะดวกสบายมากกว่า ได้รับ ประโยชน์ครอบคลุมกว่า 7. พนักงานฟาสต์ฟูด ด้วยสภาพการใช้ชวี ติ ทีเ่ ร่งรีบท�ำให้ผคู้ นต้องการความรวดเร็ว การเข้าร้าน ฟาสต์ฟดู จึงต่างจากอดีต ซือ้ อาหารแล้วออกไปทานข้างนอก หรือรีบทาน รีบไป เพราะฉะนั้นการบริการจึงแทบไม่มีความหมายมากไปกว่าสินค้าที่ ลดราคาพิเศษ 8. อุปกรณ์เก็บข้อมูล (Storage Media) สมัยก่อนเราเก็บข้อมูลด้วยซีดี แผ่นดิสก์ จากนัน้ ก็พฒ ั นามาเป็นแฟลชไดรฟ์ เมมโมรี่การ์ดประเภทต่างๆ แต่ในอนาคตอุปกรณ์เหล่านี้ จะไม่มีความ หมายอีกต่อไป เมือ่ โลกดิจทิ ลั ได้เชือ่ มข้อมูลสามารถเรียกมาใช้เมือ่ ไหร่กไ็ ด้ 9. รถแท็กซี่แบบเก่า การเข้ามาของแกร็บแท็กซี่ และอูเบอร์ ท�ำให้อุตสาหกรรมนี้เปลี่ยนแปลง ไปอย่างเห็นได้ชัด คุณไม่จ�ำเป็นต้องออกไปรอเรียกแท็กซี่แล้วได้รับการ ปฏิเสธหรือให้บริการที่ไม่คุ้มกับค่าบริการ และไม่จ�ำเป็นต้องพกเงิน ให้วนุ่ วาย เพราะแท็กซีแ่ นวใหม่สามารถจ่ายได้ดว้ ยสมาร์ทโฟน ถ้าเจ้าของ อู่แท็กซี่แบบเดิมไม่ปรับตัว ก็คงต้องปิดตัวเองไปในที่สุด 10. คนขับรถแท็กซี่ เนือ่ งจากบริษทั รถยนต์พยายามผลิตรถยนต์เทคโนโลยีใหม่ๆ ออกมา เช่น รถยนต์ไร้คนขับ แน่นอนว่าย่อมรวมถึงรถแท็กซีด่ ว้ ย ทีใ่ นอนาคตอาจไม่มี ความหมายอีกต่อไป G

ที่มา :http://thaiquote.org และ http://www.dooideas.com/2016/05/10-5.html?m=1#.V0QOUTXXqLs.facebook


Spaecial Report

FinTech ความท้าทายโลกบริการ ทางการเงินยุคใหม่

คลืน่ ลูกใหม่ทงั้ FinTech และ Startup กำ�ลังก้าวสูย่ คุ เฟือ่ งฟู ในหลายประเทศ เป็ น คลื่ น ที่ ต้ อ งจั บ ตามองอย่ า งใกล้ ชิ ด เพราะมีแนวโน้มว่าจะเปลี่ยนรูปแบบการดำ�เนินธุรกิจสถาบัน การเงินด้วยนวัตกรรมใหม่ ที่ช่วยให้ผู้ใช้บริการเกิดความ สะดวก รวดเร็ว และมีค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่า

FinTech ก�ำลังได้รับความนิยมอย่างแพร่ หลายทัว่ โลก เป็นผลมาจากเทคโนโลยี 4 ด้าน ประกอบด้ ว ย Social Media, Mobile, Analytics และ Cloud ที่เกิดการประยุกต์ใช้ บนแนวโน้มการเติบโตด้านอินเทอร์เน็ตที่มี ผู้ใช้จ�ำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่อุปกรณ์ ต่างๆ ชิ้นน้อยใหญ่ได้ถูกพัฒนาให้เหมาะกับ อินเทอร์เน็ต (IoT) อ�ำนวยความสะดวกให้ ชีวิตง่ายขึ้น สถานการณ์ปจั จุบนั ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิ ช ย์ ต ่ า งๆ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ตลอดจนผู้ประกอบการด้านสถาบันการเงิน ต่างตื่นตัวให้ความสนใจ FinTech (Financial Technology) หรือเทคโนโลยีทางการเงินที่ ในอนาคตจะเข้ า มามี บ ทบาทต่ อ การท� ำ ธุรกรรมทางการเงินอย่างที่ไม่เคยปรากฏมา ก่อน ท�ำให้สถาบันการเงินบางรายจัดตัง้ Lab เพือ่ ศึกษาเรือ่ งนีโ้ ดยเฉพาะ บางรายสนับสนุน G-MagZ IT MAGAZINE

17


Special Report เงินลงทุนให้กับกลุ่ม Startup หรือบริษัทเกิด ใหม่ทพี่ ฒ ั นาบริการด้านการเงินรูปแบบใหม่ๆ การตื่นตัวและความพยายามในการปรับตัว แสดงให้เห็นว่า FinTech ไม่ใช่กระแส แต่จะ เข้ามาเปลีย่ นรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจในไม่ชา้ FinTech จุดเปลี่ยน อุตสาหกรรมการเงิน FinTech คือ การน�ำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ หรือสร้างบริการในธุรกิจการเงิน ท�ำให้เกิด การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมผูบ้ ริโภค เช่น การ จ่ายเงินออนไลน์, การซื้อหุ้นออนไลน์ ฯลฯ ในช่วงที่ผ่านมา มีบริการรูปแบบใหม่เกิดขึ้น เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้กบั ประชาชน อาจ กล่าวได้ว่าเป็นตัวอย่างหนึ่งของ FinTech นั่นคือ การช�ำระเงินค่าสินค้าและบริการผ่าน ช่องทางดิจทิ ลั (e-Payment) ทีช่ ว่ ยให้ผบู้ ริโภค เข้าถึงการบริการได้อย่ างรวดเร็ว และลด ค่าใช้จ่ายในการท�ำธุรกรรมอย่างมาก หรือแม้แต่ PromptPay ที่ก�ำลังจะเปิดให้ บริการในปลายเดือนตุลาคมนี้ ที่เปลี่ยนวิธี การโอนเงินให้ง่ายขึ้น โดยไม่ต้องใช้เลขที่ บัญชีผรู้ บั โอน ไม่ตอ้ งรูว้ า่ ธนาคารอะไร รูเ้ พียง หมายเลขโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ก็ ส ามารถท� ำ ธุรกรรมได้ ที่ส�ำคัญค่าธรรมเนียมถูกมาก คือ โอนเงินต่างธนาคารในจ�ำนวนมากกว่า 20,000-50,000 บาท ค่าธรรมเนียม 2-5 บาท เมื่อเปรียบเทียบกับการโอนในปัจจุบันอยู่ที่ 25-35 บาท หรือหากโอนไม่เกิน 5,000 บาท PromptPay พร้ อ มให้ บ ริ ก ารฟรี (อ่ า น บทความเรื่ อ ง PromptPay ในคอลั ม น์ Hot Issue) ส่วน FinTech ในประเทศไทยยังมีให้เห็นไม่ มาก แต่เกิดขึน้ แล้ว เช่น TrueMoney Wallet, mPay, Paysbuy, 2c2p เป็นต้น แต่สำ� หรับใน ต่างประเทศเกิดขึ้นมาระยะหนึ่ง ซึ่งส่วนใหญ่ เป็น FinTech Startup เป็นผูป้ ระกอบการใหม่ ที่พัฒนาเทคโนโลยี หรือบริการด้านธุรกรรม ทางการเงิน (อ่านเนือ้ หาได้ในคอลัมน์ Idea Info) บริษัทวิจัยและที่ปรึกษาทางธุรกิจระดับโลก รายหนึ่ง ฟันธงว่า FinTech เป็น Game Changer ของอุตสาหกรรมการเงิน โดยจะมี 18

G-MagZ IT MAGAZINE

FinTech Startup รายใดสามารถสร้าง

นวัตกรรม หรือบริการทีต ่ รงใจผูบ ้ ริโภค และ มีการใช้งานต่อเนื่อง จะประสบความส�ำเร็จ ได้ไม่ยาก เพราะปัจจุบันยังมีช่องว่างทาง ธุรกิจอยู่ในระดับหนึ่งที่สถาบันการเงินไม่ได้ ให้ความส�ำคัญในช่วงที่ผ่านมา

บทบาทส�ำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ของระบบสถาบันการเงินไทยและธนาคาร พาณิชย์ไทย ซึ่งโจทย์ส่วนใหญ่จะส่งผลดีต่อ ผูบ้ ริโภค เพือ่ ให้ได้รบั บริการทีร่ วดเร็ว สะดวก สบาย และมีค่าใช้จ่ายถูกลง ในยุคนี้จึงพบว่า ผู้ประกอบการให้ความส�ำคัญกับการเตรียม ความพร้อม ขณะเดียวกันมีขา่ วว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ ก.ล.ต. มีการบรรจุเรื่อง FinTech เข้าไปใน แผนยุทธศาสตร์ 3 ปี (พ.ศ. 2559-2561) โดยเป็นการปรับรูปแบบการให้ใบอนุญาตใน เบือ้ งต้นจะปรับปรุงประเด็น ดังนี้ โครงสร้างการ ให้ใบอนุญาตประกอบกิจการ (License) เกณฑ์ ขัน้ ต�ำ่ ของทุนจดทะเบียนของธุรกิจ คุณสมบัติ ของผู้ขอรับใบอนุญาต และเกณฑ์การก�ำกับ ดูแล และปี 2559 นี้มีความเป็นไปได้ที่จะเห็น ความคืบหน้าที่ออกมาสนับสนุน FinTech ปัจจัยหนุน FinTech Startup นับเป็นช่วงเวลาทีด่ สี ำ� หรับผูท้ เี่ ข้าสู่ FinTech Startup ในช่วงเวลานี้ เนือ่ งจากมีปจั จัยหลาย ด้านที่หนุน และเปิดโอกาสให้คนกลุ่มนี้ โดย ในที่นี้จะสรุปปัจจัยเกื้อหนุนต่างๆ ดังนี้ โครงสร้างพืน้ ฐานทางเทคโนโลยี : ปัจจุบนั ประเทศไทยมีความพร้อมในระดับหนึ่ง และ ด้วยนโยบาย Digital Economy ที่ขับเคลื่อน การขยายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงลงสู่ระดับ

หมู่บ้านโดยมีเป้าหมายให้ครอบคลุม 76,000 หมูบ่ า้ นทัว่ ประเทศ รวมทัง้ การขยายโครงข่าย 4G ต่างส่งเสริมให้การใช้อินเทอร์เน็ต และ แอพต่างๆ เติบโตขึน้ อีกมาก ซึง่ มีผปู้ ระกอบการ ใหม่จำ� นวนมากพัฒนาแอพเพือ่ ให้บริการด้าน ต่างๆ รวมถึงแอพด้านบริการการเงิน การส่งเสริมจากภาครัฐ และกลุ่มทุน : การยกเว้นภาษีนิติบุคคล 5 ปีแรก เป็นอีก นโยบายที่สร้างแรงจูงใจ Startup ในขณะ เดียวกันยังมีกลุ่มทุนทั้งในประเทศ และจาก ต่างประเทศ (Venture Capital) ที่พร้อมให้ เงินลงทุน Startup รวมไปถึงสถาบันการเงิน บางแห่งเปิดโครงการสนับสนุนอย่างชัดเจน ซึ่ ง คล้ า ยกั บ กลุ ่ ม โอเปอร์ เ รเตอร์ ที่ ผ ลั ก ดั น Tech Startup ในช่วง 2-3 ปีทผี่ า่ นมา FinTech Startup จึงมีโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน มากขึ้น นวั ต กรรมกั บ โอกาสธุ ร กิ จ : FinTech Startup รายใดสามารถสร้างนวัตกรรม หรือ บริก ารที่ต รงใจผู้บ ริโภค และมีก ารใช้ง าน ต่ อ เนื่ อ ง จะประสบความส� ำ เร็ จ ได้ ไ ม่ ย าก เพราะปัจจุบันยังมีช่องว่างทางธุรกิจอยู่ใน ระดั บ หนึ่ ง ที่ ส ถาบั น การเงิ น ไม่ ไ ด้ ใ ห้ ค วาม ส�ำคัญในช่วงที่ผ่านมา เทคโนโลยีกดดันให้รูปแบบบริการภาค การเงินเปลี่ยน : เห็นตัวอย่างได้จากกระแส Digital ทีท่ กุ อย่างหลอมรวมไปในแนวทางนัน้


Special Report หลังจากอินเทอร์เน็ตแทรกซึมเข้าไปสู่การใช้ ชีวิตประจ�ำวันมากขึ้น ท�ำให้ทุกอย่างสะดวก ง่าย รวดเร็ว เช่นกันกับการมาของ Digital ใน แวดวงการเงิน ทีว่ นั นีม้ ี e-Payment มีการท�ำ ธุรกรรมผ่านออนไลน์อย่าง e-Bank, Mobile Bank แต่นบั จากนีไ้ ปจะมีบริการใหม่ๆ เกิดขึน้ อีกมากทีจ่ ะอ�ำนวยความสะดวกให้กบั ผูบ้ ริโภค ซึ่งเกิดจากการปรับตัวของสถาบันการเงิน เพราะหากไม่ปรับอาจจะต้องรับศึกหนักจาก กระแส Digital Transformation อย่างแน่นอน PwC เผยผลส�ำรวจเทคโนโลยี พลิกโฉมธุรกิจการเงินโลก ผลส�ำรวจ Financial Services Technology 2020 and Beyond: Embracing Disruption จาก บริ ษั ท ไพร้ ซ วอเตอร์ เ ฮาส์ คู เ ปอร์ ส คอนซัลติ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด หรือ PwC พบว่าในปี 2563 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี จะเป็ น ตั ว แปรส� ำ คั ญ ที่ เ ข้ า มาเปลี่ ย นโฉม อุ ต สาหกรรมธุ ร กิ จ บริ ก ารทางการเงิ น (Financial Services) ทั่วโลก จากผลส�ำรวจ พบว่า มี 10 เทคโนโลยีส�ำคัญที่มีอิทธิพล และสร้างผลกระทบให้แก่ผู้ประกอบการและ หน่วยงานก�ำกับดูแล รวมไปถึงผู้ที่เกี่ยวข้อง อื่นๆ ในที่นี้จะยกตัวอย่าง 4 เทคโนโลยี ดังนี้ เทคโนโลยีทางการเงินจะเป็นตัวขับเคลือ่ น ธุ ร กิ จ การเงิ น รู ป แบบใหม่ (FinTech will drive the new business model) ความต้องการบริการด้าน FinTech โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง ในธุ ร กิ จ ธนาคาร เพื่ อ รายย่ อ ย (Consumer Banking) และธุรกิจบริหารความ มั่งคั่ง (Wealth Management) มีแนวโน้ม

เพิ่มขึ้น เปิดโอกาสให้ทั้งธนาคารขนาดใหญ่ และผู้เล่นรายใหม่ที่มีศักยภาพหันมาจับมือ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันในอุตสาหกรรม นี้มากขึ้น เอเชียจะเป็นศูนย์กลางของการขับเคลือ่ น นวั ต กรรมทางการเงิ น ใหม่ ๆ ของโลก (Asia will emerge as a key centre of technology-driven innovation) ในปี 2563 ทวี ป เอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก จะมี สั ด ส่ ว นจ� ำ นวน “ชนชั้ น กลาง” มากกว่ า ทวี ป อเมริกาเหนือ และยุโรป นอกจากนี้ ในอีก 30 ปี ข้างหน้า จ�ำนวนประชากรโลกถึง 1,800 ล้านคนจะย้าย ถิ่ น ฐานเข้ า มาในทวี ป แอฟริ ก าและเอเชี ย มากขึน้ ซึง่ จะกลายเป็นโอกาสส�ำคัญทางธุรกิจ ของสถาบันการเงินในภูมภิ าค เหล่านี้

บล็อกเชนจะปฏิวัติโลกการเงินยุคใหม่ (Blockchain will shake things up) ระบบ โครงข่ายในการท�ำธุรกรรมออนไลน์ หรือ Blockchain จะกลายเป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ของ โครงสร้างพื้นฐานในการประกอบธุรกิจการ เงิน และน�ำไปสูโ่ ลกการเงินยุคใหม่ เนือ่ งด้วย ศักยภาพของ Blockchain ที่สามารถพัฒนา ต่อยอดธุรกรรมทางการเงินต่างๆ ทีจ่ ะช่วยลด ต้นทุนการให้บริการและเพิ่มความโปร่งใสให้ กับการท�ำธุรกรรม ภัยไซเบอร์จะกลายเป็นปัจจัยเสี่ยงส�ำคัญ ของสถาบันการเงิน (Cyber-security will be one of the top risks facing financial institutions) การรักษาความปลอดภัยโลก ไซเบอร์จะยิง่ เป็นสิง่ ส�ำคัญทีส่ ถาบันการเงินและ หน่วยงานก�ำกับดูแลต้องค�ำนึงถึงในอนาคต ซึง่ ถือเป็นความท้าทายของหน่วยงานเหล่านี้ ในการสร้างสมดุลระหว่างการรักษาความ ปลอดภัย และการอ�ำนวยความสะดวกสบาย ให้แก่ลูกค้า ดังนั้น จากนี้ไปจะเห็นความเปลี่ยนแปลงที่ เกิ ด ขึ้ น กั บ ธุ ร กิ จ ภาคการเงิ น ทั้ ง การปรั บ โครงสร้าง เปลี่ยนหรือพัฒนาเทคโนโลยี และ มีบริการรูปแบบใหม่ออกมา หรือการลงทุนใน FinTech Startup รวมถึงปรากฏการณ์อื่นๆ ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน จะเกิดขึ้นในแวดวง การเงินอย่างเลี่ยงไม่ได้ G G-MagZ IT MAGAZINE

19


Biz&Consult ดร.ภูมิ ภูมิรัตน ที่ปรึกษาอาวุโส กลุ่มธุรกิจ G-Security กลุ่มบริษัทจีเอเบิล

Biometric Authentication Platform การยืนยันตัวตนออนไลน์ด้วย

เทคโนโลยีชีวมิติ

ปัจจุบนั เราใช้บริการในโลกออนไลน์เป็นจำ�นวนมาก ไม่วา่ จะ Google, Facebook, หรือเว็บอื่นๆ ภายในประเทศเราเอง เช่น ธนาคาร หรือความปลอดภัยในการใช้งานของระบบต่างๆ ภายในองค์กร เหล่านี้เป็นเรื่องสำ�คัญที่หลายคน มองข้ามหรือไม่เข้าใจ ความมั่นคงในระบบคอมพิวเตอร์เป็นปัญหาใหญ่ของโลก และคนร้ายเริ่มใช้วิธีต่างๆ (เช่น การแฮก DDoS และอืน่ ๆ) ใ​นการโจมตีมากขึน้ เรือ่ ยๆ ซึง่ องค์กรส่วนใหญ่ ได้เพิม่ มาตรการและวิธกี ารป้องกันตนเอง ในขณะทีผ่ ู้ใช้เองยังไม่เข้าใจและเข้าไม่ถงึ หลายปีทผี่ า่ นมา คนร้ายจึงเริม่ โจมตีทตี่ วั ผู้ใช้โดยตรงมากขึน้ ด้วยวิธตี า่ งๆ อาทิ Social Engineering, Phishing, หรือการขโมย User Credential เช่น Email, Username และ Password

สถิติจากการส�ำรวจของบริษัท TeleSign พบว่าผู้ใช้เน็ต 40% (2 ใน 5 คน) ถูกโจมตี Credential ไม่ว่าจะเป็นการได้รบั การเตือน ว่าข้อมูลถูกขโมยออกไปจากระบบที่ตนเองใช้ บัญชีถูกแฮก หรือ รหัสผ่านถูกขโมยด้วยวิธีต่างๆ เช่น Phishing ปัญหาหลัก คือ ผู้ใช้จ�ำนวนมากใช้รหัสผ่านซ�้ำกันในหลายบริการ (54% ของ ผู้ใช้เน็ต จ�ำรหัสผ่านไว้ใช้ล็อกอินเว็บต่างๆ ไม่เกิน 5 รหัสผ่าน) และรหัสผ่านก็เปลี่ยนไม่บ่อย (จากผลส�ำรวจ 47% ของผู้ใช้มี รหัสผ่านที่ใช้งานมานานเกิน 5 ปีโดยไม่มีการเปลี่ยน) ท�ำให้ คนร้ายมีเวลาที่จะขโมยรหัสผ่านทั้งจากตัวผู้ใช้เอง หรือจากเว็บ อื่นที่มีการปกป้องน้อยกว่า เพื่อเอารหัสผ่านมาใช้เข้าสู่ระบบที่มี มูลค่าสูงกว่า เช่น ระบบธนาคารออนไลน์ วิธแี ก้ปญ ั หาหลักๆ ทีใ่ ช้กนั อยูก่ ค็ อื การใช้ 2-Factor Authentication ผ่าน Token ต่างๆ เช่น RSA Token ที่ใช้วิธีกดปุ่มให้แสดงรหัส 6-8 หลัก เพื่อใช้ในการยืนยันตัวตน หรือใช้ระบบ SMS-OTP (One-Time Password Over SMS ซึ่งเป็นรหัสผ่านที่มีไว้ใช้ครั้ง เดียว) เพื่อรับรหัสผ่านทาง SMS ในการใช้ยืนยันตัวตน วิธกี ารยืนยันตัวตนนัน้ เกิดขึน้ เมือ่ เราต้องการล็อกอินเข้าระบบ ซึง่ เมือ่ ระบบต้องการเช็คว่าเราเป็นคนทีแ่ สดงตัวตนว่าใช่ (ยกตัวอย่าง เราต้องการล็อกอินด้วยชื่อของเรา) ระบบจะต้องเช็คข้อมูลจาก เรา 3 วิธี คือ 20

G-MagZ IT MAGAZINE

1. Something You Know หรือสิ่งที่เรารู้ เช่น Password หรื อ ค� ำ ตอบของค� ำ ถามลั บ บางอย่ า งที่ เ ฉพาะเรากั บ ระบบรู้กันเท่านั้น เรียกว่า Shared Secret 2. Something You Have หรือยืนยันว่าเรามีอุปกรณ์บาง อย่างที่พกพาอยู่ เป็นต้นว่าโทรศัพท์มือถือ หรือ Security Token บางอย่าง 3. Something You Are หรือเอกลักษณ์เฉพาะตัว เป็นการ แสดงคุณสมบัติทางชีวมิติ (Biometrics)

วิธีที่เว็บต่างๆ ใช้ในการยืนยันตัวตนนั้น คือ การใช้ Something You Know หรือ Username/Password เป็นข้อมูลลับที่เราได้ ฝากไว้กับเว็บดังกล่าวไว้ก่อนแล้ว ซึ่งวิธีนี้ติดตั้งง่าย สร้างง่าย ดูแลง่าย แต่มีปัญหาด้านไม่ปลอดภัย เพราะ Password นั้นถูก ขโมยได้ง่าย และจากที่กล่าวไปแล้ว ผู้ใช้ละเลยความปลอดภัย โดยรหัสผ่านเดาง่าย เพราะต้องการให้จ�ำง่าย หรือใช้รหัสผ่านซ�้ำ กันในหลายเว็บ บางเว็ บ ก็ เ ลื อ กที่ จ ะใช้ ส องวิ ธี ใ นการยื น ยั น ตั ว ตน คื อ ใช้ ทั้ ง Something You Know และ Something You Have ผ่านการใช้ Secure Token หรือ SMS OTP ร่วมกันกับ Password รวมเป็น 2 Factor Authentication หรือการยืนยันตัวตนโดยการใช้สองมิติ ขึ้นไป ซึ่งรหัสเหล่านี้ แม้จะไม่มีปัญหาการใช้ซ�้ำกันในหลายเว็บ


Biz&Consult

และแก้ปัญหาการจ�ำยาก แต่ก็ยังสามารถถูกขโมยได้ ง่ายทางช่องทางออนไลน์ (เช่น Phishing) จากปัญหาข้างต้น ท�ำให้บริษทั และองค์กรจ�ำนวนมาก ทัว่ โลกรวมตัวกันก่อตัง้ FIDO Alliance เพือ่ สร้างสรรค์ เทคโนโลยีมาตรฐานใหม่ ที่จะเอามาแก้ปัญหาการ ยืนยันตัวตนออนไลน์อย่างปลอดภัย โดย FIDO (ย่อ มาจาก Fast IDentity Online) เป็นมาตรฐานใหม่ใน การใช้เทคโนโลยี Public Key Cryptography ร่วมกับการใช้ Biometric ในการยืนยันตัวตน เกิดขึ้นเป็น Biometric Authentication Standard ใหม่ ซึ่ ง ได้ เ คยกล่ า วถึ ง มาตรฐานนี้ ใ นบทความก่ อ นหน้ า นี้ แ ล้ ว (FIDO: Future of Online Authentication) โดยบริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด ได้จับมือกับบริษัท ไฮเปอร์คอร์ป ซึ่งตั้งอยู่ ที่นิวยอร์ค และเป็นผู้น�ำด้านเทคโนโลยี Biometric Authentication Platform เพื่อร่วมสร้างโซลูชั่นที่จะผลักดันมาตรฐาน FIDO ใน ประเทศไทย โดยแพลตฟอร์มของไฮเปอร์ รองรับมาตรฐาน FIDO ประกอบไปด้วย HYPR Server ทีจ่ ะท�ำหน้าทีเ่ ก็บและประมวลผลการ ยืนยันตัวตน พร้อมทั้งมีอุปกรณ์ Token ในการยืนยันตัวตน หรือหาก ผู้ใช้มี Mobile Application ก็มี HYPR SDK ซึ่งเป็น Toolkit ที่สามารถ น�ำไปใช้ต่อยอด Application ให้สามารถคุยกับ Server ได้ โดยผู้ใช้ ไม่ต้อง Implement Protocol เอง ซึ่งง่ายและติดตั้งได้เร็ว รูปแบบของโซลูชนั่ ของ Biometric Authentication Platform เป็นแบบ Bring Your Own Biometric ซึง่ แปลว่า ผูน้ ำ� ระบบของไฮเปอร์คอร์ปไปใช้ สามารถใช้ร่วมกับเทคโนโลยี Biometric ที่หลากหลาย สามารถเลือก ซือ้ หรือติดตัง้ ได้เอง ไม่วา่ จะเป็นรูปแบบของเสียง ลายนิว้ มือ หรืออืน่ ๆ

เป้ า หมายของโซลู ชั่ น ที่ น ่ า พั ฒ นามาใช้ Biometric Authentication คื อ การน� ำ ไปใช้ แ ทน Password ในการยืนยันตัวตน เช่น การให้พนักงานหรือลูกค้า ล็อกอินเข้าระบบองค์กร เช่น ระบบ Online Banking หรื อ การท� ำ Payment Authorization นอกจากนี้ ยังสามารถต่อยอดไปท�ำ Physical Access Control ได้ โดยการให้เจ้าหน้าทีห่ รือพนักงานต้องยืนยันตัวตนด้วย Biometric ก่อนเข้าห้อง Datacenter เป็นต้น ปัจจุบันระบบของไฮเปอร์ได้รับการน�ำไปใช้แล้วในธุรกิจการเงินและ สุขภาพ โดยในธุรกิจสุขภาพนั้น มีปัญหาที่ต่างจากระบบของธนาคาร กล่าวคือ ลูกค้า (หรือผูป้ ว่ ย) ไปโรงพยาบาลไม่บอ่ ย การใช้ Password เป็นปัญหามากเพราะการใช้ไม่บ่อยท�ำให้ลูกค้าลืมรหัสผ่าน ต้องเสีย เวลา Call Center ในการ Reset Password ดังนั้นการใช้เทคโนโลยี Biometric ก็สามารถน�ำมาใช้แทน Password ได้โดยไม่ตอ้ งกลัวลูกค้า ลืมอีกต่อไป นอกจากนี้ยังสามารถใช้วิธีการยืนยันตัวตนให้หมอและ พยาบาลใช้ในการเชื่อมต่อเข้าระบบอย่างปลอดภัยมากขึ้น SDK ของไฮเปอร์คอร์ป รองรับการใช้อปุ กรณ์ TEE (Trusted Execution Environment) บนสมาร์ทโฟนเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการจัดการ Cryptographic Key ทีส่ งู ทีส่ ดุ ในปัจจุบนั ในรุน่ ของสมาร์ทโฟนทีร่ องรับ ในระยะยาวจีเอเบิลยังมีแผนต่อยอดธุรกิจร่วมกับไฮเปอร์คอร์ป เพื่อ พัฒนาโซลูชนั่ ให้ครอบคลุมความต้องการมากขึน้ ทัง้ การน�ำไปสู่ Cloud Adoption หรือการพัฒนามาตรฐานการยืนยันตัวตนในประเทศไทย G

G-MagZ IT MAGAZINE

21


Tech&Trend ไกรสร ศิริเมร์ Systems Solution บริษัท เฟิร์ส ลอจิก จำ�กัด

Oracle

SuperCluster M7

Private Cloud ประสิทธิภาพสูง

ต้องยอมรับว่าเทคโนโลยี Cloud ในปัจจุบนั นัน้ ได้รบั การยอมรับอย่างกว้างขวางจากองค์กรต่างๆ ทั่วโลก เนื่องจากข้อดีหลายๆ อย่างที่สามารถตอบโจทย์ความต้องการของตลาดซึ่งปรับเปลี่ยน อย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ทำ�ให้หลายองค์กรหันมาใช้เทคโนโลยี Cloud กันมากขึ้น แต่สำ�หรับธุรกิจ ในเมืองไทยนั้น ต้องยอมรับว่าเทคโนโลยี Public Cloud ยังมีเรื่องข้อจำ�กัดบางประการ อาทิ เรื่องความปลอดภัยของข้อมูล และประสิทธิภาพการทำ�งานเมื่อเปรียบเทียบกับระบบในปัจจุบัน ทำ�ให้หลายองค์กรยังไม่สามารถนำ�เทคโนโลยี Public Cloud มาใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

ดังนั้นเทคโนโลยี Private Cloud จึงดูเป็นทางเลือกที่ ตอบโจทย์ได้มากทีส่ ดุ ณ ตอนนี้ แต่แน่นอนว่าการเลือก ใช้งานเทคโนโลยี Private Cloud นั้นยังพบปัญหาที่ ส�ำคัญในเรื่องของการท�ำงานร่วมกัน (Integration) ระหว่างซอฟต์แวร์กบั ฮาร์ดแวร์ หรือจะเป็นการท�ำงาน ของฮาร์ดแวร์กับฮาร์ดแวร์ ที่จะน�ำมาประกอบเป็น Private Cloud Solution แต่ถึงแม้ว่าจะสามารถท�ำงาน ร่วมกันได้ ก็ไม่สามารถการันตีเรื่องประสิทธิภาพที่จะ ได้จาก Solution นี้ ซึ่งปัญหานี้เองที่มักจะท�ำให้การใช้ งานระบบ Private Cloud นั้นเกิดสะดุดได้ ส�ำหรับ Oracle เป็นหนึ่งในบริษัทที่ให้บริการ Cloud ทั้งในส่วน ของ Oracle Public Cloud และ Solution ส�ำหรับ Private Cloud ภายใต้ชอื่ Oracle Engineered Systems โดยการันตีได้ว่า ทั้ง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์นั้น สามารถท�ำงานร่วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยการใช้เทคโนโลยี และทีมงาน Engineered ของ Oracle ในการพัฒนาและทดสอบการท�ำงานทั้งระบบ Oracle SuperCluster M7 เป็นหนึง่ ผลิตภัณฑ์ในกลุม่ Engineered Systems ซึง่ เป็นเทคโนโลยีลา่ สุดจาก Oracle ทีม่ าพร้อมกับหน่วย

22

G-MagZ IT MAGAZINE

ประมวลผล SPARC M7 Processor โดยได้มกี ารพัฒนาเพิม่ ความ สามารถในเรื่องของ Software in Silicon ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการท�ำงานของ Oracle Database In-Memory ได้อย่างสูงสุด พร้อมด้วยเทคโนโลยีที่รองรับการเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูลได้ อย่างรวดเร็ว และมีการท�ำงานร่วมกับ Oracle Exadata Storage ที่มีซอฟต์แวร์พิเศษเฉพาะผลิตภัณฑ์กลุ่ม Oracle Engineered Systems ทีจ่ ะช่วยให้การประมวลผลของงาน Oracle Database และ Oracle WebLogic รวดเร็วขึ้นหลายเท่าตัว จึงท�ำให้ Oracle SuperCluster M7 นั้นเหมาะอย่างยิ่งส�ำหรับการน�ำไปใช้กับงาน Oracle Database, Oracle WebLogic และ Java Application ต่างๆ


Tech&Trend

SPARC M7 Security Processor The World’s Fastest Microprocessor SPARC M7 นั้นเป็น Microprocessor ที่มาพร้อมกับเทคโนโลยี ด้าน Security เต็มรูปแบบ รวมทั้งยังมีเทคโนโลยี Software in Silicon ที่ ช่ ว ยให้ ส ามารถท� ำ งานร่ ว มกั บ Oracle Database ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพสูงสุด Silicon Secured Memory เทคโนโลยีที่มาพร้อมกับ SAPRC M7 Microprocessor ที่เป็นการ ท�ำงานร่วมกันระหว่าง Oracle Solaris และ SPARC M7 ที่คอย ดักจับภัยคุกคามของการใช้งาน Memory ในระบบที่จ�ำเป็นต้องการ ใช้งาน Memory ร่วมกัน อาทิ Consolidate System หรือ ระบบ Private Cloud SQL in Silicon: In-Memory Query Acceleration In-Memory Query Acceleration นัน้ เป็น Engine ทีช่ ว่ ยให้การใช้งาน Oracle Database 12c In-Memory Database Option นั้นสามารถที่ จะประมวลผลข้อมูลได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

โดยที่ In-Memory Query Acceleration Engine นั้นจะมีชุดค�ำสั่ง ในการแปลงข้อมูลจาก Row Format มาเป็น Column Format ส� ำ หรั บ งาน Database Analytics เป็ น การช่ ว ยลดภาระการ ประมวลผลจาก CPU ท�ำให้สามารถท�ำงานด้านอื่นได้เพิ่มมากขึ้น Oracle Exadata Storage สุดยอด Storage ส�ำหรับงาน Oracle Database โดยเฉพาะ ด้วยการท�ำงาน ร่วมกับ Exadata Storage Software ท�ำให้ Exadata Storage นั้นสามารถ เข้าใจภาษา SQL โดยจะท�ำการ Filter Row และ Column เท่าที่ Database Compute Node ต้องการ ท�ำให้สามารถ ลดภาระของ Database Compute Node ลงได้ ช่วยให้การประมวลผล Oracle Database สามารถท�ำงานได้ รวดเร็วยิง่ ขึน้ รวมถึงยังรองรับการท�ำ Hybrid Columnar Compression ที่สามารถ Compress Data ได้สูงถึง 10 เท่า

เทคโนโลยีที่มาพร้อมกับ Oracle SuperCluster M7 • SPARC M7 Software in Silicon Built-In Hardware Encryption Security • Oracle InfiniBand 40Gb/s • Oracle ZS3 • Oracle Exadata Storage and Oracle Exadata Software • Oracle Exalogic Elastic Cloud Software

G-MagZ IT MAGAZINE

23


Tech&Trend

Oracle Virtualization Layer • Physical Domain (PDOM) • Oracle VM for SPARC (LDOM) • Oracle Solaris Zone (Zone)

ด้วยสถาปัตยกรรมการเชื่อมต่อด้วยเทคโนโลยี InfiniBand 40Gb/s Interconnect ท�ำให้ Oracle SuperCluster M7 นัน้ สามารถรองรับการส่งผ่าน ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และขจัดปัญหา Bottleneck ในเรื่องของ Bandwidth อีกทั้งยังมาพร้อมกับ เทคโนโลยี Virtualization ของ Oracle ทีจ่ ะช่วยให้ สามารถท�ำ System Consolidation ได้ง่ายยิ่งขึ้น แต่การที่จะเป็น Private Cloud Solution ได้นั้น จ�ำเป็นต้องอาศัยเครื่องมือในการบริหารจัดการ ส�ำหรับ Oracle SuperCluster M7 นั้น ได้มา พร้อมกับเครื่องมือที่มีชื่อว่า Oracle Enterprise Manager 13c หรือ EM 13c เรียกได้ว่าเป็น All in One Tool เลยก็ ว่าได้ เนื่องจาก EM 13c นั้นสามารถที่จะท�ำการบริหารจัดการได้ ตั้งแต่ Hardware Level ไปจนถึง Application และ Database Level นอกจากนี้ยังสามารถบริหารจัดการในส่วนของ Cloud ได้ ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบ IaaS หรือ DBaaS ก็ได้

จากทีก่ ล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้วา่ Oracle SuperCluster M7 นัน้ เป็นอีกหนึ่งทางเลือกส�ำหรับ Private Cloud Solution ที่เพียบ พร้อมด้วยฟังก์ชั่นและประสิทธิภาพในการท�ำงาน เหมาะสมกับ องค์กรที่ก�ำลังมองหาเทคโนโลยี Private Cloud เพื่อน�ำเข้ามาใช้ งานภายในองค์กรเป็นอย่างยิ่ง G

24

G-MagZ IT MAGAZINE


Hot Issue

PromptPay

pt m o r P y Pa

ก้าวเปลี่ยนผ่านการโอนเงินรูปแบบใหม่

OK

ไม่ใช้เลขที่บัญชี

โลกดิจิทัลกำ�ลังหมุนไปในทุกอุตสาหกรรม ไม่วา่ จะเป็นยานยนต์ อุตสาหกรรมการผลิต หรือในแวดวงสถาบันการเงิน ทำ�ให้เกิด การพลิ ก โฉมมากมาย ทั้ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น แล้ ว และกำ�ลังจะเกิดขึ้น ซึ่งทุกอย่างจะเข้ามา “เปลี่ยนวิถีชีวิตคุณ” ไปสู่โลกใหม่อย่าง ไม่น่าเชื่อ PromptPay บริการรูปแบบใหม่ของการโอนเงิน และรับโอน เกิดขึน้ ภายใต้แผนงาน โครงการระบบ การช�ำระเงินแบบ Any ID (นานานาม) ในแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบ การช�ำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan) ซึ่งเป็นนโยบายของรัฐ โดยมุ่งหมายลดการใช้เงินสดเนื่องจากมีต้นทุนสูง อันจะเป็นประโยชน์ของประเทศในระยะยาว บริการ PromptPay เป็นอีกการเปลี่ยนแปลงหนึ่ง ที่จะเข้ามาปฏิวัติระบบการโอนเงินให้ง่ายขึ้น และ ไม่ตอ้ งจ่ายค่าธรรมเนียมในกรณีทไี่ ม่เกิน 5,000 บาท เมื่อเร็วๆ นี้ มีการประกาศตัวบริการ PromptPay ซึ่ ง ทุ ก ธนาคารพร้ อ มให้ ล งทะเบี ย นตั้ ง แต่ 15 กรกฎาคม เป็นต้นไป

2

https://www.bot.or.th/Thai/Attachment/PromptPay_Info.pdf

บริ ก ารดั ง กล่ า วใช้ ห ลั ก การผู ก เลขประจ� ำ ตั ว ประชาชน หมายเลขโทรศัพท์มือถือ และบัญชี ธนาคาร เข้าด้วยกัน ดังนั้นผู้โอนเงินและผู้รับโอน ไม่ต้องระบุธนาคาร และเลขที่บัญชีของผู้รับโอน แต่จะใช้เลขจ�ำประจ�ำตัวประชาชน หรือหมายเลข G-MagZ IT MAGAZINE

25


Hot Issue โทรศัพท์มือถือแทน ช่วยให้ประชาชนได้รับความสะดวกในการท�ำ ธุรกรรมโอน และรับโอนเงิน คุณทองอุไร ลิ้มปิติ รองผู้ว่าการด้านเสถียรภาพสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย กล่าวว่า PromptPay ใช้ระบบกลางเชื่อม บั ญ ชี เ งิ น ฝากของทุ ก ธนาคาร กับหมายเลขโทรศั พ ท์มื อ ถื อ และ เลขประจ�ำตัวประชาชน ซึ่งเลขหมายหนึ่งใช้ผูกหรือจับคู่กับ บัญชีเงิน ฝากปลายทางได้เพียงหนึ่งบัญชีเท่านั้น ในการผูกเราใช้เลขประจ�ำตัว ประชาชน หรือเลขหมายมือถืออย่างใดอย่างหนึง่ แต่เลขหมายเดียวกัน จะไม่สามารถใช้ผูกกับบัญชีเงินฝากหลายบัญชีได้ “จะเห็นได้ว่าบริการ PromptPay จะช่วยลดการใช้เงินสด เพิ่มความ รวดเร็ว ถูกต้อง และสามารถตรวจสอบรายการย้อนหลังได้ โดย เป้าหมายสุดท้ายคือ การส่งเสริมให้ประชาชน ปรับเปลี่ยนมาใช้ e-Payment ในการจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น เพื่อลดต้นทุนของระบบการ ช�ำระเงินโดยรวม และเพิม่ ศักยภาพการแข่งขันของประเทศ” ค�ำกล่าว จากรองผู ้ ว ่ า การด้ า นเสถี ย รภาพสถาบั น การเงิ น ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย National e-Payment Master Plan ประกอบด้วยแผนงาน 5 โครงการ

1 2 3 4 5

โครงการระบบการช�ำระเงิน แบบ Any ID (นานานาม)

โครงการขยายการใช้บัตร

โครงการระบบภาษีและเอกสาร ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

โครงการ e-Payment ภาครัฐ

โครงการให้ความรู้และส่งเสริม การใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

*ขับเคลื่อนโครงการ โดยคณะกรรมการขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ National e-Payment

PromptPay โอนง่ายไร้กังวลค่าธรรมเนียม คุณปรีดี ดาวฉาย ประธานสมาคมธนาคารไทย กล่าวว่า ส�ำหรับ หลักฐานในการลงทะเบียน PromptPay ผู้สมัครต้องเป็นเจ้าของบัญชี เงินฝากออมทรัพย์ หรือบัญชีกระแสรายวันที่ไม่ใช่ชื่อร่วม และเป็น เจ้าของเลขหมายโทรศัพท์มอื ถือทีล่ งทะเบียนกับโอเปอร์เรเตอร์ พร้อม กับบัตรประชาชน เพียงเท่านีก้ ส็ ามารถลงทะเบียนได้ทนั ที โดยสามารถ ใช้ช่องทางบริการผ่าน ATM, Internet Banking หรือ Mobile Banking หรือที่สาขาธนาคารเจ้าของบัญชีนั้นๆ 26

G-MagZ IT MAGAZINE

โดยธนาคารพาณิชย์ในไทยทั้ง 15 แห่ง และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 4 แห่ง ได้แก่ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคาร อิสลามแห่งประเทศไทย และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร พร้อมเปิดให้ลงทะเบียนโดยไม่มีก�ำหนดสิ้นสุดการรับลง ทะเบียน “ประชาชนสามารถยกเลิกหรือเปลีย่ นแปลงการผูกบัญชีได้ตลอดเวลา โดยปฏิบัติตามขั้นตอนที่ธนาคารแต่ละแห่งก�ำหนด” คุณปรีดี กล่าว ด้านการคิดค่าธรรมเนียม PromptPay ไม่มีการแยกรายการเป็นแบบ ในเขต ข้ามเขต หรือรายการในธนาคารเดียวกัน หรือต่างธนาคาร แต่จะอ้างอิงวงเงินในการโอนแต่ละครั้งเป็นหลัก บริการ PromptPay จึงนับเป็นบริการรูปแบบใหม่ทมี่ โี ครงสร้างการคิดค่าธรรมเนียมทีแ่ ตกต่าง จากบริการโอนเงินรูปแบบทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั (รายละเอียดค่าธรรมเนียม ในภาพด้านล่าง) ค่าธรรมเนียม PromptPay

วงเงินไม่เกิน 5,000 บาท ต่อรายการ วงเงินมากกว่า 5,000-30,000 บาท วงเงินมากกว่า 30,000-100,000 บาท วงเงินมากกว่า 100,000 บาทขึ้นไป

ฟรีค่าธรรมเนียมทุกรายการ คิดค่าธรรมเนียมไม่เกิน 2 บาท ต่อรายการ คิดค่าธรรมเนียมไม่เกิน 5 บาท ต่อรายการ คิดค่าธรรมเนียมไม่เกิน 10 บาท ต่อรายการ

การให้ บ ริ ก าร PromptPay จะเริ่ ม ให้ บ ริ ก ารรั บ โอนเงิ น ระหว่ า ง ประชาชนได้ในช่วงปลายเดือนตุลาคม 2559 จากนั้นจะขยายไปสู่ บริการธุรกรรมอื่นในเฟสต่อไป ซึ่งเป็นการโอนเงินระหว่างบุคคลกับ นิติบุคคล เช่น ค่าน�้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าบัตรเครดิต เป็นต้น รัฐโอนง่าย-ประชาชนรับทันที บริการ PromptPay ภายใต้แผนงานของโครงการ นานานาม หรือ Any ID อ�ำนวยความสะดวกต่อรัฐและประชาชน เพียงประชาชนลงทะเบียน เพื่อใช้บริการก็จะได้รับความสะดวกเมื่อท�ำธุรกรรมทางการเงินกับ รัฐบาล ไม่วา่ จะเป็นการรับคืนเงินภาษี สวัสดิการจากรัฐด้านเบีย้ ยังชีพ ผูส้ งู อายุ และอืน่ ๆ เช่น เงินชดเชยเกษตรกร เงินช่วยเหลือจากภัยพิบตั ิ เป็นต้น นอกจากนี้ยังอ�ำนวยความสะดวก โดยจะช่วยลดขั้นตอนต่างๆ อย่าง เห็นได้ชดั ตัวอย่าง การรับคืนเงินภาษี รูปแบบในปัจจุบนั เมือ่ เสร็จสิน้ กระบวนการตรวจสอบเอกสารต่างๆ แล้ว ขั้นตอนที่ 1. กรมสรรพากร ท�ำการออกเช็คให้กับนาย ก. 2. น�ำเช็คจัดส่งทางไปรษณีย์ 3.นาย ก. รอรับเช็ค 4. น�ำเช็คเข้าบัญชี 5. รอเคลียริ่ง 6.เงินเข้าบัญชี แต่หาก กรมสรรพากรจ่ายภาษีคนื ผ่าน PromptPay จะช่วยลดกระบวนลงเหลือ เพียง 1-2 ขัน้ ตอนเท่านัน้ เนือ่ งจากเป็นการจ่ายให้กบั นาย ก. โดยตรง โดยไม่ต้องทราบว่า นาย ก. เปิดบัญชีกับธนาคารใด เลขที่บัญชีอะไร เมือ่ เปิดใช้บริการอย่างเป็นทางการ จะช่วยลดต้นทุน เพิม่ ความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพ รวมทัง้ เอือ้ อ�ำนวยต่อนโยบาย Digital Economy และสนับสนุน Digital Government ได้เป็นอย่างดี G


Success story

นายสหัส ภัทรฐิตินันท์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จเร เลิศสุดวิชัย รองผู้อำ�นวยการสำ�นักทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผู้อำ�นวยการสำ�นักทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

พลิกโฉมบริการงานทะเบียน ม.เกษตรศาสตร์ ด้วย

One Stop Student Services (OSS) “อาคารระพี ส าคริ ก ” ที่ ท� ำ การแห่ ง ใหม่ ข องส� ำ นั ก ทะเบี ย นและ ประมวลผล ได้ มี ก ารน� ำ มาซึ่ ง การเปลี่ ย นแปลงครั้ ง ส� ำ คั ญ ใน ประวัติศาสตร์การให้บริการนิสิตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทัง้ ยังเป็นการวางรากฐานงานทะเบียนประวัตนิ สิ ติ ซึง่ เปรียบเสมือน หัวใจส�ำคัญของงานในมหาวิทยาลัยที่สามารถน�ำไปเป็นจุดเริ่มต้น ของการพัฒนาในส่วนต่างๆ ของมหาวิทยาลัยต่อไป โครงการพัฒนาระบบบริการนิสิตแบบเบ็ดเสร็จ หรือ One Stop Student Services (OSS) เป็นการเปลี่ยนภาพลักษณ์และยกระดับ งานบริการนิสติ ให้กบั ส�ำนักทะเบียนและประมวลผล โดยสามารถให้ บริการด้านงานทะเบียนนิสติ ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ OSS ประสานประโยชน์ 3 ด้าน นิสิต-บุคลากร-การบริหารงาน

นายสหัส ภัทรฐิตนิ นั ท์ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวว่า ส�ำนักทะเบียนและประมวลผล ต้องการปรับปรุงงานการให้บริการนิสติ ให้เป็นระบบเดียวกันทัง้ หมด

เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้แก่นสิ ติ ด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง สามารถ ติดตามการด�ำเนินงานได้ และก่อให้เกิดประโยชน์แก่นิสิต นอกจากนี้ยังให้เกิดประโยชน์กับงานด้านบุคลากรและด้านการ บริหารงาน โดยด้านบุคลากร OSS ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงาน ของบุคลากร สามารถตรวจสอบปัญหาต่างๆ ของเอกสารได้ทกุ ขัน้ ตอน รวมถึงติดตามขัน้ ตอนต่างๆ ของเอกสารได้ (Flow) เพือ่ ให้ทราบว่า อยูใ่ นขัน้ ตอนใด และสามารถคาดการณ์เวลาด�ำเนินการแล้วเสร็จได้ ประโยชน์ด้านการบริหารงาน คือสามารถวัดผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรรายบุคคล ติดตามการท�ำงาน ไม่เกิดปัญหางานตกค้าง สูญหาย ท�ำให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ง่ายขึ้น “ยิ่งกว่านั้นในการบริหารงาน เรามีการสรุปยอดเงินที่รับเข้ามาจาก การให้บริการนิสติ ได้ในแต่ละวันทันทีเมือ่ หมดเวลาท�ำการ และระบบ สามารถรายงานข้อมูลด้านการเงินได้ภายในวันเดียวกัน” ผู้อ�ำนวย การส�ำนักทะเบียนและประมวลผล กล่าว G-MagZ IT MAGAZINE

27


Success story โดยสรุป OSS ท�ำให้เกิดประโยชน์กับงานใน 3 ด้าน คือ ด้านนิสิต ด้านบุคลากร และด้านการบริหารงาน รวมถึงการเป็นจุดเริ่มต้นของ การพัฒนาเพื่อใช้ในหน่วยงานอื่นๆ ด้วย จุดประกายฝัน “สารสนเทศทัง ้ ระบบ” ในมหาวิทยาลัย

นอกจากระบบทะเบียนประวัตินิสิตที่ส�ำนักทะเบียนและประมวลผล ได้รับประโยชน์แล้ว ท่านผู้อ�ำนวยการส�ำนักทะเบียนและประมวลผล ยังมองไปไกลกว่านั้น เพราะจุดนี้เป็นจุดเริ่มต้นของการวางรากฐาน การพัฒนาระบบงานในภาพรวมของมหาวิทยาลัย เมื่อมี “ข้อมูล” (Data) ของนิสิตซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญของทุกระบบแล้ว ต่อไปจะท�ำให้ เกิดการน�ำไปใช้ต่อยอดได้ไม่ยาก ซึ่งส�ำนักทะเบียนและประมวลผล เห็ น ว่ า สามารถน� ำ ไปสู ่ แ ผนแม่ บ ทสารสนเทศของมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ต่อไป “เราได้ขอ้ คิดจากการประชุมวางแผนแม่บทสารสนเทศของมหาวิทยาลัย มาเป็ น ตั ว ตั้ ง ต้ น โครงการ OSS และประจวบเหมาะกั บ การย้ า ย สถานที่ท�ำงาน มาเป็นอาคารระพีสาคริก ท�ำให้ส�ำนักทะเบียนและ ประมวลผลต้องการปรับปรุงการให้บริการกับนิสติ ในรูปแบบบูรณาการ โดยเน้นการบริการจุดเดียวแบบเบ็ดเสร็จ” ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักทะเบียน และประมวลผล กล่าว ผูช้ ว่ ยศาตราจารย์ ดร.จเร เลิศสุดวิชยั รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักทะเบียน และประมวลผล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวเสริมว่า ช่วงระยะ เวลา 1 ปีที่ผ่านมา เราใช้ OSS พิสูจน์ให้เห็นความส�ำเร็จตามโจทย์ที่ ตั้งไว้ กระทั่งหน่วยงานอื่นๆ สนใจที่จะน�ำไปใช้ เช่น กองกิจการนิสิต รวมทัง้ ฝ่ายทะเบียนของวิทยาเขตอีกหลายแห่งขอเข้าร่วมใช้งานด้วย หากกล่าวถึงบรรยากาศทีเ่ ปลีย่ นไปซึง่ เห็นได้ชดั คือ ระบบคิว ปัจจุบนั มีลกั ษณะคล้ายกับธนาคาร พลิกโฉมจากบรรยากาศเดิมๆ ทีน่ สิ ติ ต้อง นั่งรอเรียกชื่อท่ามกลางคนจ�ำนวนมาก ในภาวะอากาศที่ร้อนอบอ้าว โดยไม่รู้เลยว่า เมื่อไรจะถึงคิวตน อีกทั้งมีการแซงคิว และนี่เป็น ตัวอย่างที่เห็นบรรยากาศของการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน อีกตัวอย่างหนึง่ การท�ำบัตรนิสติ ลดเวลาลงมาก จากทีต่ อ้ งยืน่ ค�ำร้อง แล้วรออีกหลายวันกว่าจะกลับมารับบัตร เหลือระยะเวลาการท�ำบัตร เพียงไม่กี่นาทีเท่านั้น “OSS พลิกโฉมงานบริการนิสิตได้อย่างที่เราตั้งใจ แต่ยังมีบางส่วน ติดขัด ยังไม่สามารถท�ำให้บริการจบได้อย่างรวดเร็ว เช่น การขอ ทรานสคริปต์ เนื่องจากจะต้องมีการตรวจสอบเนื้อหาวิชาให้ตรงกับ หลักสูตร เพื่อความถูกต้อง และยังต้องมีการลงลายมือชื่อเพื่อรับรอง แต่เราก็ยงั พยายามทีจ่ ะพัฒนาให้ทำ� ได้เร็วขึน้ ” ผศ.ดร.จเร กล่าวพร้อมกับ ย�้ำว่า ทั้งนี้ทั้งนั้น เรายังเรียกใช้ข้อมูลจากระบบเดิมที่ดูแลโดยส�ำนัก บริการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเราได้พัฒนาระบบ OSS เข้าไปเชื่อมต่อ ความท้าทายมาพร้อมตัวเลือก

สิ่งที่ยากที่สุดคือความท้าทาย ที่ ผศ.ดร.จเร ในฐานะผู้รับมอบหมาย จากผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก ทะเบี ย นและประมวลผล ให้ ด� ำ เนิ น การ 28

G-MagZ IT MAGAZINE

“เรือ่ งบุคลากร” คือปัจจัยแรก ถ้าไม่เกิดการยอมรับ ไม่มาจากเป้าหมาย ร่วมกัน แทบจะไม่มีโอกาสประสบความส�ำเร็จ “เราใช้เวลาคุยและวางแผนงานร่วมกันประมาณ 1 ปี มีทั้งน�้ำตา และ เสียงหัวเราะ ซึ่งวันนี้กลายเป็นความภาคภูมิใจของทีม ทุกคนในทีม ร่วมบ่มเพาะโครงการ OSS มาจากแนวคิดเดียวกันที่พร้อมจะเปลี่ยน รูปแบบการท�ำงาน” ผศ.ดร.จเร กล่าว หลังจากทีมพร้อม เป้าหมายพร้อม ออกไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับ ระบบของมหาวิทยาลัยหลายแห่ง และแล้วก็มาถึงจุดที่จะต้องเลือก ผศ.ดร.จเร กล่าวว่า มีเพียงสองทางเลือกเท่านั้น ทางแรกคือ ใช้ ซอฟต์แวร์สำ� เร็จรูป ทางทีส่ องคือ ใช้ Customized Software ด้วยการ ว่าจ้างบริษทั ผูว้ างระบบมาท�ำการพัฒนา แต่ดว้ ยรูปแบบในการท�ำงาน ทีต่ อ้ งการ ไม่มคี วามสอดคล้องกับซอฟต์แวร์สำ� เร็จรูปกว่า 50% ซึง่ จะ ต้องมีการ Customize ฟังก์ชั่นต่างๆ เพิ่มขึ้น เราจึงตัดสินใจเลือก Customized Software เพราะเป็นทางเลือกทีเ่ หมาะสมและตอบโจทย์ กับความต้องการและระบบของมหาวิทยาลัยมากกว่า จากนั้นส�ำนัก ทะเบียนและประมวลผล ได้สรรหา และเปรียบเทียบบริษัทผู้พัฒนา ซึ่งในที่สุดเลือก Optimus Soft ในเครือ G-ABLE “บริการ” ข้อได้เปรียบสู่การตัดสินใจเลือก Optimus Soft

ตัวอย่างความส�ำเร็จของ G-ABLE และ Optimus Soft ที่พัฒนาระบบ ให้กบั มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ เป็นเพียงส่วนหนึง่ แต่ไม่ใช่ทงั้ หมด เหตุผลหลักคือ “บริการ” ผู้อ�ำนวยการส�ำนักทะเบียนและประมวลผล กล่าวว่า บริการเป็นเรื่องที่ส�ำคัญมาก Optimus Soft ได้เปรียบเรื่อง การซัพพอร์ตด้านเทคนิคที่ช่วยเราปรับระบบให้ได้ตามที่ต้องการ ขณะที่ ผศ.ดร.จเร เสริมความประทับใจ และกล่าวถึงจุดแข็งว่า ตอน ที่ Optimus Soft เข้ามาเก็บ Requirement ก่อนพัฒนาระบบ มี ผู้เชี่ยวชาญด้าน Business Analytics ที่เข้าใจ Process ของงาน ทัง้ หมด มีการแนะน�ำให้คำ� ปรึกษาการออกแบบระบบ ท�ำให้การพัฒนา ระบบเป็นไปอย่างถูกต้อง ตรงกับโจทย์ที่ต้องการ ซึ่งต้องยอมรับว่า ทีมเทคนิคของ Optimus Soft มีประสบการณ์ และพร้อมทีจ่ ะซัพพอร์ต ทุกด้าน “อีกประการหนึ่งของความได้เปรียบคือ การใช้ SOA หรือ Service Bus ที่รองรับการท�ำงานในระบบใหญ่ได้ เนื่องจากมหาวิทยาลัยฯ มีนิสิตจ�ำนวนมาก” ผศ.ดร.จเร กล่าว 1 ปีทใี่ ช้ระบบ OSS พบว่า พลิกโฉมบริการงานทะเบียนและประมวลผล จากการพัฒนาระบบงานไปแล้ว 34 ค�ำร้อง เช่น ลงทะเบียนเรียน, ขอท�ำบัตรนิสิต, ขอทรานสคริปต์ ฯลฯ และจะท�ำการพัฒนาเพิ่มอีก 5 ค�ำร้องให้สมบูรณ์ภายในปี 2560 โดยเป้าหมายใหญ่ของ ส�ำนักทะเบียนและประมวลผล ต่อการ พัฒนาระบบ OSS คิดจากจุดเริม่ ต้นทีต่ อ้ งการให้เกิดการพัฒนา ระบบสารสนเทศในภาพใหญ่ของมหาวิทยาลัยฯ ต่อไป


Success story เปิดใจทีมบ่มเพาะ OSS ส่งต่อการใช้งาน

1. นางสาววิภา กองเป็ง 2. นางสาวธนพร มีโพธิ์ 3. นายรุ่งโรจน์ บุสสา 4. นางสาววิรงรอง พัวประเสริฐ 5. นางสาวพรรณศมน คำ�สวน

5

4

3

2

1

หลังจากผ่านร้อนผ่านหนาว คลุกคลีอยู่กับการร่วมกันคิดและวางแผนกระบวนการต่างๆ ของระบบ OSS มาโดยตลอด มีความภูมิ ใจ และบอกเป็นเสียงเดียวกันว่า “คุณภาพบริการดีขึ้น” นางสาววิภา กองเป็ง

ในช่วง 1 ปีของการใช้งาน OSS ยังมีบางส่วนที่จะต้องปรับแก้ เพื่อให้ใช้งานได้ตามกระบวนงานของเรา มีการลดและเพิ่ม ฟังก์ชั่น หากมีอุปสรรคใดก็มีปรับปรุงกระบวนงานหรือต่อยอด เพื่อให้ระบบรองรับการท�ำงานให้ได้มากที่สุด แต่อย่างไรเพื่อให้ เจ้าหน้าที่เข้าใจการท�ำงานในระบบให้ดียิ่งขึ้น เรามีการจัด กิจกรรมอบรมเพิ่มความรู้ให้เจ้าหน้าที่ทุกๆ คน

นางสาวธนพร มีโพธิ์

ระบบ OSS มี ค วามทั น สมั ย สอดคล้ อ งกั บ คนรุ ่ น ใหม่ ที่ ใ ช้ เทคโนโลยีแทบทุกอย่างในชีวิตประจ�ำวัน เช่น เมื่อก่อนเด็กยัง ใช้กระดาษในการจดสิ่งต่างๆ แต่วันนี้เด็กมักใช้มือถือในการ บันทึกทุกอย่าง ซึง่ ระบบ OSS ท�ำให้การท�ำงานรวดเร็วขึน้ ระบบ ทีใ่ ช้งานมีความทันสมัย เป็นหน้าเป็นตาให้กบั ส�ำนักทะเบียนและ ประมวลผล

นายรุ่งโรจน์ บุสสา

อยากเห็ น ระบบ OSS ให้ บ ริ ก ารต่ อ นิ สิ ต ที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น กว่ า เดิ ม ในอนาคตอาจจะมีการแปลงโฉมใหม่ท�ำให้ดียิ่งขึ้น เช่น หน้าจอ ระบบมีความสวยงาม มีระบบที่ให้นิสิตใช้บริการได้มากขึ้น เช่น บริการผ่านมือถือ เป็นต้น

นางสาววิรงรอง พัวประเสริฐ

เมื่อเปลี่ยนระบบเป็น OSS ท�ำให้บริการดีขึ้น นิสิตได้รับบริการ รวดเร็ว มีล�ำดับคิวที่ชัดเจน และเกิดความสะดวกสบายกับการ มาใช้บริการ โดยเรามีข้อก�ำหนดให้นิสิตแต่งกายเรียบร้อยเมื่อ มาใช้บริการ แตกต่างจากระบบเดิมทีน่ สิ ติ ต้องรอนาน ไม่มลี ำ� ดับ คิวทีช่ ดั เจน ซึง่ เป็นปัญหาทีท่ ำ� ให้ถกู มองว่าแซงคิวโดยไม่ได้ตงั้ ใจ โดยเจ้าหน้าที่เองก็ให้บริการได้ดีขึ้น ท�ำงานได้ง่ายขึ้น มีระบบ ติดตาม สืบค้น มีข้อมูลที่จะตอบค�ำถามของนิสิต

นางสาวพรรณศมน ค�ำสวน

ด้วยความที่เจ้าหน้าที่แต่ละคนอาจจะมีมุมมองที่แตกต่างกัน บางคนไม่ชอบเทคโนโลยี จึงเกิดกระแสต่อต้านไม่อยากเปลี่ยน ระบบการท�ำงาน แต่เราก็ผ่านไปได้ เกิดการยอมรับมากขึ้น จากกิ จ กรรมที่ เ ราจั ด ขึ้ น เป็ น การจั ด อบรมให้ เ ข้ า ใจ OSS ว่าท�ำงานอย่างไร ใช้งานอย่างไร เพือ่ ให้เห็นประโยชน์ โดยมีการ จ�ำลองการท�ำงาน สร้างบรรยากาศความสนุกสนาน เพือ่ ให้เข้าใจ ง่ายขึ้น ให้ทุกคนเรียนรู้ระบบงานทั้งของตนเองและของผู้อื่น

G-MagZ IT MAGAZINE

29


Inno&Product รางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี 2010 เป็น ผลงานความส�ำเร็จของ 2 นักวิจัยที่พิสูจน์ ได้ถึงความเป็นที่สุดด้านการน�ำไฟฟ้าและ ความแข็งของ “กราฟีน” จากนั้นมาวัสดุดังกล่าวเป็นที่ สนใจของเหล่าบรรดานักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก ที่จะน�ำ คุณสมบัติของกราฟีนไปพัฒนานวัตกรรมต่างๆ ออกมา เช่นกันกับนักวิจยั ศูนย์นวัตกรรมการพิมพ์อเิ ล็กทรอนิกส์ และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์ (Thai Organic & Printed Electronics Innovation Center : TOPIC) ส�ำนักพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นทีมที่สนใจใช้ความโดด เด่นของกราฟีนไปคิดค้นนวัตกรรม ชาคริต ศรีประจวบวงษ์ หนึ่งในนักวิจัยศูนย์นวัตกรรม การพิมพ์อเิ ล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อนิ ทรีย์ บอกว่า “เราต้องการคิดค้นวัสดุน�ำไฟฟ้าแบบใหม่ด้วยกราฟีน ซึ่งในที่สุดทีมก็ได้พัฒนาสวิตซ์ไฟฟ้าแบบสัมผัสออกมา โดยใช้กราฟีนผลิตเป็นหมึกที่สามารถพิมพ์ลงบนวัสดุ เช่น แผ่นพลาสติก กระดาษ ฯลฯ จากนัน้ น�ำวัสดุดงั กล่าว ที่พิมพ์แผงวงจรไฟฟ้าด้วยหมึกที่ผลิตจากกราฟีน น�ำไป ท�ำเป็นสวิตซ์ไฟ

“สวิตซ์ไฟฟ้า แบบสัมผัส”

คุณสมบัติเด่นโปร่งแสง-พั บงอ นวัตกรรมจากกราฟีน นวัตกรรมตอบโจทย์ความทันสมัย “สวิตซ์ ไฟฟ้า แบบสัมผัส” แผ่นบางใส ติดที่ใดไม่ตอ้ งเจาะผนัง ผลิต จากหมึกน�ำไฟฟ้ากราฟีน พิมพ์เป็นแผงวงจรไฟฟ้า สื่อน�ำไฟฟ้าชั้นเยี่ยม

30

G-MagZ IT MAGAZINE

“จุดเด่นของสวิตซ์ไฟฟ้าแบบสัมผัส คือ สามารถน�ำไฟฟ้า ได้ดีกว่าสวิตซ์สัมผัสแบบเดิมที่เป็นโพลิเมอร์ถึง 10 เท่า รวมทั้งยังโปร่งแสง สวิตซ์น�ำไฟฟ้าแบบสัมผัสที่ผลิต จากกราฟีน เหมาะกับการตกแต่งภายใน หรือ Interior เพิ่มความสวยงาม ทันสมัยให้กับที่อยู่อาศัย ซึ่งไม่ต้อง เจาะผนังให้ยุ่งยาก”

สองนักวิจัยที่ ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี 2010 คือ ดร.อังเดร ไกม์ (Dr.Andre Geim) และดร.คอนสแตนติน โนโวเซลอฟ (Dr.Konstantin Novoselov) จากมหาวิทยา ลัยแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ โดยพิสูจน์ ได้ว่า “วัสดุที่หนาเพียงอะตอมเดียวซึ่งบาง ที่สุดในโลกมีอยู่จริง” นั่นคือ กราฟีน โดยมี คุณลักษณะพิเศษ ด้านการน�ำไฟฟ้าที่ดีที่สุด และแข็งทีส่ ดุ ซึง่ แข็งยิง่ กว่าเพชรและเหล็กกล้า


Inno&Product หลักการท�ำงาน “สวิตซ์ไฟฟ้าแบบสัมผัส” นักวิจัย เปิดเผยว่า ทีมวิจัยได้ใช้หมึกน�ำไฟฟ้ากราฟีนพิมพ์แผงวงจร ไฟฟ้าลงบนแผ่นพลาสติก 2 แผ่น จากนั้นน�ำแผ่นพลาสติกทั้งสองมา วางประกบโดยเว้นช่องว่างไว้เล็กน้อย หลักการท�ำงานเมือ่ แตะให้แผ่น วงจรทัง้ สองสัมผัสกัน จะเกิดไฟฟ้าครบวงจร ซึง่ จะส่งค�ำสัง่ นัน้ ไปยังชุด Controller เพื่อสั่งการให้ไฟเปิด และในทางกลับกัน หากแตะอีกครัง้ แผ่นวงจรจะห่างจากกัน ซึง่ แผ่นวงจรก็สง่ ค�ำสัง่ ไปยัง Controller เพื่อให้ ปิดไฟ หากน�ำสวิตซ์ไฟฟ้าไปติดในบ้านหรือห้องใด จึงไม่จ�ำเป็นต้อง เจาะผนัง ดังภาพประกอบด้านหน้า แผ่นพลาสติกที่พิมพ์วงจรไฟฟ้าด้วยหมึก น�ำไฟฟ้ากราฟีน จ�ำนวน 2 แผ่น ติดอยู่บนแท่งอะคริลิค เป็นสวิตซ์ ไฟฟ้าแบบสัมผัสพร้อมใช้งาน มีความโปร่งแสง น�ำไฟฟ้าได้ดี “หมึกน�ำไฟฟ้ากราฟีน” ผลงานอันดับต้นๆ ของโลก ผลงานวิจัยพัฒนาจากกราฟีน ส่วนใหญ่ผลิตออกมาเป็นผง แต่ความ โดดเด่นของ “หมึกน�ำไฟฟ้ากราฟีน” ฝีมอื นักวิจยั ชาวไทย ซึง่ เป็นทีมแรกๆ ของโลกที่พัฒนากราฟีนให้อยู่ในรูปของเหลวที่พร้อมใช้งานหมึกน�ำ ไฟฟ้าสามารถใช้พิมพ์ในแบบ Inkjet, Screen Print และ Roll to Roll โดยวิธีการเตรียมกราฟีนของทีมวิจัยคือ น�ำไส้ดินสอหรือคาร์บอน ซึง่ เรียกว่ากราไฟท์ ลอกด้วยกระบวนการทางไฟฟ้า เพือ่ ให้ได้กราฟีน

คุณสมบัติ

• น�ำไฟฟ้าได้ดีกว่าวัสดุน�ำไฟฟ้าที่ ใช้ ในแผ่นพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ทั่วไป 5-7 เท่า • ค่าความโปร่งแสงมากกว่า 90% และค่าความหนืดที่ 10-12 mPa.s ใน pH 2-3 • มีค่าความต้านทานพื้นผิว (SER) 90-120 โอห์มต่อตารางนิ้ว • สามารถพิ ม พ์ ล งบนแผ่ น วั ส ดุ ต ่ า งๆ เช่ น พลาสติ ก หรื อ กระดาษด้วยระบบ Inkjet หรือระบบอื่นๆ เช่น Roll to Roll, Screen Print • สามารถปรับค่าความหนืดและค่าการน�ำไฟฟ้าได้ตามต้องการ ที่มา : http://www.tcdc.or.th/

คุณสมบัติ “กราฟีน” หวังต่อยอด นาโนอิเล็กทรอนิกส์

ด้ ว ยความโดดเด่ น ของวั ส ดุ ก ราฟี น ท� ำ ให้ นั ก ศึ ก ษา ปริ ญ ญาโท-เอก ภาควิ ช าฟิ สิ ก ส์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล รวมตัวกันเพื่อศึกษาและวิจัยกราฟีน อย่างจริงจัง โดยเน้นศึกษาสมบัติทางไฟฟ้าของกราฟีน ในเชิงทฤษฎี เพื่อค้นหาสมบัติและท�ำนายพฤติกรรมการ ท�ำงานของกราฟีนในด้านต่างๆ ซึ่งจะเป็นองค์ความรู้ พื้นฐานให้นักวิทยาศาสตร์น�ำไปประยุกต์ ใช้พัฒนาแผ่น กราฟีนส�ำหรับสร้างอุปกรณ์นาโนอิเล็กทรอนิกส์ ในอนาคต ข้อมูลจาก http://www.nstda.or.th/

ซึ่งเป็นวิธีที่ราคาถูก และง่าย สามารถเตรียมกราฟีนเพื่อจัดท�ำเป็น หมึกน�ำไฟฟ้าได้ทันที “ถ้าเปรียบเทียบ กราไฟท์ คือ คอนโนมิเนียม ซึ่งมีหลายชั้น กราฟีน เปรียบเป็นหนึ่งชั้นของคอนโดนั้น หลักการคือ การคิดวิธีที่จะน�ำหนึ่ง ชั้นของคอนโดออกมาให้ได้ เมื่อน�ำหนึ่งชั้นออกมาได้ สิ่งที่เกิดขึ้นคือ กระแสไฟฟ้าทีผ่ า่ นเพียงหนึง่ ชัน้ แทนทีจ่ ะผ่านหลายๆ ชัน้ ก็ทำ� ให้เกิด การน�ำไฟฟ้าทีด่ ขี นึ้ ” ชาคริต กล่าว พร้อมกับขยายความต่อไปว่า ตอน ที่เป็นกราไฟท์ จะมีคุณลักษณะที่ทึบแสงแต่เมื่อเหลือชั้นเดียวเป็น กราฟีน มีคณ ุ ลักษณะเด่นซึง่ โปร่งแสง นอกจากนีก้ ราไฟท์ ยังมีลกั ษณะ แข็งและเปราะ ในขณะที่กราฟีนมีความยืดหยุ่น สามารถพับงอได้ วัสดุท่จ ี ะเปลี่ยนเทคโนโลยีแห่งอนาคต ด้วยคุณสมบัติของกราฟีน ท�ำให้น�ำไปพัฒนาเทคโนโลยีด้านอื่นๆ ได้อกี มากมาย เช่น สวิตซ์ของอุปกรณ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าต่างๆ อาทิ แอร์, รีโมท, โคมไฟ ฯลฯ อีกทั้งยังเหมาะส�ำหรับเป็นวัสดุโปร่งแสงน�ำไฟฟ้า ในการผลิตของเล่นและเกมส์ รวมทั้งแผ่นพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น จอทัชสกรีน จอ LED เรืองแสง และแผงวงจรขนาดบางทีต่ อ้ งการ ความยืดหยุน่ หรือโค้งงอได้ หรือแม้แต่เซนเซอร์ ตลอดจนอุปกรณ์ทาง การแพทย์บางชนิด ว่ากันว่า กราฟีนจะเป็นวัสดุทสี่ ร้างเทคโนโลยีแห่ง อนาคตเลยทีเดียว ชาคริต นักวิจัย กล่าวเสริมว่า ขณะนี้อยู่ระหว่างการศึกษาวิจัย เรื่อง การน�ำหมึกน�ำไฟฟ้ากราฟีนไปใช้กับ RFID ปัจจุบันท�ำการทดลอง ใช้งานโดยใช้หมึกพิมพ์เป็น RFID Tag ซึ่งสามารถใช้งานได้ในระยะ 2 เมตรจึงยังไม่ดีเท่าที่ควร สิ่งที่จะท�ำการวิจัยต่อเนื่องคือ ท�ำอย่างไร ให้ออกแบบเสาอากาศของ RFID ที่จัดพิมพ์นั้นมีคุณสมบัติดีขึ้น โดยจุดเด่นของหมึกน�ำไฟฟ้ากราฟีนทีจ่ ดั ท�ำเป็น RFID Tag นัน้ เหมาะ กับสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความสวยงาม โดยไม่ต้องการให้มี แถบบดบังตราสินค้า ด้วยคุณลักษณะโปร่งใส ท�ำให้ตอบโจทย์เรื่อง ความสวยงามได้เป็นอย่างดี G G-MagZ IT MAGAZINE

31


Guru Talk อ.เด่นเดช สวรรคทัต ผู้เชี่ยวชาญด้านไอทีชั้นสูง และที่ปรึกษา สมาคมอีเลิร์นนิงแห่งประเทศไทย

Data Science ก้าวที่ล�ำ้ หน้ากว่า Big Data

จากบทความครั้งที่แล้วได้กล่าวถึง Data Science ทั้งด้านที่มา ความส�ำคัญ และประโยชน์ เพื่อให้ ผู ้ อ ่ า นได้ เ ห็ น แนวทางและเกิ ด ความเข้ า ใจใน เบื้องต้น ส�ำหรับฉบับนี้ จะได้น�ำเสนอเนื้อหาที่ ต่อเนื่องจากฉบับที่ผ่านมา ซึ่งจะกล่าวถึง ขั้นตอน การท�ำเหมืองข้อมูล และกระบวนวิธีในการท�ำ เหมืองข้อมูล ตลอดจนองค์ประกอบอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กั บ วิ ท ยาศาสตร์ ข ้ อ มู ล (Data Science) เช่ น สถิตศิ าสตร์, Machine Learning ทีว่ า่ ด้วยการสร้าง แบบจ�ำลองส�ำหรับการท�ำนาย (Predictive Model) จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่รับมา โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ขั้นตอนต่อไปด�ำเนินไปในทิศทางที่ไม่ถูกต้อง ซึ่ง นอกจากจะไม่ได้ค�ำตอบที่ต้องการแล้ว ยังสูญเสีย เวลา และทรัพยากรไปโดยไร้ประโยชน์ด้วย

ขั้นตอนการท�ำเหมืองข้อมูล ส�ำหรับขั้นตอนในการท�ำเหมืองข้อมูล หรือการท�ำ Data Mining มีองค์ประกอบ ต่อไปนี้

3. การเตรียมข้อมูล (Data Preparation) โดย ปกติระบบประมวลผลข้อมูล น�ำเข้าข้อมูล จะอยูใ่ น รูปแบบที่จ�ำกัด (Fixed Known Format) แต่ใน ความเป็ น จริ ง ข้ อ มู ล ส่ ว นใหญ่ ไม่ ไ ด้ จั ด เก็ บ ใน ลัก ษณะดังกล่าวจึงต้องการกระบวนการแปลง ข้อมูล (Data Transformation) หรือเปลี่ยนชนิด ข้อมูล (Data Conversion) เพื่อให้ข้อมูลอยู่ใน ลักษณะหรือรูปแบบทีง่ า่ ยต่อการน�ำไปประมวลผล หรือวิเคราะห์ต่อไป

1. การท�ำความเข้าใจเกีย่ วกับธุรกิจ (Business Understanding) เป็ น ขั้ น ตอนแรกที่ ส� ำ คั ญ มาก เพราะต้องท�ำความเข้าใจว่าปัญหาคืออะไร ต้องการค�ำตอบของปัญหาในทิศทางหรือลักษณะ ใด หากไม่เข้าใจปัญหาอย่างถ่องแท้ก็จะท�ำให้ 32

G-MagZ IT MAGAZINE

(ตอนจบ)

2. การท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูล (Data Understanding) เป็นการท�ำความเข้าใจว่า ข้อมูล ที่จะน�ำมาใช้ควรมีลักษณะอย่างไร แหล่งข้อมูลอยู่ ที่ใด และที่ส�ำ คัญ ที่สุดคือค่าใช้จ่ายหรือต้นทุน (Costs of Data) ที่จะได้มาซึ่งข้อมูลเหล่านั้นมีค่า ใช้จ่ายเท่าไร รวมทั้งควรต้องประเมินมูลค่าของ ประโยชน์ที่จะได้รับ จากการน�ำเอาข้อมูลดังกล่าว มาใช้


Guru Talk 4. การสร้างแบบจ�ำลอง (Modeling) คือ การสร้างรูปแบบความสัมพันธ์ (Relational Pattern) อาจจะอยู่ในรูปของแบบจ�ำลองบน ซอฟต์แวร์ (Computer Model) หรือสมการ ความสัมพันธ์ (Equation) ก็ได้

ขั้นตอนการท�ำงานเหมืองข้อมูล

5. การประเมินผล (Evaluation) หลังจากที่ ได้แบบจ�ำลองแล้ว ก็ต้องท�ำการประเมินผล ว่าแบบจ�ำลองนั้นมีความถูกต้องแม่นย�ำมาก น้อยเพียงใด โดยอาจทดลองในระบบเสมือน (Simulation) หรือน�ำไปประมวลผลกับข้อมูล จริ ง ที่ มี อ ยู ่ เ พื่ อ เปรี ย บเที ย บผล ของการ วิเคราะห์ว่าถูกต้องเป็นร้อยละเท่าใด 6. การน�ำไปใช้งาน (Deployment) หลังจาก ทีไ่ ด้แบบจ�ำลองทีม่ คี ณ ุ ภาพ และความถูกต้อง แม่นย�ำ ตามที่เราต้องการก็สามารถน�ำไปใช้ งานจริง โดยอาจต้องมีการปรับแต่งเพือ่ ความ เหมาะสมในสภาวะจริง อีกทั้งยังต้องติดตั้ง ร่วมกับระบบอืน่ ๆ เช่น ระบบช่วยการตัดสินใจ (Decision Support System) อย่างไรก็ตาม หลังจากการติดตั้งแล้ว ควรมีการปรับปรุง แบบจ�ำลองเป็นระยะๆ (Periodic Update) เพราะแท้จริงแล้วการท�ำเหมืองข้อมูลไม่มีที่ สิ้นสุด กระบวนวิธีในการท�ำเหมือง ข้อมูล 1. Classification คื อ เป็ น การท� ำ นาย (Prediction) ว่าข้อมูลแต่ละตัว (Individual) ในประชากร (Population) ควรจั ด ให้ อ ยู ่ (Classify) ในกลุม่ ใดบ้าง โดยแต่ละกลุม่ มีการ ก�ำหนดชื่อไว้ล่วงหน้า (Pre-Defined) อาทิ หากมีข้อมูลของดอกกุหลาบ เช่น สี ขนาด กลีบดอก จ�ำนวนกลีบ เราก็สามารถน�ำทาย ได้ว่ากุหลาบนั้นน่าจะเป็นสายพันธุ์ใด 2. Regression หมายถึ ง การประมาณ (Value Estimation) ว่าข้อมูลแต่ละตัวควรมี ค่าเชิงตัวเลข (Numerical Value) เป็นเท่าใด เช่น จากยอดขายของร้านค้าแห่งหนึ่ง ใน ระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา มีอัตราการเติบโต อยู่ที่ 15 % ต่อปี ดังนั้นเราอาจท�ำนายการ

ที่มา: Cross Industry Standard Process for Data Mining (CRISP-DM; Shearer,2000)

เติบโตของยอดขายในปีถัดไปว่าน่าจะเป็น 15% ด้วย

ทัง้ สิน้ เช่น การจ�ำแนกกลุม่ ลูกค้า (Customer Segmentation) จากฐานลูกค้าที่มีอยู่

3. Similarity Matching หมายถึง การหา อัตลักษณ์ที่เหมือนกัน (Similar Identifying) บนพื้นฐานมิติต่างๆ ระหว่างข้อมูลแต่ละตัว ในประชากรทั้งหมด เช่น Amazon/Lazada เมื่อ ลูกค้ าสั่งซื้อสินค้า A ระบบจะแนะน�ำ สินค้า B ให้ด้วย เพราะลูกค้าคนอื่นส่วนใหญ่ ที่ ซื้ อ สิ น ค้ า A จะนิ ย มซื้ อ สิ น ค้ า B ด้ ว ย ซึ่ ง นิ ย มเรี ย กว่ า ระบบการแนะน� ำ สิ น ค้ า (Recommendation System)

5. Co-Occurrence Grouping (Association Rule Discovery / Market-Basket Analysis) การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างสินค้าตั้งแต่ สองชนิ ด ขึ้ น ไปจากบั น ทึ ก การซื้ อ ขาย (Transaction Records) คือสินค้าใดบ้างที่ ลู ก ค้ า นิ ย มซื้ อ พร้ อ มกั น และท� ำ ไมถึ ง เป็ น อย่างนั้น เช่น ร้านค้าพบว่าสินค้า A และ B นิยมซื้อพร้อมกัน ก็ท�ำการส่งเสริมการขาย โดยการลดสิ น ค้ า A หรื อ B อย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใด หรื อ ทั้ ง สองอย่ า งพร้ อ มกั น เพื่ อ กระตุ้นยอดขาย ข้อแตกต่างกับ Similarity Matching คือจะเป็นระบบ e-Commerce ที่มีข้อมูลลูกค้าและประวัติการสั่งซื้อ ส่วน Co-Occurrence มักใช้ในธุรกิจค้าปลีกที่การ เก็บประวัติการซื้อสินค้าที่เป็นไปได้ยาก

4. Clustering การค้นหาการเกาะกลุ่ม หรือ กระจุ ก ตั ว ของข้ อ มู ล ซึ่ ง จะแตกต่ า งจาก Classification ในลักษณะที่ Clustering ไม่มี การก�ำหนดจ�ำนวนของกลุ่มล่วงหน้า จ�ำนวน กลุม่ ทีไ่ ด้เป็นผลลัพธ์ทไี่ ด้จากการประมวลผล

G-MagZ IT MAGAZINE

33


Guru Talk 6. Profiling (Anomaly Detection) เป็นการ วิเคราะห์คุณลักษณะ (Characteristics) ที่ เกีย่ วข้องกับพฤติกรรม (Behavior) ในการท�ำ กิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง อาทิ ระบบตรวจ จับการใช้บตั รเครดิตปลอม (Fraud Detection) เช่น หากเกิดการใช้จา่ ยบัตรเครดิตในสถานที่ ที่ห่างไกลจากพื้นที่ที่มีการใช้จ่ายเป็นประจ�ำ (Frequent Location) หรื อ การซื้ อ สิ น ค้ า บางชนิ ด ที่ มี ร าคาสู ง ผิ ด ปกติ จ ากธรรมดา เจ้าหน้าที่ก็จะโทรศัพท์สอบถามไปที่เจ้าของ บัตรเพือ่ สอบถามเกีย่ วกับการซือ้ สินค้านัน้ ว่า เกิดขึ้นจริงหรือไม่ 7. Link Prediction คือ การท�ำนายความ สัมพันธ์เชื่อมโยง (Link) ระหว่างข้อมูลแต่ละ ตัว ว่าควรมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ และ ความแข็งแรง (Strength) ของความสัมพันธ์ ควรเป็นเท่าไร เช่น Facebook มีการแนะน�ำ คนที่เราน่าจะรู้จัก (May Know) เมื่อมีเพื่อน คนเดียวกันหลายคน ให้เราสามารถขอเป็น เพื่อนด้วย 8. Data Reduction เป็นการลดขนาดของ ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มาก (Large Data) ให้มี ขนาดเล็กลง (Smaller Set) แต่ยังคงสาระ ส�ำคัญของข้อมูลขนาดใหญ่ไว้มากที่สุด เช่น การก�ำจัดข้อมูลทีไ่ ม่ครบถ้วน สูญหายออกไป จากฐานข้อมูลก่อนน�ำไปประมวลผล นอกจากนี้ยังมีองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กับวิทยาศาสตร์ขอ้ มูล (Data Science) จึงขอ น�ำเสนอเสริมเพิ่มเติมมา ณ โอกาส นี้ สถิติศาสตร์ (Statistics) ถือเป็นศาสตร์ที่มีความส�ำคัญอีกแขนงหนึ่ง เพราะทฤษฎีและระเบียบวิธีหลายอย่างของ Data Science มาจากการพัฒนาและดัดแปลง จากสถิติศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ เช่น การหา ค่าผลรวม (Summation) ค่าเฉลี่ย (Average) ค่าเบี่ยงเบน (Standard Deviation) การ กระจายตัวของข้อมูล (Data Distribution) ศูนย์กลางข้อมูล (Data Centrality) เป็นต้น 34

G-MagZ IT MAGAZINE

ล้วนแล้วแต่เป็นกิจกรรมที่ต้องท�ำใน Data Science เกือบทุกกรณี การใช้งานฐานข้อมูล (Database Querying) การใช้งานฐานข้อมูลเพื่อช่วยการวิเคราะห์ เป็นเครือ่ งมือส�ำคัญในงานด้าน Data Science เพราะมีรปู แบบภาษาและไวยากรณ์ (Language Syntax/Semantic) เป็นที่คุ้นเคย แต่จะมี ประโยชน์ก็ต่อเมื่อผู้ใช้มีความเข้าใจในข้อมูล เหล่านั้นเป็นอย่างดี และรู้ว่าต้องการค�ำตอบ ในลักษณะใด แต่คงไม่เหมาะกับข้อมูลมหาศาล ที่โครงสร้าง หรือรูปแบบไม่เป็นที่แน่ชัด การท�ำคลังข้อมูล (Data Warehousing) กระบวนการรวบรวม (Collect) และเชือ่ มโยง (Coalesce) ข้อมูลจากหลายๆ แห่งภายใน องค์กร หรือหน่วยงานนัน้ ๆ โดยปกติจะประกอบ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์พิเศษ ซึ่งนิยมใช้เป็นเครื่องมือส�ำคัญร่วมกับการท�ำ เหมืองข้อมูล เพราะจะท�ำให้มีประสิทธิภาพ ในการวิเคราะห์เชิงครอบคลุมและเชิงลึก การเรียนรู้ด้วยเครื่องจักร สมองกล (Machine Learning) หมายถึง กลุ่มหรือระบบของวิธีการหลาย ชนิ ด ที่ มี ก ารสร้ า งแบบจ� ำ ลองส� ำ หรั บ การ ท�ำนาย (Predictive Model) จากการวิเคราะห์

ข้อมูลที่รับมา โดยนิยมน�ำมาใช้ร่วมกับการ ท� ำ เหมื อ งข้ อ มู ล เพราะการท� ำ นายแบบ จ�ำลองโดยใช้ระบบการเรียนรู้ด้วยเครื่องจักร สมองกลจะท�ำให้เป็นไปอย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ เพราะใช้การประมวลด้วยระบบ คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่พัฒนามาเป็น พิเศษ ในการประมวลผลและวิเคราะห์ขอ้ มูลมหาศาล จ� ำ เป็ น ต้ อ งอาศั ย ศาสตร์ กระบวนการ และเทคนิ ค หลากหลายแขนง จึ ง ได้ เ กิ ด การบูรณาการเป็นวิทยาศาสตร์ข้อมูล หรือ Data Science ผู้ที่จะน�ำไปใช้งานนอกจากจะ ต้องมีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแล้ว ยังต้องเข้าใจศาสตร์ด้านการวิเคราะห์ต่างๆ ตั้งแต่ สถิติศาสตร์ การใช้งานฐานข้อมูล การ ท�ำคลังข้อมูล และที่ส�ำคัญที่สุดคือ การท�ำ เหมืองข้อมูลที่มีวัฏจักรของขั้นตอน โดยเริ่มตั้งแต่ท�ำความเข้าใจในปัญหาและ คุ ณ ลั ก ษณะของข้ อ มู ล เพื่ อ ที่ จ ะสามารถ แปรรู ป ให้ อ ยู ่ ใ นรู ป แบบที่ ส ามารถน� ำ ไป วิเคราะห์ดว้ ยเครือ่ งมือได้ โดยแบบจ�ำลองอัน เป็ น ผลของการวิ เ คราะห์ จ ะต้ อ งผ่ า นการ ประเมินว่ามีคณ ุ ภาพตามทีต่ อ้ งการ แล้วจึงจะ สามารถน�ำไปใช้งานจริงได้ โดยควรมีการ ปรับปรุงแบบจ�ำลองเป็นระยะๆ เพื่อคงไว้ซึ่ง ความถูกต้องและแม่นย�ำนั่นเอง G

วิทยาศาสตร์ข้อมุล (Data Science) คือ การบูรณาการศาสตร์หลายแขนง โดยนำ� เอาหลักการ (Principle) กระบวนการ (Process) และเทคนิค (Techniques) ต่างๆ ในศาสตร์เหล่านั้นมาประยุกต์ใช้เพื่อทำ�ความเข้าใจ (Understanding) หรือสังเคราะห์ ความรู้ที่เป็นประโยชน์ (Useful Knowledge) เพื่อหาคำ�ตอบของปัญหา (Solution) โดยการวิเคราะห์(Analysis) ข้อมูลที่สนใจ สิ่ ง แรกที่ ค วรทำ � ควรเข้ า ใจนั้ น คื อ สาเหตุ สำ � คั ญ ที่ นำ � เอาวิ ท ยาศาสตร์ ข้ อ มู ล มาใช้ ก็เพื่อเป็นเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน การดำ�เนินธุรกิจให้ไปในทิศทางที่สมเหตุสมผล ที่อยู่บนพื้นฐานวิทยาศาสตร์ สามารถ พิสูจน์ ตรวจสอบได้ โดยต้องมีการทำ�งานอย่างต่อเนื่องแบบอัตโนมัติ เพื่อให้ผู้บริหาร องค์กรรับทราบผลวิเคราะห์ และแนวทางในทุกๆ มิติอย่างรวดเร็ว


Guru Talk คุณปฐม อินทโรดม ที่ปรึกษา สมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารแห่งประเทศไทย (TFIT) และที่ปรึกษา สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย (ATCI)

อดีตถึงอนาคต

ของยนตกรรมโลก

ปัญหาใหญ่ของการคมนาคมในมหานครลอนดอนเมื่อ 200 กว่าปีที่แล้วคือ ความแออัดของรถม้าที่ทวีจ�ำนวน มากขึ้นเรื่อยๆ จนมีนักวิชาการประเมินว่าหากอัตราการ เพิ่มขึ้นของรถม้ายังคงเป็นเช่นนี้ต่อไปอีกเพียงไม่กี่ปี จ�ำนวนขี้ม้าบนถนนหนทางต่างๆ ในลอนดอนจะสูงยิ่ง กว่าตึก 2 ชั้น ก่อให้เกิดมลภาวะทั้งภาพและกลิ่นที่ไม่มี ใครปรารถนา ปัญหาดังกล่าวไม่ได้เกิดขึ้นจริงๆ เพราะความก้าวหน้า ทางวิศวกรรมพัฒนาเครือ่ งยนต์สนั ดาปภายในจนเข้ามา แทนทีร่ ถม้าได้อย่างรวดเร็ว ท�ำให้เราหลงลืมไปเลยว่าใน อดีตเราเคยวิตกกับปัญหาขี้ม้ามากมายเพียงใด หันมามองชีวิตของสังคมเมืองในทุกวันนี้ เราก�ำลังเจอ ปัญหาที่เกิดขึ้นคล้ายกันในเมืองใหญ่ทุกแห่ง นั่นคือ การจราจรที่ติดขัดเกินบรรยายแม้จะเพิ่มระบบขนส่ง สาธารณะเข้าไปมากมายเพียงใดก็ตาม แถมท้ายด้วย ความผันผวนของราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงที่ปั่นป่วนวุ่นวาย ไปทุกประเทศทั่วโลก หากลูกหลานเราในอนาคตมองย้อนกลับมาในวันนีก้ อ็ าจ ขบขันกับปัญหาที่เราเจอเช่นเดียวกับที่คนในยุคปัจจุบัน คือตัวเราทุกวันนี้หันกลับไปมองปัญหาขี้ม้าในอดีต

ด้วยพื้นฐานทางเทคโนโลยีทุกวันนี้ท�ำให้เราพอมองเห็น อนาคตได้ลางๆ ว่าปัญหาสภาพจราจรจะถูกบรรเทาเบาบาง ลงได้ด้วยระบบบริหารจัดการสมัยใหม่ ที่เชื่อมโยงชีวิต ของผูค้ นเข้ากับระบบต่างๆ ซึง่ รวมถึงโครงข่ายคมนาคม เช่นเดียวกับยานยนต์แห่งอนาคตที่เรามองเห็นแล้วว่า พลังงานจากเชือ้ เพลิงฟอสซิลก็กำ� ลังจะหมดยุคลงเร็วๆ นี้ Smart Car แห่งทศวรรษนี้ การเติบโตของเครือข่าย 4G และกระแสความนิยมของ Internet of Things (IoT) ผลักดันให้อุปกรณ์ทุกชนิด ข้าวของเครื่องใช้ทุกสิ่งอย่างรอบตัวมนุษย์รวมถึงยาน พาหนะ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ารเชื่ อ มโยงเข้ า กั บ เครื อ ข่ า ย อินเทอร์เน็ต อย่างน้อยก็เพื่อรับ-ส่งข้อมูลที่อาจเป็น ประโยชน์กับมนุษย์ทั้งในทางตรงและทางอ้อม

Google ผลิตรถยนต์ไร้คนขับ

G-MagZ IT MAGAZINE

35


Guru Talk

นวัตกรรมประกันภัย

รถยนต์สมัยใหม่จึงเน้นการเชื่อมต่อกับ Smart Device เพื่ออ�ำนวย ความสะดวกให้กับผู้ใช้ที่สามารถใช้สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตของ ตัวเองได้โดยไม่ต้องหยิบอุปกรณ์เหล่านี้ขึ้นมาระหว่างขับขี่ให้เสี่ยง เกิดอันตรายขณะขับขี่ แต่สามารถใช้งานได้ผ่านปุ่มมัลติฟังก์ชั่นบน พวงมาลัยหรือบนคอนโซลของรถได้โดยตรง

นอกจากนี้ในทางอ้อม รถยนต์รุ่นใหม่ยังสามารถเข้าถึงเครือข่าย อินเทอร์เน็ตได้โดยตรงแม้ไม่ได้เชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟนเพื่ออัพเดท โปรแกรมต่างๆ ภายในรถให้ทุกฟังก์ชั่นสมบูรณ์แบบมากขึ้น รวมถึง รวบรวมปัญหาและข้อมูลในการขับขีเ่ พือ่ ใช้วเิ คราะห์ระบบการท�ำงาน ของเครื่องยนต์เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้

มาตรฐาน Android Auto เป็นตัวอย่างหนึ่งของระบบการเชื่อมต่อที่ เอือ้ ให้เจ้าของรถสามารถใช้รถยนต์ของตัวเองเชือ่ มต่อกับสมาร์ทโฟน ที่ใช้อยู่เพื่อเรียกดูข้อมูลต่างๆ ที่จ�ำเป็น ซึ่งประกอบไปด้วย • การเชื่อมต่อกับระบบน�ำทางของ Google ที่ผู้ใช้คุ้นเคยอยู่แล้ว • ฟังเพลงหรือชมภาพยนตร์ ทั้งที่อยู่ในเครื่องหรือ Streaming ผ่านอินเทอร์เน็ต • ติดต่อกับรายชื่อในสมุดโทรศัพท์และโทรได้ทันที • อ่านและเขียนข้อความผ่านโปรแกรม Instant Messaging หรือ SMS • ค้นหาข้อมูลที่จ�ำเป็นผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ยักษ์ใหญ่อย่าง Intel ก็เพิ่งตัดสินใจเข้าซื้อกิจการ Computer Vision ของบริษทั Itseez แสดงให้เห็นความตัง้ ใจในการเข้าสู่ธุรกิจ Smart Car ของ Intel เช่ น เดี ย วกั บ Baidu จากจี น ก็ หั น มาทุ ่ ม งบในด้ า นนี้ ไม่แพ้กนั เพราะมองเห็นอนาคตของทัง้ 2 อุตสาหกรรมคือ รถยนต์และ ไอที ที่สุดท้ายแล้วต้องหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวกันในที่สุด ในบ้านเรา BKI Telematics ของกรุงเทพประกันภัยเป็นตัวอย่างหนึ่ง ของการน�ำเอาอุปกรณ์ IoT มาประยุกต์ใช้กับอุตสาหกรรมประกันภัย รถยนต์ ด้วยอุปกรณ์ชนิ้ เล็กๆ แต่เก็บข้อมูลได้ทกุ รูปแบบ ท�ำให้บริษทั ประกันภัยสามารถประเมินความเสี่ยงจากพฤติกรรมของผู้ขับขี่ได้ ทันที เช่น เบรกกะทันหันบ่อยๆ หรือชอบเข้าโค้งอย่างแรงเป็นประจ�ำ และขับเวลากลางคืนด้วยความเร็วสูง ในกรณีที่เป็นรถของบริษัทก็ สามารถใช้อุปกรณ์นี้ประเมินพฤติกรรมของพนักงานขับรถได้ตลอด เวลาว่าขับออกนอกเส้นทางหรือไม่ ระยะทางและความเร็วทีใ่ ช้เหมาะสม หรือไม่ รวมถึงติดตามต�ำแหน่งปัจจุบันได้ว่าอยู่ที่จุดใด ความก้าวหน้าของรถยนต์ที่ท�ำตลาดอยู่ในทุกวันนี้จึงเน้นการใช้งาน ด้านบันเทิงและการเชื่อมต่อข้อมูลเป็นหลัก ซึ่งในอีก 4 ปีข้างหน้าเรา จะเห็นรถยนต์ที่มีระบบเชื่อมต่อเช่นนี้มากถึง 80% ของรถยนต์ที่ จ�ำหน่ายทั้งหมด ซึ่ง Toyota เองก็เคยคาดการณ์ว่าอุปกรณ์ภายใน รถยนต์จะประกอบไปด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ มากกว่า 50% ของอุปกรณ์ทงั้ หมดเพราะอุตสาหกรรมยานยนต์กำ� ลัง จะเข้าสู่ยุคดิจิทัลเต็มตัว

Android Auto ที่มา : http://www.androidcentral.com/

36

G-MagZ IT MAGAZINE


Guru Talk Audi A7

BMW Vision Next 100 Concept ที่มา : www.autocar.co.uk

Future Car แห่งทศวรรษหน้า จากคอมพิ ว เตอร์ ใ นรถยนต์ แ ละ เซนเซอร์ต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ สภาพถนน การจราจร รวมถึงระบบความปลอดภัยต่างๆ เช่น ตรวจจับ สิ่งกีดขวาง ตรวจหาคนเดินถนนที่มีความเสี่ยงถูกชน ฯลฯ ผนวกกับ เครือข่ายข้อมูล 5G ที่ส่งข้อมูลได้เร็วยิ่งกว่ายุคใดๆ และมีพื้นที่ ครอบคลุมถนนหนทางต่างๆ ทั่วโลกท�ำให้รถยนต์ที่จ�ำหน่ายหลังปี 2020 จะเริ่มเข้าสู่ยุคยานยนต์ไร้คนขับอย่างแท้จริง จากเดิมทีร่ ะบบขับเคลือ่ นอัตโนมัตจิ ะใช้ในการขับเคลือ่ นแบบง่ายๆ ที่ มีความเสีย่ งไม่มากนัก เช่น การถอยเพือ่ จอดรถในช่องจอด หรือระบบ Adaptive Cruise Control ที่ปรับความเร็วให้เหมาะสมตามรถคันข้าง หน้า ซึ่งมีหลายยี่ห้อมีฟังก์ชั่นดังกล่าวในรถรุ่นที่จ�ำหน่ายในปัจจุบัน แต่สิ่งที่ผู้คนทั่วโลกต้องการจริงๆ ก็คือ ระบบขับขี่อัตโนมัติเต็มระบบ เท่านั้น “BMW iNext” เป็นการประกาศตัวรถยนต์ไร้คนขับของค่ายใบพัดฟ้า ขาวทีแ่ สดงถึงวิสยั ทัศน์ในอุตสาหกรรมยานยนต์หลังปี 2020 เช่นเดียว กับ Audi A7 ของค่ายคูป่ รับทีม่ คี วามก้าวหน้าทางเทคโนโลยีไม่แพ้กนั รวมถึง Tesla, Ford, Porsche, Volkswagen และ Google เจ้าเก่าที่ จับกระแสนี้มาก่อนใคร เพราะวิถชี วี ติ ของเราทีผ่ กู ติดกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมากขึน้ เรือ่ ยๆ ท�ำให้ทุกกิจกรรมของเราถูกบันทึกไว้ในเครือข่ายตลอดเวลา ไม่ว่าจะ เป็นก�ำหนดนัดหมาย รายละเอียดการเดินทาง เที่ยวบิน เช็คอิน โรงแรม ฯลฯ นั่นหมายความว่าระบบย่อมรู้เส้นทางการเดินทางของ เราในแต่ละวัน และจัดสรรเส้นทางที่เหมาะสมเพื่อให้ไปถึงจุดหมาย ได้ทนั เวลา รวมถึงแจ้งเตือนให้ออกเดินทางในเวลาทีค่ ำ� นวณเอาไว้แล้ว ทุกเช้าวันใหม่ เครือข่ายอัจฉริยะในอนาคตจึงสามารถแจกแจงเส้นทาง การเดินรถของแต่ละคนให้โปรแกรมขับรถแต่ละคันโดยอาศัยข้อมูล ที่ได้จากก�ำหนดการของแต่ละคนที่บันทึกเอาไว้ใน Smart Device

ซึ่ ง แน่ น อนว่ า เป็ น ข้ อ มู ล มหาศาลใน รูปแบบ Big Data ทีป่ ระมวลผลมาจาก พฤติกรรมของคนส่วนใหญ่ การให้สทิ ธิกบั โปรแกรมในรถยนต์เลือกเส้นทางทีเ่ หมาะสม แทนทีจ่ ะ ให้มนุษย์ตดั สินใจเอง ย่อมจะท�ำให้การจัดสรรเส้นทางการเดินทางของ แต่ละคนให้หลบหลีกกันได้อย่างมีประสิทธิภาพทีส่ ดุ เพราะระบบย่อม พยากรณ์สภาพการจราจรได้จาก Big Data ที่มีอยู่ ปัญหาการจราจร ก็ย่อมลดลงในที่สุด นับจากโครงการแข่งขันยานยนต์ที่จัดโดย DARPA เมื่อปี 2004 ใน ทะเลทรายโมฮาวี สหรัฐอเมริกา ที่จบลงโดยไม่มีรถคันใดเข้าเส้นชัย ได้เลย แม้วา่ แต่ละคันจะมีอปุ กรณ์ระโยงระยางเต็มไปหมดจนดูไม่เป็น รถเลยเพราะเพียบพร้อมด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดในยุคนั้น และ แต่ละทีมก็ล้วนเป็นนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยชั้นน�ำของโลก มาจนถึงปัจจุบันที่รถไร้คนขับดูหน้าตาไม่แตกต่างอะไรจากรถทั่วไป บนท้องถนน แต่กลับมีความสามารถมากกว่าเดิมหลายเท่าเพราะ เทคโนโลยีปัจจุบันที่ท�ำให้รถยนต์ไร้คนขับแยกแยะสิ่งต่างๆ ที่อยู่บน ถนนได้ถกู ต้องแม่นย�ำมากขึน้ รวมทัง้ มองเห็นสิง่ กีดขวางและอุปสรรค ที่อาจท�ำให้เกิดอุบัติเหตุได้จึงมีความปลอดภัยสูงขึ้นกว่าเดิมอย่าง เทียบกันไม่ได้ อุปสรรคใหญ่หลวงในทุกวันนีจ้ งึ ไม่ใช่ขอ้ จ�ำกัดทางเทคโนโลยี หรือเงิน ทุนในการวิจัยและพัฒนา แต่เป็นกฎระเบียบต่างๆ และกฎหมายใน หลายๆ ประเทศที่ ไ ม่ เ อื้ อ ต่ อ การพั ฒ นาในด้ า นนี้ โดยเฉพาะใน ประเทศไทยเองที่ พ.ร.บ. รถยนต์นนั้ ประกาศใช้มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2522 ซึง่ แน่นอนว่าไม่สอดคล้องกับสภาพการแข่งขันทางด้านเทคโนโลยีใน อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นแน่ G

G-MagZ IT MAGAZINE

37


Green Idea จนิษฐ์ ประเสริฐบรูณะกุล Senior AEROSPACE Mapping Manager บริษัท จีไอเอส จำ�กัด อาจารย์พิเศษประจำ�ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประเทศไทยกับความท้าทาย

ด้านบัญชีก๊าซเรือนกระจก จากการประชุม COP21 Conference of Parties เป็นการประชุมว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งจัดเป็นสมัยที่ 21 ระหว่างวันที่ 30 พฤศจิกายน - 11 ธันวาคม ปี 2015 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส “ข้อตกลงปารีส” (Paris Agreement) นี้มีเป้าหมายเพื่อจำ�กัดระดับอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกไม่ ให้เกินระดับ 2 องศาเซลเซียส (Well Below 2๐C) จากระดับก่อนยุคอุตสาหกรรม ส�ำหรับประเทศไทย ได้ตั้งเป้าหมายเพื่อลดก๊าซเรือนกระจก ร้อยละ 20-25 ภายในปี 2030 โดยจัดท�ำ Action Plan มุ่งลด การใช้พลังงานจากฟอสซิล ด้วยการใช้พลังงานทดแทนเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม อาทิ การใช้พลังงานสะอาด ลดการขนส่ง ทางถนนและเพิ่ ม การขนส่ ง ทางราง การเปลี่ ย นขยะเป็ น พลังงาน ตลอดจนเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนในแผน PDP (Power Development Plan) ของไทยให้ ม ากขึ้ น รวมถึงการป้องกันเพื่อลดการบุกรุกป่า จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าเป็นความท้าทายของประเทศไทย ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนทุกคน ที่จะต้องตระหนักถึง การช่วยกันลดภาวะโลกร้อน จากนโยบายของชาติยังต้อง ด�ำเนินการอีกหลายประการ เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจของ ชาติสู่แผนปฏิบัติการ การบังคับใช้และการควบคุม อีกทั้ง ให้การสนับสนุนทุกภาคส่วนให้มีกิจกรรมเพื่อลดก๊าซเรือน 38

G-MagZ IT MAGAZINE

กระจก โดยรัฐต้องส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีแผนลดการใช้ พลังงานจากฟอสซิล และส่งเสริมกิจกรรมทีท่ ำ� ให้เกิดพลังงาน สะอาดในประเทศอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน การเก็บบันทึกและเฝ้าระวังกิจกรรมต่างๆ ที่มีผลต่อปริมาณ การปลดปล่ อ ยและการกั ก เก็ บ คาร์ บ อน จึ ง เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ อย่างหนึ่งที่ต้องตระหนัก การเก็บบันทึกจึงมีสาระส�ำคัญ อี ก หลายประการ เช่ น วิ ธี ก ารคิ ด และค� ำ นวณบั ญ ชี ก ๊ า ซ เรื อ นกระจก กระบวนการที่ จ ะท� ำ ให้ มี ข ้ อ มู ล ต่ อ การลด ก๊ า ซเรื อ นกระจกได้ จ ริ ง ตลอดจนข้ อ มู ล การปลดปล่ อ ย ก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ และข้อมูลการกักเก็บ คาร์บอนทีไ่ ด้จากภาคป่าไม้ เรือ่ งเหล่านีค้ วรจะถูกรวบรวมเป็น บัญชีที่เรียกว่า “บัญชีก๊าซเรือนกระจก” หรือ Greenhouse Gas Inventory


GREEN IDEA บัญชีก๊าซเรือนกระจก และสถานการณ์การ ปล่อยก๊าซ CO2 ของประเทศไทยในปัจจุบัน

แม้ว่าตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (United Nation Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) ประเทศไทยถูกจัดให้ อยู่ในกลุ่มนอกภาคผนวกที่ 1 ซึ่งไม่มีพันธกรณีในการลด ก๊าซเรือนกระจก แต่ต้องจัดท�ำรายงานแห่งชาติ (National Communication) เพื่ อ ให้ ประเทศไทยมี ข ้ อ มู ล การปล่ อ ย ก๊าซเรือนกระจกอย่างต่อเนือ่ ง สามารถวิเคราะห์การเปลีย่ นแปลง แนวโน้มการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอนาคต รวมทัง้ สามารถ ระบุแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกหลัก (Key Source Categories) เพื่ อ ให้ ก� ำ หนดแผนการลดก๊ า ซเรื อ นกระจก (Mitigation Actions) ได้อย่างเหมาะสม ประเทศไทยโดยองค์การก๊าซเรือนกระจก ได้มกี ารจัดท�ำบัญชี ข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นการค�ำนวณ ปริมาณการปล่อยและการกักเก็บก๊าซเรือนกระจกระหว่าง ปี พ.ศ. 2543 – 2555 (ค.ศ. 2000 – 2012) ตามค�ำแนะน�ำใน คู่มือการจัดท�ำบัญชีก๊าซเรือนกระจกระดับประเทศ (National

Greenhouse Gas Inventories) ฉบั บ ปี 2006 ของ คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) โดยการค� ำ นวณการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกจะใช้ ประเภทข้อมูลกิจกรรม (Activity Data) จากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานเอกชน และหน่วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ในการค�ำนวณบัญชีก๊าซเรือนกระจก มีการแบ่งการรายงาน การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกเป็น 4 หมวด ได้แก่ 1. หมวดภาคพลังงาน (Energy) 2. หมวดกระบวนการ อุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ (Industrial Process and Product Use: IPPU) 3. หมวดภาคการเกษตร ป่าไม้ และ การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ (Agriculture, Forestry and Other Land Use: AFOLU) และ 4. หมวดภาคการจัดการของเสีย (Waste) โดยจะมีการค�ำนวณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 6 ชนิดตามที่ ก� ำ หนดในอนุ สั ญ ญาฯ ได้ แ ก่ ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ (Carbon Dioxide: CO2) มีเทน (Methane: CH4) ไนตรัส ออกไซด์ (Nitrous Oxide: N2O) ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (Hydrofluorocarbon: HFC) เปอร์ ฟ ลู อ อโรคาร์ บ อน

ตารางด้านล่างแสดงข้อมูลในอดีตให้เห็นถึงแนวโน้มในอนาคตด้านการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในประเทศไทย โดยมีการคำ�นวณการปลดปล่อยเป็น CO2 Emissions (Metric Tons per Capita) เมตริกตัน ต่อ 1 หน่วยประชากร ในปี 2012 ประเทศไทยมีการปลดปล่อยอยู่ที่ 3.84 เมตริกตันต่อหน่วยประชากร ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ตารางแสดงข้อมูลการใช้พลังงานของประเทศไทยตั้งแต่ ปี 1990-2012

(แหล่งข้อมูล: UNFCCC Country Brief 2014 Thailand) G-MagZ IT MAGAZINE

39


GREEN IDEA (Perfluorocarbon: PFC) และซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (Sulfur Hexafluoride: SF6) โดยจัดท�ำข้อมูลปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกในระดับประเทศ (National Total) ด้วยหน่วย ที่เรียกว่า “คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า” (CO2-Equivalent) ซึ่งหมายถึงการค�ำนวณการปลดปล่อยก๊าซตัวอื่นๆ ให้เป็น หน่วยคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าในที่สุด จากข้ อ มู ล รายงานปี 2014 และ 2015 ของ UNFCCC ประเทศไทยปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นอันดับ 23 ของโลก หรือคิดเป็นสัดส่วน 0.81% จากจ�ำนวนประชากรทัง้ สิน้ 67.01 ล้านคน (ปี 2013) โดยมีอัตราการปลดปล่อยต่อ ประชากรอยู่ที่อันดับ 71 (ปี 2012) ด้วยล�ำดับของมูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ประเทศไทยได้รับการ จั ด อั น ดั บ ที่ 21 ของโลก (ปี 2013) ทั้ ง นี้ โ ครงสร้ า งของ ผลิตภัณฑ์ของประเทศ ประกอบด้วย เกษตรกรรม 12%,

อุ ต สาหกรรม 43% และการบริ ก าร 45% (แหล่ ง ข้ อ มู ล UNFCCC http://newsroom.unfccc.int/media/420460/ country-brief-thailand.pdf และ http://unfccc.int/resource/ docs/natc/thabur1.pdf) จากการรวบรวมบัญชีก๊าซเรือนกระจกของไทย โดยองค์การ บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) พบว่าในปี 2012 มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวมเท่ากับ 350.68 MtCO2e (ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า) เมื่อพิจารณาปริมาณ การกักเก็บหรือดูดกลับในภาคการเกษตร ป่าไม้ และการใช้ ประโยชน์ที่ดิน (AFOLU) เท่ากับ 122.95 MtCO2e ส่งผลให้ ประเทศไทยมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเท่ากับ 227.73 MtCO2e โดยภาคพลังงานเป็นภาคที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจก มากที่สุดเท่ากับ 256.44 MtCO2e หรือเป็นคิดร้อยละ 73.13 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดของประเทศ

กราฟแสดงข้อมูลการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกปี 2012

(แหล่งข้อมูล: องค์การก๊าซเรือนกระจก)

ตารางแสดงบัญชีการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยตั้งแต่ ปี 2000-2012 ตามคำ�แนะนำ� IPCC ปี 2006

(แหล่งข้อมูล: องค์การก๊าซเรือนกระจก)

40

G-MagZ IT MAGAZINE


GREEN IDEA รองลงมาคือ ภาคการเกษตร ป่าไม้ และการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 55.71 MtCO2e คิดเป็นร้อยละ 15.89 ส�ำหรับภาคทีม่ กี ารปล่อยเป็นอันดับที่ 3 ได้แก่ ภาคกระบวนการอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 33.50 MtCO2e คิดเป็น ร้อยละ 9.55 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดของ ประเทศ ส่วนภาคทีม่ กี ารปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยทีส่ ดุ คือ ภาคการจัดการของเสียโดยมีการปล่อยเท่ากับ 5.03 MtCO2e หรือเท่ากับร้อยละ 1.43 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทัง้ หมด โดยข้อมูลทัง้ หมดได้รวบรวมจากหน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง ดังรูปด้านล่าง

บทสรุป การเตรียมความพร้อมส�ำหรับประเทศไทยในการลดก๊าซเรือน กระจกนั้ น การจั ด ท� ำ บั ญ ชี ก ๊ า ซเรื อ นกระจกที่ ไ ด้ จ ากการ ค�ำนวณจากกิจกรรมทั้งสี่ จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อที่จะลดก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 20-25 ภายในปี 2030 จึง เป็นสิ่งที่คนทั่วไปต้องเข้าใจเพื่อช่วยกันลดการปลดปล่อย ก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ การช่วยกันรักษาพืน้ ทีป่ า่ ไม้และลดการตัดไม้ท�ำลายป่า การลดการปลดปล่อยพลังงาน ฟอสซิล การส่งเสริมให้ใช้พลังงานสะอาด และการลดทิ้ง ของเสีย ล้วนมีส่วนท�ำให้เป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจก ของประเทศไทยสามารถส�ำเร็จได้ในปี 2030 G

รูปแสดงแหล่งข้อมูลในการรวบรวมการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากหน่วยงานต่างๆ เพื่อจัดทำ� รายงานต่อ UNFCCC รวบรวมโดยสำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

(แหล่งข้อมูล : UNFCCC http://unfccc.int/resource/docs/natc/thabur1.pdf)

แหล่งข้อมูล : http://unfccc.int/resource/docs/natc/thabur1.pdf http://www.onep.go.th/images/stories/file/NC_GHG_Inventory_book.pdf http://www.tgo.or.th/2015/thai/content.php?s1=10&s2=35 http://unfccc.int/essential_background/library/items/3599.php?rec=j&priref=7821#beg http://newsroom.unfccc.int/media/420460/country-brief-thailand.pdf

G-MagZ IT MAGAZINE

41


Idea Info

FinTech ดาวรุ่งใหม่การลงทุนไอที เพื่ อต่อยอดเงินลงทุน

บริษทั คอลล์ เลเวลส์ ผู้ให้บริการแจ้งเตือนและติดตามความเคลือ่ นไหวทางการเงินส�ำหรับนักลงทุน ได้จัดท�ำรายงานภาพรวมนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีทางการเงิน หรือ FinTech ซึ่งจะสะท้อนถึง ภูมทิ ศั น์ ใหม่ของอุตสาหกรรมนี้ โดยพบว่า มีอตั ราเติบโตด้านการลงทุนอย่างมหาศาลและต่อเนือ่ ง โดยสูงถึง 400% ระหว่างปี 2013-2014 จาก 3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นมากกว่า 12 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ตัวเลขการลงทุนโดยรวมทั่วโลก ระหว่างปี 2010-2015 แตะหลัก 49.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยสัดส่วน 25% หรือประมาณ 12.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นการ ลงทุนในช่วงครึ่งแรกของปี 2015 โดยการลงทุนอันดับ 1 ด้าน FinTech ราว 40% มุง่ ไปที่ บริการช�ำระเงิน, 25% ด้านบริการกู้ยืมเงินโดยเฉพาะ บริการรายบุคคลและรายย่อย ตามมาด้วย การลงทุน ป้ อ งกั น การละเมิ ด ด้ า นความปลอดภั ย ของข้ อ มู ล ธนาคาร รองรับการขยายตัวของเทคโนโลยีคลาวด์และ เงินดิจิทัล ทั้งนี้สหรัฐ เป็นภูมิภาคที่มีการขยายตัวด้านการลงทุน FinTech อย่างโดดเด่น มีการเติบโต 2 เท่าตัว จาก 4.05 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ปี 2013 มาอยู่ที่ 9.89 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2014 และพุ่งแตะ 31.6 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ในเดือนมิถุนายน 2015 ส่วนในภูมิภาค อืน่ ๆ ประเทศกลุม่ EMEA (ยุโรป, ตะวันออกกลาง และ แอฟริกา) มีมลู ค่าการลงทุน 4.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ด้วยระดับการเติบโตสูงสุดที่ 215% เมื่อเทียบปีต่อปี ขณะที่ เ อเชี ย ก็ มี ข ้ อ ตกลงการลงทุ น ใหม่ ๆ ด้ า น FinTech พุ่งขึ้นจาก 880 ล้านดอลลาร์สหรัฐ มาอยู่ที่ 42

G-MagZ IT MAGAZINE

ประมาณ 3.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในช่วง 3 ไตรมาส แรกปี 2015 ปัจจุบนั สตาร์ทอัพกลุม่ FinTech เข้ามาสูก่ ารเป็นผูเ้ ล่น “กระแสหลัก” แล้ว หลายรายไม่ได้เป็นเพียงผู้ประกอบ การใหม่อีกต่อไป ยกตัวอย่างเช่น Lending Club ใน ซานฟรานซิสโก ที่กลายเป็นชื่อสามัญประจ�ำบ้านจาก บริการให้กยู้ มื เงินแบบบุคคลต่อบุคคล (P2P) เช่นเดียว กับชื่อของยักษ์ใหญ่อย่างเช่น แอปเปิล, กูเกิล และ ซัมซุง ทีก่ ระโดดเข้ามาเล่นในตลาดแอพบริการทางการ เงินเช่นกัน โดยเห็นจุดเด่นทางเทคโนโลยี ในเรื่อง ประสิทธิภาพที่สูงขึ้น แต่ค่าใช้จ่ายของลูกค้าถูกลงเมื่อ เทียบกับบริการทางการเงินจากบริษัทด้านการเงินรูป แบบเดิม บริษัทด้าน FinTech สามารถทะลวงอาณาเขตของผู้ให้ บริการทางการเงินรายใหญ่ได้ ผ่านบริการต่างๆ ผ่าน


$

฿

ภาพรวมอุตสาหกรรม

FinTech

สถานะ FinTech ในมุมมองปัจจุบัน ช่องออนไลน์ ทั้งบริการยืมเงิน, การโอนเงิน และ การจัดอันดับความน่าเชือ่ ถือ ขณะที่ บางบริษทั ก็ พัฒนานวัตกรรมทีล่ ำ�้ ยิง่ ขึน้ เช่น การให้คำ� แนะน�ำ ด้านการเงินผ่านระบบอัตโนมัตเิ ฉพาะบุคคล หรือ Robo-Advisors ครอบคลุมทัง้ เรือ่ งการบริหารการ ออม หรือความเสี่ยงในการลงทุน ข้อมูลจากบริษทั คอลล์ เลเวลส์ ได้เปิดเผยรายชือ่ สุดยอด 5 บริษัทด้าน FinTech ที่ประสบความ ส�ำเร็จสูงสุด ปี 2015 ประกอบด้วย 1.Luflax บริการแพลตฟอร์มสนับสนุนบริการกูย้ มื เงินแบบ P2P สั ญ ชาติ จี น ระดมทุ น ได้ ก ว่ า 485 ล้ า น ดอลลาร์สหรัฐ ประเมินมูลค่าทางธุรกิจไว้ถึง 10 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 2.TransferWise ลงทุน เริ่ ม ต้ น 1.3 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ แต่ ป ั จ จุ บั น ระดมทุ น ได้ ม ากกว่ า 91 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ ให้บริการครอบคลุมเส้นทางการเงินมากกว่า 300 สกุลเงินตรา 3.Wealthfront ผู้จัดการการลงทุน ออนไลน์ ที่ระดมทุนได้ 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ปัจจุบันระดมทุนไปแล้ว 5 รอบ มูลค่ารวม 130 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 4.LendingClub แพลตฟอร์ม สนับสนุนบริการกู้ยืมเงินแบบ P2P ก่อตั้งเมื่อปี 2006 เข้าไประดมทุน 865 ล้านดอลลาร์สหรัฐ จากตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก (ติดอันดับ 1 ราคา หุ้น IPO หลักทรัพย์กลุ่มเทคโนโลยีของปี 2014) และ 5.SocialFinance ประเมินมูลค่าธุรกิจของ SoFi พุ่งสูงจาก 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ มาแตะ หลัก 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ มีการปล่อยสินเชื่อ ไปแล้วกว่า 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เมื่อสิ้นปี 2015

การลงทุนในเทคโนโลยีด้านการเงินรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2010-2015) 2013

2010

2014

2015

2015

มู ล ค่ า การลงทุ น โดยรวมทั่ ว โลก 49.7 พั น ล้ า น ดอลลาร์ ส หรั ฐ : 1 ใน 4 หรื อ ประมาณ 12.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นการลงทุนในไตรมาส 1 และ 2 ของปีงบประมาณ 2015

มีการลงทุนด้าน FinTech เพิม่ ขึน้ อย่างดุเดือด ขยาย ตัวถึง 3 เท่า จาก 3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2013) เป็น 12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2014) และ แตะหลัก 40 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2015)

การลงทุนด้าน FinTech (แบ่งตามภูมิภาค) สหรัฐอเมริกา

4.05 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

2013

9.89 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

2014

31.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 2015

รตะวัตะวั นออกกลาง ยุยุโโรป, นออกกลาง และแอฟริกา (EMEA) (EMEA และแอฟริ

ยุโรป ลงทุน 4.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นภูมภิ าค ที่มีการเติบโตของเงินลงทุนสูงสุด 215% ต่อปี

เอเชี ย มี ข ้ อ ตกลงการลงทุ น พุ ่ ง จาก 880 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็น 3.5 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐ เฉพาะช่วง 3 ไตรมาสแรกปี 2015

G-MagZ IT MAGAZINE

43


Idea Info อันดับยอดนิยมในการลงทุน FinTech

สุดยอด 5 บริษัทด้าน FinTech ที่ประสบความส�ำเร็จสูงสุด ปี 2015

การลงทุนอันดับ 1 มุ่งไปที่บริการช�ำระเงิน สัดส่วน 40% ตามมาด้วยบริการกู้ยืมเงิน 25% และมีลงทุนป้องกันการละเมิดด้าน ความปลอดภัยข้อมูลของธนาคาร

บริการช�ำระเงินและการกู้ยืม (ผู้บริโภค, รายย่อย)

ระบบโครงข่ายในการเก็บบัญชี ธุรกรรมออนไลน์ (บิทคอยน์, ความปลอดภัยทางไซเบอร์)

1

Lufax : บริการแพลตฟอร์มสนับสนุน บริการกู้ยืมเงินแบบ P2P สัญชาติจีน ระดมทุนได้กว่า 485 ล้านดอลลาร์สหรัฐ จากกลุ่มทุนที่น�ำโดย BlackPine Investment มีการประเมินมูลค่าทาง ธุรกิจไว้ถึง 1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ

บริการบนคลาวด์ (การตรวจสอบและติดตาม ความเคลื่อนไหวของตลาด)

2

Transfer Wise : ลงทุนเริ่มต้น 1.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่ปัจจุบันระดมทุนได้ มากกว่า 91 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ให้บริการ ครอบคลุมเส้นทางการเงินมากกว่า 300 สกุลเงินตรา

ประเทศที่มี Ecosystem น่าจูงใจที่สุดส�ำหรับกลุ่มสตาร์ทอัพ FinTech 3

Wealthfront : ผู้จัดการการลงทุนออนไลน์ ที่ระดมทุนได้ 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ปัจจุบันระดมทุนไปแล้ว 5 รอบ มูลค่ารวม 130 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

สหรัฐอเมริกา

ซิลิกอน วัลเลย์, นิวยอร์กซิตี้, ลอสแองเจลิส, บอสตัน

อิสราเอล เทลอาวีฟ

อังกฤษ

4

ลอนดอน

LendingClub :แพลตฟอร์มสนับสนุนบริการกู้ยืมเงินแบบ P2P ก่อตั้งเมื่อปี 2006 เข้าไประดมทุน 865 ล้านดอลลาร์สหรัฐ จากตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก มีมูลค่า ธุรกิจอยู่ที่ 8.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ติดอันดับ 1 ราคาหุ้น IPO หลักทรัพย์กลุ่ม เทคโนโลยีของปี 2014)

3 ประเทศที่มีจ�ำนวนสตาร์ทอัพด้าน FinTech มากที่สุด 4.7 ล้านราย

5

1.91 ล้านราย

0.82 ล้านราย

น่าประหลาดใจ ; สวิตเซอร์แลนด์ 111 , สตาร์อัพ ทุก 1 ใน 11 รายด้าน FinTech มาจากรัฐซุก (Zug Valley)

Social Finance : การสร้างค�ำจ�ำกัดความใหม่ของบริการสินเชื่อผู้บริโภค ส่งผล ให้การประเมินมูลค่าธุรกิจของ SoFi (Social Financing) พุ่งสูงจาก 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ มาแตะหลัก 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ มีการปล่อยสินเชื่อไป แล้วกว่า 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ณ สิ้นปี 2015

มูลค่าธุรกิจของสุดยอด Startup VS สุดยอดบริษัทไอที

สุดยอด 5 บริษัทด้าน FinTech ปี 2015

663.1

Apple

Square Inc. : บริการช�ำระเงินผ่านมือถือ

พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ

514

Startups (145)

พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ

6 พันล้าน

ดอลลาร์สหรัฐ

Stripe : บริการช�ำระเงิน ทางออนไลน์

Powa Technologies : อี-คอมเมิร์ซ

3.5 พันล้าน

2.7 พันล้าน

ดอลลาร์สหรัฐ

Prosper : การให้กู้ยืม เงินแบบ P2P

1.9 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ

44

G-MagZ IT MAGAZINE

ดอลลาร์สหรัฐ

Adyen : บริการด้านช�ำระเงิน

1.5 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ

Google Microsoft Facebook

351.8

พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ

261.7

พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ

244.3

พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ


Idea Info

5 สตาร์ทอัพ FinTech ที่ก�ำลังมาแรง

#STOCK TWITS : บริษัทสวีเดน ผู้ ให้บริการด้านช�ำระเงินส�ำหรับหน้าร้านออนไลน์ #MOTIF INVESTING : การบริหารพอร์ตลงทุนต้นทุนต�่ำ #ROBINHOOD : ให้บริการซื้อขายหุ้นผ่านโมบายแอพฟรี #MOVEN : แพลตฟอร์มกู้ยืมเงินทางเลือกส�ำหรับเอสเอ็มอี #ACORNS : บริหารการลงทุนด้วยวงเงินบัตรเครดิต/เดบิตผ่านมือถือ

5 ผู้น�ำสตาร์ทอัพ FinTech Stripe (ซานฟรานซิสโก) บริการช�ำระเงิน 21 Inc. (ซานฟรานซิสโก) เงินดิจิทัล & ระบบโครงข่ายในการเก็บบัญชีธุรกรรมออนไลน์ Coinbase, Epiphyte, Bitreserve (ซานฟรานซิสโก) เงินดิจิทัล & ระบบโครงข่ายในการเก็บบัญชีธุรกรรมออนไลน์ Betterment (นิวยอร์กซิตี้) การบริหารความมั่งคั่ง (Wealth) และการลงทุน Lending Club (ซานฟรานซิสโก) การกู้ยืมเงินแบบ P2P Adyen (อัมสเตอร์ดัม) บริการช�ำระเงินรายย่อย Nutmeg/Investup (ลอนดอน) การบริหารความมั่งคั่ง (Wealth) และการลงทุน Lending Circle (ลอนดอน) การกู้ยืมเงินแบบ P2P DueDil (ลอนดอน) ผู้ช่วยอัจฉริยะส�ำหรับการตลาดเสมือนจริง Transferwise (ลอนดอน) การบริหารความมั่งคั่ง (Wealth) และการลงทุน, การโอนเงินตราระหว่างประเทศ Ant Financial (จีน) บริการช�ำระเงินรายย่อย Call Levels (สิงคโปร์) ผู้ช่วยติดตามความเคลื่อนไหวของตลาดเสมือนจริง Dianrong (จีน) บริการช�ำระเงินรายย่อย Coins.ph (ฟิลิปปินส์) เงินดิจิทัล & ระบบโครงข่ายในการเก็บบัญชีธุรกรรมออนไลน์ Tradehero (สิงคโปร์) การบริหารความมั่งคั่ง (Wealth) และการลงทุน, การซื้อขายหุ้น

5 อันดับหุ้นเด่น FinTech Lending (แพลตฟอร์มการกูย้ มื เงินแบบ P2P)

ข้ามขั้นตอนคนกลาง เช่น พนักงานสินเชื่อ โดยใช้ประโยชน์จาก ความล�้ำหน้าทางเทคโนโลยี มาเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเกาะติดกับ อัตราของธนาคารกลางสหรัฐ เป็นกองทุนเปิดที่ท�ำการซื้อขาย ในตลาดหลักทรัพย์รายแรกของชาว Gen M

Paypal (บริการช�ำระเงินที่ขยายจาก เครื่องคอมพิวเตอร์สู่มือถือ)

เข้าตลาดฯไตรมาส 3 ปีงบประมาณ 2015 ก�ำไรพุ่งขึ้น 29% และรายได้สูงขึ้น 14%

Lufax (บริการทางการเงินผ่านอินเทอร์เน็ต)

เริ่มต้นจากการซื้อขายหลักทรัพย์ทางการเงินผ่านตลาดกลาง ออนไลน์ และกลายเป็ น บริ ษั ท ด้ า นการเงิ น รายใหญ่ สุ ด ของ ประเทศจีน มียอดจดทะเบียนผู้ ใช้งานทะลุ 7 ล้านราย ปริมาณ ธุรกรรมทางออนไลน์เพิม่ ขึน้ 8% ต่อปี และเฉพาะการท�ำธุรกรรม ผ่านมือถือสูงขึ้น 50%

Stripe (บริการช�ำระเงิน)

ประกาศเป็นพันธมิตรกับวีซ่า เมื่อเดือนมิถุนายน 2015 มีการ ประเมินมูลค่าบริษัทไว้สูงถึง 5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จากการที่ ประสบความส�ำเร็จในการระดมทุน 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ จาก กลุม่ ทุนทีน่ ำ� โดย AmEx, Sequoia และล่าสุดคือ Kleiner Perkins

Zenefits (ซอฟต์แวร์ทรัพยากรบุคคลออนไลน์)

มีการประเมินมูลค่าธุรกิจไว้ที่ 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ระดมเงิน 84 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ จากกลุ ่ ม ทุ น ที่ น� ำ โดย Fidelity Management และ TPG Capital จนตัวเลขประเมินมูลค่าขยับ ขึ้นไปที่ 4.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

G-MagZ IT MAGAZINE

45


Idea Info การซื้อขายกิจการ FinTech ใหญ่สุด 3 อันดับแรก

ผู้ประกอบการที่ผันตัวมาเป็นผู้สนับสนุน ทุนเริ่มต้นให้บริษัท FinTech ผู้ประกอบการรายใหญ่

บริษัท Fidelity National Information Services, Inc. (FIS) ตกลงเข้าซื้อผู้ให้บริการ ซอฟต์แวร์ด้านการธนาคาร SunGard Data Systems มูลค่า 9.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

บริษัทผู้ให้บริการช�ำระเงิน ออนไลน์ Optimal Payments เสนอ 1.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขอซื้อธุรกิจช�ำระเงินดิจิทัล ของ Skrill

DH Corporation (D+H) ผู้ให้บริการเทคโนโลยีทางการ เงิน เข้าครอบครองกิจการ บริษัท Fundtech ผู้ให้บริการ ระดับโลกด้านโซลูชั่นการช�ำระ เงินผ่านธนาคาร ด้วยมูลค่า 1.25 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

MARC ANDREESSEN (Netscape)

นักลงทุนสัญชาติเอเชีย

REID HOFFMAN (LinkedIn)

AKIO TANAKA (Macromedia-Adobe)

JERRY YANG (Yahoo)

TIMOTHY TEO (อดีตผู้บริหาร J.P Morgan)

SHINTA DHANUWARDOYO (Bubu/X-Media)

กลุ่มทุนใหญ่ 3 อันดับแรกในกิจการ FinTech ยักษ์ ใหญ่ด้านการเงินจาก Wall Street ที่เข้ามาลงทุนใน FinTech

SEQUOIA CAPITAL มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง บรรลุ ข้อตกลง 36 กิจการช่วงต้น ปีงบประมาณ 2015 และ ประสบความส�ำเร็จในการน�ำ บริษัท Lemonade ผู้ให้บริการ P2P ระดมเงินได้ถึง 13 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในรอบ Seed Round

SOFTBANK GROUP เป็นนักลงทุนหลักร่วมไปกับ นักลงทุนรายเดิมๆ สร้างสถิติ ใหม่เมื่อปี 2015 ด้วยการ เข้าไปสนับสนุนเงินลงทุน 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในบริษัท Social Financing (SoFi)

GOOGLE VENTURES เข้าไปลงทุนแล้วใน สตาร์ทอัพ 39 ราย วงเงินลงทุนรวม 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในจ�ำนวนนั้นมี 14 ราย อยู่ในกลุ่ม FinTech

JOHN MACK

VIKRAM PANDIT, HANS MORRIS

(อดีตผู้บริหาร J.P Morgan)

(อดีตผู้บริหาร Citi Group)

BLYTHE MASTERS

(อดีตผู้บริหาร J.P Morgan)

5 สุดยอดแอพ FinTech และการบริหารพอร์ตลงทุนผ่านโมบาย

FUture advisor

CALL LEVELS แอพติดตามความ เคลื่อนไหวของตลาด และแจ้งเตือนส�ำหรับ การลงทุนในหลายประเภท หลักทรัพย์ที่แตกต่างกัน (หุ้นในตลาดสหรัฐ, บิทคอยน์)

46

G-MagZ IT MAGAZINE

STOCKTWITS แพลตฟอร์ม ทางการเงินแบบ อินเทอร์แอคทีฟ ส�ำหรับการลงทุน ของมืออาชีพ

บริการให้ค�ำแนะน�ำ การลงทุนแบบดิจิทัล เป็นโซลูชั่นที่ประยุกต์ ค�ำแนะน�ำการลงทุน เฉพาะบุคคลมาสู่กลุ่ม ประชากรขนาดใหญ่ ล่าสุด BlackRock ผู้จัดการการลงทุน รายใหญ่สุดของโลก เข้าซื้อกิจการไปแล้ว

mint Venmo บริการกระเป๋าเงิน ดิจิทัลที่ให้บุคคลโอน เงินระหว่างกันได้โดย ไม่มีค่าใช้จ่าย

ผู้ให้บริการโซลูชั่น การประมวลผลการ ช�ำระเงิน ช่วยลูกค้า วางแผนด้านการเงิน ในสิ่งที่ต้องการใช้ จ่ายและไม่ต้องการ ใช้จ่าย

ที่มาจาก : http://www.fintech.finance/ news/the-state-of-fintech-industryas-we-know-it-infographic/


คุยกับหมอไอที หมอลี

‘Banking is necessary, banks are not’ Banking is necessary, banks are not. ประโยคอมตะของ Bill Gates อดีต CEO และเป็น ผู้ก่อตั้ง Microsoft ที่เคย กล่าวไว้ว่า “การเงินการธนาคาร ยังคง เป็นสิ่งจำ�เป็น แต่ธนาคารอาจไม่จำ�เป็น อีกต่อไป” ครั้งนี้เราจะคุยเรื่อง FinTech (Financial Technology) ซีง่ เป็น Digital Disruption ที่ไปกระทบธนาคารโดยตรง รวมทั้ง Sector อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เงิน เช่น Insurance, Stock, การระดมทุน FinTech คืออะไร เอาง่ายๆ ทีส่ รุปจากพีก่ ู๋ คือ การน�ำเอา Technology มาช่วยบริการด้านการเงิน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น มีลูกค้า เป็นศูนย์กลางในการคิดค้นรูปแบบธุรกิจหรือการคิดค้นผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ ออกสู่ตลาด ซึ่งอาจกระท�ำโดยธนาคารหรือองค์กรอื่นที่ไม่ใช่ ธนาคารก็ได้ นั่นหมายความว่า FinTech อาจไม่ได้เกิดจาก Startup เท่านั้น ด้วยความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของ Technology SMAC (Social Mobile Analytics Cloud) ท�ำให้ FinTech เกิดขึ้นมากใน กลุม่ Startup เราอาจไขว้เขวได้วา่ FinTech ต้องเป็น Startup เท่านัน้ ซึ่งไม่จ�ำเป็น

ธุรกรรมอะไรบ้างที่ FinTech เข้าไปเกี่ยวข้อง ผมเอารูปมาแสดง (เครดิตโดยTechnology Return) ท�ำออกมาให้เข้าใจง่ายว่า อะไร บ้างที่โดน Disrupt เข้าไปแล้ว ภาพข้างบนนี้จะเห็นได้ชัดเจนมาก โดยที่แต่ละผู้ให้บริการ FinTech จะต้องมุ่งตอบโจทย์ Customer Experience ในสามมิติ คือ Better Faster และ Cheaper รวมทั้ง การสร้าง Customer Royalty ก็เป็นเรือ่ งยากมากส�ำหรับผูใ้ ห้บริการ เพราะมีคู่แข่งติดอยู่แค่ปลายนิ้ว

G-MagZ IT MAGAZINE

47


คุยกับหมอไอที อุปมาอุปมัยกับธุรกิจ Taxi ทีเ่ มือ่ เจอ Tech Startup พันธุด์ อุ ย่าง Uber เข้าไปถึงกับท�ำให้อตุ สาหกรรมเปลีย่ นกันเลยทีเดียว (เครดิต pantip.com FundTalk)

เรื่ อ งราวของ FinTech นี้ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ประเด็ น เล่ น ๆ อี ก ต่ อ ไป นายธนาคารใหญ่ระดับโลกได้ออกมาเตือน ไม่วา่ จะเป็น J.P. Morgan ซึง่ ได้เปิดเผยว่า คูแ่ ข่งจะไม่ใช่ธนาคารเดิมๆ อีกแล้ว แต่เป็นพวกกลุม่ FinTech Startup จาก Silicon Valley นี้เอง ไม่ใช่เพียงเท่านี้ อีกคนที่ออกมากล่าวคือ อดีต CEO ของ Barclay (ผู้สนับสนุนใหญ่ Premier League..เอ๊ะ! บอกท�ำไม) พูดเลยว่าใน 10 ปี ข้างหน้าคาดว่าเหล่า Banker จะตกงานราว 50% จากที่ผ่านมา Top Tier Bank ที่มีพนักงานราว 1 ล้านคน มีการปลด พนักงานไปแล้วราว 10% หรือประมาณแสนต�ำแหน่ง โดยผูช้ ายคนนีใ้ ช้คำ� ทีเ่ ก๋มาก บอกว่า เราก�ำลังจะเจอ “Uber Moment” ของธุรกิจการเงินการธนาคาร

48

G-MagZ IT MAGAZINE

เอาละ เกริ่นน�ำเพื่อเป็นกระสัย ว่ามันเป็นเรื่องที่เราควรตระหนัก ในประเทศไทยก็เริ่มมี ธนาคาร กลุ่มเทเลคอม มาบ่มเพาะ Startup กลุ่มนี้เช่นกัน ซึ่งแน่นอนว่าถ้าไปรอดก็อาจร่วมทุน หรือผนวกเป็น LoB (Line of Business) ใหม่ก็ได้ แล้วแต่จะกลืนเอ้ยร่วมมือ ถ้ามอง เป็นโอกาส ก็จะเป็นโอกาส เพราะผมว่า Knowledge ทางการเงิน การธนาคาร ทีแ่ ต่ละสถาบันการเงินมี สามารถน�ำมาท�ำให้การด�ำเนินการ ของทาง FinTech มีความปลอดภัย และลดความเสี่ยงลงได้ ธนาคาร แห่งประเทศไทย และ ก.ล.ต. (ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) ซึ่งเป็นหน่วยงานคุมกฏในไทยก็ได้ ตระหนักถึงความส�ำคัญของเรื่องเหล่านี้ ได้พยายามออกกฏหมาย มาสนับสนุนการท�ำธุรกรรมในแนวนี้เช่นกัน มิตินี้ชัดเจนมากว่าเรา ก�ำลังขับเคลื่อนไปในแนวทางเดียวกับโลก สุดท้าย จะให้ดูรูปที่น่าสนใจ เป็นเครดิตของ Techsauce ท�ำให้เห็น ภาพของ Ecosystem ของ FinTech ในไทย ว่ามีใครเป็น Player ใน กลุ่มใดบาง เอาแค่นี้ก่อน เกริ่นเพื่อสร้างเรื่อง เราอาจมีภาคต่อใน FinTech บางประเภท เช่น พวก Bitcoin ในตอนต่อไปครับ G


บันทึกมุมมอง สถานีช่องนนทรี

ชีวิตไม่มีเป้าหมาย จะใช้จ่ายมากขึ้น

G-MagZ ฉบับนี้ ว่าด้วยเรื่อง Finance บันทึกมุมมองจึงนำ�เรื่องเกี่ยวกับมุมมองการบริหาร จัดการค่าใช้จ่ายมาแบ่งปัน ตอนนี้การทำ�ธุรกรรมทางการเงินง่ายมาก สะดวกมาก หลายคน จึงเผลอไผล ใช้จ่ายตามสะดวก ตามกระแสจนลืมเรื่องที่ควรคำ�นึง ชีวิตไม่มีเป้าหมาย จะใช้จ่ายมากขึ้น!! คือ บทสะกิดของนิ้วโป้งที่บอกเล่าถึง คนที่กล้าใช้จ่าย เงินเพียงเพื่อความสะใจ แต่การดำ�เนินชีวิตยังเหมือนเดิม ทำ�ทุกอย่างเหมือนเดิม เพิ่มเติมคือ ช็อปปี้ง กิน ทำ�ทุกอย่างตามกระแส

G-MagZ IT MAGAZINE

49


บันทึกมุมมอง

เคยเห็นคนที่ก้มหน้าก้มตาท�ำงานจนไม่มีเวลาให้ตัวเองไหมครับ ..เราไง !! เคยเห็นคนทีพ่ อมีเวลาพักสักนิดก็อยากใช้เงิน เพราะมันระบายความเครียด และท�ำให้รสู้ กึ ดี..รูส้ กึ ดีเมือ่ จ่ายเงิน จ่ายยิง่ เยอะ ยิ่งสะใจมากขึ้น...ก็เราอีกนั่นแหละ !! เคยเห็นคนที่ท�ำงานดี แต่ชีวิตอยู่ที่เดิม ต�ำแหน่งไม่เพิ่ม เงินเดือนไม่ขึ้นไหมครับ..เฮ้ยเราเลยล่ะ !! ‘เราว่าแล้ว ว่าโลกนี้มันไม่แฟร์’ ...คนเหล่านี้ก็จะรวมกลุ่มกันตั้งสภากาแฟขึ้นมาศึกษาเรื่องของคนอื่น ...คนเหล่านี้ จะรู้เรื่องอินเทรนด์ทุกเรื่องที่เกี่ยวกับคนอื่น แต่!! ...แต่คนเหล่านี้ไม่รู้เรื่องอะไรเกี่ยวกับตัวเองเลย !! คุณชอบท�ำอะไร ? ...ไม่รู้อ่ะ คุณสับสนและแยกไม่ออกใช่ไหมว่า การพักผ่อนกับการเกษียณมันไม่เหมือนกัน !! ...จริงเหรอ -- คิดว่าเกษียณแล้วจะ เดินทางรอบโลก (ท�ำไมมันไม่เรียนไกด์หละ ชีวิตมันจะได้ท�ำสิ่งที่รักแล้วได้เงิน ไม่ต้องรอเกษียณ) คุณอยากเป็นอะไร ? ...เป็นอะไรก็ได้ที่ได้เงิน คุณอยากมีอะไรทีค่ นอืน่ ไม่ฮติ ไหม ? ...ไม่อะ่ ฉันอยากมีในสิง่ ทีค่ นส่วนใหญ่ฮติ อยากกินอยากเทีย่ วในทีท่ คี่ นส่วนใหญ่ไป สรุปคือ คนส่วนใหญ่แค่ใช้ชีวิตแข่งกันโดยไม่ได้รู้ว่า จุดหมายคืออะไร แล้วท�ำไปเพื่ออะไร ถ้าเราเดินช้าลงสักนิด หยุดคิดอีกสักหน่อย เราจะมีเวลาเลือกว่า เราอยากท�ำอะไร อยากเป็นอะไร คนสมัยก่อน เขามี ชีวติ ต่างจากคนสมัยนี้ ตรงทีเ่ ขารูว้ า่ เขาอยากท�ำอาชีพอะไร เขาท�ำสิง่ นัน้ ให้เป็นสุดยอดในสิง่ ทีเ่ ลือก ..ช่างตีเหล็กทีเ่ ก่ง ที่สุด, ช่างท�ำรองเท้าที่เยี่ยมที่สุด, ร้านน�้ำชาที่ดีที่สุด, พ่อค้าผ้าที่ช�ำนาญที่สุด, นักรบที่เก่งกล้าที่สุด ค�ำว่า ‘ทีส่ ดุ ’ หายไปจากอาชีพของคนปัจจุบนั เราท�ำอะไรก็ได้ ขายอะไรก็ได้ ...เราส่วนใหญ่ลมื ไปว่า คุณค่า ความภูมใิ จ และความมั่งคั่ง มันซ่อนอยู่ใน ‘ที่สุด’ ที่หายไป

‘ที่สุด’ ท�ำให้คุณภูมิใจ ‘ที่สุด’ ท�ำให้คุณอยากท�ำให้ดีขึ้น ‘ที่สุด’ ท�ำให้คุณลืมใช้จ่ายเพื่ อระบายความเครียด ‘ที่สุดในจุดที่คุณยืน’ !!

ข้อมูลจาก อธิป กีรติพิชญ์ (นิ้วโป้ง) http://www.you2morrow.com/article-detail.php?id=493

50

G-MagZ IT MAGAZINE


G-MagZ IT MAGAZINE

51


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.