แวง พลังวรรณ

Page 1

ภาพโดย ปรีดา ขาวบอ

74


แวง พลังวรรณ

อิ่มแลว... พานองไปเลนวัด

อิ่

มแลว...พานองไปเลนวัด

ประโยคคำสั่งนี้ดังกึกกองในสังคม-ชุมชนอีสาน เมื่อราว ๔๐ ป และดังกองในหวงคำนึงของคนอีสาน ทุกผูทุกนามที่มีอายุเกิน ๕๐ ป

75


อิ่มแลว...พานองไปเลนวัด ประโยคนี้ใหสิ่งที่เปน คุณคาแกคนอีสานมากกวาอรรถหรือพยัญชนะ อิ่ม แลว โดยอรรถ หมายถึง อิ่มจากการรับประทานมื้อ เย็น ซึ่งเปนมื้อที่เย็นจริง ๆ คือ ขาวไมรอน เพราะยัง ไมถึงเวลาอุนขาว เนื่องจากยังไมเย็นมาก ... ยังไมถึง ยามแลง-ยามงาย เปนชวงที่พอ-แมยังวุนอยูกับงาน ยังไมถึงเวลาที่จะตองหุงหาอาหาร เปนการกินเพื่อ รองทอง มากกวาจะกินเอาอิ่มเอาออก และสะทอน ใหเห็นวา ภารกิจนำนองไปวัดนั้นตองใชเวลา และใช พลังงานมาก จึงตองรองทองใหมีแรงกอน ภารกิจในวัด หมายถึงกิจกรรมที่เดิ่นวัด หรือลาน วัด ซึ่งในอดีต ลานวัดอีสาน สำหรับเด็กคือ สนามเด็ก เลนอันมโหฬารที่จุเด็กในหมูบานไดทั้งหมด ในยุคนั้น เด็ก ๆ หาใครไมไปเลนที่วัดเปนไมมี ใครที่ไมไปเลนที่ วัดถือวาเปนเด็กพิกล อิ่มแลว...พานองไปเลนวัด เปนประโยคที่ยิ่งใหญ ในหัวใจเด็กอีสานเมื่อไมนาน เปนประโยคที่ใหความ อบอุน ความสุข ใหความคิดคำนึง ใหความยิ่งใหญ ของอีสาน และยิ่งใหญเกินกวาอีสานในยุคนี้มากนัก 76


การไปเลนที่ลานวัด ยังสะทอนใหเห็นถึงความยิ่ง ใหญของวัดอีสาน วัดอีสานมิไดเปนเพียงที่ประกอบ สังฆกิจ หรือเปนที่ทำบุญทำทานของญาติโยมเทานั้น แตมันคือสมบัติของเด็กๆ ดวย ความสนิทแนบแนน กับวัดของคนอีสานในยุคกอนมันเกินจะอธิบายใหคน ยุคนี้เขาใจ-เขาถึง... อิ่มแลว...พานองไปเลนวัด กวา จะเปนประโยคนี้ขึ้นมาได สังคมอีสานตองถูกกลอม เกลาอยูรวมพันป และอีสานก็คือ คนในกลุมไต-ไทยลาว ซึ่งในอดีตกอนเกิดรัฐชาติ มิอาจแยกกันไดวา ใผ เปนใผ (ผูเขียนใช “ใผ” มิใช “ไผ” เพราะคำนี้มาจาก “ผูใด”) ตอมาเมื่อบานเมืองแตกสะลุผุพายแตกพาย พลั ด พรากกั น นี่ ด อก จึ ง ชี้ ห น า กั น ว า ใผเป น ไทย ใผ เป น ลาว และใผเป น ไต และเวลานั บ พั น ป นั บ แต ป ๑๒๗๒ ทำใหคนกลุมนี้ผูกพันกันเปนชาติ สิ่งที่เกาะ เกี่ยวคนกลุมนี้มิใชเพียงสงครามกับตางชาติที่ทำให ตองผนึกกำลังกันสูศึกเทานั้น ยังมีสายใยเสนสำคัญ ที่ แมตอมาจากตองพลัดพรากกันแลว สิ่งนี้ยังคงฝงแนน ในใจและในสังคมคนไต-ไทย-ลาวอยูจนบัดนี้ 77


สิ่งที่เปนเสมือนรหัสพันธุกรรมของไต-ไทย-ลาว คือ ฮีต และคอง ฮี ต และคอง หรื อ รู จั ก กั น ทั่ ว ไปว า ฮี ต ๑๒ คอง ๑๔ นั้น มิใชสิ่งที่คร่ำครึพนสมัยอยางที่ลูกหลานเชื้อ สายไต-ไทย-ลาว เขาใจ หากมันเปนสิ่งที่สมสมัย และ เป น เครื่ อ งยื น ยั น แสดงว า ไต-ไทย-ลาวนั้ น ยิ่ ง ใหญ เพียงใด ฮีต คำนี้ นักปราชญลาวและอีสานมักวากันวา มาจากคำวา “จาริตะ” ในภาษาบาลี สันสกฤตวา “จาริ ต ระ” หมายถึ ง ขนบธรรมเนี ย ม แบบแผน ความประพฤติที่ดีงาม (ปรีชา พิณทอง. ๒๕๓๔ : ๕๗) ซึ่งผูเขียนคิดแยงอยูในใจ และอยากบอกสิ่งที่อยูในใจ ออกมาดัง ๆ วา คำวา ฮีต ไมไดมาจากไหน หากมัน คือคำไต-ไทย-ลาว คือ คำวา ฮีต และคำนี้เปนคำเกา คำวาคำเกา หมายถึงคำที่อาจใชรวมกันในยุคตน ๆ ที่ ภ าษาไม ไ ด ห ลากหลาย เช น คำว า อมตะ กั บ immortal หรือพวกวิภัติ-ปจจัย (prefix หรือ suffix) หรื อ คำที่ ต อ เติ ม ข า งหน า หรื อ ข า งหลั ง เพื่ อ ให ค วาม 78


หมายเปลี่ยน เชน คำวา อ (แปลวา ไม) ส (แปลวา มี) เชน มตะ แปลวาตาย เติม อ ขางหนาเปนอมตะ คือ ไมตาย ในภาษาอังกฤษมีคำพวกนี้อยูมาก เชน a, un, in, im เปนตน คำพวกนี้ถาอยูหนาคำใด ความหมาย ก็จะเปลี่ยนเปนไปในทางตรงขาม เชน comfortable (แปลวาสะดวกสบาย) เมื่อเติม uncomfortable ก็ แปลวา ไมสะดวกสบาย เปนตน คำวา ฮีต ก็อาจเปนเชนเดียวกัน คือ อาจเปนคำ เกาที่มีอยูเดิม ซึ่งคำวา ฮีต ภาษาอังกฤษใชวา rite (รีต) ซึ่งผูเขียนไมเชื่อวา คำวา “rite” นี้จะมีที่มาจาก คำวา จาริตฺต หรือจาริตร หรืออีกอยางหนึ่งก็คือ ทั้ง คำวา ฮีต จาริตฺต จาริตร และ rite อาจเปนคำที่มา จากที่ เ ดี ย วกั น ไม มี ใ ครยื ม ของใคร ทั้ ง นี้ สาเหตุ ที่ ผูเขียนเชื่อเชนนี้ก็เนื่องจากวา คำ หรือภาษาไต-ไทยลาว ในยุคนั้น ไมมีที่ใดหยิบยืมมาจากบาลี-สันสกฤต เลย จะเห็ น ได จ ากชื่ อ คนและชื่ อ ตำแหน ง ในยุ ค นั้ น เชน เจาฟาฮวม เจาขุนลอ ขุนซวา ขุนซวย ขุนคำ ขุน ฮุง ขุนคุม เปนตน ซึ่งชื่อคนนั้น เปนดานหนาที่ปะทะ กั บ ภาษาต า งประเทศ เป น ด า นแรกที่ จ ะต อ งถู ก 79


กระทบ และถูกแปรไปตามอิทธิพลทางภาษา หากชื่อ คนไมไดมาจากภาษาบาลี-สันสกฤตแลว คำที่ใช ๆ กัน ในสังคมก็ไมนาจะมาจากบาลี-สันสกฤต ดังจะเห็นได จาก ชื่อคนไทย ซึ่งเปนชนชาติเดียวที่มีพลวัตที่สุด คือ เปลี่ยนแปรไปตามกระแสและอิทธิพลอยางยิ่ง กอนนี้ เรารั บ อิ ท ธิ พ ลแขก ก็ ใช ชื่ อ อย า งแขก เช น สมศั ก ดิ์ สมบัติ นิรุตติ์ เปนตน แตเมื่อไดรับอิทธิพลฝรั่งเขา ก็ แปรไปเปนฝรั่งตาม เชน แม็ค เชอรี่ เปล แหมม แต ภาษาที่คนไทยใชกันในชีวิตประจำวันกลับยังใชภาษา เดิมของตน เปนตน ที่ ว า มาเสี ย ยื ด ยาวก็ เ พี ย งเพื่ อ จะอธิ บ ายว า ฮี ต เปนคำไต-ไทย-ลาว หรือคำโบราณที่ใชกันทั่วไปของ มนุษยในยุคนั้น เพราะหากฮีตมาจากภาษาบาลี-สัน สกฤต ชื่อคนไต-ไทย-ลาวในยุคนั้นตองเปลี่ยนตาม การคั ด ค า น (ในใจ) ของผู เขี ย นที่ เขี ย นออกมา ดัง ๆ เชนนี้ ก็สะทอนแนวการศึกษาเรื่องฮีต-คอง ของ ผูเขียนดวยเชนกัน ซึ่งเปนการศึกษาแบบตีความและ วิเคราะห โดยเฉพาะเนื้อหาของฮีต-คอง เปนเรื่องที่ 80


มีความหมายอยางมาก โดยพยายามเคนความรูทาง ภาษา โดยไมติดอยูกับภาษาไทยและลาว หากเลยไป ถึงภาษาไต และทางดานกฎหมาย ตลอดจนใชจริต และวิถีชีวิตที่ผูเขียนดำรงอยูในสังคมอีสาน อันนาจะ สะทอนหรือเปนตัวแทน (กลุมตัวอยาง) ของคนไตไทย-ลาว ไดไมมากก็นอย นับแตนี้เปนตนไป... เราจะดำดิ่งสูภูมิปญญา ของบรรพบุรุษ เพื่อจะไดรูวา คำวา “บานดีเมือง ดี” นั้นเปนเชนไร การจะทำใหบานดี-เมืองดี-คนดี นั้นตองทำอยางไร และจะไดรูวา ฮีต-คอง มิใชของคร่ำครึอยางที่ เขาใจ

บรรณานุกรม ปรีชา พิณทอง. ประเพณีโบราณ. ๒๕๓๔ 81


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.