นิตยสาร IT ราย 3 เดือน ฉบับที่ 46 เมษายน – มิถุนายน 2559 VOLUME 46 APRIL – JUNE 2016
e-Magazine
DIGITAL DISRUPTIVE
+ PRIVATE CLOUD ทางเลือกเพ��อการบร�หารจัดการที่งาย + FIDO: FUTURE OF ONLINE AUTHENTICATION + PORTO CHINO ตอบไลฟสไตล “วันวาง-วันพักผอน” ลงตัวเลือกซอฟตแวร SPACE จาก Optimus Soft + AGILE ใชอยางไรใหสำเร�จ?
EXADATA INSTALLATION AUTHORIZED PARTNER First Logic is only One Partner in Thailand and One of just two in ASEAN Region We are an Oracle leading Value-Added Distributer in Thailand which has experienced in Oracle System, Database, Fusion Middleware and Engineered system solutions and services. Now First Logic is only One Partner in Thailand and One of just two in ASEAN Region which has been certified as an Exadata Installation Partner. This made us qualified and authorized to deliver Exadata services in every phase from Installation to Post-Implementation Maintenance. Our Exadata experts help customers to accelerate adoption and ensure operational readiness through services composed of o Exadata Standard Installation Service, which limited to Oracle Advanced Customer Support (ACS) or Certified Partner (1 in Thailand, 2 in ASEAN) only to deliver this service. o Exadata Enhanced Implementation Service, which extend from just standard installation to full implementation to make system ready for providing database service. o Exadata Post-Implementation Service, which is 7 days a week, 24 hours a day (7x24) on-site, on-call and remote access service to help customer in Exadata problem solving and maintenance tasks.
Contact First Logic today to ensure the success of the implementation and maintenance of your Exadata environment. Contact Us: Rinruedee Lapwararak Channel Development Manager First Logic Co., Ltd. Tel. 02 678 0478 Ext.3323 E-mail : Rinruedee.l@firstlogic.co.th 2 G-MagZ IT MAGAZINE
CONtents
Editor
นิตยสาร IT ราย 3 เดือน ฉบับที่ 46 เมษายน – มิถุนายน 2559 Volume 46 April – June 2016
เรามักจะคุ้นหูกับค�ำพูดที่ว่า “เทคโนโลยีเปลี่ยนเร็วมาก” และปีสองปีทผี่ า่ นมา ค�ำศัพท์และบทความทีก่ ระตุน้ เรือ่ ง เทคโนโลยีก็คือเรื่องของ Digital Disruptive ซึ่งมีออก มาเนืองๆ ว่า เทคโนโลยีได้ท�ำการพลิกโฉมธุรกิจท�ำให้ บางแบรนด์หายไป และเกิดแบรนด์ใหม่ๆ ธุรกิจที่ดังๆ ขึ้นมามากมายหลายแบรนด์ รวมทั้งยังมีมูลค่าตลาดสูงจนเป็นผู้น�ำติด อันดับไปก็หลายราย หลายส�ำนักออกมาแนะน�ำพร้อมยืนยันว่าการอยู่ในยุคสมัยของ Digital Disruptive ต้องอาศัยความเร็ว การคิดต่าง กล้าเปลี่ยนแปลง พลิกแพลง ในทิ ศ ทางที่ ดี ขึ้ น มากกว่ า การท� ำ อะไรด้ ว ยวิ ธี ซ�้ ำ ๆ เดิ ม ๆ และหาก เปลี่ยนแปลงสิ่งที่ท�ำอยู่ไม่ได้ก็คงต้องปล่อยให้สินค้า หรือองค์กรของตน ค่อยๆ ถูกลบออกไปจากตลาดธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากองค์กรนัน้ ไม่ ได้ยนื อยูใ่ นฐานะแบรนด์อนั ดับต้นๆ เพราะสภาวะในตลาดไม่ได้มที ยี่ นื ให้ กับสินค้าและบริการที่ไม่สามารถแข่งขันได้ ระยะเวลาที่ผ่านมาอาจกล่าวได้ว่า Disruptive Technology ได้เปลี่ยน วิธคี ดิ ของผูค้ นทีจ่ ะก้าวข้ามผ่านเฟรมเวิรค์ เดิมและไม่ใช่แค่เรือ่ งเทคโนโลยี หรืออะไรที่ล�้ำๆ เพียงอย่างเดียว แต่มันคือการผสานเทคโนโลยีกับสังคม และแรงผลักดันทางเศรษฐกิจ ค�ำว่า Disruption แม้จะแปลว่า การขัดขวาง แต่อีกนัยหนึ่ง อาจจะเป็นโจทย์ให้กับผู้บริหารที่จะวางกลยุทธ์การพัฒนา องค์กรโดยเลือกใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์สูงสุด เปิดโอกาสใหม่ๆ ใน การสร้างรูปแบบ วิธีการ และสินค้าใหม่ๆ ได้ คอลัมน์ Success Story ฉบับนี้ไม่พลาดที่จะน�ำข่าวคราวตัวอย่างธุรกิจที่ มีการปรับตัวมาฝาก อาทิ AIS, Coffee Today หรือ Porto Chino เป็น ตัวอย่างทีแ่ สดงให้เห็นอีกนัยหนึง่ ของการปรับใช้ Technology โดยมีความ ต้องการทางสังคมและเศรษฐกิจเป็นตัวขับเคลื่อน จนกระทั่งองค์กรปรับ เปลี่ยน หรือน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ บริการใหม่ๆ ออกสู่ตลาด ซึ่งสินค้าหรือ บริการนัน้ ๆ มีสว่ นเปลีย่ นแปลงทัศนคติของผูบ้ ริโภคได้ และอย่าลืมว่าการ ค้นพบ Digital Disruptive ได้ก่อนใครนั้น ย่อมหมายถึงการที่จะได้เป็นคน แรกๆ ที่จะได้ท�ำอะไรใหม่ๆ หรือโอกาสใหม่ๆ ก่อนใครนั่นเอง ค้นพบแล้วไม่พอ ต้องไม่ลืมว่า เราก�ำลังอยู่ในยุคดิจิทัล “ยุคที่อย่าดีแต่รู้ อย่าดีแต่คิด อย่าดีแต่พูด” ที่ส�ำคัญคือ “อย่าช้า” เพราะกลุ่ม Startup ผู้เล่น หน้าใหม่ที่ติด Speed เกิดขึ้นมามากมาย พวกเขาพร้อมคิดใหม่ ท�ำใหม่ ด้ ว ยเทคโนโลยี ใ หม่ เ สมอ รวมถึ ง เหล่ ากู รู ก ารตลาดมี ก ารคาดเดาว่ า ยุคปลาใหญ่กินปลาเล็กจะถูกเทคโลยีพลิกเป็น “ปลาเร็วล้มปลาใหญ่” ก็เป็นได้ ???
Wanida T. wanida.t@g-able.com
04 IT NEWS 07 G-NEWS 11 Special REPORT
Thailand’s Network Security Contest 2016 สร้างความตระหนักรู้ควบคู่ผลักดันศักยภาพเยาวชนไทย
15 Solutions Private Cloud
ทางเลือกเพื่อการบริหารจัดการที่ง่าย
17 Tech&Trend Zero Data Loss Recovery Appliance
ลดการสูญเสีย-เรียกคืนได้ทันที
21 Biz&Consult
FIDO: Future of Online Authentication
23 Success story • AIS ใช้ CA DevTest Solutions ช่วยด้านทดสอบ
เลือก G-ABLE บริการเด่น-เข้าใจผลิตภัณฑ์ • Coffee Today พร้อมเสิร์ฟผ่านจอ ด้วยแอพ Cafe Roamer • Porto Chino ตอบไลฟ์สไตล์ “วันว่าง-วันพักผ่อน” ลงตัวเลือกซอฟต์แวร์ SPACE จาก Optimus Soft
32 Inno&Product
แอพคัดกรองโรคหัวใจด้วยเสียง ผลงานวิจัยชิ้นแรกในโลก
34 Green Idea ปะการังฟอกขาว : ปรากฏการณ์ที่ต้อง
เฝ้าระวังท้องทะเลไทยในปี 2559
37 Guru Talk
• Data Science ก้าวที่ล�้ำหน้ากว่า Big Data • Agile ใช้อย่างไรให้ส�ำเร็จ?
42 Idea Info 2016 ปีทองเทคโนโลยี Cloud Computing 47 คุยกับหมอไอที
10 อันดับโปรแกรมเมอร์ยอดนิยม
51 บันทึกมุมมอง
ยิ้มได้แม้พ่ายแพ้
การสอบถามข้อสงสัยในเรื่องบทความและเรื่องของเทคโนโลยี การบอกรับและการเปลี่ยนที่อยู่ การอนุญาต และพิมพ์ซ�้ำสามารถติดต่อขอรายละเอียดได้ที่ G-Magazine@g-able.com
จัดท�ำและลิขสิทธิ์ โดย บริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด อาคารปัญจธานี ชั้น 25 เลขที่ 127/27, 29-31 ถนนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 G-ABLE Contact Center โทร. +66 (0) 2685-9333 โทรสาร. +66 (0) 2681-0425 www.g-able.com
G-MagZ IT MAGAZINE
3
IT NEWS
แผนที่ NOSTRA แม่นย�ำครอบคลุม 10 ประเทศ นอสตร้า ผู้น�ำนวัตกรรมแผนที่ดิจิทัลในเมืองไทยของบริษัท โกลบเทค จ�ำกัด ในเครือ CDG แนะน�ำแผนทีแ่ ม่นย�ำครอบคลุม 10 ประเทศทัว่ อาเซียน พร้อมเปิด บริการให้กบั ทุกกลุม่ ธุรกิจ ทัง้ แพ็กเกจส�ำหรับองค์กรขนาดใหญ่ และเอสเอ็มอี NOSTRA ASEAN Map มีรูปแบบการท�ำงานในการพัฒนาคอนเทนต์ที่ ละเอียดและแม่นย�ำ โดยร่วมกับองค์กรที่เชี่ยวชาญด้านการส�ำรวจในท้องถิ่น ของแต่ละประเทศ (Local Expertise) ผสานกับทีมผู้เชี่ยวชาญทางด้านแผนที่ จากประเทศไทย พร้อมกับลงพื้นที่ส�ำรวจเองด้วย เพื่อความแม่นย�ำมากขึ้น โดยมีจำ� นวนสถานทีส่ ำ� คัญ ซึง่ จัดแบ่งตาม Category ได้มากกว่า 140 ประเภท ตามหลักสากล หรือมี POI เกือบ 3 ล้านจุดครอบคลุม 10 ประเทศ แต่ละ ประเทศมีบริการภาษาอังกฤษ และภาษาท้องถิ่นของประเทศต่างๆ ได้แก่ ประเทศไทย เมียนมาร์ ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และบรูไน ทั้งนี้ NOSTRA ASEAN Map มีรูปแบบการให้บริการคอนเทนต์แผนที่อย่าง ครบวงจร สามารถรองรับการท�ำงานร่วมกับโซลูชั่นต่างๆ ของโกลบเทคได้ หลากหลายรูปแบบการให้บริการ ได้แก่ แผนที่ส�ำหรับระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ หรือระบบจีไอเอส (Geographic Information System: GIS) แผนที่ส�ำหรับอุปกรณ์น�ำทาง ในรูปแบบต่างๆ (NOSTRA Digital Map) ระบบบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ ส�ำหรับติดตามยานพาหนะแบบเรียลไทม์ (Logistic Business Suite : GPS Tracking) ซึ่งเป็นการให้บริการที่มีความ โดดเด่นและเป็นทีต่ อ้ งการของผูป้ ระกอบการทุกๆ ธุรกิจสามารถขยายขอบเขต การขนส่งเข้าไปยังประเทศต่างๆ และแผนทีอ่ อนไลน์ (ASEAN Map Services) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นบริการข้อมูลภาพแผนที่ แสดงข้อมูลพื้นฐาน ส�ำคัญ เช่น แลนด์มาร์ค และเส้นทางคมนาคม แผนที่ออนไลน์มี Map API ส�ำหรับข้อมูลแผนที่และฟังก์ชั่นการวิเคราะห์ เช่น บริการค้นหาต�ำแหน่งบน แผนที่ ค�ำนวณเส้นทางที่รองรับการน�ำไปพัฒนาได้อย่างง่ายและสะดวก
Microsoft
ซื้อ Xamarin เพิ่ มโอกาส การใช้แอพใหม่ๆ ปัญหาการขาดแคลนแอพพลิเคชัน่ ของไมโครซอฟท์ ยังคงอยู่ในสถานการณ์เดิมๆ เนื่องจากยังไม่มีนัก พัฒนาคนใดให้ความสนใจในการปล่อยแอพพลิเคชัน่ ลงแพลตฟอร์ม Windows ทั้งๆ ที่ Windows เป็น ระบบปฏิบัติการที่มีคนใช้จ�ำนวนมากจากทั่วโลก แต่มีแอพพลิเคชั่นใหม่ๆ ที่ถูกสร้างขึ้นมาใช้งาน บนแพลตฟอร์มอื่นๆ แนวทางการแก้ปัญหาของไมโครซอฟท์ในขณะนี้ คือ การสร้างเครื่องมือส�ำหรับแปลงแอพพลิเคชั่น ให้สามารถท�ำงานบน Windows ได้งา่ ยๆ โดยล่าสุด ทางไมโครซอฟท์ได้เข้าซื้อกิจการ Xamarin ที่มี ความเชี่ยวชาญในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นแบบ Cross-Platform โดยซอฟต์ แ วร์ ข อง Xamarin ใช้ภาษา C# เป็นพื้นฐานในการสร้าง Native APIs ของทุกแพลตฟอร์มของระบบปฏิบัติการ Satya Nadella ซีอีโอคนปัจจุบันของไมโครซอฟท์ ได้เปิดเผยว่า การท�ำงานร่วมกันระหว่างไมโครซอฟท์ และ Xamarin นัน้ ลงตัวมาก อีกไม่นานเราจะได้เห็น ทุกบริการของไมโครซอฟท์ท�ำงานร่วมกันได้อย่าง สมบูรณ์ เราสามารถเล่นเกมส์ของ Xbox One บน PC, มีแอพพลิเคชั่นที่ท�ำงานได้แบบ Universal ระหว่างสมาร์ทโฟน, แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์, Cortana จะกลายเป็ น ศู น ย์ ก ลางควบคุ ม ทุ ก แพลตฟอร์มไว้ด้วยกัน
ข่าวจาก : http://news.thaiware.com/7615.html 4
G-MagZ IT MAGAZINE
IT NEWs
CA
ชี้ธุรกิจ ยุคหน้าอยู่รอดได้ ด้วยนวัตกรรม เคนเนธ อาเรดอนโด ประธานและผู้จัดการ ทั่ ว ไปประจ� ำ ภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก และ ญี่ปุ่น บริษัทซีเอ เทคโนโลยี ชี้ประเด็นส�ำคัญ ว่าบริษัทที่เข้มแข็งที่สุดและเน้นนวัตกรรม มากที่สุดเท่านั้นที่จะอยู่รอดต่อไปในยุคหน้า
ที่โลกดิจิทัลก�ำลังมีบทบาทมากขึ้นทุกขณะ พร้อมเปิดงานสัมมนาสื่อและนักวิเคราะห์ ในอุ ต สาหกรรมไอที ป ระจ� ำ ภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก และญี่ ปุ ่ น (CA Technologies APJ Media & Analysts Summit) ที่ประเทศ สิงคโปร์ ซึง่ ตรงกับความคิดเห็นของผูบ้ รรยาย และผู ้ เ ชี่ ย วชาญรายอื่ น ๆ ที่ ม าร่ ว มงาน เช่นกัน ในขณะทีส่ ถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ยังมีความ ผันผวนแปรปรวน และคาดว่า จะยังผกผัน ต่อไป ในตลอดปี 2016 นี้ แต่ก็ยังมีความหวัง ในบางด้านในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ทีไ่ ม่อาจ จะมองข้ามไป โดยเคนเนธ อาเรดอนโด ได้ชี้ ให้เห็นว่า ภูมิภาคนี้จะยังคงเป็นผู้น�ำในด้าน การเติบโตระดับโลก ซึ่งความเป็นไปได้นี้ สนั บ สนุ น โดยศั ก ยภาพในการเติ บ โตของ ประชากรที่มีมากกว่าครึ่งหนึ่งของโลกและ มีกลุ่มผู้ใช้อายุน้อยเป็นจ�ำนวนมาก
“บริษัทที่เป็นผู้น�ำด้านเทคโนโลยีไม่จ�ำเป็น ต้องเป็นบริษัทหน้าใหม่หรือสตาร์ทอัพเสมอ ไป เทคโนโลยีทพี่ ลิกผันสามารถเกิดขึน้ ได้กบั ทุกบริษัทที่มองหาวิธีการใหม่ๆ ในการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน” เขากล่าว และเสริมว่า “ซอฟต์แวร์มีใช้งานกันมาหลาย สิ บ ปี แ ล้ ว แต่ ใ นโลกปั จ จุ บั น นี้ เ ราได้ ม อง ซอฟต์แวร์ ด้วยมุมมองที่ต่างออกไป เพราะ ว่าซอฟต์แวร์ไม่ใช่เพียงแค่ผลิตภัณฑ์ทาง เทคโนโลยีอกี ต่อไป แต่ผนู้ ำ� ทางด้านธุรกิจและ ไอที จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมองซอฟต์แวร์ เป็นเสมือนรูปแบบพื้นฐานของแต่ละองค์กร ที่ จ ะใช้ ใ นการปรั บ ขยายการท� ำ ธุ ร กรรม อัตโนมัติได้อย่างรวดเร็ว ลดปัญหาและความ ล่าช้า รวมทั้งเพื่อให้เกิดการใช้งานได้อย่าง รวดเร็วและลูกค้าหวนกลับมาใช้งานซ�้ำและ เมื่อใดที่ซอฟต์แวร์ได้ก ้า วมาถึงจุดนี้ ก็จะ กลายเป็นเครื่องมือส�ำคัญที่ใช้ ในการสร้าง นวัตกรรมใหม่ๆ และการเติบโตทางธุรกิจ
อีก 82 ปี Facebook
จะกลายเป็นสุสานออนไลน์ ที่ใหญ่ท่ส ี ุดในโลก
ในจ�ำนวนประชากรบน Facebook ที่มีน้อยกว่าจีนเพียงแค่ประเทศ เดียวเราเคยสงสัยกันหรือไม่ว่า ในแต่ละวันมีผู้ใช้งานทั่วโลกล้มหาย ตายจากไปกี่คน วันนี้ The Telegraph มีค�ำตอบมาให้แล้ว ปัจจุบนั Facebook มีจำ� นวนผูใ้ ช้งานกว่า 1,500 ล้านคน แต่ในอนาคต ไม่ไกลนัก ผูใ้ ช้งานส่วนมากจะไม่มชี วี ติ แล้ว ข่าวนีไ้ ม่ใช่แค่การรายงาน สถิติ แต่ผเู้ ขียนข่าวต้องการจะชีใ้ ห้เห็นว่า Facebook ไม่มนี โยบายลบ แอคเคาท์ของผู้เสียชีวิตโดยอัตโนมัติ แต่เลือกที่จะเก็บเอาไว้เป็น ที่ระลึก และสาเหตุอีกประการหนึ่งก็คือ ตัวเลขผู้ใช้งานหน้าใหม่บน Facebook มีจ�ำนวนลดลงเรื่อยๆ และตามหลักการทางสถิติแล้ว จึงเป็นไปได้ว่าในอนาคตจะมีแอคเคาท์ของคนที่เสียชีวิตไปแล้ว มากกว่าคนที่ยังมีชีวิตอยู่ เฉพาะในปีนี้มีการคาดกันว่าผู้ใช้งาน Facebook เกือบ 1 ล้านคน น่าจะเสียชีวิต ซึ่งก็เป็นตัวเลขที่เพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆ เช่นกัน โดยในปี
2010 มีผใู้ ช้งาน Facebook เสียชีวติ 385,000 แอคเคาท์ ซึง่ ในเวลานัน้ เป็นช่วงที่ Facebook มีฐานผู้ใช้งานน้อยกว่าในปัจจุบันหลายเท่าตัว ส�ำหรับนโยบายของ Facebook ในปัจจุบัน หากมีผู้ใช้งานเสียชีวิต หน้าโปรไฟล์ของเขาจะยังคงอยู่ และมีเพียงคนที่มีรหัสผ่านเท่านั้นที่ จะเข้าไปลบได้ ซึ่งก็แน่นอนว่าคนส่วนมากไม่เคยบอกรหัสผ่านให้ กับเพื่อนหรือครอบครัว ดังนั้น จึงแทบจะไม่มีใครเข้าไปจัดการกับ แอคเคาท์ของผู้เสียชีวิต ประเด็นนี้อาจจะไม่ใช่เรื่องซีเรียส แต่หากคิดว่าเราได้รับค�ำแจ้งเตือน วันเกิดของคนที่เสียชีวิตไปแล้ว มันก็หลอนอยู่เหมือนกัน ที่มา : http://hitech.sanook.com/1 404437/ (สนับสนุนเนื้อหาโดย thumbsup.in.th)
G-MagZ IT MAGAZINE
5
IT NEWs
Passive Wi-Fi จะมาแทนที่ Bluetooth ทุกวันนี้ Bluetooth เป็นเทคโนโลยีที่ช่วย อ�ำนวยความสะดวกให้เราเป็นอย่างมาก นับ ได้ว่าเป็นระบบเครือข่ายไร้สายที่ช่วยให้การ เชื่ อ มต่ อ ในระยะสั้ น ๆ ท� ำ ได้ อ ย่ า งสะดวก รวดเร็ว อีกทัง้ ยังช่วยให้ผใู้ ช้ประหยัดพลังงาน แบตเตอรีเ่ ป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตามขณะนี้ มีวิศวกรได้พัฒนาระบบ Wi-Fi แบบใหม่ขึ้น มา ซึ่ ง มี ค วามสามารถในการท� ำ งานแทน Bluetooth ได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยี ดั ง กล่ า วถู ก เรี ย กว่ า Passive Wi-Fi ได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้งานใน การรับส่งข้อมูลระยะสั้น ซึ่งใช้พลังงานใน การท�ำงานน้อยกว่า Wi-Fi ถึง 10,000 เท่า และน้อยกว่า Bluetooth LE ถึง 1,000 เท่า โดย Passive Wi-Fi พั ฒ นาขึ้ น โดย นักวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยวอชิงตัน
ข่าวจาก : http://news.thaiware.com/7618.html หลั ก การท� ำ งานของ Passive Wi-Fi คื อ การใช้เฉพาะ Digital Baseband ที่มีอยู่ใน ชิพ Wi-Fi ในการท�ำงาน โดยแตกต่างจากการ ท�ำงานของ Wi-Fi ในปัจจุบนั ทีจ่ ะใช้ทงั้ Digital และ Analog RFs ในการรับส่งข้อมูล ท�ำให้ ประหยัดพลังงานกว่ามาก แม้ว่าระยะท�ำงาน จะสั้ น ลงก็ ต าม ซึ่ ง เพี ย งพอที่ จ ะทดแทน Bluetooth ได้อย่างสบายๆ
ด้ า นความเร็ ว ในการท� ำ งานก็ สู ง กว่ า Bluetooth มาก โดยท�ำได้ถึง 11 MBps เลย ทีเดียว ซึ่งทางนักวิทยาศาสตร์กลุ่มนี้เชื่อว่า Passive Wi-Fi จะท� ำ ให้ สิ่ ง ต่ า งๆ ในยุ ค Internet of Things เชื่อมต่อกันได้อย่าง ยอดเยี่ยม เพราะประหยัดพลังงานกว่าและมี ข้อจ�ำกัดที่น้อยกว่า Bluetooth
ออราเคิลขยายศักยภาพ
ด้าน ERP
ออราเคิลขยายผลิตภัณฑ์สำ� หรับการวางแผน ทรัพยากรทางธุรกิจ (ERP) ให้ครอบคลุมครบ วงจรยิ่งขึ้น โดยเพิ่มฟังก์ชั่นปรับการท�ำงาน ให้สอดรับกับองค์กรมากยิ่งขึ้นรวมถึงรองรับ การท�ำงานในแต่ละประเทศ Oracle ERP Cloud ถือเป็นผูน้ ำ� ด้านคลาวด์โซลูชนั่ ทีเ่ หมาะ ส�ำหรับทั้งเจ้าหน้าที่การเงิน, เจ้าหน้าที่ฝ่าย HR และผู้จัดการโครงการที่มีลูกค้ามากกว่า 1,300 ราย ด้ ว ยฟั ง ก์ ชั่ น การท� ำ งานที่ ครอบคลุมกว่า 190 ฟีเจอร์ สามารถตอบ โจยท์การท�ำงานเฉพาะด้านและรองรับการ ท�ำงานระดับสากลได้ Oracle ERP Cloud เป็นโซลูชนั่ คลาวด์ทคี่ รบ วงจรส�ำหรับองค์กรธุรกิจทัว่ โลก โดยสามารถ วางแผนทรัพยากรธุรกิจ จัดการความเสี่ยง และจัดการระบบท�ำงานห่วงโซ่อุปทาน รวม 6
G-MagZ IT MAGAZINE
ถึงสามารถบูรณาการเข้ากับกลุ่มผลิตภัณฑ์ Oracle SaaS เพื่อบริหารจัดการทุนมนุษย์ และประสบการณ์ ข องลู ก ค้ า โดยน� ำ เสนอ แนวทางการปฏิบัติทางธุรกิจเพื่อขับเคลื่อน ความก้าวหน้า นอกจากนี้ Oracle ERP Cloud ยังมาพร้อม กับการใช้งานที่ง่ายและสะดวก โดยผู้ใช้งาน สามารถเลือกดูรายการที่ส�ำคัญและสามารถ ตรวจสอบข้อมูลของรายละเอียดกระบวนการ ทางธุรกิจ อีกทั้งยังช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถ เข้าถึงข้อมูลผ่านอุปกรณ์ดไี วซ์เพือ่ การท�ำงาน
ที่รวดเร็วขึ้น รอนดี้ อึง้ รองประธานฝ่ายพัฒนาแอพพลิเคชัน่ ของออราเคิล กล่าวว่า “ออราเคิลมุ่งเน้นที่จะ เพิ่มมูลค่าทางธุรกิจให้กับผู้ใช้งาน Oracle ERP Cloud โดยส่งมอบนวัตกรรมส�ำหรับ ลูกค้าที่ท�ำงานบนระบบ On Premise หรือ โปรแกรมการท�ำงาน ERP โดยให้บริการแบบ SaaS นอกจากนีอ้ อราเคิลยังมุง่ เน้นทีจ่ ะเพิม่ ศั ก ยภาพการท� ำ งานและส่ ง เสริ ม ให้ ลู ก ค้ า พั ฒ นาระบบการให้ บ ริ ก ารสิ น ค้ า ผ่ า นการ ท�ำงานบนระบบคลาวด์มากขึ้น”
G-NEWS G-ABLE เดินแผน “Corporate Digital Transformation”
เน้นสามเทรนด์หลัก Cloud-Big Data-Security จากกระแสการเปลี่ ย นแปลงด้ า นไอที ในปัจจุบันที่เปลี่ยนผ่านเข้าสู่ยุคดิจิทัลที่ อาจส่งผลโดยตรงต่อการด�ำเนินธุรกิจ โดย เฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเทรนด์ของเทคโนโลยี ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ท�ำให้ องค์กรต่างๆ ต้องเตรียมความพร้อมใน การรับมือต่อเทรนด์เหล่านั้น กลุ ่ ม บริ ษั ท G-ABLE ผู ้ น� ำ ด้ า นการให้ บริการไอทีโซลูชั่นแบบครบวงจร ซึ่งวาง นโยบายในการเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการ Transform องค์กรต่างๆ เพื่อก้าวสู่ยุค ดิจทิ ลั ได้อย่างมัน่ คง ได้เปิดเผยถึงทิศทาง ของเทคโนโลยี ไ อที ใ นปี นี้ ภายใต้ แ นว ความคิดที่เรียกว่า “Corporate Digital Transformation” เพื่อการปฏิรูปธุรกิจไทยในทุกอุตสาหกรรม คุณนาถ ลิ่วเจิรญ ประธานกรรมการบริ ห าร กลุ ่ ม บริ ษั ท G-ABLE เปิดเผยว่า ทิศทางและนโยบายการด�ำเนินธุรกิจใน ปี 2016 นี้ กลุ่มบริษัท G-ABLE ได้เตรียมความพร้อมด้วยการ มุ่งเน้นน�ำเสนอเทคโนโลยีด้าน Cloud, Big Data และ Security ซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญที่จะช่วยให้ลูกค้าปฎิรูปธุรกิจสู่ยุคดิจิทัลได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยทั้งสามเป็นเทคโนโลยีใหม่ มีกระแสหรือแนวโน้มมุ่งไปด้านดังกล่าว และปัจจุบันสามารถ น�ำมาประยุกต์ใช้งานได้จริง G-ABLE ตอกย�ำ้ การกระตุน้ ให้องค์กรต่างๆ ด�ำเนินธุรกิจอย่าง สมบูรณ์แบบด้วยการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้อง กับธุรกิจในปัจจุบัน ด้วยการทุ่มเทงบประมาณการลงทุนใน 3 เทคโนโลยีดงั กล่าวอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในเรือ่ งของบุคลากร และ การพัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งจะช่วยให้ลูกค้าได้ Operation Model ที่ง่ายขึ้น “เราวางตัวเป็น Agent of Transformation ท�ำหน้าทีช่ ว่ ยพัฒนา ระบบบนโซลูชั่นที่เรามีอยู่ให้ลูกค้าสามารถใช้งานได้อย่าง ราบรื่น รวดเร็ว และได้ประสิทธิภาพสูงสุด” จาก 3 เทรนด์ด้านเทคโนโลยีที่ G-ABLE มุ่งเน้น ได้ถูกน�ำมา พัฒนาเป็นโซลูชั่นต่างๆ ในช่วงที่ผ่านมาเพื่อน�ำเสนอต่อลูกค้า ประกอบด้วย ด้าน Cloud มีบริการครบวงจรทั้งในรูปแบบ
คุณนาถ ลิ่วเจริญ (ที่ 2 จากซ้าย) พร้อมทีมผู้บริหาร
Private, Public และ Hybrid รวมทั้งยังมีหลากหลายบริการ ไม่ว่าจะเป็น IaaS หรือ SaaS เป็นต้น ส่วน Big Data ปีที่ผ่าน มาได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และพันธมิตร เปิดศูนย์ Big Data Experience Center หรือ BX เพื่อให้องค์กรได้ใช้งาน รวมทั้งเพื่อการศึกษา และ ด้าน Security กลุ่มบริษัท G-ABLE มีโซลูชั่นและบริการที่ ครบวงจร ได้แก่ Security Consulting Service, Security Implementation Service, Security Managed Service และ Security Sustainability Service ซึ่ ง มี ที ม ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ ด้านเทคโนโลยีกว่า 40 คน นับว่าเป็นบริษัทที่มีทีมด้านนี้ ใหญ่ที่สุดของประเทศไทยในปัจจุบัน "การท�ำธุรกิจยุคดิจิทัลนี้ Cloud จะเป็นองค์ประกอบหลักของ โครงสร้างพืน้ ฐานทางด้านเทคโนโลยีทอี่ งค์กรต่างๆ จ�ำเป็นต้อง มี ส่วน Big Data จะเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยเสริมความได้ เปรียบในการท�ำธุรกิจของลูกค้า และ Security เป็นเทคโนโลยี ที่ส�ำคัญที่ลูกค้าจ�ำเป็นต้องลงทุนเพื่อบริหารจัดการความเสี่ยง และเฝ้าระวังภัยไซเบอร์ได้อย่างตรงจุดและมีประสิทธิภาพ สูงสุด เพื่อช่วยขับเคลื่อนธุรกิจไปอย่างมั่นคง" คุณนาถ เสริม ดังนัน้ การเตรียมความพร้อมขององค์กรให้ทนั กับเทคโนโลยีที่ เปลีย่ นไป ถือเป็นความส�ำคัญเร่งด่วนทีอ่ งค์กรธุรกิจไทยจ�ำเป็น ต้องพัฒนาเพื่อความสามารถในการแข่งขันกับตลาดอาเซียน และตลาดโลก ซึ่งการผลักดันให้องค์กรต่างๆ ด�ำเนินการภาย ใต้แนวคิด “Corporate Digital Transformation” นับว่าเป็น กุญแจส�ำคัญในการปฎิรูปองค์กรในยุคนี้
G-MagZ IT MAGAZINE
7
G-NEWs
TCS เปิดเวทีระดับประเทศจัด Thailand’s Network Security Contest 2016 26 กุมภาพันธ์ 2559
Mverge ฉลองอายุครบ 22 ปี เดินหน้า สืบทอดความส�ำเร็จ บนรากฐานที่ม่น ั คง 25 มีนาคม 2559
บริษทั เดอะ คอมมูนเิ คชัน่ โซลูชนั่ จ�ำกัด (TCS) ร่วมกับ ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ จัดการ แข่งขัน โครงการ “Thailand’s Network Security Contest 2016” ครั้งที่ 9 ชิงทุนการศึกษากว่า 180,000 บาท โดยภายในงานได้รับ เกียรติจาก ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ วิชาญ เลิศวิภาตระกูล ผูอ้ ำ� นวยการ ส� ำ นั ก งานบริ ห ารเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ พั ฒ นาการศึ ก ษา (Uninet), คุณสุเทพ อุน่ เมตตาจิต กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั จีเอเบิล จ�ำกัด และ คุณกริช เลิศวลีรัตน์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท เดอะ คอมมูนเิ คชัน่ โซลูชนั่ จ�ำกัด ขึน้ กล่าวเปิดงาน พร้อมทัง้ กล่าวแสดง ความยิ น ดี แ ละมอบรางวั ล ให้ กั บ ผู ้ เ ข้ า แข่ ง ขั น รอบชิ ง ชนะเลิ ศ ทั้งหมด 12 ทีม จาก 109 ทีม ทั่วประเทศ โดยทีมผู้ชนะเลิศ คือ ที ม ASDFGHJKL จากคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ค อมพิ ว เตอร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับรางวัลทุนการศึกษา 50,000 บาท บรรยากาศเต็มไปด้วยความตื่นเต้น สนุกสนาน ในการร่วมลุ้นผล การแข่งขัน รวมถึงมีการแสดงโชว์และกิจกรรมร่วมสนุกต่างๆ งาน จัดขึน้ ที่ ห้อง ซาลอน เอ โรงแรมสวิสโฮเต็ล เลอ คองคอร์ด กรุงเทพ
บริษัท เอ็มเวิร์จ จ�ำกัด (Mverge) จัดกิจกรรมเฉลิมฉลอง การก้าวผ่านปีที่ 22 โดย คุณอนุกลู ปิยะธนานุกลู ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บริษัท เอ็มเวิร์จ จ�ำกัด กล่าวสรุปผลประกอบการปี 2015 (Mverge Performance Review) พร้อมกับโชว์ Organization ใหม่อย่างเป็นทางการ เพื่อเป็นการตอบรับกับทิศทางใหม่ และบทบาทใหม่ที่ชัดเจนขึ้น ภายใต้การเดินหน้าขับเคลื่อน 4 Solutions หลักในปี 2016 ทีค่ รอบคลุมตัง้ แต่ Cloud Solution, DC Transform Solution, Platform Solution และ Microsoft Solution มุ่งเน้นสร้างโซลูชั่นและงานบริการที่ครบวงจร เพื่อ ตอบโจทย์อย่างครอบคลุม สร้างความคุ้มค่าสูงสุด ให้กับทุก องค์กร และปิดท้ายด้วยกิจกรรมจากทีม FATTA ที่สร้างความ เป็นหนึ่งเดียวกันด้วยรอยยิ้มและความสนุกในบรรยากาศ ของความเป็นพี่น้องภายใต้ชื่อ Mverge โดยกิจกรรมจัดขึ้นที่ Meeting Room 1807-9 ชั้น 18 อาคาร CDG House
จีเอเบิล เดินหน้าบุก Food Industry โชว์ IT Operation Outsourcing 4 มีนาคม 2559 บริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด ร่วมงาน ITO Solutions Day จัดโดย บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) น�ำเสนอ IT Operation Outsourcing โดยเน้นบริการหลักๆ 3 ด้าน ได้แก่ End Point Management Service ให้บริการด้านการบริหารจัดการ ดูแลการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พ่วงต่อต่างๆ Infrastructure Management Service ให้บริการด้านการบริหารจัดการในดาต้าเซ็นเตอร์ อาทิ System Admin, Database Admin, Network Admin รวมทัง้ Operation Admin และ Red Hat Implement Service ให้บริการด้านการติดตั้ง และดูแลระบบ ปฏิบัติการ Linux ให้กับองค์กร นอกจากนีจ้ เี อเบิลยังเป็นผูใ้ ห้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแบบครบวงจรเพียงรายเดียวในประเทศไทย ทีม่ ศี นู ย์บริการลูกค้าครอบคลุมกว่า 36 ศูนย์ โดยภายในงานได้รับเกียรติจาก คุณวรรณา ศฤงคารบริบูรณ์ Technical Consultant Director เป็นวิทยากรในหัวข้อ The Trend of Application Development Lifecycle in Digital World ซึ่งงานจัดขึ้นที่ห้อง เมจิก 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น 8
G-MagZ IT MAGAZINE
G-NEWs
จีเอเบิล รับมอบโล่ห์เกียรติคุณ
สนับสนุนเพื่ อพั ฒนาการศึกษาจากมจธ.
4 กุมภาพันธ์ 2559
เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด ได้เข้ารับมอบโล่ห์ เกียรติคุณในฐานะผู้สนับสนุนเงินทุนเพื่อพัฒนาการ จั ด การศึ ก ษา จั ด ขึ้ น โดยมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้ า ธนบุ รี (มจธ.) เนื่ อ งในวั น สถาปนา มหาวิทยาลัยครบรอบ 56 ปี ทั้งนี้ ภายในงานได้รับ เกียรติจาก คุณแพรวแพร คงเสรี ตัวแทนบริษัทฯ ขึ้น รับมอบโล่ห์เกียรติคุณ จาก รศ.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โดยบรรยากาศเต็มไปด้วยความชืน่ มืน่ และเป็นกันเอง ณ ส�ำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี
G-ABLE และ KMUTT เปิดห้อง BX โชว์ BIG DATA ต้นแบบเมืองอัจฉริยะภายใต้คอนเซ็ปต์ “Smart City” 14 มีนาคม 2559 บริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (KMUTT) จัดกิจกรรม “Smart City Technology and Concept “ ตอบรับกระแส ตื่นตัวแนวคิดเมืองอัจฉริยะ “Smart City” ด้วยการเปิดห้อง BX : Big Data Experience Center น�ำเสนอเรื่องราวของการใช้งานเทคโนโลยี Big Data และ Internet of Things เชื่อมต่อการบริหารจัดการข้อมูลและระบบสื่อสารให้รองรับ ระบบงานบริการในทุกมิติ พร้อมตอบโจทย์ดา้ นต้นทุนและคุณภาพงานบริการใน โลกดิจิทัล โดยมีกรู แู ละผูท้ รงคุณวุฒริ ว่ มแชร์องค์ความรู้ เน้นให้ประยุกต์ใช้ขอ้ มูลภายใน เพือ่ พัฒนาระบบงานบริการองค์กร ให้มคี วามทันสมัย รวดเร็ว แม่นย�ำ และปลอดภัย สูงสุด พร้อมยกระดับสู่การเป็นสังคมเมืองอัจฉริยะภายใต้คอนเซ็ปต์ “สมาร์ตซิตี้ (Smart City) หรือ เมืองอัจฉริยะ” กิจกรรมครั้งนี้จัดที่ ชั้น 10 อาคาร KX
G-ABLE ผนึก KMUTT โชว์ Big Data ในงาน BMX 2016 15-17 มีนาคม 2559 เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท จีเอเบิล จ�ำกัด ร่วมกับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี (KMUTT) ออกบู ธ ประชาสัมพันธ์เทคโนโลยี Big Data ในงาน Business Marketing Expo 2016 (BMX) ซึ่งจัดขึ้นที่ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค บางนา โดยงานดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ต้องการแสดงนวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการตลาดระดับนานาชาติ และใช้เพือ่ เป็นเวทีกลางในการพบปะพูดคุยส�ำหรับนักการตลาดชัน้ น�ำ และเป็นการสร้าง แรงบันดาลใจ สร้างไอเดียใหม่ๆ ในการผลักดันให้กลุ่มผู้ให้บริการด้านการตลาดก้าวสู่ความเป็นศูนย์กลางของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน โดยถือเป็นงานแรกในประเทศไทยที่ได้รวบรวมช่องทางการท�ำการตลาดรวมถึงสื่อทางการตลาดทั้งออนไลน์ และออฟไลน์ ไว้ด้วยกัน ภายในงานได้รับเกียรติจาก รศ.ดร.ธีรณี อจลากุล รองคณบดีฝ่ายพัฒนาการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี หนึ่งในวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้าน Big Data ร่วมให้เกียรติกล่าวบรรยายในหัวข้อ Big Data for Marketing ซึ่งได้ รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมสัมมนาเป็นจ�ำนวนมาก
G-MagZ IT MAGAZINE
9
G-NEWs เฟิร์ส ลอจิก – ออราเคิล ให้บริการ Hybrid Cloud 27 มกราคม 2559
“ออราเคิลมีเซิร์ฟเวอร์ที่ได้มาจากแบรนด์ของ SUN รวมทั้ง ยังมีสตอเรจ ส่วนผลิตภัณฑ์กลุ่มซอฟต์แวร์มี Oracle VM ที่เป็น เวอร์ชวลไลซ์ทรี่ องรับการท�ำงานแบบ Consolidate ได้เป็นอย่างดี”
การส�ำรวจจาก IDC ล่าสุดพบองค์กรธุรกิจทั่วโลกส่วนใหญ่ก�ำลัง ปรับตัวและเปลี่ยนมาใช้โซลูชั่น Cloud มากขึ้นอย่างจริงจังนับ ตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นไป โดยระบุว่า 80% จะมียุทธศาสตร์หลักที่ Hybrid Cloud ภายในปี 2560 จะเห็นได้ว่าไม่เพียงบริษัทไอที แต่ ทุกบริษทั จ�ำเป็นต้องยกระดับบริการ ลดต้นทุน รวมถึงสร้างโอกาส ทางธุรกิจใหม่ดว้ ยโซลูชนั่ Cloud คาดว่าเทรนด์นจี้ ะครอบคลุมทัง้ ภาคการผลิต ธุรกิจค้าปลีกและส่งรวมถึงกลุ่มคอนซูเมอร์ทั่วไป
นอกจากบริการ Hybrid Cloud ดังกล่าว เฟิร์ส ลอจิก ยังมี ทีมวิศวกรที่ได้รับการอบรมจากทางออราเคิล มีห้อง และอุปกรณ์ ส�ำหรับเตรียมการ Demo และ POC ซึง่ เรียกว่า CoE : Center of Excellence ซึ่งจะช่วยให้ลูกค้าและคู่ค้าได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในการใช้ผลิตภัณฑ์ของออราเคิล และเกิดประสิทธิภาพในการ ใช้งานสูงสุด โดย CoE จะเป็นเครื่องมือช่วยลุยตลาดกลุ่ม ABC (Analytic - Big Data - Cloud) ของ เฟิร์ส ลอจิก ได้เป็นอย่างดี
แต่การปรับองค์กรสู่ Cloud จะพบความท้าทายหลายประเด็น เพือ่ ให้การเปลี่ยนผ่านเป็นไปอย่างประหยัดและคล่องตัวที่สุด จาก โอกาสและความพร้อมของ เฟิร์ส ลอจิก – ออราเคิล จึงได้จับมือ เสนอ Hybrid Cloud ซึ่งเป็นสุดยอดโซลูชั่นที่จะสามารถเตรียม ความพร้อมให้แก่ทุกกลุ่มธุรกิจไทย คุณไตรรัตน์ ใจส�ำราญ ผู้จัดการทั่วไป บริษทั เฟิรส์ ลอจิก จ�ำกัด กล่าวว่า ปีนี้บริษัทตั้งเป้าหมายบุกตลาดเอ็นเทอร์ไพรซ์ด้วยการ จับมือกับออราเคิลให้บริการแก่ทุกองค์กรธุรกิจที่ต้องการสร้าง ระบบงาน Cloud โดยยุทธศาสตร์หลักของบริษทั คือการให้บริการ Hybrid Cloud ที่ผสมผสานการท�ำงานร่วมกันระหว่างฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ เพื่อการรองรับความต้องการในการท�ำ Cloud on Premise และใช้งานร่วมกันกับ Public Cloud ได้เป็นอย่างดี ซึ่ง ปัจจุบันออราเคิลเป็นเพียงแบรนด์เดียวในตลาดเอ็นเทอร์ไพรซ์ ที่มีผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ครบครัน
Mverge คว้า 3 รางวัญใหญ่ จาก EMC ประกาศศักดาเป็น คู่ค้าเบอร์หนึ่ง 17 มีนาคม 2559
10
G-MagZ IT MAGAZINE
ผูส้ นใจข้อมูลโปรดักต์ และโซลูชนั่ การใช้งานต่างๆ สามารถติดต่อ สอบถามข้อมูลเพิม่ เติม เข้าไปดูรายละเอียดเพิม่ เติมได้ทเี่ ว็บไซต์ www.firstlogic.co.th หรือสนใจผลิตภัณฑ์ติดต่อ 02-678-0478 ต่อ 3323, 3337
บริษทั อีเอ็มซี อินฟอร์เมชัน่ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (EMC) มอบ 3 รางวัล แห่งคุณภาพประจ�ำปี 2015 ให้กบั บริษทั เอ็มเวิรจ์ จ�ำกัด (Mverge) ในงาน “2016 EMC Partner Kickoff : Transform and Modernize for The Quantum Leap” ซึ่ง 3 รางวัลประกอบด้วย • Best Contribution Reseller 2015 • Isilon-Best Contribution Reseller 2015 • Data Protection Solution-Best Contribution Reseller 2015 3 รางวัลใหญ่จาก EMC ในปีลา่ สุด เป็นเครือ่ งการันตีถงึ ความส�ำเร็จจากการทุม่ เท ให้ค�ำปรึกษา และดูแลทุกองค์กรผ่านรูปแบบการให้บริการที่ครบวงจร ทันต่อ ความต้องการของลูกค้า จนได้รับการยอมรับจาก EMC ว่าเป็นคู่ค้าที่เต็มไปด้วย ศักยภาพ โดยเฉพาะปี 2015 ที่ผ่านมา Mverge มีผลงานที่โดดเด่นในกลุ่มของ Isilon และระบบ Data Protection Solutions ทีส่ ร้างโอกาสให้ EMC และ Mverge ได้มีส่วนร่วมเข้าช่วยสนับสนุนระบบไอทีองค์กร เตรียมแผนความพร้อมรับมือ กับการขยายตัวของข้อมูลอันมหาศาลในอนาคต ในฐานะคูค่ า้ ระดับแนวหน้าแห่งปี 2015 "Mverge - Silver Tier Partner" โดยงานจัดขึ้นที่ บอนไฟร์ รูฟท็อป เรสโทร บาร์ แอนด์ เรสตัวรองท์ ชั้น 6 เรนฮิลล์ พลาซ่า สุขุมวิท 47 กรุงเทพฯ
Special Report
Thailand’s Network Security Contest 2016 สร้างความตระหนักรู้ควบคู่ผลักดัน ศักยภาพเยาวชนไทย นับเป็นครั้งที่ 9 ของการจัดการแข่งขัน Thailand’s Network Security Contest 2016 ที่ เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างสำ�นักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (ยูนเิ น็ต: Uninet) สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และบริษทั เดอะ คอมมูนเิ คชัน่ โซลูชนั่ จำ�กัด หรือ TCS (บริษทั ในกลุม่ G-ABLE) ซึง่ เล็งเห็นตรงกันถึงความสำ�คัญในการให้การศึกษา และแนวทางด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และข้อมูล
จากแนวคิ ด ที่ เ ห็ น พ้ อ งต้ อ งกั น จึ ง ได้ ร่ ว มมื อ จั ด การแข่ ง ขั น Thailand’s Network Security Contest (TNSC) ขึ้ น ซึ่งครั้งนี้เป็นครั้งที่ 9 วัตถุุประสงค์เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิด ความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางในเรือ่ งระบบ ความปลอดภัยของข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำ�หรับ องค์กร ให้แก่นิสิต นักศึกษา ในมหาวิทยาลัย ภายใต้โครงการ TNSC มีการกระจายศูนย์สอบคัดเลือกออก เป็น 5 ภาค จ�ำนวน 6 ศูนย์สอบ ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เพื่อ อ�ำนวยความสะดวกให้กบั ผูเ้ ข้าร่วมการแข่งขัน และเปิดโอกาส ให้กับนักศึกษาอย่างทั่วถึง ส�ำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ ได้รับความสนใจจากนักศึกษา จ�ำนวนมากจากทั่วประเทศ โดยมีนักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันถึง 109 ทีม และมีทีมที่ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศจ�ำนวน 12 ทีม จากนั้นทั้ง 12 ทีมเข้าแข่งขันกัน ในรูปแบบ Jeopardy Game คือ การถามตอบ โดยทีมที่ตอบได้เร็วหรือตอบก่อน จะได้ คะแนนมากกว่าทีมที่ตอบช้ากว่า ซึ่งคะแนนจะลดระดับกัน ลงไป
ในปีนี้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบและเนื้อหา เพื่อให้ครอบคลุม มากขึ้น ซึ่งเนื้อหาประกอบด้วย Network Security, Security Architecture, Assessment & Penetration Test Method, Computer Laws, Governance Risk and Compliance, Cryptography, Reverse Engineering, Forensics, Web Security, Concept of Security on Mobile และ Cloud Computing and Social Media TNSC ครั้งที่ 9 ปรับขอบเขตเนื้อหา หลากหลายครอบคลุม
คุณกริช เลิศวลีรตั น์ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บริษทั เดอะ คอมมูนเิ คชัน่ โซลูชั่น จ�ำกัด กล่าวถึงการจัดการแข่งขันในครั้งนี้ว่า มีการ เปลี่ ย นรู ป แบบจากเดิ ม ท� ำ ให้ มี ค วามหลากหลายทั้ ง ใน ด้านเนือ้ หา และด้านเยาวชนทีร่ ว่ มสมัครซึง่ มีหลากหลายสาขา มากขึ้น “เราได้รับค�ำปรึกษาจาก ดร.ภูมิ ภูมิรัตน ที่ปรึกษาอาวุโสด้าน Security ในกลุ่ม G-ABLE ในการปรับเปลี่ยนธีม จากเดิม เน้นเฉพาะด้าน Infrastructure Security เพียงด้านเดียวมา เป็นการเพิ่มเนื้อหาด้าน Data Security เข้าไป ท�ำให้เนื้อหามี G-MagZ IT MAGAZINE
11
Special Report
คุณกริช เลิศวลีรัตน์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท เดอะ คอมมูนิเคชั่น โซลูชั่น จำ�กัด
ความหลากหลาย และมีความรูท้ คี่ รบองค์ รวมทัง้ ยังเปิดโอกาสให้ นักศึกษาอีกหลายสาขาสามารถเข้ามาร่วมสมัครสอบแข่งขันใน โครงการได้ดว้ ย และทีน่ า่ สนใจคือ ในครัง้ นีม้ นี กั ศึกษาจากสถาบัน เทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น มาร่วมโครงการเป็นครั้งแรก ซึ่งมีความ สามารถที่ต้องเรียกว่า “มาแรง” และเชื่อว่าในครั้งต่อไปก็จะได้รับ ความสนใจจากสถาบันแห่งนี้อีก” ส�ำหรับในครั้งต่อไป คุณกริช เชื่อว่าจะมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ หรือเนือ้ หา และโซลูชนั่ ไปตามสถานการณ์ของเทคโนโลยีในเวลา นั้นๆ เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา ที่ต้องพัฒนาความรู้ให้ ก้าวทันเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลา ในฐานะที่ G-ABLE เป็นผู้น�ำ ด้าน Security ในประเทศไทย เราพร้อมสนับสนุนการมีส่วนร่วม ในการกระตุ้นศักยภาพของเยาวชนไทย ในการเรียนรู้และได้รู้จัก เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น ส่วนเป้าหมายโดยรวมนอกจากวัตถุประสงค์หลักทีต่ อ้ งการกระตุน้ ส่งเสริม สนับสนุนนักศึกษาให้มเี วทีในการแสดงความสามารถแล้ว ยั ง ต้ อ งการสร้ า งความเท่ า เที ย มทางการศึ ก ษา เนื่ อ งจากใน มหาวิทยาลัยบางแห่งอาจจะไม่มอี าจารย์ผสู้ อนทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ เฉพาะทางเพียงพอที่จะให้ความรู้แก่นักศึกษาได้อย่างทั่วถึง ที่ ส�ำคัญเวทีนี้ยังสร้างสังคมให้คณาจารย์จากที่ต่างๆ ได้มาพบปะ แลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน คุณกริช กล่าวว่าหากมองในมุมศักยภาพเยาวชนไทย เชือ่ ในความ สามารถว่า เก่งไม่แพ้ใครในอาเชียน ทีผ่ า่ นมามีคนไทยในด้านไอที ไปท�ำงานในต่างประเทศจ�ำนวนไม่น้อย เพียงแต่คนส่วนใหญ่ไม่มี 12
G-MagZ IT MAGAZINE
ผศ.วิชาญ เลิศวิภาตระกูล ผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการศึกษา
ข้อมูล แต่หากประเทศไทยได้รบั การยกระดับให้เป็น Hub ในเอเชีย เชื่อว่าคนไทยจะมีโอกาสในการเข้าสู่ตลาดต่างประเทศอีกมาก โดยความคาดหวังของโครงการนี้ คุณกริช มองในมุมของเอกชน ในฐานะที่ G-ABLE เป็นเจ้าภาพร่วมกับ Uninet ในโครงการ TNSC ว่า อยากเห็นเยาวชนไทยตื่นตัวด้าน Security เติมเต็มให้ มีความสามารถมากขึน้ และอยากให้มหาวิทยาลัย มีหลักสูตรด้าน Security ทีด่ ี ทีจ่ ะสร้างเยาวชนไทยให้สามารถแข่งขันกับนักศึกษา ในมหาวิทยาลัยระดับโลกได้ TNSC สร้างความตระหนักรูเ้ สริมศักยภาพ เยาวชนไทย “เก่งไม่แพ้ ใครในอาเซียน”
ผศ.วิชาญ เลิศวิภาตระกูล ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานบริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา หรือยูนิเน็ต (Uninet) ประธานคณะกรรมการการแข่งขัน TNSC กล่าวว่า ด้วยภารกิจ ของ Uninet ทีต่ อ้ งดูแลโครงข่ายอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย จึง เล็งเห็นความส�ำคัญของความมั่นคงปลอดภัย จึงมีแนวคิดในการ กระตุ้นให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของเครือข่าย นั่นคือที่มาของโครงการ TNSC ที่ได้ร่วมมือกับ TCS จัดการ แข่งขันมายาวนาน “Uninet และ TCS มีความเห็นตรงกันว่าเน็ตเวิร์คมีจุดบอด จึง ต้องการกระตุน้ ให้คนสนใจมากขึน้ และสร้างให้คนมาช่วยกันตรวจ สอบ จัดการกับจุดบอดให้ได้มากขึน้ เพือ่ ความปลอดภัยของทุกๆ ฝ่าย ซึ่งปัจจุบันเทคโนโลยีเปลี่ยนวิธีการไปเรื่อยๆ แม้ว่าเราจะ อุดจุดบอดแล้ว ก็ยังเกิดขึ้นใหม่ได้อีก” ผศ.วิชาญ กล่าว
Special Report
ธัชพัฒน์ เกษรศรี, พีรณัฐ ธารทะเลทอง, พงศกร สมมาลัย
ความส�ำเร็จของโครงการคือ ปัจจุบันได้รับการตอบรับจาก มหาวิทยาลัยต่างๆ ด้วยการส่งนักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขัน มากขึ้นเรื่อยๆ และส่งมามากกว่าหนึ่งทีม “อาจารย์ ที่ ส อนด้ า นระบบความปลอดภั ย สารสนเทศใน มหาวิทยาลัยบางแห่ง เปิดติวให้กับนักศึกษา เพื่อเพิ่มพูน ความรู้ให้นักศึกษาได้มีวิชาติดตัวลงสนามสอบและแข่งขัน นัน่ แสดงว่า อาจารย์ให้ความส�ำคัญและพร้อมผลักดัน กระตุน้ ให้นักศึกษาได้เกิดการเรียนรู้ ตระหนักรู้ด้าน Security เป็น การพัฒนาศักยภาพของเยาวชนไทย” ผศ.วิชาญ กล่าว พร้อม กับเสริมว่า... เยาวชนไทยมีความสามารถไม่แพ้ใครในอาเซียน และในโลก แต่จุดอ่อนของเราคือภาษา ซึ่งท�ำให้เสียเปรียบ แต่อย่างไร ก็ตามหากมีการฝึกฝนที่ดีก็จะเพิ่มโอกาสเด็กไทยได้อีกระดับ หนึ่ง ส�ำหรับโครงการ TNSC นี้ เป็นการเปิดโอกาสในการ พัฒนาศักยภาพด้านความปลอดภัยสารสนเทศ ซึง่ เป็นเรือ่ งที่ ส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากปัจจุบันภัยคุกคามมีหลากหลาย รูปแบบ อีกทั้งยังเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ท�ำให้คนต้อง ก้าวตามให้ทันภัยต่างๆ ส�ำหรับการแข่งขัน TNSC ที่ผ่าน มามี ก ารปรั บ เปลี่ ย นเนื้ อ หาให้ ส อดคล้ อ งกั บ เทคโนโลยี ที่ เปลี่ยนแปลงไป
โดยเปิดโอกาสให้นกั ศึกษาทีเ่ คยเข้าแข่งขันแล้ว สามารถสมัคร เข้าแข่งขันได้อีก เพื่อกระตุ้นให้เด็กที่ไม่ชนะหรือไม่ได้รางวัล ในครั้งนี้ มีโอกาสในปีถัดไป ซึ่งจะท�ำให้เยาวชนมีแรงผลักดัน ในการเรียนรู้ ฝึกฝน และค้นหาความรูใ้ หม่ๆ เพือ่ พัฒนาตนเอง ตลอดเวลา โดยเยาวชนที่ผ่านการแข่งขันจาก TNSC เสมือน มีใบเบิกทางที่สามารถน�ำไปใช้ในการเรียนต่อ และเป็นเครื่อง การันตีความสามารถในการท�ำงานได้ด้วย เปิดใจทีมชนะเลิศ “ASDFGHJKL” ภูมิใจ-ตื่นเต้น-ได้ความรู้หลากหลายได้พัฒนาตนเอง “ความภูมิใจ ความตื่นเต้น” บังเกิดขึ้นทันทีที่เสียงประกาศชื่อ ทีมชนะเลิศ “ASDFGHJKL” ซึง่ ประกอบด้วย 3 นักศึกษาหนุม่ ปี 4 จากคณะวิศวกรรมศาตร์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ที่ผ่านเข้ารอบ 12 ทีม และรวมพลังท�ำโจทย์ในรอบ ตัดสิน พร้อมน�ำเสนอ จนได้รับชัยชนะอย่างสมภาคภูมิ ทั้ง 3 หนุ่ม คือ พงศกร สมมาลัย (กัน), ธัชพัฒน์ เกษรศรี (ต้า) และ พีรณัฐ ธารทะเลทอง (ป๋อ) ได้เปิดใจกับ G-Magz ว่า มีทงั้ ความภูมใิ จและความตืน่ เต้นทีไ่ ด้รบั รางวัลชนะเลิศจาก การแข่งขัน TNSC เพราะเราได้แข่งกับทีมที่เราติดตามอ่าน บทความมานาน ซึง่ เราคิดว่าคนนีเ้ ป็นเทพในด้านนี้ เราเชือ่ ใน G-MagZ IT MAGAZINE
13
Special Report
ความเก่งของทีมนั้น แต่วันนี้เราสามารถท�ำได้ จึงเป็นความ ภูมิใจอย่างมาก โดยขณะทีแ่ ข่งขันทัง้ สามบอกเป็นเสียงเดียวกันว่า ตืน่ เต้นมาก เพราะเข้าใจว่าคะแนนใกล้กบั ทีมคูแ่ ข่งขัน จึงพยายามท�ำให้ดี ทีส่ ดุ แต่ทงั้ สามมีความมัน่ ใจเนือ่ งจากได้เตรียมตัวอย่างเต็มที่ อี ก ทั้ ง ยั ง ผ่ า นการแข่งขันจากเวทีอื่นๆ กระทั่งเวทีใ นต่า ง ประเทศมาแล้ว รวมทัง้ ยังเคยได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง จาก TNSC ครั้งที่ 8 มาแล้ว ส�ำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ที่แตกต่างจากการแข่งขันครั้งที่ ผ่านมา โดยโจทย์ขอ้ สอบในครัง้ นีม้ หี ลายรูปแบบ ในความเห็น ของผูเ้ ข้าร่วมแข่งขันมองว่า ท�ำให้นกั ศึกษาได้เรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆ และได้ทดสอบความสามารถที่หลากหลายมากขึ้น เกิดการ พัฒนาตนเองให้มีความรู้หลายๆ ด้าน “รางวัลชนะเลิศเป็นเครือ่ งยืนยันว่าเรามีความสามารถ แน่นอน ว่าผลงานซึ่งเป็นรางวัลแห่งความภูมิใจจะปรากฎอยู่ในเรซูเม่ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการท�ำงานในอนาคตโดยจะเป็นเสมือน ใบเบิกทางให้ก้าวสู่ชีวิตการท�ำงานได้เป็นอย่างดี” ความเห็น ของทีมผู้ชนะเลิศ ทัง้ สามมีจดุ เด่นและความถนัดทีต่ า่ งกัน ท�ำให้เสริมซึง่ กันและ กันได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะการแข่งขันที่มีโจทย์หลากหลาย เช่นนี้ โดย พงศกร สมมาลัย มีความถนัดด้านการเขียน โปรแกรมเป็นพิเศษ ส่วน ธัชพัฒน์ เกษรศรี เป็นผู้ที่ชอบ วางแผน มีแนวคิดด้านการบริหารจัดการ ผนวกกับมีความ สามารถพิเศษด้าน Reverse Engineering และ Forensic ขณะที่ พีรณัฐ ธารทะเลทอง มีความถนัดด้านการเข้ารหัส ท�ำให้ทงั้ สามน�ำจุดเด่นของแต่ละคนมาเติมเต็มร่วมกัน เกิดพลัง ที่บูรณาการ และน�ำมาซึ่งความส�ำเร็จในครั้งนี้ G
14
G-MagZ IT MAGAZINE
วัตถุประสงค์โครงการ TNSC เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ นิสิต นักศึกษา ได้รับทราบความ ก้าวหน้า ความเคลื่อนไหวของเทคโนโลยีสารสนเทศ และปลูกฝัง ทัศนคติที่ดีให้นิสิต นักศึกษา รักการเรียนรู้ ใฝ่หาแหล่งข้อมูล และความรู้ต่างๆ ในโลกไซเบอร์
เพื่ อ เป็ น เวที ร ะดั บ ประเทศที่ ใ ห้ โ อกาสแก่ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาในยุ ค สารสนเทศได้แสดงความสามารถในทางสร้างสรรค์ โดยนำ�เอา เทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาหรือประยุกต์ ใช้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและคำ�นึงถึงเรื่องของจรรยาบรรณเป็นสำ�คัญ
เพื่ อ เป็ น แรงจู ง ใจในการใฝ่ รู้ ใ ห้ แ ก่ เ ยาวชนในการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล สารสนเทศต่างๆ อันจะเป็นหนทางนำ�ไปสู่ความใฝ่รู้ และความ สนใจในสิ่งแวดล้อมรอบตัว
ประโยชน์ของโครงการ TNSC ให้เยาวชน รวมถึงหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ได้รับความรู้ ความเข้าใจในวิธีการป้องกันระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สร้างเยาวชนรุ่นใหม่ให้เล็งเห็นความสำ�คัญในการศึกษา การค้นคว้าหาข้อมูลในเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างจิตสำ�นึกให้เยาวชนมีส่วนร่วมในการปกป้องและแก้ปัญหา ที่เกิดขึ้นในสังคมปัจจุบัน
Solutions ธฤษรุตติ์ สุจริตธัญตระกูล Solution Consultant บริษัท เอ็มเวิร์จ จำ�กัด
Private Cloud ทางเลือกเพื่ อ การบริหารจัดการที่ง่าย
ทุกวันนี้ เริ่มเป็นที่ยอมรับว่า Cloud Computing ได้เข้ามามี บทบาทในการท�ำงานในชีวิตประจ�ำวันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ ไม่ใช่วา่ ทุกกรณี หรือทุกธุรกิจจะสามารถน�ำเอาทัง้ ระบบขึน้ ไปสู่ Cloud Computing ได้ ปัจจุบนั เราจะพบว่าภาคธุรกิจได้ให้ความ สนใจในประโยชน์ของ Cloud แต่ยังอยากที่จะรักษาความเป็น ส่วนตัว หรือ Privacy ในระดับสูง ท�ำให้เทรนด์ของ Cloud Computing ที่จะเกิดขึ้นในปัจจุบันจึงมีทั้งโซลูชั่นที่เป็น Private Cloud และ Hybrid Cloud ซึ่งเป็นภาพที่ได้รับความสนใจจาก ภาคธุรกิจในปัจจุบันมากยิ่งขึ้น
โครงสร้างพื้นฐานที่มีในองค์กร ด้วยต้นทุนที่ต�่ำลงและสามารถ ที่ จ ะ Optimization Resource ที่ มี อ ยู ่ ในองค์ ก รได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ รองรับการขอเรียกใช้บริการจากไอที ไม่ว่าจะ เป็นการขอใช้บริการ Infrastructure (IaaS), Platform (PaaS), Application (SaaS) และสามารถก�ำหนดสิทธิผ์ ขู้ อใช้บริการตาม Role และ Profile ที่สอดคล้องกับกระบวนการภายในของแต่ละ องค์กรได้จากการก�ำหนด และบริหารจัดการของระบบ Private Cloud โดยมีรายละเอียด ดังนี้
G-ABLE ได้มองเห็นความต้องการในโซลูชั่นดังกล่าว จึง ได้มกี ารน�ำดีไซน์ และน�ำเสนอโซลูชนั่ เพือ่ ตอบโจทย์ธรุ กิจ ทั้งสองแนวทาง คือ Private Cloud และ Hybrid Cloud Private Cloud บริหาร Resource ง่าย ได้ประสิทธิภาพสูง คลาวด์ที่เป็นส่วนตัว หรือ Private Cloud เป็นการให้ บริการจัดการโครงสร้างพื้นฐานระบบภายในองค์กร การ ที่จะเริ่มต้นท�ำ Private Cloud นั้น ต้องมีพื้นฐานมาจาก Virtualization Environment ใน Data Center ขององค์กรด้วย โดยจะต้องมีโครงสร้างพื้นฐานที่เป็น Hypervisor (VMware ESX, Hyper-V, KVM) ซึ่งจะมีข้อจ�ำกัดในกรณีที่บางองค์กรยัง บริหารจัดการแบบ Traditional Environment อยู่ จะต้องมีการ Transition หรือ Convert ให้มาเป็น Virtualization Environment ก่อนที่จะท�ำ Private Cloud
• Multi-Vendor & Multi-Cloud: ผู้ใช้สามารถเข้าผ่านช่องทางที่ เตรียมไว้ ในการขอใช้บริการทรัพยากรต่างๆ ได้ดว้ ยตนเอง และ ระบบรองรับการสร้าง Resource Environment ทั้งที่เป็น Physical Server, Private (VMware, Hyper-V, KVM ) หรือบน Public Cloud (MS Azure, AWS)
Private Cloud เป็นระบบส�ำหรับให้บริการ “ลูกค้า” หรือ “End User” ในองค์กร เพือ่ เป็นช่องทางในการขอใช้บริการจากไอทีได้ โดยตนเอง (User Self Service) ภายใต้การบริหารจัดการ
• Workflow and Policies: สามารถก�ำหนดสิทธิ์และเงื่อนไข (Approval) การขอใช้บริการของผู้ขอได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้อิสระกับผู้ใช้งาน G-MagZ IT MAGAZINE
15
Solutions • Service Offering: สามารถก�ำหนดเป็น Service Catalog เพือ่ ให้งา่ ย ในการขอใช้บริการ ที่สามารถระบุประเภทของบริการ (IaaS, PaaS, SaaS) ที่เปิดให้บริการได้ • Reclaiming: การท�ำระบบ Reclaim ในการ Optimization Resource ที่อยู่ในองค์กรได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยมีกระบวนการที่ก�ำหนด และสามารถบังคับใช้งานได้ตาม Policy จากข้างต้นที่กล่าวถึงการเริ่มต้นท�ำ Private Cloud ใน Data Center ขององค์กรต้องมีพื้นฐานที่เป็น Virtualization Environment มาก่อน และจากจุดนั้นเราสามารถ Enhancement ส�ำหรับระบบ Private Cloud ได้ ซึ่งปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ในการท�ำ Private Cloud หลายค่าย ไม่ว่าจะเป็น VMware vRealize (VMware), HP Helion (HP) แต่ การน�ำซอฟต์แวร์มาท�ำระบบ Private Cloud นั้น ขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมของแต่ละองค์กร ในบางองค์กรอาจจะมีโครงสร้างพื้นฐาน Virtualization ทีเ่ ป็น VMware อยู่ ซึง่ มีความเหมาะสมทีจ่ ะท�ำ Private Cloud ด้วย VMware Product ในบางองค์กรต้องการความเป็นอิสระ ไม่ยึดติดกับ Hypervisor ใดเป็นหลัก และรองรับการ Customize ได้ อาจจะเหมาะกับ HP Helion Product เป็นต้น
การท� ำ Private Cloud นอกจากจะช่ ว ยเรื่ อ งการบริ ห ารจั ด การ Resource ใน Data Center ให้ กั บ การท� ำ งานของแผนกให้ มี ประสิทธิภาพแล้ว ยังช่วยเติมเต็มภาพด้านการด�ำเนินธุรกิจด้วย เป็น ตัวเชื่อมระหว่างภาพของคนไอทีกับผู้บริหาร ให้เข้าใจตรงกัน โดย ระบบ Private Cloud มีฟเี จอร์ในการตอบสนองข้อมูลในเชิงธุรกิจ เช่น • Complete IT Cost Transparency & Business Alignment แสดง รายงาน, Dashboard ค่าใช้จ่าย รวมถึงข้อมูล Billing ที่เกิดจากการ ขอใช้บริการทรัพยากร โดยสามารถก�ำหนดเงือ่ นไขในการแสดงข้อมูล ตามกลุ่มหรือแผนก (LoB: Line of Business) ในองค์กรในรูปแบบที่ เข้าใจง่าย • Service Costing สามารถจ�ำลองหรือก�ำหนดค่าใช้จ่ายในการขอใช้ Resource ทั้งที่เป็นแบบ Usage-Based (Fix Cost) หรือก�ำหนด ค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น คิดค่าใช้จา่ ยตาม CPU, Clock Speed เป็นต้น 16
G-MagZ IT MAGAZINE
• Planning and Budgeting สามารถวางแผน และจัดท�ำงบประมาณ โดยอ้างอิงจากข้อมูลการเงินทางการด�ำเนินธุรกิจควบคูก่ บั การใช้งาน Resource ใน Data Center รวมถึงการขอใช้บริการและทรัพยากรใน องค์กรประกอบต่อการวางแผนและจัดท�ำงบประมาณ • Scenario Planning and Forecasting สามารถจ� ำ ลองการ เปลีย่ นแปลงด้านการใช้งาน เพือ่ ช่วยในการตัดสินใจของผูบ้ ริหาร และ ทีมไอทีในการวางแผนค่าใช้จ่าย ที่มีผลจากการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม ใน Data Center ทั้งการเปลี่ยนแปลงใน Private และ Public
Hybrid Cloud ใช้งานเสมือน Environment เดียวกัน ด้วยระบบ Private Cloud มีความสามารถในการรองรับ Multi-Cloud และรองรับการสร้าง Service Offering บางประการ เพื่อรองรับการ ขอใช้บริการทีเ่ ป็นเซอร์วสิ ทีไ่ ปสร้างหรือท�ำงานภายนอก Data Center ขององค์กร โดยระบบงานประเภทนี้ อาจจะไปฝาก Environment ทั้งที่อยู่บน Public Cloud (Azure, AWS) หรือบน Cloud Hosting ที่ ให้บริการทั่วไปในประเทศไทย เช่น G-ABLE Cloud Service ซึ่ง เซอร์วิสประเภทนี้ เมื่อถูกเรียกใช้จาก Private ในองค์กร จะมีการ ก�ำหนดค่าคอนฟิคในระดับของ Network และ Security เพิม่ เติมเข้าไป เพือ่ ทีจ่ ะรองรับการเข้าไปใช้งาน จากไอที หรือ End-User ทีอ่ ยูภ่ ายใน องค์กร (Private) ไปยังระบบงานที่ Run อยู่ภายนอกองค์กร (Public) ได้เสมือนว่าเป็น Environment เดียวกัน และไม่มผี ลกระทบทัง้ ในส่วน ของ Network, Security รวมถึง User Experience ในการใช้งานระบบ ที่อยู่ภายนอกองค์กร เป็นต้น ด้วยความแตกต่างระหว่าง Private Cloud และ Hybrid Cloud ท�ำให้ องค์ ก รควรค� ำ นึ ง ถึ ง การใช้ ง านที่ เ หมาะสม เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ โครงสร้างพื้นฐานภายในองค์กร ตลอดจนความต้องการทางธุรกิจ G
Tech&Trend สมศักดิ์ โอฬารชัชวาล Senior System Engineer บริษัท เฟิร์ส ลอจิก จำ�กัด
Zero Data Loss
Recovery Appliance ลดการสูญเสีย-เรียกคืนได้ทันที การปกป้องข้อมูลในปัจจุบันไม่สามารถตอบรับกับความต้องการในระบบฐานข้อมูลที่มีความ สำ�คัญ โดยข้อมูลที่มีการสูญหายมักเกิดจากการกู้คืนข้อมูลไม่ครบถ้วน ซึ่งเกิดจากปริมาณ ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มากในการทำ�สำ�รองข้อมูลของเครื่องแม่ข่าย และไม่สามารถทำ�การกู้คืนใน ระดับฐานข้อมูลได้ทันตามช่วงเวลาที่กำ�หนด รวมไปถึงไม่ครอบคลุมในกรณีที่มีการขยายระบบ หรือปริมาณข้อมูลที่เพิ่มมากขึ้น เป้าหมายของการปกป้องฐานข้อมูล มองได้ 2 มุม คือ เป้าหมายทางธุรกิจ ➤ ต้องไม่เกิดการสูญหายของข้อมูลทาง ธุรกิจ ➤ ต้องไม่กระทบกับแอพพลิเคชั่นท�ำให้ ธุรกิจหยุดชะงัก เป้าหมายทางไอที ➤ มัน ่ ใจในการกูค้ นื ข้อมูลในฐานข้อมูลได้ ➤ สามารถจัดการกับฐานข้อมูลที่มีการ บริหารจัดการโดยรวม
ปัญหาหลักของการปกป้องฐานข้อมูล มักเกิดจาก ➤ วิธก ี าร Backup และ Recovery มักใช้เวลาในช่วงกลางคืน ทีย่ าวนาน ในขณะทีข่ อ้ มูลมีการสูญหายในทุกครัง้ ทีท่ ำ� การ Restore ➤ เกิดค่าใช้จ่ายในการท�ำ Backup ของเครื่อง Production Server และผลกระทบต่อระบบเน็ตเวิรค์ เมือ่ มีการ Backup / Restore ส�ำหรับ Database ➤ แม้ว่าจะมีการเพิ่มชั่วโมง Backup (Backup Window) ในขณะที่ฐานข้อมูลมีการขยายพื้นที่ของข้อมูลตลอดเวลา (Data Growth) ➤ เครื่อง Backup Appliance สามารถขยายระบบ Backup จาก 100 Databases มาเป็น 1,000 Databases จากปัญหาที่กล่าวมา ทางออราเคิลได้พัฒนาเทคโนโลยีการ ส�ำรองข้อมูลที่ถือว่าเป็นนวัตกรรมใหม่ คือ Zero Data Loss Recovery Appliance หรือ ZDLRA สามารถตอบรับกับ G-MagZ IT MAGAZINE
17
Tech&Trend
ความต้ อ งการของการส� ำ รองข้ อ มู ล ของ ฐานข้ อ มู ล ออราเคิ ล (Backup Oracle Database) ซึง่ ช่วยท�ำให้ลดการสูญเสียข้อมูล (Data Loss) ในกรณีที่ต้องการกู้คืนข้อมูล หรื อ เกิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่ ร ะบบไม่ ส ามารถ ท�ำงานได้ และสามารถเรียกคืนฐานข้อมูล ออราเคิล (Database Recovery) ได้ทันที รูปแบบของการแก้ปัญหา มีดังนี้ ➤ ลดการสูญหายข้อมูล (Eliminate Data Loss) ➤ ลดผลกระทบต่ อ การส� ำ รองข้ อ มู ล (Minimal Impact Backup) ➤ สามารถกูค ้ นื ข้อมูลในระดับฐานข้อมูลได้ (Database Level Recoverability) ➤ สามารถรองรั บ การขยายได้ ทั้ ง แบบ Private Cloud และ Public Cloud (Cloud Scale Protection) ส�ำหรับสถาปัตยกรรมของ Zero Data Loss Recovery Appliance หรือ ZDLRA สามารถ น� ำ ไปใช้ ง านร่ ว มกั บ ฐานข้ อ มู ล ออราเคิ ล Oracle Database Version 10.2 – 12c ที่ ใช้ได้กับทุกระบบปฏิบัติการ (Operating System) รองรับกับฐานข้อมูล และไม่จำ� เป็น ต้องติดตั้งโปรแกรมเพิ่มเติม โดยรูปแบบ การส�ำรองข้อมูลหรือ “Delta Push” นั้น เมือ่ ใดที่ Database มีการใช้งานและมีการ เปลี่ยนแปลงข้อมูล กลุ่ม Database เหล่านี้ จะท�ำการส่งข้อมูลไปให้กบั ZDLRA เพือ่ เป็น การส� ำ รองข้ อ มู ล และเมื่ อ ใดที่ มี ก ารท� ำ Transaction แบบ Real-Time ก็สามารถ ท�ำการบันทึกหรือส�ำรองข้อมูลไปยัง ZDLRA ได้ เ ช่ น เดี ย วกั น ในส่ ว นของ ZDLRA มี อ งค์ ป ระกอบต่ า งๆ ที่ ช ่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ สามารถท�ำการส�ำรองข้อมูลได้อย่างง่ายดาย องค์ประกอบที่กล่าวถึง คือ การเชื่ อ มต่ อ ของ ZDLRA (Recovery Appliance) กับกลุม่ ฐานข้อมูลสามารถติดต่อ กันได้หลายช่องทาง คือ ผ่านทาง RMAN จากต้นทางที่เป็น Database Version 10.2 ส�ำหรับ Database Version 11g ขึ้นไป 18
G-MagZ IT MAGAZINE
Hardware
2 Compute Servers Base Rack 3 Storage Servers or Full Rack 18 Storage Servers Support HBA Connect to Tape Library (FC Interfaces)
Software
Backup, Recovery, and Replication Embedded Oracle Database for Metadata and RMAN Recovery Catalog RMAN Backup Module for Recovery Appliance Storage Software Oracle Secure Backup Software Oracle Enterprise Manager Monitoring and Management
Tech&Trend
สามารถผ่านช่องทางของการท�ำ Real-Time Redo Transport ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับ Oracle Data Guard พร้อมกับมีระบบตรวจ สอบความถูกต้องแบบ End-to-End Data Validation เพราะภายในตัวของ Recovery Appliance รู้จักกับรูปแบบ Database Block Format ที่สามารถตรวจสอบความถูกต้อง ของข้อมูลในระดับ Database หลั ง จากที่ ท� ำ การส� ำ รองข้ อ มู ล มาแล้ ว นั้ น สามารถน�ำข้อมูลทีไ่ ด้เก็บใน Tape Library ได้ ซึ่งการท�ำงานนี้ไม่มีผลกระทบต่อเครื่องต้น ทางเพราะเป็นการน�ำข้อมูลลงเทปในช่วง เวลาใดก็ได้ ส่วนในการท�ำงานของ Recovery Appliance มี ก ารใช้ Software Oracle Secure Backup มาช่วยในการจัดการข้อมูล ที่อยู่ใน Recovery Appliance สามารถน�ำ ข้อมูลลงเทปได้ หรือหากต้องการน�ำข้อมูลไป เก็บไว้ที่ศูนย์ส�ำรองที่อื่นๆ ก็สามารถท�ำได้ เนือ่ งจากมีคณ ุ สมบัตขิ อง Software Replicate อยู่ใน ZDLRA โดยต้องเป็น ZDLRA ทั้ง 2 แห่งและมีระบบรักษาความปลอดภัยในช่อง ทางการสื่อสารระหว่าง ZDLRA ส�ำหรับรูปแบบการท�ำ Secure Replication มีได้หลายแบบ คือ One-Way, Bi-Directional และ Hub & Spoke ในกรณีที่ Local Recovery Appliance ไม่สามารถใช้งานได้ การกู้คืน ข้อมูลสามารถใช้งานได้โดยตรงจาก Remote Recovery Appliance ส�ำหรับการท�ำงาน Database Operations ส่วนใหญ่ท�ำงานตลอดเวลา แต่ระบบส�ำรอง ข้อมูลทั่วๆ ไป ยังต้องมีการขอช่วงเวลาใน การส� ำ รองข้ อ มู ล นั่นหมายถึง การขอใช้ Backup Windows ต้องกระทบกับระบบงาน หลักทีท่ ำ� อยู่ และช่วงเวลาในการส�ำรองข้อมูล อาจจะท�ำไม่ทันกับช่วงเวลาที่ต้องการท�ำ Report และ Batch Workloads ในกรณีที่ ข้ อ มู ล มี ก ารขยายพื้ น ที่ ขึ้ น ช่ ว งเวลาของ Backup Windows ก็มขี นาดเท่าเดิม หรืออาจ จะปรับมากขึ้นได้
เกิดจากปริมาณข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มากขึ้น ซึ่งมีจุดที่น่าสนใจ คือ ➤ Deduplication Appliance ส่วนใหญ่มัก ต้องท�ำการส�ำรองข้อมูลแบบเต็มรูปแบบ เป็นระยะๆ ซึ่งรูปแบบการอ่านฐานข้อมูล มีผลต่อระบบสตอเรจ, ระบบเซิร์ฟเวอร์ และระบบเน็ตเวิร์ค ➤ เมือ ่ มีการท�ำ Deduplication ทีต่ น้ ทาง เพือ่ ลดผลกระทบต่อระบบเน็ตเวิร์ค แต่กลับมี ผลต่อการใช้ CPU/Memory ที่สูงขึ้น ➤ ในช่วงการกู้คืนข้อมูล (Recovery Phase) ข้อมูลที่มีการท�ำ Incremental Backup ต้องน�ำมารวมไว้ดว้ ยกันเพือ่ คืนข้อมูลก่อน ที่จะท�ำการเปิดฐานข้อมูลมาใช้งาน เป้าหมายถัดไปของการออกแบบ Recovery Appliance ก็คอื การลดกระบวนการ Backup บนเครือ่ ง Production Database ให้เกิดน้อย ทีส่ ดุ โดยการส่งข้อมูลทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลง เท่านั้น (Transmitting Only The Change Data) นั่ น ถื อ ว่ า สามารถให้ บ ริ ก ารกั บ Database ทีม่ คี วามส�ำคัญให้ทำ� งานได้อย่าง เต็มที่
Recovery Appliance ได้มกี ารพัฒนารูปแบบ การท�ำ Backup แบบ Incremental-Forever Backup ทีส่ ามารถลดผลกระทบต่อระบบฐาน ข้อมูลหลักได้เป็นอย่างดี โดยลักษณะทีก่ ล่าว ถึงมีการใช้ 2 เทคโนโลยี คือ Delta Push และ Delta Store Delta Push เป็นรูปแบบของการปกป้องฐาน ข้อมูลด้วยการส่งแบบ Incremental Backup เฉพาะที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงเท่ า นั้ น ไปยั ง Recovery Appliance ดังนั้นจึงไม่มีความ จ�ำเป็นทีต่ อ้ งกลับไปท�ำ Full Backup ทุกครัง้ ส�ำหรับ “Delta Push” ที่รู้จักในนามของ “Incremental Forever” คือหลังจากทีม่ กี ารท�ำ Full Backup เพียงครัง้ เดียว รวมทัง้ มีการท�ำ Incremental Backup ก็สามารถน�ำข้อมูลที่ ได้ไปใช้เป็นระบบ Production ได้ ผลของการใช้ “Delta Push” สามารถปรับการ ใช้งานได้กับเครื่องต้นทาง “Source-Site Deduplication” ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ผลของการเปลี่ยนแปลงฐานข้อมูลในระดับ Blocks ของเครือ่ ง Production Database คือ
ระบบการส�ำรองข้อมูลแบบ Disk-Base มักมี ผลกระทบต่อระบบงานหลัก โดยส่วนใหญ่ G-MagZ IT MAGAZINE
19
Tech&Trend
รูปแบบการบ่งชีอ้ ย่างมีประสิทธิภาพด้วยการ ใช้ “RMAN Block Change Tracking” เพื่อ เป็ น การลดการอ่ า นข้ อ มู ล ที่ ไ ม่ ไ ด้ มี ก าร เปลี่ยนแปลงข้อมูล Delta Store เปรียบเสมือน “สมอง” (Brains) ของ Recovery Appliance ในรูปแบบของ ซอฟต์ แ วร์ ด ้ ว ยการตรวจสอบข้ อ มู ล ที่ ถู ก ความเร็วในการ Restore ท�ำได้ 216TB ต่อ ชั่วโมง
น� ำ ส่ ง เข้ า มาของ Data Blocks ที่ มี ก าร เปลี่ยนแปลงและมีการบีบอัด (Compress) ข้อมูล และจัดท�ำ Index ไว้ในชุดของ Delta Store ทีส่ ามารถน�ำข้อมูลนีไ้ ปเป็นพืน้ ฐานให้ กับการท�ำ Virtual Full Database Backups ที่สามารถท�ำพื้นที่จัดเก็บได้มากถึง 10 เท่า ของพื้นที่ที่มีอยู่ โดยรูปแบบของการกู้คืน สามารถกระท�ำได้ผ่านทาง Delta Store ที่มี การสร้างชุด Full Backup ขึ้นมาใหม่ตามที่ ต้องการและอ้างอิงตามการใช้ชดุ Incremental ที่ ต ้ อ งการ ขั้ น ตอนของการกู ้ คื น ข้ อ มู ล สามารถรองรั บ การขยายพื้ น ที่ แ ละมี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นภายใต้สถาปัตยกรรม ของ Recovery Appliance คุณสมบัติของ Real-Time Redo Transport และ Delta Push สามารถปกป้อง Database ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการจัดการ ข้อมูลที่เกิดการเปลี่ยนแปลงให้ท� ำการส่ง ข้อมูลชุดเหล่านี้ไปยัง Recovery Appliance ส�ำหรับกระบวนการ Backup / Restore รวม ไปถึง Tape Backup สามารถจัดการได้โดย Recovery Appliance
20
G-MagZ IT MAGAZINE
รูปแบบการน�ำไปใช้งานของ Recovery Appliance Configuration ส�ำหรับ Recovery Appliance สามารถน�ำเสนอ ได้ 2 รูปแบบ คือ Base Rack และ Full Rack โดยชุด Base Rack ประกอบด้วย 2 Compute Servers และ 3 Storage Servers ที่ มี การเชื่ อ มต่ อ ภายในด้ ว ยความเร็ ว สู ง ของ InfiniBand ที่มีความเร็ว 40Gb/sec และ รองรับข้อมูลที่ต้องการ Backup ได้ถึง 94TB หากต้ อ งการขยายเพิ่ ม จาก Base Rack สามารถท�ำได้ดว้ ยการเพิม่ Storage Servers ได้สูงสุดถึง 18 Storage Servers ให้อยู่ภาย ใต้ Rack เดียวกันได้ และความจุของพื้นที่ที่ สามารถ Backup ได้คือ 580TB [Virtual Full Backup ได้ถงึ 5.8PB (Petabytes)] ความเร็ว ในการท�ำ Virtual Full Backup ท�ำได้ถึง 120TB ต่อชั่วโมง ความเร็วในการ Restore ท�ำได้ 12TB ต่อชั่วโมง หากต้องการขยาย สามารถเพิ่มเป็น 18 Full Racks ที่เชื่อมต่อ กันเป็นระบบเดียวกัน ได้ความจุที่สามารถ Backup ได้ถึง 10PB (Virtual Full Backup ได้ถึง 100 Petabytes) ความเร็วในการท�ำ Virtual Full Backup ท�ำได้ถงึ 2PB ต่อชัว่ โมง
ส�ำหรับรูปแบบการบริหารจัดการ Recovery Appliance ท�ำได้โดยใช้ Oracle Enterprise Manager ที่สามารถจัดการไปแบบ End-toEnd ของ Data Protection Lifecycle โดยเริม่ จากการท�ำ Backup ด้วย RMAN แล้วน�ำ ข้ อ มู ล ไปเก็ บ ที่ Disk, Tape และ/หรื อ Replicate ไปยัง Recovery Appliance อีก ชุ ด โดยชุ ด ข้ อ มู ล ทั้ ง หมดสามารถบริ ห าร จัดการผ่าน Recovery Appliance Catalog รวมไปถึง Oracle Enterprise Manager สามารถบริหารจัดการ Recovery Appliance ที่เข้าไปดูได้ถึง Performance, Throughput ของ CPU, Memory และปริมาณ IOPs Oracle’s Zero Data Loss Recovery Appliance สามารถใช้ได้งานได้ดีกับการ ปกป้องฐานข้อมูลของ Oracle Database ที่ มี Version 10.2 ถึง 12c และมีประโยชน์ที่ สามารถน� ำ ไปต่ อ ยอดกั บ ระบบ Critical Database ได้เป็นอย่างดี โดยช่วยลดปริมาณ การสูญหายของข้อมูล (Eliminates Data Loss), ป้องกันข้อมูลผิดพลาดจากเหตุการณ์ ไม่คาดคิดทีท่ ำ� ให้ระบบท�ำงานไม่ได้ (Protects Data from Disasters), ลดผลกระทบทีม่ ตี อ่ ระบบงานหลัก (Eliminates Production Impact), Offloads Tape Archival, รองรับการ Restore แบบ Point-in-Time ซึ่งช่วยให้ การส�ำรองข้อมูลมีประสิทธิภาพขึ้น G
เอกสารอ้างอิง: https://www.oracle.com/engineeredsystems/zero-data-loss-recovery-appliance/index.html
Biz&Consult
ภูมิ ภูมิรัตน Senior Consultant บริษัท จีเอเบิล จำ�กัด
FIDO: Future of Online Authentication การยืนยันตัวตน (Authentication) บนโลก ออนไลน์ ถือเป็นปัจจัยทางความมั่นคงที่มีความ สำ�คัญสูงสุด เพราะเป็นวิธีการที่องค์กรใช้ ในการ ระบุตัวตนของผู้ ใช้งานระบบ ไม่ว่าจะเป็นพนักงาน หรือลูกค้า งานวิจยั จ�ำนวนมากบ่งชีว้ า่ กว่า 80% ของการโจมตี มีต้นเหตุหรือต่อยอดมาจากการขโมย Password ไม่ ว ่ า จะด้ ว ยวิ ธี Phishing หรื อ การใช้ Weak Password ที่เดาได้ง่าย (ง่ายต่อการ Brute Force) หรือผู้ใช้งานระบบมีการใช้ Username และ Password ที่ซ�้ำกัน ในหลายระบบ ท� ำ ให้ ห ากระบบ A ถู ก โจมตี แ ล้ ว คนร้ า ยได้ Username/Password ของนาย ก. ไป พยายามใช้ในระบบ B ถ้านาย ก. ใช้ Username/Password เดียวกัน คนร้ายก็สามารถ ยึดครอง Account บนระบบ B ได้ด้วย เป็นต้น ปัจจุบันมีโซลูชั่นมากมายช่วยให้การใช้ Username/Password ในการยืนยันตัวตนออนไลน์ปลอดภัยขึ้น เช่น การใช้ One-TimePassword (OTP) ผ่าน SMS (ธนาคารหลายๆ แห่งในประเทศไทย
ใช้ระบบ OTP) หรือการใช้ Time-Based OTP แอพ เช่น ระบบ ของ Microsoft, Google, Facebook มีให้เลือกใช้ เพื่อเป็น 2nd Factor Authentication (Password = Something You Know, OTP = Something You Have) หรือการยืนยันตัวตนทางที่สอง เพื่อลดความเสี่ยง แต่การใช้ระบบดังกล่าวมีข้อเสีย เช่น น�ำไปใช้ ยาก (App TOTP ต้องมีการ Setup ทีซ่ บั ซ้อน และการเปลีย่ นหรือ ย้ายสิทธิของแอพบนเครื่องต้องมีการเตรียมการ ล่วงหน้า) หรือมีต้นทุนสูงขึ้น (เช่น SMS-OTP เพิม่ ต้นทุนให้ระบบ) และทัง้ หมดนีย้ งั ประสบปัญหา ยุ ่ ง ยากในการใช้ ง าน (ต้ อ งพิ ม พ์ ห ลายหนทั้ ง Username/Password และ OTP ด้วย) และยัง อาจจะถูกท�ำ Phishing หรือ Man-in-the-Middle เพื่อขโมย Username/Password/OTP ได้อยูด่ ี (ยากขึน้ แต่ปญ ั หาไม่หมดไป) FIDO (Fast IDentity Online: https://fidoalliance.org) เป็น การรวมกลุม่ พันธมิตรของบริษทั ยักษ์ใหญ่ทางเทคโนโลยีของโลก เพือ่ แก้ปญ ั หาของความไม่ปลอดภัยของการใช้ Username/Password ในการยืนยันตัวตนออนไลน์ โดย FIDO ได้จัดท�ำมาตรฐาน Online Authentication ที่ใช้ Biometric (เช่น ลายนิ้วมือ เสียง ภาพ หรือองค์ประกอบทางกายภาพของร่างกาย) มาใช้ในการยืนยัน G-MagZ IT MAGAZINE
21
Biz&Consult ไม่สามารถถูกขโมยได้) โดยวิธีการยืนยันตัวตนนั้นใช้ Cryptographic Protocol ที่สามารถป้องกันการโจมตีได้ (Public Key Cryptography) การยืนยันตัวตนแบบ UAF นัน้ เทียบได้กบั การมี 2-Factor Authentication คือ Something You Are (Biometric) และ Something You Have (อุปกรณ์ UAF) ส่วน U2F หรือ Second Factor User Experience นัน้ ท�ำงานคล้ายกัน คือ ผู้ใช้ท�ำการล็อกอินเข้าเว็บหรือระบบด้วย Username/Password จากนั้นระบบจะถามหา U2F Device ผู้ใช้จึงท�ำการยืนยันตัวตนกับ อุปกรณ์ดงั กล่าว ซึง่ ระบบจะสือ่ สารกับเว็บหรือระบบเองด้วย Protocol ทีป่ ลอดภัยเช่นเดียวกับ UAF เพือ่ ใช้ในการยืนยันตัวตน ซึง่ ในรูปแบบนี้ จะเสมือนกับการท�ำ 3-Factor Authentication คือ Something You Know (Username/Password), Something You Are (Biometric) และ Something You Have (อุปกรณ์ U2F)
ภาพจาก : https://fidoalliance.org/specifications/overview/
ตัวตนอย่างปลอดภัยมากขึ้น โดยมีเป้าหมายเพือ่ ให้เกิด Passwordless Authentication Experience เพื่อน�ำไปสู่การลดการใช้ Username/ Password ลง (เป้าหมายคือ ลดโดยสิ้นเชิง) มาตรฐานของ FIDO นั้นเป็น Open Standard Protocol โดยมีการ ออกใบอนุญาตรับรองสองประเภทคือ UAF (Universal Authentication Framework) และ U2F (Universal Second Factor) หากระบบใดมี การอิมพลีเม้นต์ตามมาตรฐานแล้ว จะสามารถใช้รว่ มกับระบบอืน่ ๆ ที่ ใช้ ม าตรฐานเดี ย วกั น ไม่ ว ่ า จะใช้ ยี่ ห ้ อ ใดก็ ต าม ซึ่ ง เป็ น อุ ป สรรค ของการน�ำเอาระบบ Biometric มาใช้ในอดีต (เพราะหากซือ้ ระบบของ ยีห่ อ้ ใด ก็ตอ้ งซือ้ อุปกรณ์ของยีห่ อ้ นัน้ ตลอดไป หรือ Locked-In นัน่ เอง) UAF คือ Passwordless User Experience ซึ่งมีหลักการง่ายๆ คือ ผู้ใช้จะต้องมีอุปกรณ์ที่มี UAF Compatible อยู่ (เป็นฮาร์ดแวร์ หรือ เป็นแอพพลิเคชั่นก็ได้ เช่น iPhone/Android ที่มี UAF Stack ดังเช่น รุ่นที่มี Programmable Secure Enclave) เมื่อผู้ใช้ต้องการล็อกอิน เข้าเว็บ หรือเข้าระบบที่รองรับ UAF ผู้ใช้ท�ำการยืนยันตัวตนเข้ากับ อุปกรณ์ที่ตนเองถืออยู่ด้วย Biometric หรือ PIN (ในกรณีที่อุปกรณ์ ไม่มี Biometric) อุปกรณ์ดังกล่าวจะท�ำการยืนยันตัวตน เพื่อเข้าเว็บ หรือระบบโดยไม่มีการส่ง Biometric หรือ PIN ไปยังระบบ (กล่าวคือ Biometric หรือ PIN นัน้ จะไม่ถกู ส่งออกจากอุปกรณ์ของผูใ้ ช้เลย ท�ำให้ 22
G-MagZ IT MAGAZINE
การยืนยันตัวตนทัง้ หมดนี้ จะต้องมีการลงทะเบียนอุปกรณ์ UAF/U2F ไว้กับระบบก่อนโดยเรียกว่า ขั้นตอนการ Registration เป็นขั้นตอน การน�ำ Public Key ของ UAF/U2F Device ไปผูกกับ Biometric (หรือ PIN) จากนั้นท�ำการฝากไว้ที่เซิร์ฟเวอร์ ท�ำการผูก Identity ของ ผูใ้ ช้ (Something You Are) เข้ากับอุปกรณ์ดงั กล่าว (Something You Have) โดยที่หากคนร้ายได้อุปกรณ์ดังกล่าวไป ก็ไม่สามารถใช้ยืนยัน ตัวตนได้ เนื่องจากไม่มี Biometric หรือ PIN หรือหากคนร้ายขโมย Biometric หรื อ PIN ไปได้ (เช่ น ลอกลายนิ้ ว มื อ หรื อ อั ด เสี ย ง) ก็ไม่มอี ปุ กรณ์ดงั กล่าว หากซือ้ อุปกรณ์ชนิ้ ใหม่ ก็ไม่สามารถล็อกอินได้ เพราะระบบได้ผูก Biometric เข้ากับอุปกรณ์นั้นเพียงชิ้นเดียว ทัง้ นี้ อาจจะมีหลายคนสงสัยว่า การใช้ PIN (ทีไ่ ม่ใช่ Biometric) ในการ ยืนยันตัวตนกับ U2F หรือ UAF Device นัน้ ต่างจากการใช้ Password อย่างไร ความแตกต่างคือ PIN ใช้ยืนยันตัวตนกับ UAF/U2F Device เท่านั้น โดยไม่ได้เก็บไว้บนเซิร์ฟเวอร์ จึงไม่สามารถขโมยได้ ถึงแม้จะ มีความปลอดภัยที่ต�่ำกว่า Biometric แต่ปลอดภัยกว่า Password เพราะคนร้ายไม่สามารถขโมย PIN นีจ้ ากเซิรฟ์ เวอร์ได้ และแม้คนร้าย ท�ำ Phishing ได้ PIN นี้ไป ก็ไม่มีประโยชน์หากเขาไม่สามารถขโมย UAF/U2F Device ที่ผูกไว้กับ PIN นี้ การยืนยันตัวตนรูปแบบใหม่ของ FIDO นี้ เราเชือ่ ว่าจะมาแทนทีก่ ารใช้ Username/Password โดยทั่ ว ไปอย่ า งแน่ น อน และเป็ น การใช้ Biometric ยืนยันตัวตนแบบถูกต้องปลอดภัย ต่างจากการใช้ Biometric ทีม่ ใี ช้อยูท่ วั่ ไป เช่น บางระบบมีการน�ำ Biometric ไปเก็บบนเซิรฟ์ เวอร์ (เสี่ยงต่อการถูกโจมตี) หรือบางระบบเพียงเอา Biometric มาเก็บ Username/Password หรือ Session Token บนอุปกรณ์มอื ถือเท่านัน้ การยืนยันตัวตนกับระบบยังคงใช้ Username/Password เพือ่ ยืนตัวตน เช่ น เดิ ม (แอพพลิ เ คชั่ น หลายๆ ตั ว ที่ ใ ช้ TouchID บน iPhone มีลักษณะนี้) ซึ่งไม่ได้เพิ่มความปลอดภัยขึ้นเพราะหากมีการขโมย Username/Password ไปได้ ก็สามารถท�ำการโจมตีได้เช่นกัน G
Success story
คุณ สุรศักดิ์ เกิดผล Test Engineer
คุณ วรายุทธ วงศ์ไพบูลย์วัฒน System Quality Assurance Manager
AIS ใช้ CA DevTest Solutions ช่วยด้านทดสอบ
เลือก G-ABLE บริการเด่น-เข้าใจผลิตภัณฑ์ การด�ำเนินธุรกิจในทุกวันนี้ เทคโนโลยีมีส่วน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานเป็นอย่าง มาก ยิง่ หากมีการเลือกเครือ่ งมือทีเ่ หมาะสมกับ การใช้ ง าน ยิ่ ง ท� ำ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ ท�ำงานมากยิ่งขึ้น
การทดสอบระบบที่ AIS เลือกใช้ในโครงการ ส�ำคัญๆ ท�ำไม AIS จึงเลือกเครื่องมือนี้ และ ตอบโจทย์อะไรบ้าง ทั้งหมดนี้มีค�ำตอบ
AIS (บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด) เป็นหนึง่ ในองค์กรทีม่ กี ารใช้งานเทคโนโลยีเป็น เครื่องมือในการท�ำงานมากที่สุดแห่งหนึ่ง การ จะเลือกเอาเทคโนโลยีใดมาใช้นั้น ต้องมั่นใจว่า เครื่องมือเหล่านั้นสามารถตอบโจทย์ในการใช้ งานได้เป็นอย่างดี และสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ขององค์กร
คุ ณ วรายุ ท ธ วงศ์ ไ พบู ล ย์ วั ฒ น System Quality Assurance Manager จาก บริษัท ไมโม่เทค จ�ำกัด (MIMO Tech) หนึง่ ในบริษทั ลูก ของ AIS มีหน้าทีพ่ ฒ ั นาแอพพลิเคชัน่ ต่างๆ ของ AIS ได้กล่าวถึงการเลือกใช้เครือ่ งมือ CA DevTest Solutions ว่า การเลือกใช้เครื่องมือดังกล่าว มีมาตั้งแต่ปีที่ผ่านมา ภายใต้วิสัยทัศน์ AIS ปี 2015 และส่งต่อมายังวิสัยทัศน์ปี 2016 ที่ ภาพรวมล้วนมุ่งเน้นการไปสู่ “ดิจิทัล” ทั้งระบบ
CA DevTest Solutions (ชื่อเดิม CA LISA Service Virtualization) หนึ่งในเครื่องมือด้าน
นั่ น หมายความว่ า ระบบไอที ต ้ อ งเร็ ว และ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในกระบวนต่ า งๆ โดย G-MagZ IT MAGAZINE
23
Success story ปั จ จุ บั น โครงการระยะยาว คื อ Solution Transformation ท�ำการปรับปรุงเครื่องมือ และอุปกรณ์ภายในให้ทันสมัย คล่องตัวขึ้น เพื่อพัฒนาบริษัทให้มีความคล่องตัวทันสมัย แข่งขันกับคู่แข่งได้ CA DevTest Solutions ตัวช่วยลดเวลาทดสอบ AIS เลือก CA DevTest Solutions มาเพื่อใช้ กับทุกโครงการของ AIS ที่ต้องการความ รวดเร็ว นัน่ หมายถึงการลด Communication Hob ลงจากเดิมที่ต้องพึ่งหน่วยงานอื่นหรือ ทีม Outsource ในการท�ำงาน แต่เมื่อใช้ CA DevTest Solutions ซึ่งเป็น Service Virtualization ช่วยให้ MIMO Tech สามารถ ท�ำงานต่างๆ ได้เองโดยไม่ตอ้ งพึง่ ทีมอืน่ ช่วย เพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงาน และลดเวลาที่ จะท�ำการทดสอบระบบไปได้อย่างมาก เช่น จากเดิมอาจจะต้องใช้เวลา 2-3 วัน ลดเหลือ เพียงไม่กี่ชั่วโมง จุดแรกในการใช้ CA DevTest Solutions อย่างจริงจังเริม่ ต้นจาก นโยบายของ AIS ช่วง เดือนธันวาคม 2015 ที่ต้องการเปิดตัว AIS PLAY ซึ่ ง เป็ น แอพพลิ เ คชั่ น บน Video Platform ภายในเดือนมกราคมที่ผ่านมา ซึ่ง มี เ วลาในการพั ฒ นาแอพ น้ อ ยมาก และ เชื่อว่าในหลายองค์กรก็ไม่อาจจะท�ำได้ส�ำเร็จ คุณ วรายุทธ กล่าวเสริมว่า แต่ด้วย CA DevTest Solutions ท�ำให้เราพัฒนาแอพ ใน โครงการ AIS PLAY ได้ส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ซึง่ เบือ้ งหลังคือ CA DevTest Solutions ท�ำให้ เราสามารถท�ำ Mock Up ได้ด้วย Service Virtualization หรือการทดสอบแอพ โดยใน ขณะนั้นเราได้ส่งทีมงานไปคุยกับทีมเขียน แอพพลิเคชั่นที่สิงคโปร์ เพื่อบอกแนวทางใน การพัฒนาแอพ ในด้ า นการท� ำ งาน คุณ สุรศักดื์ เกิดผล Test Engineer บริ ษั ท ไมโม่ เ ทค จ� ำ กั ด (MIMO Tech) ได้กล่าวเสริมว่า หลังจากที่ได้ รั บ มอบหมายงานจากคุ ณ วรายุ ท ธ ก็ เ ริ่ ม ด�ำเนินการทันที โดยลักษณะการท�ำงานนั้น หากทีมพัฒนาแอพฯ ต้องการทดสอบแอพฯ ก็จะท�ำการสร้าง Mock Up ขึ้นมาจาก CA DevTest Solutions 24
G-MagZ IT MAGAZINE
วิสัยทัศน์ AIS ปี 2015 มีเป้าหมาย 3 ด้าน
การเป็นผู้น�ำด้าน
Voice and Data
การเป็นผู้น�ำด้าน
Fixed Broadband
การเป็นผู้น�ำด้าน
Digital Life Service Provider
วิสัยทัศน์ AIS ปี 2016 มีเป้าหมาย 4 ด้าน
Best Network
Best Application
“ตอนทีเ่ ราพัฒนาแอพ มีเวลาน้อยมาก เราจึง ต้ อ งแยกกั น ท� ำ คื อ ที ม พั ฒ นามี ห ลายที ม แยกกันพัฒนาแต่ละโหนด ซึ่งเมื่อต้องการ ดูวา่ ระบบสามารถท�ำงานได้ดหี รือไม่ ทางทีม ทดสอบก็จะสร้าง Mock Up ของแต่ละโหนด ขึ้นมาทันที โดยใช้เวลาในการสร้างโหนดละ ประมาณ 20-30 นาทีเท่านั้น” คุณสุรศักดิ์ กล่าว และเสริมว่า การท�ำงานระหว่างสองฝ่าย คือทีมพัฒนา และทีมทดสอบจะมีเอกสาร ที่เรียกว่า Interface Spec ซึ่งเป็นเอกสารที่ ทุกคนใช้ร่วมกัน มีการบอกวิธี หรือค�ำสั่งใน การเชื่อมต่อกับระบบ หน้าที่ของทีมทดสอบ จะท�ำการสร้าง Mock Up จากเอกสารนี้รอไว้ คุณ วรายุทธ เสริมว่า ถ้าย้อนกลับไปเมื่อ 10 ปีที่แล้ว รูปแบบการพัฒนาแอพพลิเคชั่นคือ ต้องท�ำแต่ละส่วนให้เสร็จก่อน แล้วจึงค่อยน�ำ มาต่อเข้าด้วยกัน คล้ายๆ กับประตูที่เปิดไป หากัน แต่ปัจจุบันเราสามารถสร้างประตูเอง ได้โดยไม่ต้องรอให้แอพพลิเคชั่นพัฒนาเสร็จ ทุกส่วน
Best Service
Best People
ลดเวลาตัดขั้นตอนที่ไม่จ�ำเป็น คุณสุรศักดิ์ กล่าวถึงการท�ำงานว่า ปกติใน การท�ำ Mock Up ของแอพพลิเคชั่นตัวหนึ่ง แต่เดิมต้องมีการวางแผน และจ้าง Vendor จากภายนอกมาเป็นผู้พัฒนา ซึ่งต้องใช้เวลา มากในการสร้าง อีกทั้งยังต้องมีการปรับแก้ กันไปมา และมีค่าใช้จ่ายที่สูง ขณะที่ CA DevTest Solutions เป็นเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยให้ทมี งานสามารถสร้าง Mock Up ขึ้นมาใช้ได้เอง ในช่วงการพัฒนา AIS PLAY ทีมงานได้มกี าร ใช้ CA DevTest Solutions เป็นตัวแทนของ โหนดต่างๆ ในระบบหลังบ้าน 3-4 โหนด ทัง้ นี้ ในความเป็นจริง AIS มีการใช้ CA DevTest Solutions อยู่ในบางโปรเจกต์ แต่ไม่จริงจัง มากนัก จนมาถึงโปรเจกต์ AIS PLAY ที่ได้มี การน�ำเอา CA DevTest Solutions มาใช้ อย่ า งจริ ง จั ง และเมื่ อ ติ ด ปั ญ หาในส่ ว นใด ตัวแทนของ G-ABLE (บริษทั จีเอเบิล จ�ำกัด) ซึ่งเป็นผู้อิมพลีเม้นต์ระบบและคอยให้ความ ช่วยเหลือในการแก้ปญ ั หาทีต่ ดิ ขัดได้ทนั ที ซึง่
Success story
ความภู มิ ใ จที่ ไ ด้ จ ากการใช้ ง าน CA DevTest Solutions ก็คือ ผลงานสามารถออกมาได้ทัน ตามก�ำหนดเวลา นอกจากนี้ยังสามารถช่วยย่น ระยะเวลาในการท�ำงานได้มากกว่าการท�ำงานใน รูปแบบเดิมๆ
ท� ำ ให้ ส ามารถออนไลน์ โ หนดที่ ต ้ อ งการได้ ภายในเวลาไม่เกิน 30 นาที
ของ G-ABLE ก็พร้อมเข้ามาช่วยเหลืออย่าง เต็มที่ ซึ่ง AIS มองว่าการเลือกพาร์ทเนอร์ใน การอิมพลีเม้นต์โครงการ ไม่เพียงแค่การเป็น คู่ค้าเท่านั้น แต่ต้องเป็นมากกว่า และที่ส�ำคัญ หากผู ้ อิ ม พลี เ ม้ น ต์ ไ ม่ มี ค วามเข้ า ใจในตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดี พ อ ก็ จ ะไม่ ส ามารถให้ บ ริ ก าร ลูกค้าได้ดีอย่างแน่นอน ส�ำหรับ G-ABLE มี ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ที่จ�ำหน่ายอยู่เป็น อย่างดี ท�ำให้สามารถจัดการปัญหาต่างๆ ได้ ง่ายขึ้น
ส� ำ หรั บ การเลื อ กพาร์ ท เนอร์ ข อง AIS จะ พิจารณาจากผลิตภัณฑ์เป็นโจทย์ขอ้ แรก เพือ่ ให้ตรงความต้องการใช้งานได้มากที่สุด และ โจทย์ข้อถัดมาคือ ทีมอิมพลีเม้นต์ที่มาติดตั้ง ระบบต้องมีความรู้ ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ และเข้าใจระบบงานของลูกค้าเป็นอย่างดี ซึ่ง AIS PLAY นับว่าเป็นผลผลิตจากการน�ำเอา หากมีความเข้าใจทั้งสองส่วนก็จะสามารถ CA DevTest Solutions มาใช้งานอย่างจริงจัง ท�ำงานได้เร็วขึ้น เข้าใจกันมากขึ้น และสามารถเสร็จได้ภายใน 45 วัน หากเป็น การท�ำงานแบบเดิมอาจจะใช้เวลามากกว่า ส�ำหรับตัวผลิตภัณฑ์นั้น AIS มีความประทับ เดิมถึง 2 เท่า ซึง่ หลังจากเปิดตัวแอพพลิเคชัน่ ใจในส่วนของอินเทอร์เฟซในการใช้งาน ที่มี ให้ลูกค้าทั่วไปใช้งาน ผลตอบรับจากลูกค้าอยู่ การออกแบบมาช่วยให้ใช้งานได้ง่าย แม้จะมี ความรู้ไม่มาก ซึ่ง CA DevTest Solutions มี ในเกณฑ์ที่ดี ปัญหาด้านระบบมีน้อยมาก อินเทอร์เฟซที่ผู้ใช้เข้าใจได้ง่าย ท�ำให้ผู้ใช้ ในด้านปัญหาจากการใช้งาน CA DevTest สามารถใช้งานเครื่องมือได้ง่ายขึ้น รวมถึงลด Solutions นั้น คุณสุรศักดิ์ กล่าวว่า ปัญหา ความเสี่ ย งจากบุ ค ลากร (Human Error) หลัก เกิดจากความไม่คุ้นเคยในการใช้งาน ได้มาก หากการท�ำ Muck Up มีความถูกต้อง แต่ก็มีการเรียนรู้จากการท�ำงานและปัญหาที่ ตั้ ง แต่ แ รกก็ ส ามารถจั ด เก็ บ เป็ น เทมเพลต เกิดขึ้น เมื่อแก้ปัญหาได้ก็จะท�ำเอกสารเก็บ เอาไว้ได้ ไม่ต้องกังวลในเรื่องทีมงานจะท�ำ เพื่อในอนาคตเมื่อมีการใช้งานอีกก็สามารถ ระบบผิดพลาด หรือทีมงานลาออก ระบบ น� ำ เอาข้ อ มู ล เทคนิ ค เหล่ า นี้ ก ลั บ มาศึ ก ษา ที่ ท� ำ ไว้ ก็ ยั ง คงอยู ่ นอกจากนี้ ยั ง ช่ ว ยลด Communication Hob ที่ใช้เวลาค่อนข้างมาก เรียนรู้ได้
“แต่เดิมงานในส่วนของ Tester เราจะไม่ได้ทำ� ระบบเอง แต่เมื่อมี CA DevTest Solutions ท�ำให้เรามีความรู้เพิ่มขึ้น เพียงเรารู้จักข้อมูล ในแต่ละส่วน เราสามารถท�ำระบบเองได้ CA DevTest Solutions สอนเทคนิคพิเศษให้เรา ได้ ไม่ใช่แค่รับข้อมูลมาแล้วส่งไปเหมือนแต่ ก่อน CA DevTest Solutions ท�ำให้เราเชื่อว่า เราสามารถใส่เทคนิคพิเศษ ใส่ Data Set แปลกๆ เช่ น ปกติ ก ารทดสอบบน IoT (Interoperability Test) ซึ่งเป็นการทดสอบ ระบบแบบ End-to-End เราไม่ ส ามารถ Simulate ข้อมูลแปลกๆ ได้ หรือตัง้ ค่าให้โหนด ต่างๆ เกิดการ Error ในรูปแบบต่างๆ ได้เลย แต่ CA DevTest Solutions สามารถท�ำให้เกิด ขึ้น และเราน�ำมาทดสอบได้” ความภูมิใจที่ได้จากการใช้งาน CA DevTest Solutions ก็คือ ผลงานสามารถออกมาได้ทัน คุณวรายุทธ กล่าวเสริมว่า ปกติกระบวนการ ตามก�ำหนดเวลา นอกจากนี้ยังสามารถช่วย ท�ำแอพพลิเคชั่นหรือบริการๆ หนึ่ง จะมีการ ย่นระยะเวลาในการท�ำงานได้มากกว่าการ ท�ำงานประมาณ 30-50 ขั้นตอน การทดสอบ ท�ำงานในรูปแบบเดิมๆ ก็เป็นหนึง่ ในนัน้ และเป็นกระบวนการทีส่ ำ� คัญ ที่สุด ไม่ว่าจะเป็น Unit Test, Function Test พาร์ทเนอร์ท่เี ป็นมากกว่าคู่ค้า เป็นการทดสอบฟังก์ชั่นจากทีมทดสอบ, IoT ในด้านการได้รับบริการจาก G-ABLE คุณ Test เป็ น การเอาฟั ง ก์ ชั่ น ที่ ท างที ม พั ฒ นา สุรศักดิ์ กล่าวว่า AIS ได้รบั การบริการทีด่ จี าก สร้างขึ้นมาไปทดสอบกับทั้งระบบเพื่อหาว่ามี G-ABLE ไม่มขี อ้ ติดขัดปัญหาแต่อย่างใด การ ข้อผิดพลาดที่จุดใด และ Performance Load บริการถือว่าดีเยี่ยม ไม่ว่าจะเป็นวันหยุด หรือ Test ทดสอบการรับโหลดของระบบ ดึกดืน่ เพียงใด หรือแม้มเี วลาเพียงเล็กน้อยทีม
แผนการใช้งาน CA DevTest Solutions การใช้งาน CA DevTest Solutions นั้น ขณะ นี้มีการใช้งานหลักๆ ใน AIS PLAY ซึ่งคงจะ ใช้ระยะเวลาในการใช้งานอีกนาน นอกจากนี้ ยังมีการใช้ในโครงการอืน่ ๆ ทีจ่ ะต้องติดต่ออีก หลายหน่วยงาน อาทิ e-Service ในอนาคต อาจจะเปิดให้ทมี งานของโปรเจกต์อนื่ ๆ เข้ามา ใช้งาน เนื่องจากในขณะนี้ยังขาดเอ็นจิเนียร์ที่ มีความรู้ในด้านนี้ แต่ในอนาคตอาจจะเลือก CA DevTest Solutions ให้เป็น Default Skill ของทีมเพื่อการทดสอบอีกด้วย G G-MagZ IT MAGAZINE
25
Success story
Coffee Today
พร้อมเสิร์ฟผ่านจอด้วย แอพ Cafe Roamer 15 ปีบนเส้นทางธุรกิจกาแฟ “Coffee Today” ที่เริ่มต้นจาก ตลาดต่างจังหวัด ก่อนทีจ่ ะขยายมายังกรุงเทพฯ จนถึงวันนีม้ กี ว่า 200 สาขา โดยในจำ�นวนนั้นเป็นแฟรนไชส์กว่า 170 และจะขยาย ตัวเพิ่มขึ้นอีกไม่น้อยในรูปแบบไลเซ่นส์ที่ขายให้กับผู้ประกอบการ ต่างประเทศ เช่น กัมพูชา ซึ่งปัจจุบันมีสาขาอยู่กว่า 10 แห่ง อีก ทัง้ ยังเตรียมจะขยายตลาดไปยังประเทศลาว สิงคโปร์ และมาเลเซีย
Coffee Today จั ด ได้ ว ่ า เป็ น ธุ ร กิ จ กาแฟ สัญชาติไทยที่เติบโตได้อย่างรวดเร็วรายหนึ่ง จากจุดนีพ้ ลิกมามองอีกมุมหนึง่ ด้านเทคโนโลยี Coffee Today ก� ำ ลั ง วางบทบาทใหม่ ใ ห้ เป็นมากกว่าร้านกาแฟทั่วไปกลายเป็นร้าน กาแฟบนมือถือ ซึ่งในที่นี้ได้ถ่ายทอดแนวคิด มุมมองการบริหาร และการน�ำเทคโนโลยีมา ใช้เอาไว้
26
G-MagZ IT MAGAZINE
คุณวริศ มุกดาสนิท กรรมการผู้จัดการ บริษัทคอฟฟี่ ทูเดย์ จ�ำกัด
คุ ณ วริ ศ มุ ก ดาสนิ ท กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท คอฟฟี ่ ทู เ ดย์ จ� ำ กั ด เล่ า ย้ อ นอดี ต ถึ ง จุ ด เริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ กาแฟตั้ ง แต่ รุ ่ น คุ ณ พ่ อ “คุณสาธิต มุกดาสนิท” ว่า ในระหว่างมองหา ธุรกิจใหม่จากทีเ่ ป็นตัวแทนจ�ำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์อยูด่ งั้ เดิม ก็ได้ “ตกหลุมรักกาแฟ” จึงได้ศึกษาหาความรู้ กระทั่งซื้อเครื่องมา ชงชิมเอง จนได้สูตรตามที่ต้องการ รสชาติ เหมาะกับคนไทย จากนั้นราวปี 2544 ได้ ท�ำการเปิดร้านกาแฟร้านแรกในห้างสรรพสินค้า ที่ อ.แกลง จ.ระยอง ท�ำทุกอย่างเองตั้งแต่ ออกแบบตกแต่ ง ชงเองขายเอง ในชื่ อ “กาแฟดอยตุง” มีทมี่ าจากการน�ำเมล็ดกาแฟ มาจากดอยตุง ที่มาของชื่อ Coffee Today “จากร้านกาแฟในอ�ำเภอแกลง คุณพ่อได้ขยับ ขยายไปเปิดร้านในตัวจังหวัดทีห่ า้ งแหลมทอง โดยวางกลยุทธ์ รสชาติคนไทย ราคาเหมาะสม ซึ่งท�ำให้ประสบความส�ำเร็จขยายสาขาไปได้ กว่า 10 แห่งภายในปีเดียว จนกระทั่งมีคน อยากท�ำร้านกาแฟกับคุณพ่อ จึงเป็นที่มา ท�ำให้เราได้ศกึ ษาการท�ำแฟรนไชส์ และเริม่ ขึน้ อย่างจริงจังในปีที่ 2-3 ของกาแฟดอยตุง
Success story
พลิกผันอีกครั้งเมื่อตัดสินใจขยายธุรกิจเข้า สู่เมืองกรุง หลังจากที่รุ่งเรืองในระยองอย่าง มาก โดยเปิ ด ร้ า นแรกที่ ห ้ า งสรรพสิ น ค้ า ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต ธุรกิจไปได้ดี แต่แล้ว เหตุการณ์ไม่คาดคิดก็เกิดขึ้น “เราถูกขอชื่อ คืน” นั่นจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่มาของชื่อ Coffee Today
ความปลอดภัยเราทดสอบกัน 2 รอบบิลหรือ 2 เดือน ซึง่ ปรากฎว่าใช้ได้ดี และเตรียมขยาย ระบบ Cafe Roamer เข้าไปการใช้งานหน้า ร้าน” คุณวริศ กล่าวพร้อมกับย�้ำว่า… ในระหว่า งการทดลองใช้แอพพลิเคชั่นนั้น รูส้ กึ ได้วา่ ผูใ้ ห้บริการมีความพร้อมในการดูแล ในทุกขั้นตอนของการท�ำงาน มีการหารือพูด คุยเพื่อปรับให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ดี ที่สุด
คุณวริศ เล่าที่มาของชื่อว่า “คุณพ่ออยากให้ ชื่อเป็นภาษาอังกฤษแต่เข้าใจง่าย คนไทย อ่านได้ จึงให้พนักงานช่วยกันตั้งชื่อ ซึ่งชื่อนี้ ยังมีความหมายดื่มได้ทุกวัน” “ร้านกาแฟสดกับโซนไอที” จับมือกันบูม ู Coffee Today ขยายสาขาเกาะไปกับการ ขยายตัวของไอทีในยุคบูมที่ในขณะนั้นแทบ ทุกห้างเริม่ รุกเปิดโซนไอที โดยมีรา้ นกาแฟสด ผูกเกี่ยวไปด้วย ดังนั้นลูกค้าของ Coffee Today ส่วนใหญ่จึงเป็นคนไอที “วันนี้เรามีสาขา 33 แห่งมีแฟรนไชส์อีกกว่า 170 ร้าน ความส�ำเร็จของแฟรนไชส์ เราใช้ กลยุทธ์ครอบครัวกาแฟ คือ มองว่าคนทีจ่ ะมา ร่วมท�ำธุรกิจเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว ซึ่ง เราต้ อ งดู แ ลอย่ า งดี ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาตั้ ง แต่ ประเมินท�ำเล คุยกันให้เข้าใจในธรรมชาติ ของธุรกิจ โดยไม่ได้คิดว่าต้องการจะขาย แฟรนไชส์เพียงอย่างเดียวไม่สนใจว่าจะส�ำเร็จ หรือไม่ แต่ด้วยความที่เราเน้นแบรนด์ จึงไม่ อยากให้เปิดได้ไม่นานก็ต้องปิดไป” ในการด�ำเนินธุรกิจ “คุณพ่อสาธิต” ผู้ก่อตั้ง ธุรกิจกาแฟสดที่จัดว่าเป็นรายแรกๆ ของคน ไทย ได้ให้ค�ำขวัญของ Coffee Today ไว้ว่า “รินหัวใจใส่กาแฟ” หรือ “Pull your heart to your cup” Coffee Today ร้านกาแฟบนมือถือ เมื่อมาถึงยุคของ คุณวริศ ซึ่งเป็นรุ่นที่สองใน การบริหาร ได้พุ่งเป้าไปที่การต่อยอดด้าน มาตรฐานการให้บริการเป็นอันดับต้นๆ โดย
ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง คื อ สิง ่ เี สมอ ถ้าไม่เปลีย ่ น ่ ทีด ก็ จ ะ อ ยู่ ที่ เ ดิ ม แ ต่ ถ้ า เปลีย ่ นแล้วไม่สำ� เร็จก็จะ ได้ รู้ ว่ า ท� ำ แล้ ว ไม่ ดี และ ถ้าเปลี่ยนแล้วดี ธุรกิจ เราก็จะดีขึ้น
ได้น�ำระบบเข้ามาใช้ในจุดต่างๆ อาทิ การน�ำ เทคโนโลยี ม าช่ ว ยด้ า นการบริ ห ารจั ด การ ด้วยการท�ำ e-Document, การเชื่อมข้อมูล ระหว่ า งสาขาเพื่ อ ลดปั ญ หาและเพิ่ ม ประสิทธิภาพการท�ำงาน รวมทั้งมองหาแอพ เพื่อจับร้านกาแฟใส่ไว้บนมือถือ กระทั่งได้ พบกับ Cafe Roamer แอพพลิเคชั่นจาก G-ABLE ทีค่ อ่ นข้างถูกใจและตัดสินใจได้ทนั ที กับการเริ่มต้นทดลองใช้ระบบ “เราใช้เวลา 2 เดือนกับการลงระบบ ทดลอง ใช้ โดยเฉพาะงานส่วน Audit เพื่อให้มั่นใจใน
ส�ำหรับการขยายไปยังหน้าร้าน จะเริ่มใช้ใน ช่วงไตรมาสสองของปีนี้ โดยเริ่มจากสาขาใน เทสโก้โลตัส 3 สาขา คือ ส�ำนักงานใหญ่ นวมินทร์, สาขาบางกะปิ และสาขาพระราม 4 ซึ่งการขยายนี้เป็นจุดเริ่มต้นก้าวสู่ตัวเลือก ใหม่ของ Coffee Today “ร้านกาแฟบนมือถือ” ด้วยแอพ Cafe Roamer Cafe Roamer ร้านกาแฟบนมือถือในแนวคิด ของ คุณวริศ คือ ต้องการเข้าถึงลูกค้า ใกล้ชดิ กับลูกค้าให้มากที่สุด ซึ่งแอพบนมือถือตอบ โจทย์ได้ตรงจุดที่สุด เพราะลูกค้าสามารถสั่ง ล่วงหน้า สั่งผ่านออนไลน์ รับข้อมูลโปรโมชั่น และสินค้าใหม่ได้ ขณะที่ ร ้ า นมองว่ า Cafe Roamer เป็ น เครื่ อ งมื อ ทางการตลาดด้ ว ยการมี ร ะบบที่ สามารถน�ำเสนอโปรโมชั่นและสินค้าใหม่ให้ แก่ลูกค้าได้โดยตรง และที่ส�ำคัญระบบของ Cafe Roamer ท�ำให้ Coffee Today จัดการ กับระบบสมาชิกได้เป็นอย่างดี โดยท�ำให้มี รายชื่อลูกค้า มีข้อมูลการสั่งสินค้าจากลูกค้า ซึง่ สามารถน�ำข้อมูลมาท�ำการตลาดหรือ CRM (Customer Relationship Management) เพื่อเข้าถึงความต้องการของลูกค้าได้ตรงกับ ความชอบ “ผมคาดหวังให้ Cafe Roamer เข้ามาใช้ แทนที่บัตรสมาชิกแบบเดิมที่เราพยายามท�ำ ซึง่ ทีผ่ า่ นมาท�ำได้ไม่สมบูรณ์ แต่ Cafe Roamer จะเข้ามาตอบโจทย์ความต้องการในจุดนี้ได้ เลย โดยจะท�ำให้ Coffee Today มีระบบ G-MagZ IT MAGAZINE
27
Success story
สมาชิกแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่มีข้อมูลลูกค้าครบ ถ้วน น�ำไปต่อยอดพัฒนาการตลาดได้ มีการสะสม แต้มที่เป็นระบบมากขึ้น รวมทั้งข้อมูลจะสามารถ เชื่อมโยงระหว่างสาขาได้ด้วย ในขณะที่ด้านงาน บริการ Cafe Roamer จะช่วยให้ Coffee Today สามารถบริหารจัดการคิวการสั่งซื้อของลูกค้าได้ โดยสามารถวางแผนเพือ่ จัดระบบบริการลูกค้าใน ช่วงเวลาเร่งด่วนได้ดีขึ้น “Cafe Roamer” ประทับใจแอพ-ประทับใจบริการ ด้วยจุดเด่นของ Cafe Roamer ในมุมมองคุณวริศ คือ มีระบบเติมเงินที่มีความปลอดภัย และมีการ รายงานผ่านมือถือทันทีที่เติมเงิน หรือใช้จ่าย ท�ำให้ตอกย�ำ้ ความมัน่ ใจต่อลูกค้า ซึง่ จุดเด่นนีเ้ อง ที่ท�ำให้ Coffee Today เลือก Cafe Roamer ทั้ง ที่มีแอพตัวเลือกอีกมากมายที่ได้มีการน�ำเสนอ เข้ามา แต่อย่างไร Coffee Today ก็ยังมีความต้องการ เพิม่ เติม นอกจากระบบสมาชิกยังอยากให้มรี ะบบ คูปอง, แจกใบปลิว, โปรโมชั่นหรือการสื่อสารส่ง ข้อความเป็นข้อมูลด้านการตลาดถึงมือลูกค้า โดยตรง ซึ่งด้วยระบบ Cafe Roamer ไม่ได้เป็น เรื่องยากที่จะพัฒนาต่อยอดต่อไป จุดนี้จึงจัดว่า เป็นความประทับใจในแอพดังกล่าว ส�ำหรับความประทับใจด้านบริการ ต้องยอมรับ ว่ า ที ม G-ABLE มี ค วามเป็ น มื อ อาชี พ มี ก าร ประสานงานที่ดี มีการติดตามงาน ให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ และช่วยปรับแต่งแอพให้เหมาะสมกับ ความต้องการของ Coffee Today ด้วยความประทับใจทัง้ ด้านแอพและบริการ ท�ำให้ Coffee Today รุกสูก่ ารน�ำเทคโนโลยีมาใช้ทงั้ งาน หลังบ้านและงานหน้าร้าน ด้านการตลาด การ บริการได้เป็นอย่างดี G
28
G-MagZ IT MAGAZINE
คุณวริศ มุกดาสนิท ผู้บริหารธุรกิจกาแฟสายพั นธุ์ไทยไฟแรง คุณวริศ เป็นนักบริหารหนุ่มไฟแรงที่เข้ามารับช่วงงานของ Coffee Today ต่อจากคุณพ่อสาธิต ทั้งที่เรียนจบทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรม ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับกาแฟ แต่ด้วยความที่เป็นธุรกิจของ ครอบครัว บวกกับความชอบกาแฟ ท�ำให้คุณวริศ “บริหารด้วยหัวใจ” เขาเริ่มต้นจากการศึกษาหาความรู้เรื่องกาแฟ, ธุรกิจกาแฟ, ลงราย ละเอียดไปถึงรสชาติกาแฟทีค่ นไทยชอบ แม้จะเป็นโจทย์ทยี่ ากส�ำหรับ คนที่เรียนมาอีกด้าน แต่ส�ำหรับคุณวริศแล้ว “เป็นความท้าทาย” จุดเริ่มต้นของนักบริหารหนุ่มไฟแรง ย้อนไปเมื่อราว 4 ปีที่แล้ว เขาท�ำ ทุกอย่างตั้งแต่งานหน้าร้าน ทั้งชง เสิร์ฟ, น�ำเสนอสินค้า และบริการ ลูกค้า รวมทั้งคิดโปรโมชั่น “ผมไม่ได้ท�ำก็แค่ขับรถส่งของ นอกนั้นผมท�ำมาหมดแล้ว” การท�ำงาน ทุกอย่างท�ำให้คุณวริศรู้ทุกเรื่อง และที่ส�ำคัญ “รู้จักลูกค้า” ส�ำหรับคนรุ่นใหม่ที่ก้าวสู่การเป็นผู้บริหาร ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายหากแต่มา พร้อมกับความท้าทาย ซึ่งคุณวริศมีปรัชญาในการท�ำงานที่มีความคิด ในแบบผู้บริหารรุ่นใหม่ไฟแรงอีกคนที่น่าจับตามอง เขาชอบการ เปลี่ยนแปลง โดยมองว่า… “การเปลี่ยนแปลงคือสิ่งที่ดีเสมอ ถ้าไม่เปลี่ยนก็จะอยู่ที่เดิม แต่ถ้า เปลี่ยนแล้วไม่ส�ำเร็จก็จะได้รู้ว่าท�ำแล้วไม่ดี และถ้าเปลี่ยนแล้วดี ธุรกิจ เราก็จะดีขึ้น” นั่นคือมุมมองของคุณวริศ ผู้บริหารธุรกิจกาแฟสายพันธุ์ ไทยไฟแรง
Success story
คุณสุเทพ ปัญญาสาคร กรรมการผู้จัดการ บริษัท ดี.แลนด์ พร็อพเพอร์ต้ี จ�ำกัด
Porto Chino
ตอบไลฟ์สไตล์ “วันว่าง-วันพักผ่อน”
ลงตัวเลือกซอฟต์แวร์ SPACE จาก Optimus Soft ก้าวสู่การเปลี่ยนผ่านบนเส้นทางธุรกิจใหม่ สำ�หรับ ดี.แลนด์ พร็อพเพอร์ตี้ บริษทั ผูพ ้ ฒ ั นา อสังหาริมทรัพย์ ที่เน้นที่อยู่อาศัย ไม่ว่าจะ เป็นบ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ อาคารพาณิชย์ ซึ่งวันหนึ่งได้ขยายธุรกิจไปสู่ห้างสรรพสินค้า ขนาดเล็ก หรือทีเ่ รียกกันว่า Community Mall นั บ เป็ น อี ก หนึ่ ง ความท้ า ทายของผู้ พั ฒ นา อสังหาริมทรัพย์ รายนี้
“Porto Chino” เป็ น ชื่ อ ห้ า งสรรพสิ น ค้ า ขนาดเล็ ก ของ ดี . แลนด์ พร็ อ พเพอร์ ตี้ ที่ บุ ก เบิ ก ธุ ร กิ จ ขึ้ น ใหม่ ด ้ ว ยการวาง Positioning ให้เป็น Lifestyle Mall ท่ามกลางถนนพระราม 2 เส้นทางการเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง และเป็น รอยต่อทีเ่ ชือ่ มจากกรุงเทพฯ ข้ามเขตเข้าเมืองสมุทรสาคร ชือ่ นีม้ า จากค�ำว่า “Port of China” หรือ “ท่าจีน” ซึ่งเป็นแม่น�้ำสายส�ำคัญ ของจังหวัดสมุทรสาคร ถู ก วางคอนเซ็ ป ต์ เ ป็ น “The Harbor of Joy” มี เ อกลั ก ษณ์ โดดเด่นด้วย “เสน่หแ์ ห่งเมืองท่า” เมืองทีม่ กี ารค้าขายผ่านทางเรือ มาตัง้ แต่อดีตกาล Porto Chino ให้ความรูส้ กึ ทันสมัย สะดวกสบาย กับการจัดสรรตกแต่งพื้นที่อย่างลงตัว เป็นแลนด์มาร์คแห่งใหม่ ของสมุทรสาคร ที่รองรับการใช้ชีวิตและความต้องการของคนใน พื้นที่และนักเดินทาง G-MagZ IT MAGAZINE
29
Success story
คุ ณ สุ เ ทพ ปั ญ ญาสาคร กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท ดี.แลนด์ พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด เปิดใจถึง การขับเคลื่อนธุรกิจ ใหม่ที่ท้าทาย พร้อมกับกล่าวถึง การน�ำระบบไอทีมาใช้เป็น เครื่องมือในการด�ำเนินธุรกิจ ซึ่งเป็นสิ่งที่มอบความสะดวก สบายให้กบั ลูกค้า และพาร์ทเนอร์ สนองความต้องการได้อย่าง ลงตัว Porto Chino ตอบไลฟ์สไตล์ “วันว่าง-วันพั กผ่อน” จากความท้าทาย พร้อมความตั้งใจ ท�ำให้ คุณสุเทพ เริ่มต้น โครงการจากการท�ำวิจัยเพื่อศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มเป้า หมาย เมื่อได้ข้อมูลจึงน�ำมาวางเป็นโจทย์ และน�ำไปสู่การวาง คอนเซ็ปต์ การออกแบบ และก่อสร้าง เป็น Porto Chino ดังที่เห็น คือ มีการตกแต่งที่สื่อถึงการประมง เช่น ประภาคาร มีน�้ำ และปลา ซึ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ในวิถีชีวิตของชุมชน เมืองท่าทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ มีอาชีพหลักด้านการประมง และธุรกิจ ที่เกี่ยวเนื่องกับประมง คุณสุเทพ เสริมว่า “กลุม่ เป้าหมายของเราค่อนข้างหลากหลาย มีทั้งกลุ่มคนท�ำงานในพื้นที่ คนท�ำงานจากกรุงเทพฯ คนที่อยู่ อาศัยในจังหวัดสมุทรสาครซึ่งมีทั้งคนพื้นที่ และคนที่อื่นมา ประกอบอาชีพ รวมไปถึงนักท่องเทีย่ วเพราะเป็นทางผ่านไปยัง สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วหลายแห่งไม่วา่ จะเป็น หัวหิน ชะอ�ำ ตลาดน�ำ้ สวนผึ้ง” Porto Chino เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2555 ซึ่งขณะนี้ย่างก้าวเข้าปีที่ 4 โดยช่วง 3 ปีเศษมานี้ มีการ ปรับเปลี่ยนบางส่วนราว 10-15% เพราะ Speed หรือความ ต้องการของลูกค้าในยุคนี้เปลี่ยนเร็วขึ้น จึงต้อง “เปลี่ยน” เพื่อ ให้ตอบความต้องการ หรือไลฟ์สไตล์ของลูกค้าผู้มาใช้บริการ ให้มากที่สุด “ส่วนผสมร้านค้าต่างๆ ต้องลงตัว มีสันทนาการ มีอารมณ์ ของการผ่อนคลาย และทุกๆ อย่างต้องมีความต่อเนื่องกัน แม้กระทั่งการวางต�ำแหน่งขององค์ประกอบต่างๆ เดินแล้ว ต้ อ งราบรื่ น ไม่ ส ะดุ ด หรื อ กระโดดไปมา เราต้ อ งการให้ Porto Chino ตอบไลฟ์สไตล์ของคน ในวันว่างๆ และวันพักผ่อน ที่จะต้องรู้สึกผ่อนคลาย” Lifestyle Mall แห่งนี้ยังให้รายละเอียดไปถึง สถานที่จอดรถ หรือแม้แต่ห้องน�้ำ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการใช้บริการ 30
G-MagZ IT MAGAZINE
ของลูกค้า และเป็นที่มาของ Starbucks Drive Thru แห่งแรก ของเมืองไทย นั่นเป็นเพราะต้องการให้ตอบโจทย์ของนักเดิน ทาง ทั้งความสะดวกสบาย และทันสมัย IT เครื่องมือส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจ ตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ Porto Chino ได้น�ำระบบไอทีเข้ามาใช้ เป็นเครื่องมือในการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อความคล่องตัว รวดเร็ว ตามแนวคิดของ คุณสุเทพ ที่มองว่า ไอทีเป็นสิ่งส�ำคัญต่อการ ท�ำงานทุกด้าน ช่วยลดข้อผิดพลาด ลดขั้นตอนการท�ำงาน และเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานได้ดยี งิ่ ขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ไอทีท�ำให้ลูกค้า และพาร์ทเนอร์ ได้ รั บ ความสะดวกสบาย นับเป็นสิ่งที่ Porto Chino ให้ความส�ำคัญอันดับแรก “ระบบหรือซอฟต์แวร์ ช่วยให้เราไม่ต้องมานั่งตรวจเช็ค ตรวจ สอบเอกสารต่างๆ เพือ่ ไม่ให้เกิดความผิดพลาด ซึง่ ต้องใช้เวลา ใช้คน และมีขนั้ ตอนทีย่ งุ่ ยาก เท่านีก้ ค็ มุ้ ค่าแล้วกับการน�ำระบบ เข้ามาใช้ หรือแม้แต่ระบบงานหลังบ้านบางอย่างที่ยังต้องมี การกรอกข้อมูลลงไปในแต่ละงาน เป็นการกรอกข้อมูลซ�้ำไป ซ�ำ้ มา แต่ถา้ กรอกข้อมูลเข้าระบบเพียงครัง้ เดียว แล้วทุกอย่าง Run ไปได้ด้วยกัน นั่นก็ช่วยเราได้มาก” เลือก SPACE เลือกที่ซอฟต์แวร์-ทีม-บริการ ซอฟต์แวร์ที่เลือกใช้ในวันนั้นเมื่อตอนเริ่มต้นโครงการ อาจจะ ตอบโจทย์ความต้องการในวันนี้ได้ไม่ทั้งหมด ด้วยเหตุเพราะ การปรับเปลี่ยน และการเติบโต ซึ่งเมื่อเวลาผ่านไป Speed ลูกค้าเปลี่ยน Model เปลี่ยน จึงจ�ำเป็นต้องหาซอฟต์แวร์ ที่ ส ามารถรองรั บ กั บ สถานการณ์ ป ั จ จุ บั น จึ ง เป็ น ที่ ม าให้ Porto Chino เปลี่ยนซอฟต์แวร์มาใช้ SPACE ในการบริหาร จัดการพื้นที่เช่าแบบครบวงจร ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้น โดยบริษทั อ๊อปติมสั ซอฟต์ จ�ำกัด หนึง่ ในกลุม่ บริษทั G-ABLE ผู้น�ำด้านการให้บริการโซลูชั่นและโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที คุณสุเทพ กล่าวถึงปัจจัยหลักในการเลือกซอฟต์แวร์ว่า มีอยู่ 4 เรื่อง ประการแรก ซอฟต์แวร์ SPACE ตอบความต้องการ ของ Porto Chino ได้ตรงจุดและครบ ประการที่สอง ทีมมี ประสบการณ์ และเคยอิ ม พลี เ ม้ น ต์ ร ะบบให้ กั บ ลู ก ค้ า ที่ มี ลักษณะธุรกิจเช่นนีม้ าแล้ว ประการทีส่ าม มีความพร้อมในการ ให้บริการ ประการสุดท้าย มีความรู้ และสามารถ Customize ซอฟต์แวร์ให้ตรงกับความต้องการ
SPACE ซอฟต์แวร์โซลูช่นั ที่ออกแบบมาสำ�หรับบริหาร จัดการพื้นที่เช่าแบบครบวงจร ซึ่งช่วยเพิ่มการบริหาร พืน้ ที่ให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ลดการทำ�งานซ้�ำ ซ้อน และลดการใช้เอกสารที่ไม่จำ�เป็น มีรายงานที่สามารถ ตรวจสอบความถูกต้องได้ ในทุกๆ ขั้นตอน SPACE ใช้งานได้ง่ายบน Web Base และสามารถเข้าสู่ระบบ ได้ผ่าน Internet / Intranet โดยมีโมดูลการใช้งานให้ เลือก 8 โมดูล ดังภาพประกอบ
“SPACE เป็ น ซอฟต์ แ วร์ ที่ มี โ มดู ล ครอบคลุ ม แต่ ล ะโมดู ล มี ก าร เชือ่ มต่อกันได้ดี ท�ำให้การท�ำงานไม่สะดุด แค่ In-Put ข้อมูลครัง้ เดียว ข้อมูลก็จะไหลเวียนไปยังแต่ละงานได้อย่างราบรืน่ ช่วยให้การท�ำงาน มีประสิทธิภาพ และรวดเร็วขึ้น” ติดตั้งพร้อมใช้ ขณะนี้ Porto Chino อิมพลีเม้นต์ซอฟต์แวร์ SPACE เรียบร้อยแล้ว โดยใช้เวลาเพียง 3-4 สัปดาห์เท่านั้น จากนั้นท�ำการทดสอบการ ใช้งาน 2-3 เดือนที่ผ่านมา เพื่อให้มั่นใจว่าระบบสามารถท�ำงานได้ ครบถ้วนตามทีต่ อ้ งการ โดยในช่วงแรกใช้คขู่ นานไปกับซอฟต์แวร์เดิม ซึ่ ง วางวั น ดี เ ดย์ ไ ว้ ที่ เ มษายนนี้ จะใช้ SPACE ซอฟต์ แ วร์ ข อง Optimus Soft ในการ Run ระบบการบริหารจัดการพื้นทีเ่ ช่าทัง้ ระบบ นอกจากนี้สิ่งส�ำคัญอีกประการ คือ ความมั่นใจในการให้บริการที่ เชื่อว่า Porto Chino จะได้รับจากทีม Optimus Soft ทั้งในช่วงเริ่มต้น การใช้งาน และในอนาคต ว่าจะอ�ำนวยความสะดวกในยามทีต่ อ้ งขยาย ระบบไปยังสาขาอื่นเมื่อ Porto Chino ถึงเวลาเปิดโครงการใหม่ หรือ ช่วยเรื่องการ Customize หากต้องมีการปรับโมเดลใดๆ
คิดถึงลูกค้า “คิดเรื่องเล็กเป็นเรื่องใหญ่” แนวคิดหรือหลักการบริหาร Porto Chino คือ “มองเรื่องเล็กที่สุด เป็นเรื่องใหญ่ที่สุด” ซึ่งคุณสุเทพ ขยายความว่า เรื่องที่จอดรถ หรือ ห้องน�้ำ อาจจะดูเป็นเรื่องเล็กๆ หรือดูเหมือนไม่ส�ำคัญ แต่เรื่องเล็กๆ เหล่านี้เรามองเป็นเรื่องใหญ่ ด้วยการให้ความส�ำคัญ โดยคิดถึงว่าถ้า ลูกค้าเข้ามาแล้วจอดรถล�ำบาก ไม่สะดวก เรื่องนี้ก็จะสร้างความ ไม่ประทับใจให้ลูกค้า และอีกแนวคิดที่เป็นวิสัยทัศน์ คือ คิดถึงลูกค้า ก่อนคิดถึงสินค้า ซึ่งสินค้าจะเป็นอะไรนั้นต้องตอบความต้องการของลูกค้า G
G-MagZ IT MAGAZINE
31
Inno&Product
แอพคัดกรองโรคหัวใจด้วยเสียง ผลงานวิจัยชิ้นแรกในโลก
คนทัว่ โลกทราบกันดีวา่ “โรคหัวใจ” เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวติ ของคนจำ�นวนมาก เพราะความไม่รู้ คือไม่รวู้ า่ ตนเองเป็นโรคหัวใจ หรือเพราะไม่ทนั ระวังตนเองแม้รวู้ า่ ตนเป็นโรคหัวใจก็ตาม ปัจจุบนั ไม่มเี ครือ่ งมือทำ�การวิเคราะห์ โรคหัวใจเบื้องต้น นั่นหมายความว่า ต้องมีการแสดงออกของอาการ จากนั้นจะทำ�การตรวจ จึงทราบว่าผู้ป่วย รายนั้นเป็นโรคหัวใจ ดังนั้น จะดีแค่ไหน...หากวันนี้มีเครื่องมือ ในการตรวจวัดหัวใจ เพื่อให้ทราบว่าตัวคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ลูกหลาน ญาติสนิทของคุณ มีความผิดปกติเกิดขึน้ กับหัวใจของเขาเหล่า นั้นหรือไม่ “เครื่องตรวจสัญญาณเสียงหัวใจ” ได้ถูก พัฒนาขึ้น ซึ่งเป็นประโยชน์ในการคัดกรอง ผูป้ ว่ ยโรคหัวใจเป็นอย่างมาก ท�ำให้ผปู้ ว่ ยได้ รับการรักษาได้ทันการณ์ จึงช่วยลดความ เสี่ยงในการเสียชีวิตโดยไม่รู้เท่าทัน นอกเหนือจากเครือ่ งตรวจวัดสัญญาณเสียง หัวใจแล้ว องค์ประกอบส�ำคัญที่สุด ที่จะ ท�ำให้การตรวจพบโรคหัวใจมีประสิทธิภาพ 32
G-MagZ IT MAGAZINE
ยิ่งขึ้น คือ การประมวลผลเพื่อวิเคราะห์ โรคหัวใจด้วยเสียง ซึง่ ปัจจุบนั ประเทศไทย เป็ น เพี ย งแห่ ง เดี ย วที่ พั ฒ นาระบบการ ประมวลผลดังกล่าวขึ้นมาส�ำเร็จ ตรวจหัวใจด้วยแอพ&ดาต้าเบส แม่นย�ำกว่า 80% แอพ “NU Heart Screening” เป็นผลงาน วิ จั ย ชิ้ น แรกของโลก ที่ ต รวจเสี ย งหั ว ใจ เพื่อท�ำการวิเคราะห์ว่าผู้ป่วยเป็นโรคหัวใจ ประเภทใด โดยเป็นผลงานของ ผศ.ดร. สุวรรณา ถาวรรุ่งโรจน์ อาจารย์และนักวิจัย คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ ใ ช้ เ วลาในการพั ฒ นาซอฟต์ แ วร์ บ น เดสท็อปราว 6 ปี และต่อยอดการพัฒนา
เป็นแอพบนมือถืออีก 1 ปี การวิเคราะห์หรือตรวจคัดกรองโรคหัวใจ ด้วยเสียง ตามผลงานวิจัยดังกล่าวประกอบ ด้ ว ยอุ ป กรณ์ 5 ส่ ว น ได้ แ ก่ อุ ป กรณ์ ตรวจหัวใจคล้ายหูฟังของแพทย์, เครื่อง ตรวจสัญญาณเสียงหัวใจ, แอพบนมือถือ (NU Heart Screening), อินเทอร์เน็ต และ ดาต้าเบสบนคลาวด์ ผู้พัฒนาผลงาน กล่าวถึงหลักการท�ำงาน ของอุปกรณ์ต่างๆ ว่า เครื่องตรวจสัญญาณ เสียงหัวใจที่ต่อเข้ากับอุปกรณ์ตรวจหัวใจ คล้ายหูฟงั ของแพทย์ซงึ่ ติดไว้ทตี่ วั ของผูป้ ว่ ย จะท�ำการเก็บข้อมูลเสียงหัวใจ จากนัน้ จะส่ง
Inno&Product จุดเด่น “แอนดรอยด์คัดกรองโรคหัวใจ”
NU Heart Disease screening
2
RECORD
STOP
SELECT FILE
6
1 3 4
ใช้งานง่าย ปลอดภัย ✔ มีประสิทธิภาพ มีความถูกต้องสูง ✔ ใช้เวลาในการคัดกรองโรคได้เพียงไม่กี่นาที ✔ ช่ ว ยให้ ผู ้ ที่ ส งสั ย ว่ า มี ค วามผิ ด ปกติ ไ ด้ รั บ การรักษาได้ทันท่วงที ✔
ความคุ้มค่าและโอกาสทางธุรกิจ
ช่วยให้ผู้สงสัยว่ามีความผิดปกติได้รับ การรักษา ✔ ลดความเสี่ยงในการเสียชีวิต ✔ ลดความเสี่ยงในการทุพพลภาพ ✔ ไม่มค ี แู่ ข่ง เป็นนวัตกรรมใหม่ทสี่ ร้างสรรค์ขนึ้ มาที่เดียวในโลก ✔ ใช้ ในโรงพยาบาลขนาดเล็ก และคลินิค ✔
Classification
i
5
1. ชื่อโปรแกรม 2. ปุ่ม RECORD เป็นปุ่มเริ่มบันทึกเสียง
รูปแบบสัญญาณเสียงหัวใจ แต่ละโรคมีความแตกต่างกัน
3. ปุ่ม STOP เป็นปุ่มสิ้นสุดการบันทึกเสียง 4. ปุ่ม SELECT FILE เป็นปุ่มเลือกเปิดไฟล์เสียงที่เก็บไว้ 5. ปุ่มค�ำสั่งให้โปรแกรมเริ่มท�ำการ Classification เสียงที่บันทึกหรือไฟล์เสียงที่เลือกไว้ 6. ช่องแสดงผล Classification
ต่อไปยังมือถือทีม่ แี อพ NU Heart Screening แอพท�ำการบันทึกเสียงแล้วส่งข้อมูลเสียง ผ่านอินเทอร์เน็ตไปยังคลาวด์ เมือ่ ข้อมูลเสียง ส่งถึงคลาวด์ จะท�ำการประมวลผลเพื่อน�ำ เสียงที่ส่งมานั้นเปรียบเทียบกับเสียงหัวใจ ที่ มี ใ นดาต้ า เบสบนคลาวด์ เสี ย งหั ว ใจ ของผู้ป่วยจะถูกแมพเข้ากับเสียงหัวใจใน ดาต้ า เบสที่ ไ ด้ แ ยกประเภทไว้แ ล้ว ท�ำให้ วิ เ คราะห์ ไ ด้ ทั น ที ว ่ า ผู ้ป่ว ยรายนั้ น เป็ น โรคหัวใจประเภทใด และการท�ำงานในขั้น สุดท้าย คือ ผลการวิเคราะห์บนคลาวด์จะถูก ส่งกลับมายังแอพบนมือถือภายในไม่กี่นาที (*ดังภาพประกอบด้านบน) การตรวจคัดกรองโรคหัวใจด้วยเสียง จาก แอพ NU Heart Screening มีความแม่นย�ำ ถึง 84%* เนื่องจากมีข้อมูลตัวอย่างเสียง หัวใจในดาต้าเบสทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์โรคราว 300 เสียง เก็บจากผู้ป่วยจริงในช่วง 6 ปีที่ ผ่านมา
พร้อมกันนี้ผู้วิจัยยังเผยว่า ก่อนที่จะพัฒนา แอพ NU Heart Screening บนมือถือ ได้ พัฒนาบนเดสท็อปมาก่อน โดยท�ำการเขียน โปรแกรมควบคูไ่ ปกับการเก็บข้อมูลตัวอย่าง เสี ย งหั ว ใจจากผู ้ ป ่ ว ย โดยซอฟต์ แ วร์ บ น เดสท็ อ ปมี ค วามสามารถที่ เ หนื อ กว่ า คื อ สามารถให้ค�ำแนะน�ำการซักประวัติผู้ป่วย และการรักษาเบื้องต้น ทางเลือกใหม่... เมื่อไม่มีแพทย์เฉพาะทาง การขาดแคลนบุ ค ลากรด้ า นการแพทย์ ใ น ประเทศไทย หรือในหลายๆ ประเทศทั่วโลก ประสบปัญหามายาวนาน ปัจจุบันต้องยอม รับว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเครื่องมือ ทีเ่ ข้ามาช่วยไขปัญหาเหล่านีใ้ ห้ดขี นึ้ ไม่วา่ จะ เป็น Telemedicine ระหว่างพื้นที่ห่างไกล หรือ Telemedicine ในเมืองก็ตาม ช่วยเพิ่ม โอกาสและคุณภาพชีวิตของคนได้มากขึ้น
ผลงานวิจัยชิ้นนี้ NU Heart Screening เป็น อีกหนึ่งเครื่องมือที่จะเข้ามาเสริมสร้างการ สาธารณสุขให้คนไทยเข้าถึงโอกาสในการ รักษามากขึ้น ดังนั้น จะดีแค่ไหน...หากวันนี้ NU Heart Screening ถู ก น� ำ ไปใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ตรวจคัดกรองโรคหัวใจในโรงพยาบาล ระดับต�ำบลที่ไม่มีแพทย์เฉพาะทางโรค หัวใจ หรือน�ำไปใช้ในคลินิกแพทย์ทั่วไป รวมทัง้ สามารถขยายไปสูก่ ารใช้ตามบ้าน ในอนาคต G * อ้างอิงจาก https://www.thailandtechshow.com/ view_techno.php?id=179 G-MagZ IT MAGAZINE
33
Green Idea
จนิษฐ์ ประเสริฐบรูณะกุล
ปะการังฟอกขาว ปรากฏการณ์ท่ต ี ้องเฝ้าระวัง ท้องทะเลไทยในปี 2559
ฤดู ร ้ อ นปี นี้ ห ลายๆ ท่ า น อาจมี แ ผนไปเที่ ย วทะเล ท� ำ กิจกรรมดูปะการังทัง้ น�ำ้ ลึกและน�ำ้ ตืน้ หากไปในช่วงเวลานี้ หลายๆ คนอาจจะต้องผิดหวังเพราะ NOAA (National Oceanic and Atmospheric Administration) หน่วยงาน ด้านวิทยาศาสตร์ทที่ ำ� งานวิจยั ด้านสมุทรศาสตร์และอวกาศ ของประเทศสหรัฐอเมริกา ประกาศว่าปรากฏการณ์เอลนีโญ่ และภาวะโลกร้อนในปีนอี้ าจท�ำให้เกิดปรากฏการณ์ปะการัง ฟอกขาวรุนแรงที่สุดในรอบ 20 ปีก็เป็นได้ โดยจะส่งผล ท�ำให้เกิดการฟอกขาวในวงกว้างในทะเลแถบมหาสมุทร แปซิฟิค และด้วยอุณหภูมิของน�้ำทะเลทั่วโลกที่เพิ่มสูงขึ้น อาจท�ำให้แหล่งทีอ่ ยูข่ องปะการังมีการฟอกขาวเป็นวงกว้าง ทั่วโลกในปีนี้ จากภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ โลก รวมถึงกิจกรรมของมนุษย์ในการทิ้งน�้ำเสียและการใช้ ที่ดินบนพื้นแผ่นดินที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วก่อให้เกิด ตะกอนลงสู่ทะเลจ�ำนวนมาก ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรง มากขึ้ น จนท� ำ ให้ เ ราเห็ น ว่ า แนวปะการั ง ไทยและแนว ปะการังทัว่ โลกต้องเผชิญกับภาวะฟอกขาวอย่างหลีกเลีย่ ง ไม่ได้ วั น นี้ ม าท� ำ ความรู ้ จั ก การฟอกขาวของปะการั ง และ สถานการณ์ในปี 2559 ที่ต้องเฝ้าระวัง
34
G-MagZ IT MAGAZINE
ภาพแสดงปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว (แหล่งข้อมูลภาพ: http://www.ecotourism.ca/ effectsofcoralbleaching.html)
ปรากฏการณ์ฟอกขาว (CORAL BLEACHING) คืออะไร หากกล่าวถึงปรากฏการณ์การฟอกขาวของปะการัง สิ่งที่ จะต้ อ งกล่ า วถึ ง ในปรากฏการณ์ นี้ คื อ สาหร่ า ยที่ ชื่ อ ว่ า ซูแซนเทลลี่ (Zooxanthelle) สาหร่ายหลากสายพันธุ์ที่ เกาะติดที่ปะการังท�ำให้ปะการังมีสีสันสวยงาม สีต่างๆ ที่ ตัวปะการังที่เราเห็นนั้นไม่ได้มาจากปะการังแต่ได้มาจาก สาหร่ายขนาดเล็กหรือซูแซนเทลลี่ ซึ่งมีหลายชนิด อาศัย อยู่ในเนื้อเยื่อของปะการัง โดยเกาะติดและด�ำรงชีวิตอยู่
GREEN IDEA ร่วมกับปะการังแบบพึ่งพาอาศัย โดยสาหร่ายเหล่านี้จะท�ำหน้าที่ สังเคราะห์แสงเพื่อสร้างอาหารและช่วยเร่งกระบวนการสร้างหินปูน ให้กับตัวปะการัง การด�ำรงอยู่ร่วมกันของปะการังและซูแซนเทลลี่ มีความเปราะบางอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลงจากสภาวะแวดล้อม อาทิ การเปลีย่ นแปลงอุณหภูมนิ ำ�้ ทะเลทีส่ งู ขึน้ การเปลีย่ นแปลงระดับ น�ำ้ ทะเล ความเค็มของน�ำ้ ทะเลทีเ่ ปลีย่ นไป ปริมาณตะกอนจ�ำนวนมาก จากพื้นแผ่นดิน การปล่อยน�้ำเสีย และปรากฏการณ์เอลนีโญ่ สภาวะที่กล่าวมาจะท�ำให้สาหร่ายซูแซนเทลลี่เกิดความเครียด เกิด การผลิตอนุมูลอิสระของอ๊อกซิเจนที่ท�ำให้เนื้อเยื่อของปะการังเกิด ความระคายเคืองและเป็นพิษต่อเนื้อเยื่อปะการัง ปะการังจึงขับ สาหร่ายเหล่านีอ้ อกจากเนือ้ เยือ่ ของปะการัง ท�ำให้ปะการังเหลือเพียง แต่เนื้อเยื่อใสๆ จึงท�ำให้เราเห็นโครงสร้างหินปูน หากสภาพแวดล้อม ยังคงมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง สาหร่ายซูแซนเทลลี่ก็จะไม่มา อาศัยอยู่บนเนื้อเยื่อปะการัง เนื้อเยื่อบนปะการังซึ่งมีความบอบบางก็ จะเกิดการติดเชื้อและค่อยๆ อ่อนแอลง และตายในที่สุด (แหล่งข้อมูล: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง)
ตั้งแต่ปี 2527 เริ่มมีรายงานการพบการเกิดปะการังฟอกขาวขึ้นใน มหาสมุทรทั่วโลก ทั้งในมหาสมุทรแปซิฟิค ทะเลแคริบเบียน ทะเลใน ทวีปออสเตรเลีย ส�ำหรับในประเทศไทยมีหน่วยงานวิชาการติดตาม การเกิดปะการังฟอกขาวอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2527 และพบว่ามี การฟอกขาวขึ้นในปี 2534, 2538, 2541 รวมทั้งการเกิดสึนามิในปี 2546 และเกิดฟอกขาวต่อเนื่องในปี 2548 และ 2550 จนกระทั่งมีการ ฟอกขาวอย่างรุนแรงในปี 2553 โดยเฉพาะแนวปะการังทัง้ บริเวณอ่าว ไทย และอันดามัน มีการฟอกขาวมากกว่า 70% ของปะการังที่มีอยู่ จากปรากฏการณ์เอลนีโญ่ซึ่งส่งผลให้อุณหภูมิน�้ำทะเลสูงขึ้น มีผล อย่างมากต่อปะการังในแถบมหาสมุทรแปซิฟิค โดยเฉพาะอ่าวไทย มีแนวโน้มสูงที่จะพบกับปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวครั้งรุนแรง ตัง้ แต่ชว่ งต้นปีจนถึงกลางปี 2559 นี้ อันเนือ่ งมาจากการสลายตัวของ เอลนีโญ่ ที่ท�ำให้น�้ำทะเลที่มีอุณหภูมิสูงจากฝั่งแปซิฟิคตะวันออก แถวทวีปอเมริกา ไหลย้อนกลับมาทางฝั่งตะวันตก นั่นก็คือแถบ ประเทศไทย และทวีปออสเตรเลีย ในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงที่อุณหภูมิน�้ำทะเลค่อนข้างสูง
NOAA ได้มีการสรุปสาเหตุของการเกิดปะการังฟอกขาวออกมา ตามข้อมูลด้านล่างนี้
ภาพแสดงกระบวนการเกิดการฟอกขาวประการัง
(แหล่งข้อมูลภาพ : http://oceanservice.noaa.gov/facts/coral_bleach.html)
G-MagZ IT MAGAZINE
35
GREEN IDEA ภาพตัวอย่างปะการังฟอกขาวและตายในที่สุด
(แหล่งข้อมูลภาพ http://www.huffingtonpost.com/entry/healthy-dying-dead-this-is-what-it-looks-like-when-a-reef-is-bleached_us_5660df23e4b08e945feed91a)
ช่วงเดือนมีนาคม 2559 ที่ผ่านมา นักวิชาการประมง กรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝัง่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ได้ ออกมาน�ำเสนอว่า ปรากฏการณ์เอลนีโญ่ที่จะเกิดขึ้นในปี 2559 ได้มี การคาดการณ์ถึงสถานการณ์ปะการังฟอกขาวจะเข้าสู่ทะเลของไทย ในปลายเดือนมีนาคม-เมษายนนี้ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ได้วางมาตรการและกรอบการด�ำเนินการต่างๆ มีขนั้ การเตรียมความ พร้อมตั้งแต่เดือนมกราคม เป็นต้นมา คือ • ขั้ น การเฝ้ า ระวั ง ปรากฏการณ์ ป ะการั ง ฟอกขาวช่ ว งเดื อ น กุมภาพันธ์-เมษายน • ขัน้ การเผชิญเหตุปะการังฟอกขาวช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ในกรณีที่เกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว • ขั้นการด�ำเนินการหลังการเกิดปะการังฟอกขาวในช่วงเดือน มิถุนายน-ธันวาคม โดยกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ได้ตรวจวัดอุณหภูมนิ ำ�้ ทะเลใน จุดส�ำคัญต่างๆ ตามแผนเฝ้าระวังปะการังฟอกขาว ซึ่งระหว่างวันที่ 20-27 มีนาคมที่ผ่านมา มีการส�ำรวจทะเลอันดามันโดยศูนย์วิจัยและ พัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน (ภูเก็ต) ส�ำรวจ การเกิดปะการังฟอกขาวบริเวณหมูเ่ กาะสุรนิ ทร์ สิมลิ นั และเกาะราชา ใหญ่ รวมทัง้ เก็บตัวอย่างปะการังเพือ่ ศึกษาลักษณะทางกายภาพ และ ตัวอย่างเนื้อเยื่อปะการังเพื่อศึกษาความแตกต่างทางพันธุกรรม ใน ขณะนี้ยังไม่มีรายงานว่ามีการพบปะการังฟอกขาวในทะเลอันดามัน อย่างไรก็ตาม แนวปะการังของประเทศไทย 1.5 แสนไร่ อยู่ในสภาวะ วิกฤต เหลือพื้นที่ปะการังที่ยังมีสภาพสมบูรณ์อยู่เพียงไม่ถึงร้อยละ 10 ซึ่งพื้นที่บางแห่งในทะเลอันดามันยังมีปะการังสมบูรณ์อยู่ โดย 36
G-MagZ IT MAGAZINE
เวลานี้ประเทศออสเตรเลียได้เริ่มเกิดปะการังฟอกขาวแล้ว ซึ่งในช่วง เดือนเมษายน และพฤษภาคมนี้ ถือว่าเป็นช่วงระยะเวลาส�ำคัญมาก ในการเผชิญเหตุปะการังฟอกขาว ทัง้ นีจ้ ากการประมวลข้อมูลอุณหภูมิ น�ำ้ ทะเลและภูมอิ ากาศในภูมภิ าคแล้วท�ำให้คาดการณ์ได้วา่ มีแนวโน้ม ทีจ่ ะเกิดปะการังฟอกขาวได้ในช่วงเวลานีถ้ งึ กลางปี 2559 ซึง่ เป็นช่วง ที่อุณหภูมิน�้ำทะเลในภูมิภาคนี้จะมีค่าสูงสุด (แหล่งข้อมูล : http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx? NewsID=9590000030148) โดยกระบวนการฟอกขาวมี 3 ขั้น คือ ช่วงแรก ช่วงที่ปะการังมีความ แข็งแรง ช่วงที่สอง ช่วงที่ปะการังเกิดความเครียด และช่วงที่สาม ช่วงที่ปะการังเกิดการฟอกขาว ซึ่ง NOAA ได้สรุปสาเหตุหลักที่ท�ำให้ เกิดฟอกขาว ได้แก่ อุณหภูมิน�้ำทะเลที่สูงขึ้น จากปรากฏการณ์ เปลีย่ นแปลงสภาวะภูมอิ ากาศโลก (Climate Change) หรือจากสภาวะ โลกร้อน (Global Warming), การปล่อยน�้ำเสียและตะกอนต่างๆ ลงสู่ทะเล แสงอาทิตย์มีความเข้มมาก ท�ำให้เกิดความร้อน และ การเปลี่ยนแปลงระดับน�้ำทะเล หากท่านใดมีแผนไปเที่ยวทะเลช่วงฤดูร้อนนี้เพื่อดูปะการัง อาจต้อง ตรวจสอบพืน้ ทีก่ ารเฝ้าระวัง เนือ่ งจากบางพืน้ ทีไ่ ด้ทำ� การปิดเกาะเพือ่ ป้องกันและเฝ้าระวังปะการังฟอกขาว ปี 2559 จึงเป็นอีกปีหนึ่งที่ทั้ง ทางหน่วยงานภาครัฐและเอกชนต้องช่วยกันเฝ้าระวังปรากฏการณ์นี้ และช่ ว ยกั น รั ก ษาทะเลไทยให้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบน้ อ ยที่ สุ ด จาก ปรากฏการณ์ดังกล่าว G
Guru Talk อ.เด่นเดช สวรรคทัต ผู้เชี่ยวชาญด้านไอทีชั้นสูง และที่ปรึกษา สมาคมอีเลิร์นแห่งประเทศไทย
Data Science
ก้าวที่ลำ�้ หน้ากว่า Big Data
โลกในยุคปัจจุบัน ทุกสิ่งทุกอย่างเปลี่ยน ไปอย่ า งมากความเจริ ญ ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อ สารท�ำให้มนุษย์ สามารถติดต่อสื่อสาร ด�ำเนินธุรกิจและท�ำ ธุรกรรมต่างๆ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว แต่ ผลพลอยได้ทหี่ ลายคนมองข้ามไปคือข้อมูล ที่เกิดขึ้น ต้องยอมรับว่าปัจจุบนั ข้อมูลเกิดขึน้ มากมาย มหาศาล ไม่ว่าจะเป็นยอดขายที่เกิดขึ้น ในแต่ ล ะวั น แต่ ล ะสาขาของร้ า นค้ า ใดๆ ที่ท�ำการบันทึกจัดเก็บไว้ การเรียกเข้าและ รับสายของผู้ใช้บริการโทรศัพท์ของผู้ให้ บริการ หรือแม้แต่ยอดเงินฝากถอนของ ธุรกรรมต่างๆ ในแต่ละธนาคาร ฯลฯ ซึ่ง ข้อมูลเหล่านี้ถูกเก็บรวบรวมสะสมไว้อย่าง
สม�่ำเสมอจนมีขนาดใหญ่มหาศาล หรือที่ ความแม่นย�ำหรือความถูกต้องก็ยิ่งเพิ่มขึ้น เรียกตามแบบสมัยนิยมว่า Big Data ไปด้วย ดังนั้นการน�ำเอาข้อมูลมหาศาล มาท�ำการวิเคราะห์ (Big Data Analytic) จึง เศรษฐกิจดิจิทัลที่ก�ำลังท�ำให้การแข่งขัน กลายเป็ น กระแสหลั ก และเป็ น สิ่ ง ที่ ทุ ก ทางธุรกิจและพาณิชย์ทวีความรุนแรงอย่าง องค์กรไม่สามารถมองข้ามไปได้ ที่ไม่เคยประสบมาก่อนองค์กรธุรกิจต่าง ดิ้นรนต่อสู้ ผู้ที่จะอยู่รอดได้คือผู้ที่พร้อมต่อ แต่อย่างไรก็ตามปัจจุบนั มีอปุ สรรคส�ำคัญใน การเปลีย่ นแปลงในสถานการณ์ตา่ งๆ อีกทัง้ การวิเคราะห์ข้อมูลมหาศาล (Big Data ยังต้องสามารถคาดการณ์อนาคตได้อย่าง Problem) โดยสามารถจ�ำแนกอย่างง่ายๆ แม่นย�ำ ซึง่ อาวุธส�ำคัญอย่างหนึง่ ทีถ่ กู น�ำมา ออกเป็น 3 มิติ คือ • ปัญหาเชิงปริมาณ (Volume) ใช้อย่างแพร่หลาย นัน้ คือการวิเคราะห์ธรุ กิจ • ปัญหาข้อมูลที่มีโครงสร้างไม่แน่นอน (Business Analysis) หรือมีหลากหลายชนิดผสมกัน (Variety) • ปัญหาด้านความเร็ว (Velocity) ใน Business Analysis คือ การน�ำเอาความรู้ ด้ า นสถิ ติ ศ าสตร์ ม าท� ำ นายอนาคตด้ ว ย การประมวลผลและวิเคราะห์ ข้อมูลในอดีตทีม่ อี ยู่ ซึง่ ยิง่ มีขอ้ มูลมากเท่าใด G-MagZ IT MAGAZINE
37
Guru Talk
รูปที่ 1 วิทยาศาสตร์ข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจที่ ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลแบบอัตโนมัติ ที่มา: F.Provost & T. Fawcett, Data Science for Business, O’Reilly, 2013
ทัง้ นีก้ ารน�ำเอาข้อมูลมหาศาลมาใช้งานให้เกิด ประโยชน์จึงไม่ใช่เรื่องง่าย และที่ส�ำคัญต้องมี เทคโนโลยีและองค์ความรู้จากศาสตร์หลาย แขนงที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถจัดการ กับ ข้อมูลมหาศาลได้อย่างมีประสิทธิภาพและ น�ำไปใช้งานได้ทันท่วงที โดยการวิเคราะห์ขอ้ มูลต้องอาศัยศาสตร์ตา่ งๆ ผนวกรวมกันเพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้อง แม่นย�ำ ตรงกั บ ความต้ อ งการ ในที่ นี้ จ ะกล่ า วถึ ง วิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Science) และ สหศาสตร์ด้านการวิเคราะห์ วิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Science) วิทยาศาสตร์ข้อมูล คือ การบูรณาการศาสตร์ หลายแขนง โดยน�ำเอาหลักการ (Principle) กระบวนการ (Process) และเทคนิค (Techniques) ต่างๆ ในศาสตร์เหล่านั้นมาประยุกต์ใช้เพื่อ ท�ำความเข้าใจ (Understanding) หรือสังเคราะห์ ความรู้ที่เป็นประโยชน์ (Useful Knowledge) เพื่อหาค�ำตอบของปัญหา (Solution) โดย การวิเคราะห์ (Analysis) ข้อมูลที่สนใจ
รูปที่ 2 ขั้นตอนการทำ�งานเหมืองข้อมูล ที่มา: Cross Industry Standard Process for Data Mining (CRISP-DM; Shearer,2000)
เป็นเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มขีดความสามารถใน การตัดสินใจ (Decision Making Improvement) โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการด�ำเนินธุรกิจให้ไปใน ทิศทางที่สมเหตุสมผล (Logical) ที่อยู่บน พื้นฐานวิทยาศาสตร์ (Scientific) สามารถ พิสูจน์ (Provable) ตรวจสอบได้ (Verifiable) โดยต้องมีการท�ำงานอย่างต่อเนือ่ งแบบอัตโนมัติ (Automated) เพื่อให้ผู้บริหารองค์กรรับทราบ ผลวิเคราะห์ และแนวทาง (Guides) ในทุกๆ มิตอิ ย่างรวดเร็ว ซึง่ กระบวนการตัดสินใจแบบ นี้ถูกขนานนามว่าการตัดสินที่ขับเคลื่อนด้วย ข้อมูลแบบอัตโนมัติ (Automated Data-Driven Decision-Making: Automated DDD)
(Data Warehousing), การเรียนรู้ด้วยเครื่อง จักรสมองกล (Machine Learning) ในบทความครั้งนี้จะกล่าวถึง การท�ำเหมือง ข้อมูล (Data Mining) ซึง่ ถือเป็นศาสตร์สำ� คัญ ล�ำดับแรกของวิทยาศาสตร์ข้อมูล บ่อยครั้งที่ เราอาจได้รับรู้หรือพบเห็นว่า มีการเรียกขาน แทนกันหรือสลับ กันระหว่า งการท�ำเหมือง ข้อมูลกับวิทยาศาสตร์ข้อมูล ซึ่งจริงๆ แล้ว ทั้งสองอย่างมีความแตกต่างกันอยู่ โดยนิ ย ามแล้ ว การท� ำ เหมื อ งข้ อ มู ล เป็ น กระบวนการเชิงส�ำรวจ (Exploratory Process) โดยใช้ ค วามรู ้ ท างด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี เพือ่ ค้นหารูปแบบ (Pattern) อันน�ำ ไปสู่การสร้างแบบจ�ำลองของข้อมูล (Model Building) ในขณะที่วิทยาศาสตร์ข้อมูลเน้นไป ที่การน�ำเอาผลลัพธ์ที่ได้จากการท�ำเหมือง ข้อมูลไปใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
สหศาสตร์ด้านการวิเคราะห์ ส�ำหรับวิทยาศาสตร์ข้อมูลหลักการส�ำคัญคือ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยเป็นการน�ำเอาความรู้ จากศาสตร์ต่างๆ มาใช้มากน้อยแตกต่างกัน ไปตามกรณีหรือบริบท ดังนัน้ เราควรท�ำความ รู้จักเพื่อที่จะได้ใช้เป็นแนวทางในการศึกษา เพิ่มเติม ในโอกาสต่อไปจะได้กล่าวถึง ขั้นตอนการ ท�ำเหมืองข้อมูล และกระบวนวิธีในการท�ำ ในที่นี้จะกล่าวถึงองค์ประกอบของสหศาสตร์ เหมืองข้อมูล G ได้ แ ก่ การท� ำ Data Mining หรื อ เหมื อ ง สิ่ ง แรกที่ ค วรท� ำ ความเข้าใจนั่นคือ สาเหตุ ข้อมูล, สถิติศาสตร์, การใช้งานฐานข้อมูล ส�ำคัญที่น�ำเอาวิทยาศาสตร์ข้อมูลมาใช้ก็เพื่อ (Database Querying), การท�ำคลังข้อมูล 38
G-MagZ IT MAGAZINE
Guru Talk
โค้ชกร & โค้ชปอม Lean In Consulting’s
Agile
ใช้อย่างไรให้สำ�เร็จ? ในปัจจุบันมีแนวคิดอไจล์ (Agile) ในการ พัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในประเทศฝั่งตะวันตก เมื่อไม่ นานมานี้ นิตยสาร Forbes ได้เผยแพร่ บทความทีก่ ล่าวถึงอไจล์วา่ เป็น “เครือ่ งจักร ผลิตนวัตกรรมที่ได้รับความนิยมที่สุดใน โลก” ส่วนนิตยสาร Fast Company ก็กล่าว ว่า อไจล์คือ “วิธีการท�ำให้ได้งานที่ดีที่สุด จากทีมของคุณที่สามารถท�ำได้จริง” หรือ หากจะลองค้ น หาค� ำ ว่ า อไจล์ ใ นหมวด หนังสือของ amazon.com ก็จะพบรายชื่อ หนั ง สื อ เรื่ อ งนี้ เ ป็ น หลั ก พั น รวมทั้ ง หาก ค้นหางานด้วยค�ำว่าอไจล์ในเว็บหางานยอด นิยมของอเมริกาอย่าง monster.com ก็จะ พบประกาศงานเป็นพันๆ ต�ำแหน่ง จะเห็น
ว่าอไจล์นนั้ ได้กลายเป็นแนวคิดกระแสหลัก ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ไปแล้ว หันมามองในบ้านเรา แม้ว่าอไจล์จะยังถูก มองเป็ น “ทางเลื อ ก” ของการพั ฒ นา ซอฟต์แวร์ แต่ก็เป็นทางเลือกของบริษัท น้ อ ยใหญ่ ที่ ใ ห้ เ ล็ ง เห็ น ความส� ำ คั ญ ของ การพั ฒ นาซอฟต์ แ วร์ แทบทุ ก บริ ษั ท โทรคมนาคมยักษ์ใหญ่หรือแม้แต่บริษัท ด้านสถาบันการเงินระดับประเทศ ก็ได้เริ่ม น�ำอไจล์มาใช้ในองค์กรแล้ว เพียงแต่จะน�ำ มาใช้มากน้อยต่างกันไป บางบริษัทอาจจะ เพิ่งเริ่มมีโครงการน�ำร่อง ในขณะที่บาง บริษัทใช้กันมาหลายปีจนเริ่มส่งผลไปถึง การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กร ในช่วง 4-5 ปีก่อนหน้านี้ การน�ำอไจล์มา ใช้ ใ นองค์ ก รมั ก เกิ ด ขึ้ น แบบล่ า งขึ้ น บน (Bottom-Up) คือ จากการที่พนักงานใน บริษัทได้ไปอ่านบทความ อ่านหนังสือ ไป ร่วมสัมมนา หรือไปเข้าอบรมเรือ่ งอไจล์แล้ว G-MagZ IT MAGAZINE
39
Guru Talk
อยากน� ำ มาทดลองใช้ ใ นบริ ษั ท ซึ่ ง เป็ น ที่ น่าเสียดายว่าวิธีการนี้มักจะไม่ค่อยได้รับการ สนั บ สนุ น จากผู ้ บ ริ ห าร เนื่ อ งจากแนวคิ ด หลายๆ อย่างของอไจล์นั้น ดูจะเป็นเรื่องตรง กันข้ามกับวิธีการเดิมๆ ที่องค์กรส่วนใหญ่ ใช้ กั น มา ไม่ ว ่ า จะเป็ น การยอมรั บ การ เปลีย่ นแปลงของความต้องการได้ตลอดเวลา การออกแบบ Test Case ก่อนการพัฒนาจริง การเอาผู้ใช้งานจริงหรือยูเซอร์เข้ามาร่วม ท�ำงานอย่างใกล้ชิดตลอดทุกวัน อีกทั้งตัว พนักงานเองมักจะไม่สามารถโน้มน้าวให้ผู้ บริหารเห็นประโยชน์ของวิธีการท�ำงานแบบ ใหม่ได้ แต่สดุ ท้ายพนักงานก็อาจจะไปแอบท�ำ กันเองซึ่งอาจจะช่วยให้การท�ำงานของทีม พัฒนาดีขึ้นบ้าง แต่ก็ยังติดขัดในภาพรวม เพราะไม่ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น ที่ แ ท้ จ ริ ง จาก องค์กร ดังนั้นการ น�ำอไจล์มาใช้ในองค์กรใน ลักษณะนี้จึงมักจะไม่ค่อยประสบความส�ำเร็จ เป็ น ที่ น ่ า สั ง เกตว่ า ในระยะ 1-2 ปี ห ลั ง นี้ การน� ำ อไจล์ ม าใช้ เ ริ่ ม เปลี่ ย นเป็ น แบบบน ลงล่าง (Top-Down) คือ เกิดจากแรงผลักดัน จากผูบ้ ริหารระดับสูง ทีต่ อ้ งการได้ความคล่อง ตัวทางธุรกิจ (Business Agility) อาจเป็น เพราะอไจล์เริ่มเป็นที่รู้จักแพร่หลายมากขึ้น ในสายการบริหารด้านไอที ซึ่งนับเป็นนิมิตร หมายอันดีที่แนวคิดอไจล์ได้รับการสนับสนุน จากผู้ก�ำหนดนโยบายขององค์กร แต่การน�ำ อไจล์มาใช้ในลักษณะนี้ก็มีข้อควรระวังคือ ตั ว ผู ้ บ ริ ห ารเองนอกจากจะเปิ ด โอกาสให้ พนั ก งานได้ น� ำ อไจล์ ม าใช้ แ ล้ ว ยั ง ต้ อ งท� ำ ความเข้าใจด้วยว่าจะต้องมีส่วนร่วมอย่างไร ต้องเปลี่ยนแปลงวิธีการท�ำงาน แนวคิด หรือ แม้แต่กฎอะไรของบริษัทบ้าง เนือ่ งจากอไจล์นนั้ เป็นแนวคิดทีป่ ระกอบด้วย องค์ความรู้ต่างๆ มากมายซึ่งไม่มีสูตรส�ำเร็จ ตายตัวว่าการจะน�ำไปใช้นั้นต้องมีขั้นตอน อย่างไร จะเอาส่วนใดไปใช้ จะท�ำอะไรก่อน การเริ่มน�ำอไจล์ไปใช้ในองค์กรที่ไม่เคยน�ำ หลักการนี้ไปใช้มาก่อน อาจจะเป็นเรื่องที่ก่อ ให้เกิดความสับสนในช่วงแรก หลายคนเกิด ค�ำถามว่า เราควรจะเริม่ น�ำอไจล์มาใช้อย่างไร เริ่มเล็กๆ หรือใหญ่ไปเลย ปรับการท�ำงาน ด้านเทคนิคก่อนหรือปรับการท�ำงานเป็นรอบ 40
G-MagZ IT MAGAZINE
ก่อน แอบท�ำโดยยังไม่เปิดเผยก่อน หรือท�ำ สปอตไลท์ให้ทุกคนเห็น ไม่มีใครรู้ว่าวิธีใดคือ วิธีเริ่มที่ดีที่สุด ดังนั้นจึงขอแนะน�ำว่า “เริ่มสัก วิธีแล้วค่อยปรับไประหว่างทาง” ซึ่งลองดูผล ทีท่ ำ� และปรับปรุงให้ดขี นึ้ เรือ่ ยๆ (Inspect and Adapt) คือแก่นแท้ของอไจล์ที่บอกว่า ไม่มีวิธี การใดวิธีการหนึ่งที่สามารถแก้ปัญหาได้ใน ทุกบริบท สิง่ ทีเ่ ราควรท�ำคือ ย่นระยะเวลาการ เรียนรูใ้ ห้เกิดฟีดแบคทีร่ วดเร็ว เพือ่ ทีเ่ ราจะได้ ปรับปรุงการท�ำงานให้ดีขึ้นเรื่อยๆ ข้อค�ำนึงอีกประการคือ หากจะเริ่มท�ำอไจล์ ควรจะมีข้อปฏิบัติอะไรบ้าง? บทความนี้จะ ขอน�ำเสนอหลักการ 12 ข้อ ทีจ่ ะช่วยให้องค์กร เพิ่มโอกาสของความส�ำเร็จในการน�ำอไจล์ ไปใช้ โดยหลั ก การนี้ ส รุ ป ความมาจาก บทความเรื่อง “เหตุ 12 ประการที่ท�ำให้อไจล์ ล้มเหลว” ที่เขียนไว้โดยคุณ Jean Tabaka มาดูกันว่า เราจะน�ำอไจล์มาใช้ในองค์กรให้ ประสบความส�ำเร็จได้อย่างไรบ้าง? 1) ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ให้ ก ารสนั บ สนุ น : นอกจากจะให้ไฟเขียวในการน�ำอไจล์มาใช้ แล้ว ผู้บริหารระดับสูงจ�ำเป็นจะต้องท�ำความ เข้าใจว่า ต้องให้การสนับสนุนอย่างไรบ้าง บาง ครั้ ง อาจต้ อ งมี ก ารแก้ น โยบายบริ ษั ท เช่ น เปลี่ยนวิธีจัดสรรงบประมาณ การวัดประเมิน ผลพนักงาน และแม้แต่โครงสร้างบริษัท หาก ผูบ้ ริหารระดับสูงให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง แล้ว โอกาสในความส�ำเร็จจะมีเพิ่มขึ้นอย่าง มหาศาล 2) ผูบ้ ริหารเปลีย่ นพฤติกรรมจากผูส้ งั่ เป็น ผู้สร้าง : การบริหารงานตามสายการบังคับ บั ญ ชาในองค์ ก รนั้ น เป็ น อุ ป สรรคส� ำ คั ญ ที่ จะท� ำ ให้ พ นั ก งานไม่ ส ามารถใช้ ค วามคิ ด สร้างสรรค์ในการท�ำงานได้อย่างเต็มที่ องค์กร สมัยใหม่จงึ ต้องการผูบ้ ริหารทีม่ งุ่ เน้นไปทีก่ าร สร้างคนหรือการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะที่ พร้อมส�ำหรับการท�ำงาน มากกว่าการควบคุม บังคับตามสายบังคับบัญชา 3) ปรับโครงสร้างองค์กรให้เอื้อต่อการ ท�ำงานเป็นทีม : องค์กรแบบเดิมนั้นมักจะ แยกส่วนงานกันตามหน้าที่จนท�ำให้เกิดการ
ท�ำงานแบบต่างฝ่ายต่างท�ำ เรียกว่าท�ำงานเป็น ไซโล โดยทีแ่ ต่ละส่วนนัน้ มักจะมุง่ แต่เป้าหมาย ส่วนตนจนละเลยเป้าหมายรวมขององค์กร การวั ด ผลพนั ก งานก็ มั ก จะมุ ่ ง ที่ ตั ว บุ ค คล มากกว่า การเน้นให้ช่วยเหลือกันหรือท�ำงาน เป็นทีม โครงสร้างองค์กรรวมไปถึงสภาพ แวดล้อมในการท�ำงานจึงจะต้องมีการปรับ ให้ ส นั บ สนุ น การท� ำ งานที่ ร ่ ว มมื อ กั น เพื่ อ ประโยชน์โดยรวมขององค์กร 4) มองภาพธุรกิจตัง้ แต่ตน้ จนถึงปลายน�ำ้ : Value Stream คือ แนวคิดในการมองการ ท�ำงานดัง่ การไหลของกระแสน�ำ้ ทีม่ ตี น้ ก�ำเนิด ความคิดในการผลิตสินค้า ไหลผ่านไปยังส่วน ต่างๆ ขององค์กรทีม่ สี ว่ นในการผลิต ไปจนถึง ปลายทางที่ได้รับเงินจากลูกค้า ดังนั้นการ วิเคราะห์ให้เห็น Value Stream จะท�ำให้เรา มองเห็นคอขวดและช่วยให้เราแก้ปัญหาได้ ตรงจุด 5) กระจายอ�ำนาจการตัดสินใจออกอย่าง เหมาะสม : การรวมศูนย์อำ� นาจการตัดสินใจ นั้นเป็นอุปสรรคในการท�ำให้องค์กรมีความ คล่องตัวทางธุรกิจ (Business Agility) แต่ การกระจายอ�ำนาจการตัดสินใจทั้งหมดไปก็ อาจท�ำให้องค์กรสูญเสียความเป็นเอกภาพได้ ดังนั้นองค์กรจึงควรจะรวมศูนย์อ�ำนาจการ ตัดสินใจในกรณีของการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ ที่ส่งผลในระยะยาวแต่กระจายอ�ำนาจการ ตัดสินใจออกไปส�ำหรับการตัดสินใจที่มีผล ระยะสั้นและต้องการความรวดเร็ว 6) ตระหนั ก ถึ ง ผลเสี ย ของการท� ำ งาน ทางไกล : การท� ำ งานแบบทางไกล (Distributed Team) นั้นมีให้เห็นกันทั่วไป จนกลายเป็นเรือ่ งปกติ หลายครัง้ สิง่ ทีไ่ ด้ไม่คมุ้ กับสิ่งที่เสียไปจริงๆ ซึ่งพนักงานหรือทีมที่ไม่ ได้ท�ำงานอยู่ด้วยในสถานที่เดียวกันมักจะ ประสบปัญหาเรื่องการสื่อสารและการไว้เนื้อ เชื่อใจกันเป็นอย่างมาก องค์กรจึงจ�ำเป็นต้อง ตระหนักถึงผลเสีย และใส่ใจที่จะหาเครื่องมือ ช่วยในการท�ำงานทางไกลให้มีประสิทธิภาพ แต่ทงั้ นีค้ ำ� แนะน�ำทีด่ ที สี่ ดุ ของการท�ำงานทาง ไกลก็คือยกเลิกเสียจะดีกว่า
Guru Talk http://www.fastcompany.com/3049420/lessons-learned/the-real-solution-to-get-the-best-work-from-your-team
7) มองการเปลี่ ย นแปลงนี้ เ หมื อ นเป็ น Product และมี Product Manager : หาก เรามองการเปลี่ยนแปลงมาท�ำงานแบบอไจล์ เสมื อ นเป็ น Product เราก็ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี Transformation Product Manager มาเป็น ผู้บริหารจัดการความเปลี่ยนแปลงนี้ คอย ท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับผู้บริหารระดับสูง และ คอยสอดส่องมองหาและจัดการพฤติกรรมที่ จะเป็นตัวบั่นทอนไม่ให้เกิดความเป็นน�้ำหนึ่ง ใจเดียวกัน เช่น พฤติกรรมการกล่าวโทษคน อื่น พฤติกรรมการไม่ไว้วางใจกัน 8) สร้างเสียงสะท้อนที่รวดเร็วทันท่วงที : องค์กรที่สามารถปรับตัวให้น�ำคู่แข่งอยู่ได้ ตลอดเวลาคือ องค์กรทีเ่ รียนรูแ้ ละปรับปรุงอยู่ ตลอด ซึ่งการเรียนรู้นี้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ องค์ ก รมี ข บวนการรั บ ฟั ง เสี ย งสะท้ อ น (Feedback) ไม่ว่าจะเป็นจากลูกค้า จาก พนักงาน จากขบวนการการท�ำงาน ฯลฯ และ ปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างทันท่วงทีและสม�่ำเสมอ 9) สร้างวัฒนธรรมการท�ำงานเป็นทีม : ดั่งค�ำโบราณว่าไว้ว่า สองหัวดีกว่าหัวเดียว การร่วมมือกันท�ำงานระหว่างคนหมูม่ ากย่อม ให้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า แต่การจะได้มาซึ่งการร่วม ไม้รว่ มมือนี้ อาจจ�ำเป็นต้องมีผปู้ ระสานงานที่ สามารถท�ำให้คนทีม่ คี วามเห็นต่างมาถกเถียง แลกเปลี่ยนกันได้โดยไม่เกิดความแตกแยก เพื่ อ ให้ ก ารตั ด สิ น ใจแต่ ล ะครั้ ง นั้ น เป็ น การ ตัดสินใจที่ยั่งยืนและมีคุณภาพ 10) ไม่ใช่ท�ำอไจล์แค่ในไอที : อไจล์นั้นมัก จะถูกมองว่าเป็นกิจกรรมของฝ่ายไอที หรือ ฝ่ายพัฒนาซอฟต์แวร์ แต่การจะท�ำให้องค์กร มีความคล่องตัวทางธุรกิจนั้น จ�ำเป็นต้องได้
รับความร่วมมือจากทุกๆ ฝ่าย รวมทั้งฝ่าย ธุ ร กิ จ แม้ ว ่ า เราจะมี ที ม พั ฒ นาที่ มี ค วาม สามารถเป็นเลิศจนผลิตของมีคณ ุ ภาพได้ดว้ ย ความรวดเร็ว แต่ทว่าฝั่งธุรกิจยังท�ำงานกัน แบบเดิมๆ เช่น ต้องเก็บความต้องการ หรือ Requirement ให้ละเอียดครบถ้วนก่อน หรือ จะตัดสินใจอะไรทีก็ต้องผ่านการอนุมัติหลาย ขั้นตอน องค์กรก็คงยังไม่พัฒนาไปถึงไหน 11) เข้าหาคนด้วยความเข้าอกเข้าใจ : ในองค์ ก รขนาดใหญ่ ที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ นนั้ น แน่นอนว่าขบวนการท�ำงาน (Process) และ โครงสร้าง (Structure) เป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะ ท�ำให้เกิดการท�ำงานที่สอดประสาน แต่ยังมี อีกปัจจัยหนึ่งที่ส�ำคัญไม่แพ้กันคือ ความเข้า อกเข้าใจ ในช่วงเวลาแห่งความเปลี่ยนแปลง คนเหล่านัน้ ต้องการอะไร เขาจะยอมสละอะไร ได้บ้าง เขามีค�ำแนะน�ำอะไรดีๆ บ้าง จ�ำเป็น ต้องเข้าอกเข้าใจ
12) ดูแลคนที่ได้รับผลกระทบ : ในการ เปลี่ยนแปลงนี้ย่อมมีคนที่สูญเสียสิ่งที่เคยมี เคยได้ ผู้บริหารระดับกลางหลายคนจะสูญ เสียอ�ำนาจที่เคยมีให้กับทีม ฮีโร่ที่เคยเป็น ศู น ย์ ก ลางความสนใจกลั บ กลายเป็ น คน ธรรมดาในทีม แทนที่จะตัดสินว่าคนเหล่านี้ ไม่เหมาะกับอไจล์ เราควรจะท�ำความเข้าใจ และช่ ว ยเขาให้ ร ่ ว มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการ เปลี่ยนแปลงนี้ จะเห็นได้ว่า การน�ำอไจล์มาใช้ในองค์กรนั้น นอกจากตัวเนื้อหาองค์ความรู้ของอไจล์เอง ยังมีเรื่องอื่นๆ ที่เรายังต้องพิจารณาประกอบ อีกหลายหัวข้อ ซึ่งในแต่ละหัวข้อที่กล่าวมา นั้นก็อาจจะมีผลมากน้อยต่างกันไปในแต่ละ บริบทขององค์กร แต่ทงั้ นีส้ งิ่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ก็คง หนีไม่พ้นการเริ่มลงมือท�ำจริง เพื่อให้เกิด การเรียนรูแ้ ละการปรับปรุงต่อไปในอนาคต G
อ้างอิง http://www.forbes.com/sites/stevedenning/2015/07/23/the-worlds-most-popular-innovation-engine/#5bc76df2d4cd http://www.fastcompany.com/3049420/lessons-learned/the-real-solution-to-get-the-best-work-from-your-team https://www.rallydev.com/blog/agile/12-failure-modes-agile-transformation
G-MagZ IT MAGAZINE
41
Idea Info
2016 ปีทองเทคโนโลยี
Cloud Computing ปี นี้ มี ห ลายส� ำ นั ก วิ จั ย ในอุ ต สาหกรรม เทคโนโลยีระดับโลกฟันธงตรงกันว่า ยุค รุ่งเรืองของเทคโนโลยี Cloud Computing (คลาวด์คอมพิวติ้ง) “มาถึงแล้ว” โดยจับ สัญญาณกระแสการตอบรับทีผ่ า่ นมาตลอด ปี 2015 ซึง่ ฟอร์เรสเตอร์ หนึง่ ในบริษทั วิจยั ชัน้ น�ำของโลก ระบุวา่ นับแต่นเี้ ป็นต้นไป จะ เห็นองค์กรต่างๆ ขยายการใช้งานคลาวด์ จากการแค่ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของโครงสร้ า ง พื้นฐานที่ช่วยในการท�ำงาน ออกไปสู่การ ลงทุนเทคโนโลยีนี้เพื่อหล่อหลอมเข้ากัน ทั้งอีโคซิสเต็มในการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อช่วย ในการให้บริการและรักษาฐานตลาด ตลอด จนเอาชนะใจลูกค้า ขณะที่ผู้เชี่ยวชาญบาง รายก็เสริมว่า แนวโน้มหนึ่งที่จะเห็นชัดเจน ยิ่งขึ้น คือ การขับเคลื่อนการใช้งานคลาวด์ ให้เชื่อมโยงกับลูกค้า สอดคล้องกับการท�ำ ธุรกิจในโลกยุคดิจทิ ลั ซึง่ เป็น “ยุคของลูกค้า” นอกจากนี้ฟอร์เรสเตอร์ ยังมองเห็นแนว โน้มการลงทุนเทคโนโลยีคลาวด์วา่ ยังสดใส ต่อเนือ่ งอีกหลายปี โดยเฉพาะไพรเวท และ พับลิกคลาวด์ ที่คาดว่าจะขยายตัวไม่ต�่ำ กว่า 6 เท่า ในช่วงปี 2016-2020 ขณะที่ ผู้น�ำบริการคลาวด์ อย่าง Amazon Web Services และ Salesforce ก็จะมีรายได้ เติบโตเป็นประวัติการณ์ในอีกไม่กี่ปีจากนี้ จากการขับเคลื่อนและส่งมอบนวัตกรรม ระบบทีส่ ามารถสร้างความรวดเร็วในการใช้ 42
G-MagZ IT MAGAZINE
ประโยชน์จากข้อมูลทั้งในส่วนขององค์กร แบบเดิมๆ และธุรกิจรูปแบบใหม่ๆ ทัง้ นีก้ าร ลงทุนเพิม่ ขึน้ ในเรือ่ งของดาต้ายังสนับสนุน ความสามารถของพั บ ลิ ก คลาวด์ และ ขับเคลื่อนนวัตกรรมใหม่ๆ ด้วย ทางด้านการ์ทเนอร์ ได้คาดการณ์ขนาด ตลาดพับลิกคลาวด์ทั่วโลกในปีนี้ไว้ว่า จะมี มูลค่าแตะ 204 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยาย ตัวจากปีก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ 175 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ทัง้ ยังมีแนวโน้มเติบโตอยูใ่ น ระดับที่ดีอย่างต่อเนื่อง จากการที่องค์กร ต่างๆ จะหันมาน�ำบริการไอทีแบบเดิมๆ ขึ้นมาสู่บริการในรูปแบบ Cloud-Based Services ตอบโจทย์กลยุทธ์การท�ำธุรกิจ ยุคดิจิทัล
พับลิกคลาวด์ในภาพรวมแล้ว ในส่วนที่จะ เติบโตสูงที่สุดจะมาจากบริการคลาวด์ใน รูปแบบ Infrastructure as a Service (IaaS) คาดว่าจะเติบโตถึง 38.4% และมูลค่าตลาด ปีนจี้ ะแตะหลัก 22.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยได้ แ รงหนุ น จากการที่ อ งค์ ก รต่ า งๆ เริ่ ม ปรั บ เปลี่ ย นการลงทุ น จั ด สร้ า งดาต้ า เซ็นเตอร์ มาเป็นการโอนย้ายโครงสร้าง พื้นฐานที่จ�ำเป็นต่อการท�ำธุรกิจขึ้นไปไว้ บนพับลิกคลาวด์
ด้านบริการคลาวด์แอพพลิเคชัน่ หรือ SaaS คาดว่าจะเติบโตต่อปี 20.3% เป็น 37.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปีนี้ ส่วนบริการ Cloud Management and Security ขยาย ตัวที่ 24.7% และบริการคลาวด์ในรูปแบบ Platform as a Service (PaaS) เติบโต ขณะที่นักวิเคราะห์จากบริษัทวิจัย ZK ระบุ 21.1% ว่า ในขณะทีง่ บประมาณด้านไอทีโดยรวมมี อัตราเติบโต 1-3% และตลาดซอฟต์แวร์ ในส่วนของบริษัท BluePi คู่ค้าของผู้ให้ ส�ำเร็จรูป มีอัตราเติบโตราว 3% แต่บริการ บริการคลาวด์ชั้นน�ำระดับโลกหลายราย คลาวด์ กลับมีอัตราเติบโตแซงหน้าอย่าง ก็ ไ ด้ เ ผยแพร่ ข ้ อ มู ล คาดการณ์ แ นวโน้ ม รวดเร็วกว่าตลาดเหล่านี้ถึง 5 เท่าตัว ด้วย ตลาดคลาวด์ ระหว่างปี 2015-2020 ของ จุดเด่นด้านเทคโนโลยีในการช่วยให้การ ฟอร์เรสเตอร์ ซึง่ มีตวั เลขอยูใ่ นระดับใกล้เคียง ท� ำ งานไอที ง ่ า ยยิ่ ง ขึ้ น ทั้ ง ยั ง เพิ่ ม ความ กับข้างต้น โดยมูลค่ารวมตลาด SaaS จะ รวดเร็วทางธุรกิจ ขยายตัวจาก 87.06 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2015 เป็น 302 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ การ์ ท เนอร์ ระบุ เ พิ่ ม เติ ม ว่ า นอกเหนื อ ในปี 2020 และคาดการณ์อตั ราเติบโตเฉลีย่ จากการเติบโตอย่างแข็งแกร่งของบริการ ต่อปีไว้ที่ 21%
Idea Info แนวโน้ม
Cloud Integration & SaaS ปี 2016 เป็นต้นไป
บิล เกตส์ เคยท�ำนายไว้เมื่อหลายปีก่อนว่า SaaS คือ การเปลี่ยนแปลงที่จะต้องมาถึงอย่างแน่นอน
ภูมิทัศน์ตลาด
SaaS
210
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
มีตัวเลขประมาณการตลาดปีนี้ว่าจะแตะหลัก 210 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จาก 76.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เมื่อปี 2010
มีประมาณการ เทคโนโลยี SaaS จะมีสัดส่วน 25% ของการจัดซื้อซอฟต์แวร์องค์กรใหม่ๆ ในปีนี้การใช้จ่ายด้านซอฟต์แวร์โดยรวม จะมี สัดส่วนของ SaaS ราว 14.2%
ตลาด SaaS ที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหาร ทรัพยากรองค์กร (ERP) ทั่วโลกจะเติบโต ต่อเนื่องไม่ต่ำ�กว่า 13.8% จนถึงปี 2018
แนวโน้ม SaaS ปี 2015 เป็นจุดเริ่มต้น องค์กรต่างๆ เร่งน�ำ Workload ต่างๆ ขึ้นไปไว้บนระบบคลาวด์
Cloud Data Services จะเข้ามาแทนที่วิธีการจัดเก็บ ข้อมูลในสตอเรจแบบเดิมๆ
แอพใหม่ๆ ที่เป็น SaaS จะมีมากขึ้น เพื่ อตอบสนองภาค อุตสาหกรรมเฉพาะด้านต่างๆ
ลดค่าใช้จ่ายด้านไอทีในการดูแลระบบ
สะดวกต่อการปรับขยายระบบรองรับ การเติบโตด้านบริการ มีเวลามากขึ้นกับการมุ่งความสนใจในประเด็น ที่ส�ำคัญต่อการขับเคลื่อนธุรกิจ มีการอัพเดทและเข้าถึงซอฟต์แวร์ โปรแกรมล่าสุดโดยอัตโนมัติ ผู้ให้บริการ SaaS จะรับประกันการจัดหา โซลูช่น ั สนับสนุนการท�ำงานอย่างไม่สะดุด และใช้งานได้ตลอดเวลา ประหยัดค่าใช้จ่ายในส่วนของ สัญญาบ�ำรุงรักษา
G-MagZ IT MAGAZINE
43
Idea Info ความต้องการ Customized Data Integration ยังเติบโตต่อเนื่อง การบูรณาการแอพพลิเคชั่นที่
ปัญหาด้านความซับซ้อน
องค์กรที่ต้องการบูรณาการโซลูช่ัน SaaS ที่ หลากหลาย จะเผชิญปัญหาด้านความซับซ้อน ครอบคลุมถึง ; • ความถูกต้องของการแปลงข้อมูล • ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง ข้ อ มู ล ( ป ร ะ เ ภ ท ก า ร เชี่ อ มโยงที่ เ หมาะสมกั บ ปริ ม าณข้ อ มู ล และ ปฏิสัมพั นธ์ระหว่างระบบที่แตกต่างกัน) • การจัดระเบียบการไหลของข้อมูล เพื่อให้ ได้ข้อมูลที่ถูกต้องส�ำหรับระบบที่ถูกต้องในเวลา ที่เหมาะสม
“สูญหาย” ระหว่างน�ำขึ้นระบบคลาวด์
การละเลยการบูรณาการ
การบูรณาการในคลาวด์
• ผู้ให้บริการ SaaS หลายรายเชี่ยวชาญ เฉพาะแอพพลิ เ คชั่ น และไม่ ไ ด้ ม องถึ ง การ บูรณาการ • ผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร SaaS และลู ก ค้ า มี ค วาม ต้องการ Third Party เข้ามาช่วยบูรณาการ ข้อมูล
• 58% มีการบูรณาการข้อมูลเสร็จสมบูรณ์ ภายในคลาวด์ เทียบกับ 28% เมื่อหลายปีก่อนหน้า • 9 0 % ข อ ง บ ริ ษั ท S a a S ร ะ ดั บ ส า ก ล พิ จ ารณาให้ ก ารบู ร ณาการมี ค วามส� ำ คั ญ ยิ่ง ยวด ต่อการขับเคลื่อนรายได้ • 31% ของผู้บริหารระบุว่า ความท้าทายส�ำคัญ ด้านการบูรณาการก็คือ การบูรณาการให้เข้ากับ ระบบที่มีอยู่เดิม
อีโคซิสเต็มของผูใ้ ห้บริการ ตัง้ แต่ขอ้ มูลภายใน ไปจนถึ ง ข้ อ มู ล จากเว็ บ แพลตฟอร์ ม จาก เครือ่ งจักร และอุปกรณ์พกพาต่างๆ เพือ่ สร้าง ให้เกิด Enterprise Data Lake บนคลาวด์ สนับสนุนให้เกิดการเชื่อมโยงการวิเคราะห์ ข้อมูลเพื่อให้องค์กรน�ำไปใช้ประโยชน์มาก ที่สุด
4. Moving data to the cloud gets closer to copy/paste การโอนย้ายข้อมูลมาจัดเก็บบน คลาวด์ท�ำได้ง่ายแทบจะแค่คัดลอกและวาง ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลภายในองค์กร หรือข้อมูล จากเว็บแพลตฟอร์ม
Source: http://virtuallogistics.ca
ขณะที่ประมาณการมูลค่ารวมตลาด PaaS ขยายตัวจาก 23.24 พันล้านดอลลาร์สหรัฐใน ปี 2015 เป็น 53.17 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ใน ปี 2020 อัตราเติบโตเฉลี่ยต่อปีในระดับ 18% ส่วนตลาด IaaS โดยรวมคาดการณ์ว่าจะ ขยายตัวจาก 15.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2015 เป็น 57 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2020 ด้วยอัตราเติบโตเฉลี่ยต่อปี 29% ล่ า สุ ด เว็ บ ไซต์ นิ ต ยสารไอที ชั้ น น� ำ ของโลก www.cio.com ได้น�ำเสนอบทความวิเคราะห์ 11 เทรนด์ดา้ นคลาวด์ทจี่ ะครอบครองตลาดปี 2016 โดยรวบรวมความคิดเห็นจาก “ตัวจริง” หลายคนในวงการ แนวโน้มเหล่านี้ ได้แก่ 1. It’s data land grab หรือรุกคืบช่วงชิงข้อมูล เริ่มมีสัญญาณจากผู้เล่นรายใหญ่ของตลาด บริ ก ารคลาวด์ ได้ แ ก่ Salesforce และ Amazon Web Services ก�ำลังจูงใจให้องค์กร ทั่ ว โลกโอนย้ า ยข้ อ มู ล เข้ า มาจั ด เก็ บ ไว้ ใ น 44
G-MagZ IT MAGAZINE
2. Big companies go cloud in a big way องค์ ก รขนาดใหญ่ เ ข้ า สู ่ ก ารเปลี่ ย นผ่ า น โครงสร้างพื้นฐานทั้งหมด รวมถึงอีโคซิสเต็ม ของข้อมูลเข้ามาไว้ในคลาวด์ เพือ่ มอบบริการ ที่ดียิ่งขึ้นส�ำหรับลูกค้า มีการก�ำหนดกลยุทธ์ ด้านคลาวด์ ซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่ายและความ เสี่ยง 3. Cloud analytics helps IT ช่วยให้ผนู้ �ำด้าน ไอทีมโี ซลูชนั่ การวิเคราะห์ทที่ รงพลังอยูใ่ นมือ ตลอดเวลา อีกทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ งบประมาณ
5. Hybrid cloud strategies get easier การก�ำหนดยุทธศาสตร์ไฮบริดคลาวด์งา่ ยกว่า เดิม เพราะจะมีโซลูชั่นและบริการใหม่ๆ ถูก พัฒนาขึ้นมาสนับสนุนคลาวด์รูปแบบนี้เพิ่ม ขึ้นเรื่อยๆ 6. IT assumes the role of innovation brokers บทบาทของคนไอทีพันธุ์ใหม่ และ โซลู ชั่ น ให้ บ ริ ก ารใหม่ ๆ จะเป็ น ที่ ต ้ อ งการ มากขึ้น เพราะไม่ต้องการแค่คนท�ำหน้าที่ แก้ไขซ่อมแซมระบบเท่านั้นอีกต่อไป แต่ต้อง สามารถพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ ใหม่ ๆ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการท�ำงาน และก�ำหนดนโยบาย เชิงรุกในการใช้งานคลาวด์ด้วย
Idea Info
แนวโน้มตลาด
คลาวด์คอมพิ วติ้ง บริษัทวิจัย ฟอร์เรสเตอร์ มองแนวโน้มการลงทุนเทคโนโลยีคลาวด์ว่า ยังสดใสต่อเนือ ่ งอีกหลายปี โดยเฉพาะไพรเวทและพับลิกคลาวด์ทค ่ี าด ว่าจะขยายตัวไม่ต�ำ่ กว่า 6 เท่า ในช่วงปี 2016-2020 ขณะทีผ ่ น ู้ �ำบริการ คลาวด์ อย่าง Amazon Web Services และ Salesforce ก็จะมีราย ได้เติบโตเป็นประวัติการณ์ในอีกไม่ก่ป ี ีจากนี้
SaaS
PaaS
ส่วนแบ่งตลาดผู้ให้บริการคลาวด์ในรูปแบบ Software as a Service (SaaS)
ประมาณการมูลค่ารวมตลาด SaaS : ขยายตัวจาก 87.06 พั นล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2015 เป็น 302 พั นล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2020
ส่วนแบ่งตลาดผู้ให้บริการคลาวด์ในรูปแบบ Platform as a Service (PaaS)
ประมาณการมูลค่ารวมตลาด PaaS : ขยายตัวจาก 23.24 พั นล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2015 เป็น 53.17 พั นล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2020
ตัวเลข ประมาณการ
ตัวเลข ประมาณการ
(พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)
(พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)
87.60
106.00
137.79
179.13
232.87
302.74
23.24
27.42
32.36
38.19
45.06
53.17
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2015
2016
2017
2018
2019
2020
ส่วนแบ่งการตลาด ในปี 2015
คาดการณ์อัตรา เติบโตเฉลี่ยต่อปี
ส่วนแบ่งการตลาด ในปี 2015 3%
21%
5.3%
EA IBM
9% e rcc sfo e l Sa Activision
2.1% 1.2%
Oracle SAP
CA
Mi cro s
oft
Others
73.1%
1.1% 0.6%
3.3%
18%
enow
4.2% 17% Amazon
Servic
คาดการณ์อัตรา เติบโตเฉลี่ยต่อปี
24% e rcc sfo e l Sa
2%
Nersuite
3% 2%
IBM le og Go
Oracle
Mi cro s
oft
Others
2%
10%
37% G-MagZ IT MAGAZINE
45
Idea Info ตลาดใหญ่ของคลาวด์คอมพิ วติ้ง
IaaS
ตลาดที่คลาวด์คอมพิ วติง ้ ประสบความส�ำเร็จอย่างโดดเด่น
ส่วนแบ่งตลาดผู้ให้บริการคลาวด์ในรูปแบบ Infrastructure as a Service (IaaS)
ประมาณการมูลค่ารวมตลาด IaaS : ขยายตัวจาก 15.7 พั นล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2015 เป็น 57 พั นล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2020
ตัวเลข ประมาณการ (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)
15.65
20.19
26.25
34.12
44.35
57.66
2015
2016
2017
2018
2019
2020
คาดการณ์อัตรา เติบโตเฉลี่ยต่อปี
29%
8% t sof
Amazon
4%
ro Mic
Rackspace Salesfoece IBM
39%
(Source :Blutpiit.com)
2% 3%
6%
Others
1. การใช้จ่ายรวมในบริการคลาวด์จะสูงถึง 11.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2018 2. มีอัตราเติบโตเฉลี่ยต่อปีของตลาดรวมคลาวด์คอมพิวติ้ง 9.7% ระหว่างปี 2015-2018 3. ในปี 2018 - Business Process as a Service (BPaaS): 9.2% - Platform as a Service (PaaS): 3% - Software as a Service (SaaS): 21.5% - Cloud Management and Security Services: 4% - IaaS: 9.8% - Cloud Advertising: 52.5% 4. ผู้ให้บริการคลาวด์ชั้นน�ำ 5 รายของภูมิภาค (เรียงตามล�ำดับ): Amazon Web Services, Salesforce, Microsoft, IBM และ Google อังกฤษ
ส่วนแบ่งการตลาด ในปี 2015 38%
ญี่ปุ่น
1. การใช้จ่ายรวมในบริการคลาวด์จะเพิ่มจาก 8.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2015 เป็น 11 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2018 2. มีอัตราเติบโตเฉลี่ยต่อปีของตลาดรวมคลาวด์คอมพิวติ้ง 10.3% ระหว่างปี 2015-2018 3. ในปี 2018 - Business Process as a Service (BPaaS): 11% - Platform as a Service (PaaS): 5% - Software as a Service (SaaS): 17.5% - Cloud Management and Security Services: 3% - IaaS: 11.4% - Cloud Advertising: 56.1% 4. ผู้ให้บริการคลาวด์ชั้นน�ำ 5 รายของภูมิภาค (เรียงตามล�ำดับ): Amazon Web Services, Microsoft, Salesforce, Google และ IBM
7. The Cloud Access Security Broker market becomes hot, hot, hot ปีนี้บริการที่ ช่วยสอดส่องและติดตามบริการบนคลาวด์ หรือ Cloud Access Security Broker (CASB) จะเป็ น ตลาดร้ อ นแรงที่ สุ ด ส� ำ หรั บ งานไอที ระดับองค์กร ช่วงครึง่ หลังปีทผี่ า่ นมามีตวั เลข มูลค่าควบรวมกิจการด้านนี้เกือบ 1 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ
9. Security standards for the cloud emerge จากจ�ำนวนผูใ้ ช้บริการคลาวด์เพิม่ ขึน้ ต่อเนือ่ ง ดังนั้นคาดว่าปีนี้จะเริ่มเห็นกรอบแนวทาง เกี่ยวกับมาตรฐานด้านความปลอดภัยของ คลาวด์ เพื่อช่วยให้เกิดการโอนย้ายระบบ สู ่ ค ลาวด์ ม ากขึ้ น ตลอดจนการบู ร ณาการ บริการบนคลาวด์เข้าไปในทรัพยากรด้านไอที ขององค์กร
8. Vendors provide APIs on Demand เวนเดอร์ด้านคลาวด์ ไม่ว่าจะเป็น SaaS, PaaS หรือ IaaS จะสามารถสร้างแหล่งราย ได้ใหม่จากการขาย APIs ในรูปแบบของ บริการเพิ่มมูลค่า
10. The enterprise will be able to achieve “Public Cloud-Like” flexibility, agility and scale in the data center มีปัจจัยสนับสนุน มากมายทัง้ ด้านเทคโนโลยีทดี่ ขี นึ้ ราคาถูกลง และผู้ให้บริการคลาวด์ ซึ่งสามารถช่วยให้
46
G-MagZ IT MAGAZINE
องค์ ก รขนาดใหญ่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ความ สามารถด้านความยืดหยุ่น ความคล่องตัว และการปรับขยายระบบรองรับความต้องการ เสมื อ นการใช้ พั บ ลิ ก คลาวด์ ได้ จ ากดาต้ า เซ็นเตอร์ที่มีอยู่ 11. Cyberattacks and data breaches in the cloud could go from perception to reality การโจมตีทางไซเบอร์ และข้อมูลรั่วไหลใน คลาวด์จะเป็นความเสี่ยงที่กลายเป็นจริง นี่ คื อ โจทย์ ท ้ า ทายด้ า นความปลอดภั ย บน ระบบคลาวด์ G
คุยกับหมอไอที หมอลี
10 อันดับ โปรแกรมเมอร์ยอดนิยม
โปรแกรมเมอร์ คื อ อาชี พ หนึ่ ง ในไทย ที่ท�ำเงินดีมากถ้าคุณเก่งจริง เพราะความ ต้องการทาง Business เช่น การพัฒนาแอพ มือถือ, IoT (Internet of Things), Security และข้อมูลขนาดใหญ่หรือ Big Data แต่ถา้ คิด ว่าเราไม่สามารถที่จะเก่งได้ในทุกภาษา วันนี้ หมอไอทีขอแนะน�ำภาษาที่คิดว่าไม่ตายไป จากโลกในระยะนี้ และยังคงความนิยม 10 อันดับ มาให้ดู ซึ่งข้อมูลได้มาจาก TIOBE (บริษทั ด้านการตรวจสอบ Quality ของ Code ที่มีบริการขายเป็น Services) ดังนัน้ ถ้าเราเป็นนักเรียน หรือมืออาชีพ จะบุก เข้าไปในอุตสาหกรรมการเขียนโปรแกรมแล้ว เราคงต้องมาดูกันว่า จะก�ำหนดกลยุทธ์การ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาอะไรบ้าง และต้อง เป็นภาษาที่ยังไม่ตกกระป๋องแน่นอน โดย 10 อันดับที่มีความนิยมจากการส�ำรวจ G-MagZ IT MAGAZINE
47
ซึ่ ง มองแล้ ว เป็ น ภาษาที่ ส ่ ว นใหญ่ ใ นประเทศไทยมี ก ารเปิ ด สอน ในบางมหาวิทยาลัย ที่น่าสนใจคือ มีสองภาษาที่เป็น Script คือ PHP Python และ JavaScript ซึง่ ดูแล้วในประเทศไทยเรามี Programmer แบบนี้พอสมควร ส่วน Java C เองก็นิยมมาโดยตลอดอยู่แล้ว หากไล่อันดับของแต่ละภาษากันมีดังนี้
ใช้ในการพัฒนา Apple’s OS X, iOS, APIs และ Apple Ecosystem ส�ำหรับสาวก Steve Job ต้องรู้ภาษานี้ ที่ส�ำคัญใน Communication มีงาน Object C อยู่พอสมควร
เป็ น ภาษาที่ นิ ย มมากในการพั ฒ นา Operating Systems และ Embedded Application การเรียนรู้ภาษา C ถือว่าเป็น Foundation ของภาษาอื่นมากมาย ถ้ารู้ภาษานี้แล้วต่อยอดไปยัง C C++ จะดีมากกว่าที่จะไปเติมภาษา Script อื่นๆ เช่น JavaScript
เคยเป็นที่นิยมใช้ในการพัฒนา System Software และวิดีโอเกมส์ ในอดีต เหมาะกับการพัฒนาโครงงานขนาดใหญ่ เพราะโครงสร้างด้าน oo สามารถแบ่งงานออกเป็นงานย่อยๆ กระจายให้นักพัฒนาหลายๆ คนได้ เป็น oo ที่สมบูรณ์อันแรกของโลก ได้รับการยอมรับว่าเป็นภาษาที่ เหมาะส�ำหรับผู้พัฒนาและโปรแกรมเมอร์ ถือว่าเป็นภาษาที่ใช้ได้กว้างมาก สามารถเขียนได้ตั้งแต่ Mobile, Desktop, Enterprise Application เพราะ Slogan WORA คือ เงินดี ถ้าเชี่ยวชาญในภาษานี้
48
G-MagZ IT MAGAZINE
คุยกับหมอไอที
ส�ำหรับสาวก Microsoft คูแ่ ข่ง Steve Job ใครรัก Bill Gates ก็เลือกเลย ตลาดแรงงานมีการ Request คนที่รู้ภาษานี้พอสมควร
สนับสนุนโดย Browser แทบทุกยีห่ อ้ ท�ำให้เราสามารถสร้าง Interactive Web Functions, Games และ Desktop Applications ด้วยความที่สามารถ Embedded เข้าไปใน html จึงเป็นอะไรที่ถูกน�ำ ไปใช้มากมาย และท�ำให้ Web น่าสนใจ
เกิดมาเพื่อท�ำ Dynamic Website เป็นภาษาที่โปรแกรมเมอร์ทุกคน ควรเขียนเป็น ถ้าต้องการเข้าไปในโลก Web Developer’s Career ที่น่าสนใจคือ ในตลาดแรงงานได้ราคาดีกว่า ASP.NET และมีงาน รองรับมากกว่า
ภาษานี้ส�ำหรับสาวก Google และเป็นที่นิยมในหน่วยงานการศึกษา เพราะความง่ายของภาษา อย่าไปคิดว่าง่ายแล้วไม่ดี เพราะ Website ระดับโลก เช่น pinterest.com, instagram.com และ rdio.com ใช้ Python เป็นหลักในการพัฒนา
G-MagZ IT MAGAZINE
49
คุยกับหมอไอที
เป็น oo ของค่าย Bill Gates บน Microsoft.NET Framework ข้อดี คือ มี Built-in Classes พร้อมใช้เป็นพันๆ Classes เป็นที่ยอมรับว่าง่ายต่อการพัฒนามากกว่า Visual Basic ถ้าเรา ต้องการใช้ .NET Feamework
เป็นภาษาที่ยอมรับว่าง่าย ถ้าเราพัฒนาบน Microsoft และไม่ได้ ต้องการความเร็วแบบ C# ว่ากันว่าถ้าต้องการโยกมาค่ายนี้ ภาษานี้ เหมาะ เป็นภาษาหลักในการเชื่อมเข้าไปในชุด Office เช่น Excel ท�ำให้เรา สามารถพัฒนา Macro ต่างๆ ในการท�ำ Automate ได้มากขึ้น
จากข้อมูลดังกล่าวท�ำให้ทราบข้อดี ข้อเสีย และหนทางที่เราจะเลือกแล้ว แถมท้ายเรามาดูแนวโน้มอนาคตว่า ภาษาที่เราชอบนั้น มีโอกาสใน การร่วมงานกับลักษณะธุรกิจประเภทใดและใช่แนวโน้มที่เหมาะกับตัวเราหรือไม่ ทั้งหมดนี้พอจะเป็นแนวทางการประเมินสิ่งที่เป็นจริงกับสิ่งที่ เราชอบเบื้องต้นได้ G
(Source: Computer Science Zone)
50
G-MagZ IT MAGAZINE
บันทึกมุมมอง สถานีช่องนนทรี
ิ้ ได้ แม้พ่ายแพ้ ยม เมื่อความสำ�เร็จคือเป้าหมาย หลายคนทำ�ทุกวิถีทางเพื่อสู่จุดหมาย โดยไม่สนใจว่า จะรับมือกับความพ่ายแพ้แต่อย่างใด และเมื่อต้องเผชิญกับความพ่ายแพ้ที่อยู่ตรง หน้า..จะทำ�อย่างไร ??? โดยเฉพาะการอยู่ในยุคสุขนิยม ยุคที่นิยมความสุข และฉัน ถูกเสมอ รวมถึงดีกรีความอดทนก็ต่ำ�เตี้ยเรี่ยดิน อีกหนึง่ คำ�ปรารภทีพ ่ ระอาจารย์ไพศาล วิสาโล ได้กล่าวไว้ในหนังสือ “ยิม้ ได้แม้พา่ ยแพ้” อาจจะช่วยเตือนความคิด มุมมอง รวมถึงการรับมือด้านตรงข้ามของความสำ�เร็จ เพื่อลดทอนแรงกดดันที่แต่ละคนนำ�มาใส่ตนเอง
G-MagZ IT MAGAZINE
51
ใครๆ ก็ ย่ อ มปรารถนาชั ย ชนะ ่ อ แต่ชวี ต ิ ก็เหมือนเกมกีฬา ทีต ้ งมี ชนะและแพ้ ไม่มใี ครชนะได้ตลอด ่ ความพ่ายแพ้เป็นธรรมดา ในเมือ ของชีวิต เราจึงควรเรียนรู้ท่ีจะ ยอมรั บ ความพ่ า ยแพ้ ด้ ว ยใจที่ ไร้ทุกข์
นอกจากเพศรส ความหนุ่มสาว และความสนุกสนานแล้ว อีก สิง่ หนึง่ ทีเ่ ป็นยอดปรารถนาของคนส่วนใหญ่ในยุคบริโภคนิยม ได้แก่ “ความส�ำเร็จ” ซึ่งมักชี้วัดด้วยจ�ำนวนทรัพย์สินเงินทอง ต�ำแหน่งหน้าที่ และชือ่ เสียงเกียรติยศ ความส�ำเร็จดังกล่าวได้ กลายเป็ น ตั ว นิ ย ามความหมายและคุ ณ ค่ า ของชี วิ ต ผู ้ ค น รวมทั้งถูกยกระดับให้กลายเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต แม้มันจะมีเสน่ห์และความหอมหวน ท�ำให้ผู้คนมีความสุข ในยามที่ได้ครอบครอง แต่ในเวลาเดียวกันมันก็เป็นที่มาแห่ง ความทุกข์ของผู้คน เช่นเดียวกับทรัพย์สินเงินทอง ต�ำแหน่ง หน้าที่ และชือ่ เสียงเกียรติยศ ความส�ำเร็จเป็นสิง่ ทีไ่ ม่จริ งั ยัง่ ยืน ดังนั้นเราไม่เพียงต้องเหนื่อยกับการไขว่คว้าไล่ล่ามันเท่านั้น หากยังต้องทุกข์กับการรักษาไว้เพื่อมิให้หลุดลอยไป แต่ไม่ว่า จะเพียรพยายามเพียงใดในที่สุดก็ต้องพลัดพรากจากเราไป มิพักจะต้องกล่าวว่าแม้ในขณะที่มันยังอยู่กับเรา เสน่ห์นั้นก็ จืดจางลงไปเรื่อยๆ จนมีความหมายกับเราน้อยลง
ลงจากความส�ำเร็จ ทั้งๆ ที่เป็นสิ่งที่ทุกคนที่บรรลุความส�ำเร็จ ย่อมต้องประสบไม่วันใดก็วันหนึ่ง ใครๆ ก็ย่อมปรารถนา ชัยชนะ แต่ชีวิตก็เหมือนเกมกีฬา ที่ต้องมีชนะและแพ้ ไม่มี ใครชนะได้ตลอด ในเมื่อความพ่ายแพ้เป็นธรรมดาของชีวิต เราจึงควรเรียนรู้ที่จะยอมรับความพ่ายแพ้ด้วยใจที่ไร้ทุกข์ จะว่าไปแล้ว นี่เป็นสิ่งส�ำคัญกว่าการดิ้นรนแสวงหาชัยชนะ ด้วยซ�้ำ
การไต่เต้าดิน้ รนเพือ่ บรรลุความส�ำเร็จเป็นเรือ่ งยาก แต่ที่ยาก กว่าคือการรักษาความส�ำเร็จ แม้กระนั้นสิ่งที่ยากที่สุดคือการ ลงจากความส�ำเร็จโดยไม่เจ็บปวด น่าแปลกก็คือขณะที่มี หนังสือประเภท How to เพื่อบรรลุความส�ำเร็จ ออกมาเต็ม ท้องตลาด แต่กลับแทบไม่มหี นังสือ How to ในยามทีต่ อ้ งก้าว
ความส�ำเร็จหรือความล้มเหลวเป็นเพียงส่วนหนึ่งของชีวิต ยังมีสิ่งอื่นอีกมากมายที่ส�ำคัญต่อชีวิตของเรา หรือส�ำคัญ ยิ่งกว่า เช่น การท�ำความดี เอื้อเฟื้อเกื้อกูลผู้อื่น การเป็นอิสระ จากความผันผวนปรวนแปรต่างๆ ของโลก และการละวาง ความยึดติดถือมั่นในตัวตน เป็นต้น G
52
G-MagZ IT MAGAZINE
การยิ้มเมื่อได้รับชัยชนะนั้นใครๆ ก็ท�ำได้ แต่ที่ยากก็คือยิ้มได้ แม้ในยามที่พ่า ยแพ้ มิใช่คนขี้แพ้ที่สามารถท�ำเช่นนั้นได้ จ�ำเพาะผู้ที่มีปัญญาแลเห็นว่ายังมีสิ่งอื่นที่มีคุณค่ามากกว่า ชัยชนะ รวมทัง้ ตระหนักถึงความไม่จริ งั ยัง่ ยืนของความส�ำเร็จ ยิ่งสามารถละวางความยึดติดถือมั่นในความเป็นผู้ชนะหรือ ผูแ้ พ้ดว้ ยแล้ว ความล้มเหลวหรือความพ่ายแพ้ยอ่ มมิอาจท�ำใจ ให้หวั่นไหวได้เลย
VALUE ADDED PARTNER
We supply the world-class product portfolios, with qualified service, for competitiveness.
EXADATA INSTALLATION AUTHORIZED PARTNER We are only One Partner in Thailand and One of just two in ASEAN Region
TRAINING Authorized Education Center
We provides various types of professional training program to fulfill educational requirements
G-MagZ IT MAGAZINE
53
54
G-MagZ IT MAGAZINE