จดหมายข่าวพุทธิกา ฉบับที่ 34

Page 1

æÿ ∑ ∏‘ ° “ ®¥À¡“¬¢ã“«

ปที่ ๘ ฉบับที่ ๓๔ ๏ เดือนเมษายน ๒๕๕๒

เพื่อการฟนฟูพระพุทธศาสนา

คณะสงฆกับการเผชิญ

วิกฤตโลกสมัยใหม artwork34.p65

1

1/1/45, 0:20


หนังสือเลมฉบับพกพา สมทบคาจัดพิมพ เพียงเลมละ ๑๐ บาท (ไมรวมคาจัดสง)

สมทบคาจัดพิมพ เพียงเลมละ ๑๕ บาท (ไมรวมคาจัดสง)

ติดตอที่ : เครือขายพุทธิกา ๙๐ ซ.อยูออมสิน ถ.จรัญสนิทวงศ ๔๐ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐

โทรศัพท ๐-๒๘๘๖-๙๘๘๑,๐-๒๘๘๓-๐๕๙๒,๐-๘๖๓๐๐-๕๔๕๘ http://www.budnet.org E-mail : b_netmail@yahoo.com

artwork34.p65

2

1/1/45, 0:20


เปดเลม

ถานการณ บ า นเมื อ งเพิ่ ม ความร อ นแรงมากขึ้ น พอ ๆ กับอุณหภูมขิ องดินฟาอากาศ ขาวการชุมนุมของคนเสือ้ แดง ที่ทําทาวาจะยืดเยื้อทําใหหลายคนไมสบายใจยิ่งกวาเดิม ทีแ่ ลวมาปญหาเศรษฐกิจก็หนักอึง้ อยูแ ลว ตอนนีก้ ม็ ปี ญ  หาการเมืองมาซ้าํ เติมอีก อยางไรก็ตามในยามนีก้ ารมัวแตวติ กกังวลกับปญหาตาง ๆ ทีร่ าย รอบตัวยอมไมชว ยใหอะไรดีขนึ้ ยิง่ พยายามปฏิเสธผลักไสมันก็ยงิ่ ทําให เปนทุกข ไมดกี วาหรือหากเรายอมรับวานีค้ อื ความจริงทีเ่ กิดขึน้ แลว และจะ ยังอยูก บั เราไปอีกพักใหญ อะไรทีห่ นีไมพน เราตองเรียนรูท จี่ ะทําใจอยูก บั มัน แตไมใชอยูอ ยางยอมจํานน แตอยูเ พือ่ ทีจ่ ะทําความเขาใจวามันเกิด จากอะไร แลวจะกอผลอะไรตามมา จากนัน้ ก็ใครครวญดูวา เราจะบรรเทา ผลกระทบไดอยางไร ไมวา ผลตอเรา ตอแวดวงของเรา และตอประเทศ ของเรา เมือ่ ใครครวญจนไดคาํ ตอบทีแ่ นชดั แลว ก็ตอ งลงมือทําเพือ่ ลดผล กระทบนัน้ ดวยการทําปจจุบนั คือ วันนี้ ชัว่ โมง และนาทีนใี้ หดที สี่ ดุ อยา ใหวนั นีส้ ญ ู ไปเพียงเพราะกังวลกับเรือ่ งพรุง นี้ การทําปจจุบนั ใหดที สี่ ดุ และ เห็นผลงานงอกเงยขึ้นทีละเล็กทีละนอย จะชวยทําใหเรามีกําลังใจและ ความเชือ่ มัน่ ในการรับมือกับวันพรุง นี้ แตกอ นทีว่ นั พรุง นีจ้ ะมาถึง ก็ควร แนใจวาเรามีเวลาพักผอนอยางเต็มที่ รวมทัง้ สามารถปลอยวางเรือ่ งตาง ๆ พุทธิกา

artwork34.p65

3

1/1/45, 0:20


เพือ่ จะไดนอนหลับสนิทเห็นผลงานงอกเงยขึน้ ทีละเล็กทีละนอย จะชวย ทําใหเรามีกาํ ลังใจและความเชือ่ มัน่ ในการรับมือกับวันพรุง นี้ อยาลืมวา การพักผอนอยางเต็มทีค่ อื การเตรียมตัวทีด่ ที สี่ ดุ อยางหนึง่ ในการรับมือกับ ปญหาในวันพรุง นี้ นอกจากใครครวญปญหาภายนอกแลว อยางหนึง่ ทีส่ าํ คัญมากคือ การมองเขามาภายในเพือ่ รูเ ทาทันความรูส กึ นึกคิดของตน ถึงทีส่ ดุ แลวจะ สุขหรือทุกขก็อยูที่ใจของเรานั่นเอง สถานการณบานเมืองหรือปญหา เศรษฐกิจเปนตัวรอง หากวางใจใหถกู ก็ยงั สุขไดแมบา นเมืองจะวุน วาย เศรษฐกิจจะติดลบ อยาเอาความสุขของเราไปฝากไวกบั ปจจัยภายนอก ไมวา จะเปน ผูค น สถานการณบา นเมือง หรือสภาพเศรษฐกิจ เอาความสุขฝากไวกบั ใจทีเ่ ปย มดวยสติและปญญาเปนดีทสี่ ดุ หากปรารถนาชีวติ ทีผ่ าสุก ยอม ไมมหี ลักประกันอะไรทีด่ ไี ปกวาการพึง่ ตนเอง

สาราณียกร

พุทธิกา

artwork34.p65

4

1/1/45, 0:20


สารบัญ พุทธิกา ปที่ ๘ ฉบับที่ ๓๔ ๏ เดือน เมษายน ๒๕๕๒

เปดเลม................................................................................. ๑ คณะสงฆพรอมทีจ่ ะเผชิญปญหากับความวิกฤต ของโลกสมัยใหมหรือไม...............................................................๔ พระอนิลมาน ธมฺมสากิโย (ศากยะ)

บุญทีถ่ กู ลืม. ........................................................................๑๓ พระไพศาล วิสาโล

สมานฉันททผี่ วิ . ..................................................................๑๙ นิธิ เอียวศรีวงศ

หนาตางกิจกรรม...................................................................๒๔ จุดคลายรอน.......................................................................๒๗ ปรอทวัดสังคม. ...................................................................๒๘

พุทธิกา artwork34.p65

5

1/1/45, 0:20


ì§≥– ߶èæ√åÕ¡∑’®Ë –‡º™‘≠ªò≠À“°—∫ §«“¡«‘°ƒµ¢Õß‚≈° ¡—¬„À¡ãÀ√◊Õ‰¡ã ?îÒ æ√–Õπ‘≈¡“π ∏¡⁄¡ “°‘‚¬ (»“°¬–)Ú

คําถามแรก คณะสงฆ แกปญ  หาไดทกุ สิง่ ทุกอยางหรือไม ? ปญหาโลกทุกวันนีน้ บั วันมีแต ความสลับซับซอน อะไรทีเ่ กิดขึน้ กับทีห่ นึง่ ก็มกั จะไปปรากฏผลกระทบกับอีกทีห่ นึง่ ดัง่ พุทธพจน ทีว่ า ดวยหลักอิทปั ปจจยตา เชน ในสถานการณ โลก ปญหาเศรษฐกิจทีร่ มุ เราอเมริกา สงผลกระทบตออีกซีกโลกหนึง่ อยาง เปนผลสืบเนือ่ ง ปญหาทุกวันนีใ้ นทุกระดับลวนมีผลกระทบซึง่ กันและกัน ในทํานองเดียวกัน พระสงฆกไ็ ดรบั ผลกระทบอยางไมอาจหลีกเลีย่ งได ใน เมือ่ พระสงฆตอ งบิณฑบาต ตองฉันอาหารทีช่ าวบานมาถวาย ชาวบานที่ ถวายนัน้ มีทงั้ คนในหมูบ า น คนนอกชุมชนทีม่ าวัด และคนนอกทีม่ าจาก แดนไกล พระสงฆตอ งอาศัยชาวบาน ดังนัน้ พระสงฆจงึ ตองปรับตัวเรียน รูเ พือ่ ทีจ่ ะอยูร ว มกับสังคมโดยไมอาจปฏิเสธทีจ่ ะตองมารับรูเ รือ่ งของสังคม ดวย การนําเสนอวันนีจ้ ะแสดงมุมมองในฐานะนักมานุษยวิทยา ซึง่ มีจดุ

พุทธิกา

artwork34.p65

6

1/1/45, 0:20


ยืนทีจ่ ะไมเปนผูพ พิ ากษาสังคม แตจะศึกษาขอเท็จจริงตามความเปนจริง ในการทําความเขาใจสังคม ชุมชน และมักจะพยายามหาคําอธิบายตอ ปรากฏการณทางสังคมนัน้ ๆ เชน ทําไมสังคมถึงเปนเชนนัน้ บางครัง้ คํา อธิบายนัน้ จะชวยเปนกระบอกเสียงใหกบั คนไรสทิ ธิไ์ รเสียงในสังคม เสมือน หนึง่ ทําหนาทีค่ ลายองคกรพัฒนาเอกชน (NGO) ชวยเหลือคนเล็กคนนอย ในวงการสงฆกม็ กี ลุม ทีช่ ว ยเปนเสียงใหพระสงฆ อาจจะเปนพระสงฆเอง หรือฆราวาสทีร่ วมกันอาจจะไมเปนองคกรทางการ เพือ่ ทําใหเกิดเสียงของ พระสงฆกม็ ี คํากลาวทีว่ า “คณะสงฆพรอมทีจ่ ะเผชิญปญหากับความวิกฤตของ โลกสมัยใหมหรือไม?” คงตองยอนกลับมาดูวา เปนคํากลาวหาตอคณะ สงฆอยางเปนธรรมหรือไม ปญหาตาง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในสังคมทุกวันนีพ้ ระสงฆ เปนผูก อ ใชหรือไม? ทําไมกอนทีโ่ ครงการตาง ๆ จะเกิดขึน้ มีหรือไมทจี่ ะ ไปถามคณะสงฆกอ นวาควรทําหรือไม คณะสงฆแทบไมไดอยูใ นสายตา จนเมือ่ เกิดปญหามีผลกระทบแลวจึงจะไปถามคณะสงฆเพือ่ ใหทา นแก คําพูดของนักวิชาการทีว่ า คณะสงฆพรอมทีจ่ ะแกวกิ ฤตหรือไม มักกลาวหา พระสงฆวา วัน ๆ เอาแต บิณ - บัง - สัง - สวด พระสงฆทาํ อะไรอยู? ขอใหนกั วิชาการยอนกลับไปดูวา บทบาทของพระสงฆอยูท กี่ ารทําหนาที่ แกปญ  หาหรือ และกลับไปทบทวนดูวา วิกฤตของสังคมเกิดขึน้ ไดอยางไร กอนทีจ่ ะกลาวหาวาพระสงฆไมมคี วามรับผิดชอบ ซึง่ เปนคํากลาวทีถ่ กู หรือ ไม นักวิชาการมักวิจารณวา พระสงฆไมทาํ อะไรเลย เปนทาสของรัฐ มุง แต พุทธพาณิชย ไมสนใจอะไร สนใจแตเรือ่ งสวนตัว สรางอํานาจในสถาบัน สงฆ โยนปญหาทุกสิง่ ทุกอยางไปใหพระ พระสงฆตอ งแกปญ  หาทุกอยาง ได พระตองตามแกปญ  หาทุกอยาง ใชหรือไม ดังนัน้ การมองวิกฤตการณ ของปญหา ควรทีจ่ ะตองหันกลับมามองใหมวา ใครเปนคนสรางปญหา และตองแกทตี่ น ตอนัน้ มิใชการโยนใหพระสงฆรบั ผิดชอบ พุทธิกา artwork34.p65

7

1/1/45, 0:20


พระสงฆก็เปนลูกหลานของชาว บาน มีกเิ ลส แตทจี่ ะตางจากฆราวาสก็คอื พระสงฆยังมีกรอบวินัย พระสงฆมีเปา หมายชีวิตเพื่อการบวช โดยมีจีวรเปน สัญลักษณ อีกอยางหนึ่งศักยภาพของ สถาบันสงฆมขี อ จํากัด ทีม่ กี ารกลาวหาวา พระไมทาํ หนาทีท่ ดี่ ี แตกลับเปนทําใหเกิด พุทธพาณิชย หากพิจารณาจํานวนพระ สงฆในขณะนี้ ทีม่ อี ยู ๓๐๐,๐๐๐ รูป เปน พระทีม่ คี วามรูห รือไดไปเลาเรียนมีเพียงไม ถึง ๓๐,๐๐๐ รูป เปรียบเทียบอยางหยาบ ๆ จํานวนพระสงฆเพียงนีจ้ ะไป เผชิญแรงเสียดทานปญหาทางโลก ทีเ่ ต็มไปดวยโลภ โกรธ หลง ปญหา สังคมซับซอนมากมายอยางไรไดบา ง คนเปนลาน ๆ คน พระจะไปรับผิด ชอบไดเพียงใด สมัยพุทธกาล พระพุทธเจาทรงเผยแผพทุ ธศาสนาไปได ๗ แควน แตทมี่ อี ยู ๑๗ แควน แมพระพุทธองคจะทรงทําเต็มทีก่ ม็ อิ าจ แสดงธรรมไดครบทุกที่ บางแหงก็ใชวา เปนสาวกของพุทธศาสนาทัง้ สิน้ ลัทธิความเชือ่ อืน่ ก็มี แมวา พุทธธรรมเปนทางออกหนึง่ ใหกบั การแกปญ  หา แตธรรมเปน เรือ่ งของการรูไ ดดว ยตนเอง รูผ ลไดเฉพาะตน ซึง่ มิใชแคการฟง แตตอ งนํา ไปปฏิบตั ิ ดังมีคนกลุม เล็ก ๆ ทีน่ าํ ไปทําแลวไดผล และเมือ่ เขาเหลานัน้ นํา ไปทําตอ หรือนําไปหมุนฟนเฟองตอ กอเกิดการแผขยายตอ ดัง่ กงลอทีห่ มุน ไปทีอ่ นื่ ๆ ได พุทธศาสนาจะแกปญ  หาไดทกุ อยางไม ดูอยางดอกบัวสีเ่ หลา เหลาที่สี่เปนปทปรมะอยูใตโคลนนั้น ตอใหพระมีแรงขนาดไหน ก็ไม สามารถเขาไปเตือนคนเหลานั้นได ดังนั้นจึงตองกลับมาถาม ในยุคนี้ อิทธิพลของพุทธศาสนาจะสามารถแกปญ  หา ไดหรือไม

พุทธิกา

artwork34.p65

8

1/1/45, 0:20


อยางไรก็ตาม พระสงฆมีความพรอมที่จะเผชิญวิกฤตของโลก เพราะพระสงฆมปี ระสบการณโดยตรงดวย ทางโลกมีปญ  หาอะไร พระ สงฆกม็ ดี ว ย โลกเหลวแหลกอยางไร พระสงฆกม็ ี โลกมีปญ  หาเกย พระ สงฆก็มีตุดมีแตว โลกมีการหึงหวงในแงชูสาว พระสงฆก็มีหึงหวงคูขา ถึงกับฆากันบางก็ยงั มี โลกมีปญ  หาเอดส พระก็ตดิ เอดส มัว่ สีกา โลกมีการ พนัน พระก็มผี พี นัน โลกมีอะไรพระสงฆกม็ ี จึงถือวาพรอมแกปญ  หาสําหรับ พระสงฆ ทุกทีล่ ว นมีปญ  หา ดังนัน้ ควรเริม่ จากการเปลีย่ นมุมมอง ปรากฏการณทมี่ ปี ญ  หา ไม ใชเปนปญหา การมีปญ  หาไมใชสงิ่ ผิด โลกนีไ้ มมที ไี่ หนไมมปี ญ  หา นอกจาก หนทางสูพ ระนิพพานแลวจึงกาวพนปญหา เราตางลวนตองเผชิญปญหา พุทธศาสนาสอนใหเรายอมรับปญหา ไมใชสงิ่ ผิดแปลกทีจ่ ะบอกวาพระ สงฆมปี ญ  หา ดังนัน้ การทีจ่ ะดูวา พระสงฆมคี วามพรอมในการผาวิกฤต อยางไร มีประเด็นทีค่ วรพิจารณาคือ ประเด็นที่ ๑ บทบาทและขอบเขตของพระสงฆเปนอยางไร ควรตอง มีการทบทวนวาพระสงฆตอ งแกปญ  หาทุกเรือ่ งหรือ และมักจะอางถึงแต บทบาทพระสงฆในอดีต เสมือนภาพสวยงามของพระสงฆในอุดมคติ เหมือนอยางในอดีต ในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจาวางบทบาทพระสงฆ ไวชดั เจน พระพุทธองคทรงตรัสกับปญจวัคคียใ หทาํ หนาทีช่ ว ยเหลือมนุษย คือการแสดงธรรมเพือ่ ยังสุขแกคนหมูม าก เพือ่ อนุเคราะหชว ยเหลือชาว โลก และเพือ่ ใหมปี ระโยชนตอ มวลมนุษย พระสงฆทาํ หนาทีแ่ สดงธรรม เพือ่ ใหเห็นเหตุ ในสิง่ ทีบ่ างครัง้ เปนเรือ่ งของเสนผมบังภูเขา เพราะในแง นีบ้ ทบาทของพระสงฆจงึ ชัดเจน คือหนาทีแ่ สดงหรือชีแ้ จงสิง่ ตาง ๆ ทีม่ ี อยูต ามธรรมชาติ เพือ่ ใหมนุษยเห็น ใหไดเรียนรูจ ากสิง่ ทีม่ อี ยูแ ลว คือ ให เห็นอยางทีเ่ ห็น ใหเห็นตามความเปนจริง เพราะวาโดยปกติ เรามักจะมอง โดยมีอคติทเี่ ปนความรูส กึ แทนทีจ่ ะเห็นตามความเปนจริง แทนทีจ่ ะเห็น พุทธิกา artwork34.p65

9

1/1/45, 0:20


แกว กลับไปเพิม่ คําขยายวาแกวนีส้ งู แกวนีไ้ มสวย เติมอคติตลอดเวลา ดังนัน้ สิง่ ทีค่ วรคิดตอ คือ จะทําอยางไรใหสามารถแสดงใหเห็นตาม ความเปนจริง นัน่ คือ การแสดงทีจ่ ะกอใหเกิด ๓ อยาง คือ พระสงฆจะ แสดงอยางไรจากสิง่ ทีม่ อี ยูแ ลว ทําใหเขาไดรบั ประโยชนจากสิง่ ทีม่ อี ยูไ ด จะแสดงอยางไรใหเขาไดสุข หรือแสดงอยางไรเพื่ออนุเคราะหแกเขา กระบวนการเหลานีใ้ นทศวรรษทีผ่ า นมา นักวิชาการเรียกวา Engaged Buddhism ซึง่ ทานติช นัท ฮนห เปนผูค ดิ คํานี้ หมายความถึง พระตอง ไมนงิ่ เฉยทีจ่ ะชวยเหลือสังคม เชน หนาวัดมีการทะเลาะกัน พระกลับอยู แตในกุฏิ ไมทาํ อะไร นัง่ หลับตาอยางเดียวนัน้ ไมสมควร สิง่ ทีค่ วรทําคือพระ สงฆตอ งออกไปปกปอง ดังเชน พระสงฆทมี่ บี ทบาทขณะนีไ้ ปชวยเหลือคน เปนเอดส บทบาทของพระสงฆตอ งออกมาทําดวย และสรางสิง่ ดี ๆ อีกปญหาหนึง่ ทีม่ กั พบคือ ความคาดหวังของชาวบานทีม่ กั อยากให พระเปนนักกรรมฐานบาง เปนพระศักดิส์ ทิ ธิบ์ า ง บางคนบอกวาพระตอง อยูใ นทางธรรม ปลอยใหปญ  หาเปนเรือ่ งของชาวบาน เหลานีก้ ลายเปน บทบาทของพระสงฆทถี่ กู เปลีย่ นไป ดังนัน้ นักวิชาการจะตองสนใจ เห็น ทุกสิง่ ทุกอยางลวนมีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา ตองมาทบทวนบทบาท ของพระ วาควรจะมีการพัฒนาอยางไร และอาจใชคาํ ถามตรวจสอบเชน สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เปนไปตามหลักธรรมหรือไม ตามหลักไตรลักษณของพุทธศาสนา ไดแก อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เปนการอธิบายสิง่ เดียวกันดวยสามมุมมอง อนิจจังคือไมคงที่ ทุกขังคือไม มีแกนสาร และอนัตตาคือ ไมมตี วั ตน เราจับตองไมได มันเปนการมองสาม มุม หลักทัง้ สามก็คอื ทุกสิง่ ทุกอยางมีการเปลีย่ นแปลง รวมไปถึงการ apply พระพุทธศาสนาด้วย ปัญหาโลกร้อน ปัญหาวิกฤต ในสมัยพุทธกาลคงจะคาดไมถงึ ถาอานพระสูตรตาง ๆ ในพระไตรปฎก คนในสมัยนัน้ มีฐานะ มัง่ คัง่ หรือพอมีอนั จะกิน พระพุทธเจาเดินไปไหนพรอมพระสงฆเดินผาน

พุทธิกา

artwork34.p65

10

1/1/45, 0:20


มา ๕๐๐ รูป ชาวบานจะนิมนตทกุ รูป เพือ่ ถวายภัตตาหาร เพราะความ ศรัทธา ขณะทีส่ มัยนีส้ กั รูปหนึง่ ก็ยงั ไมถวาย สมัยกอน ขนาดคนจนก็ขวน ขวายทีจ่ ะไปฟงธรรม ถึงขนาดอยูใ นบานกัน ๒ คน คนหนึง่ ยอมใหผา อีก คนหนึง่ ผลัดไปฟงธรรมได ดังนัน้ ตองทําความเขาใจวาวิกฤตคืออะไร ซึง่ ในแตละสมัยจะไมเหมือนกัน พระพุทธเจาบอกวาพุทธศาสนาเปนอกาลิโก สามารถทีจ่ ะพูดหรือ อธิบาย ไมมกี าลเวลาเปนตัววัดนัน้ จริงอยู แตวา ธรรมแตละขอมีทมี่ าทีไ่ ป มีเปาหมายทีช่ ดั เจนเพือ่ ทีจ่ ะแกอะไร ธรรมแตละขอ มีอกาลิโกของตัวมัน เอง ไมมกี าลเวลา ธรรมแตละขอมีเหตุและตัวบุคคลทุกขอ ดังนัน้ แตละ เหตุการณมขี อ อธิบายหมด ในแงของพุทธกาลเราไมเห็นปญหาทีม่ าจาก ภายนอก เราจึงตองใชปญ  ญา ใชไหวพริบ ถาเราศึกษากลับไปกลับมา เรา จะเห็น พระพุทธเจาสอนไวชดั เจนวาใหไปหาทีต่ น ตอ ตนตออยูท ไี่ หน ก็อยู ทีต่ วั เราอยูท ใี่ จ นัน่ คืออกาลิโก ใครจะมาเถียงไมได บทบาทของพระสงฆ พระสงฆ จ ะต อ งพร อ มที่ จ ะเผชิ ญ หน า คือพยายามใชยาขนานแทมาใชแกปญ  หาทางโลกตาง ๆ การทีเ่ ราจะใชได มากนอยขนาดไหน อยูท เี่ ราใชยาถูกโรคไดแคไหน สวนทีแ่ กใหถกู จุดคือ การแกทภี่ ายใน อยูท ใี่ จหรือทีก่ เิ ลส ทีเ่ ปนโลภ โกรธ หลง บทบาทพระสงฆ ก็คอื ตองไปแสดงชีแ้ จงใหผทู มี่ ปี ญ  หานัน้ ยอมรับปญหาเสียกอน แกทตี่ น เอง อยางโลกรอน ก็ตอ งดู พยายามชีน้ วิ้ ดู คนนัน้ ก็ใช อันนีก้ ใ็ ช ทําใหเกิด โลกรอน ชีไ้ ปชีม้ า สามนิว้ ชีต้ นเอง ลืมดูตวั เอง ตัวเองนัน้ มีสว นทําใหโลก เย็นได้ ดังนัน้ การแกปญ  หา พระสงฆจงึ ตองแสดงหรือชีแ้ จง แลวชวยกัน หาทางแก บทบาททีต่ อ งแสดง หรือชีแ้ จง จะทําไดดหี รือไมอยางไร เปน เรื่องที่สังคมไทยกําลังเผชิญขณะนี้ ดูอยางการขอศีลของผูมาวัดหา พระสงฆ จึงไมไดเห็นอะไรไดแทจริง ซึง่ สะทอนวิกฤตสังคมไทยไมนอ ย พุทธิกา artwork34.p65

11

1/1/45, 0:20


คนทัว่ ไปมักใชขอศีล พระก็ใหศลี เริม่ จาก ศีลขอ ๑ ปาณาติปาตา พระ ใหศลี โดยไมไดบอกชัดเจนวาหาม คําวาสิกขาคือศึกษา เวรมณีคอื ละเวน พระไมไดหาม มันขึ้นอยูกับที่ตัวเรา เพราะบางครั้งยิ่งหามเหมือนยิ่งยุ ดังขาวทุกวันนีม้ แี ตฆา ปาดคอกันทุกวัน บทบาทของพระคือใหศลี เปนการ สอนในแงพธิ กี รรม แตในทางความเปนจริงก็ยงั เกิดการฆา บทบาทของ พระสงฆกลายเปนแคใหคนมาขอศีล ไมมคี วามหมายอะไร ศีลขอที่ ๒ อทินนาทาน ไมลกั ขโมย แตการขโมยเกิดขึน้ เต็มไป หมด แมแตของทีว่ ดั ก็ถกู ขโมยมากมาย เมือ่ พระใหรบั ศีลไปแลว โยมรับ เรียบรอยแลว ก็ขโมยตออีก ปจจุบนั ยังกลายเปนยกระดับถึงมหาทินนาทาน คือคอรัปชัน่ แลว ตอไปก็ขโมยอนาคต สิง่ ทีข่ โมยไปวันนีเ้ ปนอนาคตของลูก หลานไปแลว เชน การทําลายสิง่ แวดลอม ทําลายสิง่ ตาง ๆ ของลูกหลาน ศีลขอที่ ๓ กาเมสุมจิ ฉาจาร พุทธศาสนาบอกวาไมผดิ ลูกเมีย อิสลามมี ภรรยาได ๔ คน แตคนพุทธมีเกินกวานัน้ ได จึงมีไมจาํ กัด ดังทีม่ ผี หู ญิงใน ตูก ระจก ซึง่ ก็เปนลูกหลานทัง้ นัน้ นัง่ ติดเบอรใหคนเลือกใชบริการ ตามพระ ไตรปฎก ศีลขอนีพ้ ระพุทธเจาตองการจะบอกวาไมผดิ ลูกเมีย สมัยกอน กษัตริยม ลี กู เมียมากมาย ขอนีต้ รงกับเรือ่ งสิทธิมนุษยชนในยุคนี้ ศีลขอ ๔ เกีย่ วกับหามโกหก แตพบวาสมัยนีม้ องวา ใครโกหกไม เปนคือคนเชย พระก็ยงั โกหก ตอนนีเ้ ปนระดับสถาบัน มีเครือ่ งมือโกหก เปนสถาบันโกหก ชักจูง โฆษณาชวนเชือ่ เชน หนังสือพิมพ พระใบหวย ศีลขอนีจ้ งึ ไมไดผลอะไร จนถึงขอสุดทาย ศีลขอ ๕ หามกินเหลา แตสงิ่ ที่ เกิดขึน้ ในสังคม คนทัว่ ไปตองเมากอน ในวันปใหม สงกรานต จะพบเห็น คนเมาเหลามากมาย เวลาไปหาญาติตอ งกินเหลา ภาพเหลานีก้ ลายเปน วาบทบาทพระสงฆไรนา้ํ ยา ไมสามารถแกปญ  หาสังคมได โดยมักโทษวา พระสงฆไมเอาจริงเอาจัง พระสงฆเองก็โทษฆราวาสวาไมจริงจังเชนกัน ตางคนตางวากัน

๑๐

พุทธิกา

artwork34.p65

12

1/1/45, 0:20


ดังนั้น ตองหันมาดูทั้งพระสงฆ และคนในสังคม หันมาทําอยาง จริงจังดวย ประเด็นที่ ๒ มีความพรอมในการแกปญ  หาอยางไร พระสงฆตอ ง รูธ รรมชาติของปญหา พระสงฆเองตองเทาทัน ถาพระตองเรียนหนังสือ หรือตองหมัน่ ศึกษา สังเกตงาย ๆ สังคมมีสายตาทีด่ ถู กู พระ หาวาพระไม มีความรู อาตมาเคยมีประสบการณดว ยตนเองสมัยทีเ่ รียนเคมบริดจ มีคู สามีภรรยาเขามาทักทาย ทันทีทเี่ ห็น สามีเปนฝรัง่ เริม่ เอยปากถามขึน้ กอน วาเปนพระไทยหรือ อาตมาตอบวาใช ขางฝายภรรยาถามตอวามาทําอะไร ทีน่ ี่ อาตมาบอกวามาเรียน ภรรยาถามอยางประหลาดใจวา ทานหรือมา เรียนทีน่ ี่ ทีน่ มี่ หาวิทยาลัยเคมบริดจนะ นีค่ อื ทาทีสะทอนความคิดทีม่ กั คิด วาพระไมควรมาศึกษา ควรจะไปอยูท วี่ ดั ดังนัน้ เราตองเตรียมความพรอม ใหทนั กับสภาพ หรือทีเ่ รียกวา Engaged Buddhism พระตองพรอมมาเปนผูน าํ ทางจิตวิญญาณ พรอม ทีจ่ ะเปลีย่ นวิธคี ดิ ของผูค นใหม ดังนัน้ ความพรอมตรงนี้ ในทางหลักการ เรามีมากมาย แตกต็ อ งทําอยางคอยเปนคอยไป รูปแบบตองเปลีย่ นแปลง ไปตามยุคสมัย ตองแกปญ  หาใหมอยูต ลอดเวลา แตความพรอมตองเกิด จากการสรางวิทยายุทธใหม ๆ เราตองทําใหเกิดกระบวนการเหลานี้ พระ ตองสรางความพรอมอยูต ลอดเวลา ประเด็นที่ ๓ วิกฤตโลกสมัยใหม เชน โลกรอน เอดส ชองวาง ระหวางคนในสังคม คนรวยคนจน สถาบันสงฆเหลวแหลก ในพุทธกาล ก็เคยมี เราอยาเพิง่ ทอ วาแกอะไรไมได วิกฤตนัน้ ไมใชปญ  หา ตองไมมอง แงลบ ฝกเปลีย่ นเปนการมองแงบวกวาแกได โดยการปฏิรปู ตัง้ แตทตี่ วั เรา และไมโยนไปทีอ่ นื่ ทุกคนตองยอมรับวามีปญ  หา ไมใชผลักไสหรือปดไป ทีอ่ งคกรสงฆเทานัน้ เชน ตองแกมหาเถรสมาคม ควรหันมาเขาใจมหา เถรสมาคมซึง่ ตองรับภาระงานทีเ่ กีย่ วกับสงฆมากมาย อาจจะไมสามารถ พุทธิกา artwork34.p65

13

1/1/45, 0:20

๑๑


ดูแลพระทีม่ ไี ดอยางทัว่ ถึง ไมคาดหวังหรือกลาวโทษคนอืน่ เราสามารถเปน ฟนเฟองเล็กๆ ทีเ่ ราทําได นีค้ อื พุทธวิธี เปลีย่ นตัวเราเองกอน ตองแกจาก ภายในกอน แกทตี่ น ตอ คือทีต่ นเอง ทําใหเกิดแบบอยางหรือเปน model ในฐานะทีศ่ กึ ษาทางสังคมมานุษยวิทยา ขอนําทฤษฏีหนึง่ มาใชมองปญหา คือ functionalism ทีเ่ กีย่ วกับโครงสรางหนาที่ เปนทฤษฏีทบี่ อกวาทุกสังคม ตองมีหนาที่ ถาไมมโี จร สถาบันตํารวจก็หายไป เชน พุทธพจนทวี่ า สิง่ นีเ้ กิด สิง่ นีจ้ งึ เกิด ในทํานองเดียวกัน แนวทางทีจ่ ะแกไข ก็คอื ไปแกทปี่ ญ  หา ไม ไปมุง จองทีค่ นอืน่ หรือสถาบันอืน่ เราตองแกทเี่ ราจับตองได วิธกี ารของการแกปญ  หาของเราก็คอื ตองเปลีย่ นมุมมอง มีโลกทัศน ที่ถูกตอง และพัฒนาใหออกมาเปนคุณคาทางจิตใจของเราดวย ทําให กลายเปนเปาหมายของจิตใจของเรา ทําใหเปนสวนหนึง่ ในวิถชี วี ติ ของเรา ถาเราเปลีย่ นตรงนีไ้ ด ก็จะแกปญ  หาได

๑ ยอและเรียบเรียงจากปาฐกถาเสมพริง้ พวงแกว ครัง้ ที่ ๑๕ เมือ่ วันอาทิตยที่ ๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ ณ เรือนรอยฉนํา สวนเงินมีมา คลองสาน กรุงเทพฯ ๒ พระนักบวชชาวเนปาล ผูชวยเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช นามเดิมของทานมีความ หมายวา “สายลมแหงผูก ลาหาญ” ทานเดินทางสูแ ผนดินไทย ร่าํ เรียนจนจบการศึกษาปริญญา ตรีพุทธศาสตรจากมหามกุฎราชวิทยาลัย ตอดวยปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยตรีภูวัน ประเทศ ศรีลงั กา และปริญญาเอกดานสังคมวิทยา-มานุษยวิทยา ทีม่ หาวิทยาลัยเคมบริดจ ไดบวชเรียน และไดรบั การอุปถัมภบาํ รุง รับใชใกลชดิ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆ ปริณายก ซึง่ ทานไดใหการอุปถัมภมาตัง้ แตเปนสามเณร ตอมาไดรบั แตงตัง้ เปนผูช ว ยเลขานุการ สมเด็จพระสังฆราช และก็ยงั สนองงานเจาประคุณสมเด็จจนกระทัง่ บัดนี้ นอกจากนีท้ า นยังเปน อาจารยสอนทั้งประจําและพิเศษตามมหาวิทยาลัยทั้งในและตางประเทศ

๑๒

พุทธิกา

artwork34.p65

14

1/1/45, 0:20


∫ÿ≠∑’∂Ë °Ÿ ≈◊¡ æ√–‰æ»“≈ «‘ “‚≈

“คุณนายแกว” เปนเจาของโรงเรียนทีช่ อบทําบุญมาก เปนเจาภาพ ทอดผาปาทอดกฐนอยูเ นือง ๆ ใครมาบอกบุญสรางโบสถวหิ ารทีไ่ หน ไม เคยปฏิเสธ เธอปลืม้ ปตมิ ากทีถ่ วายเงินนับแสนสรางหอระฆังถวายวัดขาง โรงเรียน แตเมือ่ ไดทราบวานักเรียนคนหนึง่ ไมมเี งินจายคาเลาเรียน คาง ชําระมาสองเทอมแลว เธอตัดสินใจไลนกั เรียนคนนัน้ ออกจากโรงเรียน ทันที “สายใจ” พาปาวัย ๗๐ และเพือ่ นซึง่ มีขาพิการไปถวายภัตตาหาร เชาที่วัดแหงหนึ่ง ซึ่งมีเจาอาวาสเปนที่ศรัทธานับถือของประชาชนทั่ว ประเทศ เชาวันนัน้ มีคนมาทําบุญคับคัง่ จนลานวัดแนนขนัดไปดวยรถ เมือ่ ไดเวลาพระฉัน ญาติโยมก็พากันกลับ สายใจพาหญิงชราและเพือ่ น ผูพ กิ ารเดินกะยองกะแยงฝาแดดกลาไปยังถนนใหญเพือ่ ขึน้ รถประจําทาง กลับบาน ระหวางนัน้ มีรถเกงหลายสิบคันแลนผานไป แตตลอดเสนทาง เกือบ ๓ กิโลเมตร ไมมผี ใู จบุญคนใดรับผูเ ฒาและคนพิการขึน้ รถเพือ่ ไป สงถนนใหญเลย เหตุการณทํานองนี้มิใชเปนเรื่องแปลกประหลาดในสังคมไทย “ชอบทําบุญแตไรนา้ํ ใจ” เปนพฤติกรรมทีพ่ บเห็นไดทวั่ ไปในหมูช าวพุทธ ทําใหเกิดคําถามขึ้นมาวาคนไทยนับถือพุทธศาสนากันอยางไรจึงมี พฤติกรรมแบบนีก้ นั มาก เหตุใดการนับถือพุทธศาสนาจึงไมชว ยใหคนไทย มีนา้ํ ใจตอเพือ่ นมนุษย โดยเฉพาะผูท ที่ กุ ขยาก การทําบุญไมชว ยใหคน พุทธิกา artwork34.p65

15

1/1/45, 0:20

๑๓


ไทยมีเมตตากรุณาตอผูอ นื่ เลยหรือ หากสังเกตจะพบวาการทําบุญของคนไทยมักจะกระทําตอสิง่ ทีอ่ ยู สูงกวาตน เชน พระภิกษุสงฆ วัดวาอาราม พระพุทธเจา เปนตน แตกบั สิง่ ทีถ่ อื วาอยูต า่ํ กวาตน เชน คนยากจน หรือสัตวนอ ยใหญ เรากลับละเลย กันมาก (ยกเวนคนหรือสัตวทถี่ อื วาเปน “พวกกู” หรือ “ของกู”) แมแตเวลา ไปทําบุญทีว่ ดั เราก็มกั ละเลยสามเณรและแมชี แตกลุ กี จุ อเต็มทีก่ บั พระ สงฆ อะไรทําใหเราชอบทําบุญกับสิง่ ทีอ่ ยูส งู กวาตน ใชหรือไมวา เปน เพราะเราเชือ่ วาสิง่ สูงสงเหลานัน้ สามารถบันดาลความสุขหรือใหสงิ่ ดี ๆ ทีพ่ งึ ปรารถนาแกเราได เชน ถาทําอาหารถวายพระ บริจาคเงินสรางวัดหรือ พระพุทธรูป ก็จะไดรบั ความมัง่ มีศรีสขุ มีอายุ วรรณะ สุขะ พละ เปนตน หรือชวยใหไดไปเกิดในสวรรค มีความสุขสบายในชาติหนา ในทางตรงขาม สิง่ ทีอ่ ยูต า่ํ กวาเรานัน้ ไมมอี าํ นาจทีจ่ ะบันดาลอะไรใหเราได หรือไมชว ยให เราสุขสบายขึน้ เราจึงไมสนใจทีจ่ ะชวยเหลือเผือ่ แผใหแกสงิ่ เหลานัน้ นัน่ แสดงวาทีเ่ ราทําบุญกันมากมายก็เพราะหวังประโยชนสว นตัว เปนสําคัญ ดังนัน้ ยิง่ ทําบุญดวยทาทีแบบนี้ ก็ยงิ่ เห็นแกตวั มากขึน้ ผลคือ จิตใจยิง่ คับแคบ ความเมตตากรุณาตอผูท กุ ขยากมีแตจะนอยลง ไม ตองสงสัยเลยวาการ ทําบุญแบบนี้กลับจะ ทํ า ให ไ ด บุ ญ น อ ยลง แนนอนวาประโยชน ย อ มเกิ ด แก ผู รั บ อยู แลว เชน หากถวาย อาหาร อาหารนัน้ ยอม ทําใหพระสงฆมกี าํ ลัง

๑๔

พุทธิกา

artwork34.p65

16

1/1/45, 0:20


ในการศึกษาปฏิบตั ธิ รรมไดมากขึน้ แตอานิสงสทจี่ ะเกิดแกผถู วายนัน้ ยอม ไมเต็มเม็ดเต็มหนวย เพราะเจือดวยความเห็นแกตวั ยิง่ ถาทําบุญ ๑๐๐ บาท เพราะหวังจะไดเงินลาน บุญทีเ่ กิดขึน้ ยอมนอยลงไปอีกเพราะใชหรือ ไมวา นีเ่ ปนการ “คากําไรเกินควร” บุญทีท่ าํ ในรูปของการถวายทานนัน้ ไมวา จะเปนอาหารหรือเงินก็ ตาม จุดหมายสูงสุดอยูท กี่ ารลดความยึดติดถือมัน่ ในตัวกูของกู ยิง่ ลด ได ม ากเท า ไรก็ ยิ่ ง เข า ใกล นิ พ พานอั น เป น ประโยชน สู ง สุ ด ที่ เ รี ย กว า “ปรมัตถะ” ซึง่ สูงกวาสวรรคในชาติหนา (สัมปรายิกตั ถะ) หรือความมัง่ มี ศรีสขุ ในชาตินี้ (ทิฏฐธัมมิกตั ถะ) แตหากทําบุญเพราะหวังแตประโยชน สวนตน อยากไดเขาตัวมาก ๆ แทนทีจ่ ะสละออกไป ก็ยงิ่ หางไกลจากนิ พพาน หรือกลายเปนอุปสรรคขวางกัน้ นิพพานดวยซ้าํ อันทีจ่ ริงอยาวา แตนพิ พานเลย แมแตความสุขในปจจุบนั ชาติ ก็อาจเกิดขึน้ ไดยาก เพราะ จิตทีค่ ดิ แตจะเอานัน้ เปนบอเกิดแหงความทุกข ในทานมหัปผลสูตร อังคุตตรนิกาย พระพุทธองคไดตรัสกับพระ สารีบตุ รวาทานทีไ่ มมอี านิสงสมากไดแก “ทานทีใ่ หอยางมีใจเยือ่ ใย ให ทานอยางมีจติ ผูกพัน ใหทานอยางมุง หวังสัง่ สมบุญ” รวมถึงทานทีใ่ ห เพราะตองการเสวยผลในชาติหนา เปนตน พิจารณาเชนนีก้ จ็ ะพบวาทาน ทีช่ าวพุทธไทยสวนใหญทาํ กันนัน้ หาใชทานทีพ่ ระองคสรรเสริญไม นอก จากทําดวยความมุง หวังประโยชนในชาติหนาแลว ยังมักมีเยือ่ ใยในทาน ทีถ่ วาย กลาวคือ ทัง้ ๆ ทีถ่ วายใหพระสงฆไปแลว ก็ยงั ไมยอมสละสิง่ นัน้ ออกไปจากใจ แตใจยังมีเยือ่ ใยในของชิน้ นัน้ อยู เชน เมือ่ ถวายอาหาร แกพระสงฆแลว ก็ยังเฝาดูวาหลวงพอจะตักอาหาร “ของฉัน” หรือไม หากทานไมฉนั ก็รสู กึ ไมสบายใจ คิดไปตาง ๆ นานา นีแ้ สดงวายังมีเยือ่ ใย ยึดติดผูกพันอาหารนัน้ วาเปนของฉันอยู ไมไดถวายใหเปนของทานอยาง สิ้นเชิง พุทธิกา artwork34.p65

17

1/1/45, 0:20

๑๕


เยือ่ ใยในทานอีกลักษณะหนึง่ ทีเ่ ห็นไดทวั่ ไปก็คอื การมุง หวังใหผคู น รับรูว า ทานนัน้ ๆ ฉันเปนผูถ วาย ดังนัน้ ตามวัดวาอารามตาง ๆ ทัว่ ประเทศ ของใชตา ง ๆ ไมวา ถวย ชาม แกวน้าํ หมอ โตะ เกาอี้ ตลอดจนขอบ ประตูหนาตางในโบสถ วิหารและศาลาการเปรียญ จึงมีชอื่ ผูบ ริจาคอยูเ ต็ม ไปหมด กระทัง่ พระพุทธรูปก็ไมละเวน ราวกับจะยังแสดงความเปนเจา ของอยู หาไมกห็ วังใหผคู นชืน่ ชมสรรเสริญตน การทําบุญอยางนี้ จึงไม ไดละความยึดติดถือมัน่ ในตัวตนเลย หากเปนการประกาศตัวตนอีกแบบ หนึง่ นัน่ เอง การทําบุญแบบนีแ้ มจะมีขอ ดีตรงทีช่ ว ยอุปถัมภวดั วาอารามและ พระสงฆใหดาํ รงอยูไ ด แตในอีกดานหนึง่ ก็ไมสง เสริมใหผคู นมีความเอือ้ เฟอ เผือ่ แผกนั โดยเฉพาะการชวยเหลือผูท กุ ขยากหรือไรอาํ นาจวาสนา ดังนัน้ จึงไมนา แปลกใจทีเ่ มืองไทยมีวดั วาอารามใหญโตและสวยงามมาก มาย แตเวลาเดียวกันก็มคี นยากจนและเด็กถูกทอดทิง้ เปนจํานวนมาก ไม นับสัตวอกี นับไมถว นทีถ่ กู ละเลย หรือถูกปลิดชีวติ แมกระทัง่ ในเขตวัด อันทีจ่ ริงถามองใหกวางกวาการทําบุญ ก็จะพบปรากฏการณใน ทํานองเดียวกัน นัน่ คือคนไทยนิยมทําดีกบั คนทีถ่ อื วาอยูส งู กวาตน แตไม สนใจที่จะทําดีกับคนที่ถือวาต่ํากวาตน เชน ทําดีกับเจานาย คนรวย ขาราชการระดับสูง นักการเมือง ทัง้ นีก้ เ็ พราะเหตุผลเดียวกันคือคนเหลา นัน้ ใหประโยชนแกเราได (หรือแมเขาจะใหคณ ุ ไดไมมาก แตกส็ ามารถให โทษได) ประโยชนในที่นี้ไมจําตองเปนประโยชนทางวัตถุ อาจเปน ประโยชนทางจิตใจก็ได เชน คําสรรเสริญ หรือการใหความยอมรับ ประการหลังคือเหตุผลสําคัญทีท่ าํ ใหคนไทยขวนขวายชวยเหลือฝรัง่ ทีต่ ก ทุกขไดยากอยางเต็มที่ แตกลับเมินเฉยหากคนทีเ่ ดือดรอนนัน้ เปนพมา มอญลาว เขมร หรือกะเหรีย่ ง ใชหรือไมวา คําชืน่ ชมของพมาหรือกะเหรีย่ ง ความหมายกับเรานอยกวาคําสรรเสริญของฝรัง่

๑๖

พุทธิกา

artwork34.p65

18

1/1/45, 0:20


บุคคลจะไดชอื่ วาเปนคนใจบุญ ไมใชเพราะนิยมทําบุญกับสิง่ ทีอ่ ยู สูงกวาตนเทานัน้ หากยังยินดีทจี่ ะทําบุญกับสิง่ ทีเ่ สมอกับตนหรืออยูต า่ํ กวา ตนอีกดวย แมเขาจะไมสามารถใหคณ ุ ใหโทษแกตนได ก็ชว ยเหลือดวย ความเต็มใจ ทั้งนี้เพราะมิไดหวังผลประโยชนใด ๆ นอกจากความ ปรารถนาใหเขาพนทุกข นีค้ อื กรุณาทีแ่ ทในพุทธศาสนา การทําดีโดยหวัง ผลประโยชน หรือยังมีการแบงแยกและเลือกปฏิบตั อิ ยู ยอมไมอาจเรียก วาทําดวยเมตตากรุณาอยางแทจริง จะวาไปแลว ไมเพียงความใจบุญหรือความเปนพุทธเทานัน้ แม กระทัง่ ความเปนมนุษยกว็ ดั กันทีว่ า เราปฏิบตั อิ ยางไรกับคนทีอ่ ยูต า่ํ กวาเรา หรือมีอาํ นาจนอยกวาเรา หาไดวดั ทีก่ ารกระทําตอคนทีอ่ ยูส งู กวาเราไม ถาเรายังละเลยเด็กเล็ก ผูห ญิง คนชรา คนยากจน คนพิการ คนปวย รวม ทัง้ สัตวเล็กสัตวนอ ย แมจะเขาวัดเปนประจํา บริจาคเงินใหวดั อุปถัมภ พระสงฆมากมาย ก็ยงั เรียกไมไดวา เปนคนใจบุญ เปนชาวพุทธ หรือเปน มนุษยทแี่ ท ไมผดิ หากจะกลาววานีเ้ ปนเครือ่ งวัดความเปนศาสนิกทีแ่ ท ในทุกศาสนาดวย แมจะปฏิบตั ติ ามประเพณีพธิ กี รรมทางศาสนาอยาง เครงครัด แตเมินเฉยความทุกขยากของเพือ่ นมนุษย หรือยิง่ กวานัน้ คือ กดขี่บีฑาผูคนในนามของพระเจา ยอมเรียกไมไดวาเปนศาสนิกที่แท จะกลาวไปใยถึงความเปนมนุษยทสี่ มบูรณ ในแงของชาวพุทธ การชวยเหลือผูท ที่ กุ ขยากเดือดรอน ทัง้ ๆ ทีเ่ ขา ไมสามารถใหคณ ุ ใหโทษแกเราได เปนเครือ่ งฝกใจใหมเี มตตากรุณา และ ลดละความเห็นแกตวั ไดเปนอยางดี ยิง่ ทํามากเทาไร จิตใจก็ยงิ่ เปดกวาง อัตตาก็ยงิ่ เล็กลง ทําใหมที วี่ า งเปดรับความสุขไดมากขึน้ ยิง่ ใหความสุข แกเขามากเทาไร เราเองก็ยงิ่ มีความสุขมากเทานัน้ สมดังพุทธพจนวา “ผูใ หความสุขยอมไดรบั ความสุข” เปนความสุขทีไ่ มหวังจะไดรบั แตยงิ่ ไมอยาก ก็ยงิ่ ได ในทางตรงขามยิง่ อยาก ก็ยงิ่ ไมได พุทธิกา artwork34.p65

19

1/1/45, 0:20

๑๗


เมือ่ ใจเปดกวางดวยเมตตากรุณา เราจะพบวาไมมใี ครทีอ่ ยูส งู กวา เราหรือต่าํ กวาเรา ถึงจะเปนพมา มอญ ลาว เขมร กะเหรีย่ ง ลัวะ ขมุ เขาก็มสี ถานะเสมอเรา คือเปนเพือ่ นมนุษย และเปนเพือ่ นรวมเกิด แก เจ็บ ตาย กับเรา แมแตสตั วกเ็ ปนเพือ่ นเราเชนกัน จิตใจเชนนีค้ อื จิตใจ ของชาวพุทธ และเปนทีส่ ถิตของพุทธศาสนาอยางแทจริง การทะนุบาํ รุง พุทธศาสนาทีแ่ ท ก็คอื การบํารุงหลอเลีย้ งจิตใจเชนนีใ้ หเจริญงอกงามใน ตัวเรา ในลูกหลานของเรา และในสังคมของเรา หาใชการทุม เงินสราง โบสถวหิ ารราคาแพง ๆ หรือสรางพระพุทธรูปใหใหญโตทีส่ ดุ ในโลกไม ดังนัน้ เมือ่ ใดทีเ่ ราเห็นคนทุกขยาก ไมวา เขาจะเปนใครมาจากไหน เชือ้ ชาติอะไร ต่าํ ตอยเพียงใด อยาไดเบือนหนาหนี ขอใหเปดใจรับรูค วาม ทุกขของเขา แลวถามตัวเองวาเราจะชวยเขาไดหรือไม และอยางไร เพราะ นีค้ อื โอกาสดีทเี่ ราจะไดทาํ บุญ ลดละอัตตาตัวตน และบํารุงพระศาสนา อยางแทจริง

๑๘

พุทธิกา

artwork34.p65

20

1/1/45, 0:20


¡“π©—π∑è∑º ’Ë «‘ π‘∏‘ ‡Õ’¬«»√’«ß»è

นั ง สื อ พิ ม พ บ างกอก โพสต ฉ บั บ วั น ที่ ๒๐ มี . ค.๒๕๕๒ ลงบท ความของ Nicholas D. Kristof ชือ่ The Daily Me หรือ “กูเองรายวัน” นาสนใจแกผมมาก เพราะดูเหมือน จะอธิบายความแตกแยกในสังคม ไทยเวลานี้ โดยผูเ ขียนไมไดตงั้ ใจ เขาบอกวา การลมสลายของหนังสือพิมพรายวัน (ซึง่ กําลังเพิม่ มาก ขึน้ เรือ่ ย ๆ อยางนอยก็ในสหรัฐ) ทําใหผคู นตองพากันไปอานขาวในเว็บ ตาง ๆ ของอินเตอรเน็ต การอานเว็บนัน้ ไมเหมือนอานหนังสือพิมพ เพราะ เราสามารถเลือกอานแตขาวและความเห็นที่ตรงกับอคติของเราเทานั้น ดังนัน้ หนังสือพิมพรายวันทีท่ กุ คนจะอานมากขึน้ จึงมีอยูฉ บับเดียว ไดแก “กูเองรายวัน” เขาอางงานวิจยั และหนังสืออีกหลายเลมทีช่ ใี้ หเห็นวา คนอเมริกนั กําลังแบงแยกตัวเขาไปอยูใ นสโมสร นิกายศาสนา วงสนทนา ฯลฯ ทีม่ ี พุทธิกา artwork34.p65

21

1/1/45, 0:20

๑๙


ความโนมเอียงทางความเห็นในเรื่องตาง ๆ ไปในแนวเดียวกันมากขึ้น คูแ ลกเปลีย่ นความคิดเห็น (ซึง่ เทคโนโลยีสมัยใหมทาํ ใหเลือกไดกวางขึน้ ... แตแคบลง) ของแตละคน คือคนทีค่ ดิ เหมือน ๆ กัน ซ้าํ ยังมีงานวิจยั ทีช่ ใี้ หเห็นวา หากเราสุมหัวสนทนาแลกเปลีย่ นความ คิดเห็นกันเฉพาะในกลุม ทีม่ คี วามคิดเห็นทํานองเดียวกัน ทุกคนจะออกมา สุดโตงในอคติของตัวมากขึน้ เชน พวกเสรีนยิ มก็จะยิง่ เสรีนยิ มจา พวกขวา ก็จะตกขอบไปเลย เปนตน แมแตการเลือกตัง้ ของอเมริกนั เอง ก็จะเทไปทางใดทางหนึง่ อยาง สุดขั้ว เชน หากสังกัดพรรคริพับลิกันหรือเดโมแครตก็จะเทคะแนนใหผู สมัครฝายตัวอยางไมฟง อีรา คาอีรมใด ๆ เพียงเมือ่ ๓-๔๐ ปทแี่ ลว ผูเ ลือก ตัง้ อเมริกนั เปนอยางนีเ้ พียง ๑/๓ เทานัน้ แตบดั นีไ้ มใชเสียแลว การขังตัวเองไวในคุกแหงอคติของตัวนัน้ ปรากฏในคนมีการศึกษา สูงมากกวาคนมีการศึกษาปานกลางหรือต่าํ เขาไมไดอธิบายวาอะไรทําใหเกิดปรากฏการณอยางนีข้ นึ้ แตไมใช เทคโนโลยีขาวสารของโลกสมัยใหมนะครับ เทคโนโลยีเปนเพียงเครื่อง อํานวยความสะดวกใหเราเขาไปสูค กุ แหงอคตินไี้ ดงา ยขึน้ เทานัน้ ผมคิดวาปรากฏการณคลาย ๆ อยางนัน้ ก็เกิดในเมืองไทยเหมือน กัน เราตางขังตัวเองอยูใ นอคติสว นตัว มีทวี ชี อ งของตัว, สถานีวทิ ยุของตัว, หนังสือพิมพของตัว, คูส นทนาของตัว, เวทีชมุ นุมของตัว และเพือ่ ความ สมานฉันท เราก็ไมฟง อะไรทีไ่ มตรงกับอคติของเราเสีย เพือ่ จะไดไมตอ ง บันดาลโทสะถึงกับตีกนั ผมพยายามจะวิเคราะหวา อะไรเปนเหตุใหสงั คมไทยเต็มไปดวยคุก แหงอคติอยางทีว่ า นี้ ๑. วัฒนธรรมของรัฐไทยนัน้ เนนความสอดคลองตองกัน แมแตใน เรื่องที่รัฐสมัยใหมทั่วไปปลอยใหแตกตางกันได ลองยอนกลับไปอาน

๒๐

พุทธิกา

artwork34.p65

22

1/1/45, 0:20


พระราชนิพนธปลุกใจตาง ๆ ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาฯ ก็จะ เห็นวาทรงเนน “ความเปนไทย” ทีต่ อ งมีคณ ุ ลักษณะหลายอยางตรงกัน เชน ความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย, การนับถือพระพุทธศาสนา, การใชภาษาไทยกลาง ฯลฯ ในภายหลัง รัฐยังใชอํานาจในการบังคับใหพลเมืองตองยอมรับ คุณสมบัติเหลานี้ อยางตรงไปตรงมาในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม หรืออยางออม ๆ ในสมัยปราบปรามคอมมิวนิสต แมจนถึงสมัยปจจุบนั สิง่ ทีส่ งวนไวมใิ หขดั แยงเลยในรัฐไทยก็ยงั มีอกี มากมาย ดังนัน้ จึงเปนธรรมดาทีก่ ารแลกเปลีย่ นความคิดเห็นตองทํากันใน กลุม ผูม อี คติเดียวกัน อยางนอยก็เพือ่ ความปลอดภัย ทัง้ จากโทษทีอ่ าจได จากรัฐ หรือทัณฑทอี่ าจไดจากสังคม ๒. สังคมไทยไมใชสงั คมขาวสารขอมูล พูดอีกอยางหนึง่ ก็คอื คน ไทยสวนใหญไมสนใจขาวสารขอมูล ซ้าํ การกระจายขาวสารขอมูลยังถูก ควบคุมเสียอีก ฉะนัน้ คนไทยจึงประเมินขาวสารขอมูลไมเกง มักใชอคติ สวนตนในการประเมินมากกวาการตรวจสอบ หากเกิดความเห็นใด ทีร่ อู ยูแ ลววาขัดแยงกับสิง่ ทีร่ ฐั และสังคมหวง หามไว ก็จําเปนตองละเมิดขอหามดวยการรวมหมูเพื่อปองกันตนเอง เหตุดงั นัน้ นับวันการเมืองไทยก็โนมเอียงไปสูก ารเมืองของฝูงชนมากขึน้ (Mob politics) เพราะชองทางของความขัดแยงโดยสงบไมม.ี .. ไมมี ส.ส., ไมมพี รรคการเมือง, ไมมสี อื่ , ไมมกี ารจัดองคกร, ฯลฯ ของตนเอง ถาคํานึงวาการเมืองของฝูงชนจะเปนลักษณะสําคัญของการเมือง ไทยมากขึน้ ไปเรือ่ ย ๆ ตราบเทาทีป่ จ จัยซึง่ ทําใหเกิดคุกของอคติในเมืองไทย ยังดํารงอยู ก็ยงิ่ นากลัววาการเมืองไทยจะมีความขัดแยงกันอยางรุนแรงตอ ไป แมไมมเี สือ้ เหลืองและเสือ้ แดงแลวก็ตาม ๓. ไมมกี ติกาทีแ่ นชดั ในสังคมไทย ดังทีท่ ราบกันอยูแ ลววา แมแต พุทธิกา artwork34.p65

23

1/1/45, 0:20

๒๑


การเลือกตัง้ ก็อาจเปนหมันไปได เพราะเกิดการรัฐประหารขึน้ โดยโครง สรางแลว การลงคะแนนเสียงในบริษทั มหาชน หรือสมาคมใด ๆ ไมใชการ ตัดสินเชิงนโยบาย เพราะเป็นเอกสิทธิข์ องผูถ้ อื หุน้ ใหญ่รว่ มมือกันเอง หรือผูที่มีสายสัมพันธสูงและบารมีสูงในสมาคมเปนผูระดมสมาชิกมาลง คะแนนฝายตน การเลือ่ นขัน้ เลือ่ นตําแหนงในราชการหรือสถานประกอบการของ เอกชน ก็ไมมกี ติกาทีแ่ นชดั เหมือนกัน ยิง่ ไปกวานัน้ กติกาทีไ่ มแนชดั แบบนีย้ งั ทําใหฝา ยแพตอ งแพหมด และฝายชนะก็จะชนะหมด โอกาสทีจ่ ะเกิดการประนีประนอม ผนวกเอา ความเห็นของสองฝายไปสรางนโยบายเกิดขึน้ ไดยาก ดังนัน้ ความเห็นตาง ของสองฝายจึงยิ่งผลักใหตางตองเขาไปเกาะกลุมกันอยางเหนียวแนน ชวยกันสรางกําแพงปองกันความเห็นจากอีกฝายหนึง่ ผานเขามาได ๔. เรือ่ งของการมี “สายสัมพันธ” (Connection) เปนเรือ่ งใหญใน สังคมไทย เพราะ “สายสัมพันธ” ทําใหไดกาํ ไร ทัง้ ในทางเศรษฐกิจและ สังคม เหตุดังนั้นการเกาะกลุมกันจึงมีความสําคัญในการดําเนินชีวิต ความสัมพันธทางสังคมของคนไทยมีธรรมชาติเปนความสัมพันธของกลุม “เสน” ไมใชความสัมพันธของปจเจกบุคคลทีห่ ลากหลาย ๕. ระบบการศึกษาของไทยไมสง เสริมการถกเถียงอภิปราย หรือการ วิพากษวจิ ารณ มีพนื้ ทีซ่ งึ่ อยูพ น ออกไปจากการวิพากษวจิ ารณมาก (ดังที่ กลาวในขอ ๑) ในชัน้ เรียน สิง่ ทีถ่ อื วาเปน “ความรู” ก็กลายเปนพืน้ ทีซ่ งึ่ อยู นอกเหนือการวิพากษวจิ ารณเชนกัน ดังนัน้ การศึกษาของไทยจึงไมนาํ ผู เรียนไปสู “มุมมอง” ของความรู เพือ่ ทําใหเขาใจวาความรูด งั กลาวนัน้ จริง เฉพาะใน “มุมมอง” หนึง่ ๆ เทานัน้ สิง่ ทีถ่ กู ถือวาเปนความรู เชน คนจนโงเกินกวาจะใชสทิ ธิตดั สินใจ ลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ ก็กลายเปนความรูท ไี่ มตอ งวิเคราะหวา ความรูเ ชน

๒๒

พุทธิกา

artwork34.p65

24

1/1/45, 0:20


นีจ้ ริงเมือ่ มองจากมาตรฐานของใคร หรือในทางตรงกันขาม พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เปนวีรบุรษุ ของคนจน ก็เปนความรูท ไี่ มตอ งวิเคราะหอกี เชนกันวา จริงตอเมือ่ ไมมองดานอืน่ ของนโยบายทีค่ ณ ุ ทักษิณผลักดันเชนกัน ๖. สังคมไทยมีความไมเทาเทียมสูงมาก ไมวา จะมองในแงเศรษฐ กิจ, สังคม หรือวัฒนธรรม ฉะนัน้ ในวิถชี วี ติ ปกติ ผูค นก็ไมคอ ยไดสมั พันธ กันขาม “ชนชัน้ ” อยูแ ลว ทีเ่ ราอยูร ว มกันมาไดเปนนานก็เพราะตางก็ถอื หรือ รับ “อาชญาสิทธิ”์ เดียวกัน (ไมเฉพาะแต “อาชญาสิทธิ”์ ทางการเมือง แตรวม “อาชญาสิทธิ”์ ทางอืน่ ๆ ดวย... นับตัง้ แตทางวิชาการไปจนถึง ศิลปนแหงชาติ) แตสงั คมไทยปจจุบนั กําลังเกิดคําถามกับสิง่ ทีเ่ ปน “อาชญาสิทธิ”์ เกือบทุกอยาง ... แพทยแผนไทย vs แพทยแผนตะวันตก, การพัฒนา vs การอนุรกั ษ, ทรท. vs ปชป., นายกฯพระราชทาน vs นายกฯ เลือกตัง้ ฯลฯ จึงเปนธรรมดาทีค่ วามขัดแยงทีเ่ กิดขึน้ จากคําถามทีม่ ตี อ “อาชญา สิทธิ”์ ยอมสะทอนออกมาในรูปของความขัดแยงทาง “ชนชัน้ ” สูง การขาด ความรับรูร ะหวาง “ชนชัน้ ” ดังทีก่ ลาวแลว ยิง่ ทําใหความขัดแยงแปรไปใน ทางรุนแรงไดมากขึน้ คุกแหงอคติทเี่ ราพบอยูท วั่ ไปในเมืองไทยเวลานี้ จึงมีรอยราวอยูเ บือ้ ง ลึกกวาสีของเสือ้ รอยราวเหลานีท้ าํ ใหคนไทยเลือกทีจ่ ะซุบซิบกันเฉพาะใน กลุม คนทีม่ อี คติเดียว กันอยูแ ลว สถานการณทที่ าํ ใหเราเลิกซุบซิบแตหนั มาตะโกนดัง ๆ ทําใหเสียงตะโกนของแตละคุกขัดแยงกันอยางสุดโตง และตางฝายตางรูส กึ วาถูกอีกฝายยัว่ ยุ จนพรอมจะเปดคุกออกมาตีกนั ให รูแ พรชู นะกันไปขางหนึง่ สมานฉันทจะอยูท ผี่ วิ เทานัน้ ตราบเทาทีเ่ ราไมประสานรอยราวทีอ่ ยู ลึกเบือ้ งลาง

พุทธิกา artwork34.p65

25

1/1/45, 0:20

๒๓


Àπ哵ã“ß°‘®°√√¡ รับสมัครตลอดป ๒๕๕๒ อบรมเผชิญความตายอยางสงบ เครือขายพุทธิกาจัดอบรมเผชิญความตายอยางสงบ ประจําป ๒๕๕๒ โดย ทีมวิทยากร พระไพศาล วิสาโล และคณะ สําหรับผูส นใจทัว่ ไป แบงเปน ๒ หลักสูตร

การอบรมขัน้ พืน้ ฐาน มีใหเลือก ๕ ครัง้ คือ ❁ ❁ -❁ ❁ ❁

ครัง้ ที่ ๑ ระหวางวันที่ ๓-๕ เมษายน ครัง้ ที่ ๒ ระหวางวันที่ ๒๒-๒๔ พฤษภาคม ครัง้ ที่ ๓ ระหวางวันที่ ๓-๕ กรกฏาคม ครัง้ ที่ ๔ ระหวางวันที่ ๒๓ - ๒๕ ต.ค. ครัง้ ที่ ๕ ระหวางวันที่ ๒๗ - ๒๙ พ.ย.

การอบรมฝกทักษะการนํา มี ๑ ครัง้ ✍ ระหวาง วันที่ ๑๐ - ๑๓ ธ.ค. รับแตผทู ผี่ า นการอบรมขัน้ พืน้ ฐานมากอน ผูส นใจติดตอ เครือขายพุทธิกา โทร.๐-๒๘๘๓-๐๕๙๒,๐-๒-๘๘๖-๙๘๘๑, ๐๘-๖๓๐๐-๕๔๕๘ ดูรายละเอียดใน www.budnet.org รีบสมัครแตเนิน่ ๆ เพือ่ เลือกวันเวลาทีส่ ะดวก

อบรมเยียวยาขัน้ ตนสําหรับผูด แู ลผูป ว ย (Caring the Careers) ✍ รุน ที่ ๑ วันที่ ๓๐-๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒ เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. ✍ รุน ที่ ๒ วันที่ ๒๗-๒๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๒ เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. เครือขายพุทธิกาขอเชิญผูด แู ลผูป ว ยเขารวมอบรม ณ เรือนรอยฉนํา สวนเงินมีมา เขตคลองสาน กทม.โดยทีมวิทยากร เครือขายพุทธิกา โครงการเผชิญความตายอยางสงบ ผูส นใจ ติดตอ เครือขายพุทธิกา โทร.๐-๒๘๘๓-๐๕๙๒, ๐-๒-๘๘๖-๙๘๘๑,๐๘-๖๓๐๐-๕๔๕๘ ดูรายละ เอียดใน www.budnet.org ๘-๒๙ เมษายน กิจกรรม “Wake Up” ตื่นรูสูสังคม ภาวนาตามแนวทางทานติช นัท ฮนห มูลนิธหิ มูบ า นพลัมขอเชิญผูส นใจรวมเรียนรูก ารใช ชีวติ อยางตืน่ รู ผานการเจริญสติตาม แนวทางทานติช นัท ฮนห พระเถระนิกายเซน นําโดยคณะธรรมาจารยจากหมูบ า นพลัม

๒๔

พุทธิกา

artwork34.p65

26

1/1/45, 0:20


✍ ๒๕-๒๙ เม.ย. งานภาวนา “ตืน่ รูส อู นาคต” ณ คายเพชรรัชต สระบุรี สําหรับเยาวชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต (ไทย ๒๐๐ คน, ตางชาติ ๒๐๐ คน) อายุ ๑๕-๒๕ ป ติดตอขอรายละเอียดที่ : ๐๘๙-๔๙๐-๖๐๖๙ หรือ plum.pr@gmail.com www.thaiplumvillage.org

อาสาสมัครใหการปรึกษา ผูประสบปญหาแอลกอฮอลทางโทรศัพท รับสมัครภายในวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๒ ศูนยปรึกษาปญหาเลิกเหลา (Alcohol Help Line) ภายใตการสนับสนุนจากสํานักงาน เครือขายองคกรงดเหลา และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ขอเชิญ ชวนผูที่มีความสนใจ มารวมเปนสวนหนึ่งในการชวยเหลือผูที่ประสบปญหาจากเครื่องดื่ม แอลกอฮอล ปฏิบตั งิ านที่ ศูนยปรึกษาปญหาเลิกเหลา (กรุงเทพฯ) ตองการหลายอัตรา ไมมคี า ตอบ แทนแตมีคาพาหนะในการเดินทางให ขอรายละเอียดที่ คุณธวัชชัย กุศล โทร.๐-๒๓๗๙-๑๐๒๐ กด ๑ , ๐๘-๕๙๙๔-๐๐๕๕ หรือสงมาใบสมัครมาที่ E-mail : kangaroojingjoe@gmail.com ศูนยปรึกษาปญหาเลิกเหลา ๗๐/๒๙๔ ซอยนวมินทร ๗๙ ถ.นวมินทร แขวงคลอง กุม เขตบึงกุม กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐ (ใกลตลาดอินทรารักษ ปากซอยมีรา น Pizza Company) โทร. ๐-๒๓๗๙-๑๐๒๐ กด ๑ แฟกซ : ๐-๒๓๗๙-๑๐๒๐ กด ๒ E-mail : kangaroojingjoe@gmail.com

๑๒-๑๘ พฤษภาคม “เปน อยู คือ” ภาวนากับการสือ่ สารอยางสันติ ขอเชิญผูส นใจการภาวนาเพือ่ สรางฐานสําหรับการดํารงชีวติ การดําเนินความสัมพันธ ที่ ดี กั บ คนรอบข า ง สั ง คม และการเรี ย นรู ทั ก ษะการสื่ อ สารอย า งสั น ติ ตามแนวทางของ Nonviolent Communication ในกิจกรรมทีช่ อื่ “เปน อยู คือ” ภาวนากับการสือ่ สารอยางสันติ โดยวิทยากร กัญญา ลิขนสุทธิ์ และวิจักขณ พานิช ที่สวนโมกขนานาชาติ อ.ไชยา จ.สุราษฎรธานี สอบถามรายละเอียดที่ คุณนภา ๐๘๙-๑๖๐-๓๕๘๘ หรือ shambhala04@gmail.com

พุทธิกา artwork34.p65

27

1/1/45, 0:20

๒๕


๒๓-๒๔ พฤษภาคม “ศิลปะเพือ่ ศิลปะ” (Art for art sake) อบรมเชิงปฏิบตั กิ ารทางศิลปะ:”ศิลปะเพือ่ ศิลปะ” (Art for art sake) เรียนรูศ ลิ ปะอยาง สอดคลองกับศิลปะนิสัย ดวยกิจกรรม Spontaneous Art (สีน้ํา อะครีลิค ชาโคล ดินเหนียว และงานปะติด) ณ เรือนรอยฉนํา สวนเงินมีมา เจริญนคร สอบถามรายละเอี ย ด และสํ า รองที่ นั่ ง : ๐๘๗ ๙๗๕-๔๐๒๒ , art4human@gmail.com ศูนยศิลปะฮวแมน www.art4human.com

๒๗-๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๒ “ชุมชนคือพลัง รวมปองกันรักษาเอดส” สัมมนาระดับชาติเรือ่ งโรคเอดส ครัง้ ที่ ๑๒ วันที่ ๒๗-๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ณ อิมแพ็ค คอนเวน ชัน่ เซ็นเตอร เมืองทองธานี สนใจติดตอ สํานักโรคเอดส วัณโรคและโรคติดตอทางเพศ สัมพันธ โทร.๐-๒๕๙๐-๓๓๒๕ ๒๗-๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๒

อาสาสมัครนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน เปดรับสมัครถึง ๓๑ พฤษภาคม มูลนิธอิ าสาสมัครเพือ่ สังคม เปดรับสมัครอาสาสมัคร นักกฎหมายสิทธิมนุษยชน วาระการทํางาน ๑ ป (กรกฎาคม ๒๕๕๒ - มิถนุ ายน ๒๕๕๓) ๒๕๕๒ ดาวนโหลดใบสมัคร www.thaivolunteer.or.th/download/app_law4.doc ติดตอขอรายละเอียดที่ มูลนิธอิ าสาสมัครเพือ่ สังคม ฝายอาสาสมัคร ๔๐๙ ถนนประชาราษฎรบําเพ็ญ เขต/แขวงหวยขวาง กทม.๑๐๓๒๐ สนใจบทความ กิจกรรมเครือขายพุทธิกา ดูในเว็บไซตwww.budnet.org สนใจบทความ กิจกรรมโครงการเผชิญความตายอยางสงบ ดูในเว็บไซต http://web1.peacefuldeath.info/?q=node/3

เปดโลกกิจกรรมเครือขายพุทธิกา ดูใน www.budnet.org เปดโลกกิจกรรมโครงการเผชิญความตายอยางสงบ ดูใน http://web1.peacefuldeath.info/?q=node/3 เปดอานพุทธิกาฉบับยอนหลังที่ http://budnet.org/buddhigha/index3.htm

๒๖

พุทธิกา

artwork34.p65

28

1/1/45, 0:20


®ÿ¥§≈“¬√åÕπ

พุทธิกา artwork34.p65

29

1/1/45, 0:20

๒๗


ª√Õ∑«— ߧ¡ ปรอทวัด¥สัง —คม รายการเด็กกวาครึง่ พบแฝงรุนแรง งานวิจยั เรือ่ ง”การวิเคราะหความรุนแรงในรายการโทรทัศน” ของ ผศ. ลักษมี คงลาภ คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ไดมี การสํารวจรายการโทรทัศนสาํ หรับเด็กทีม่ ตี อ การนําเสนอความรุนแรงทาง สือ่ โทรทัศนในชวงเดือนธันวาคม ๒๕๕๑ พบวา รายการการตนู มีปริมาณ เวลาการออกอากาศมากทีส่ ดุ ถึง ๙๘๙ นาที คิดเปน ๒๖% ของเวลาออก อากาศในรายการสําหรับเด็กทัง้ หมด และในการสํารวจรายการโทรทัศนสาํ หรับเด็ก ๙๑ รายการ พบวามีรายการทีน่ าํ เสนอความรุนแรงทัง้ สิน้ ๕๐ รายการหรือกวา ๕๕% ซึง่ ถือวาเกินกวาครึง่ หนึง่ มีเนือ้ หาของความรุนแรง แฝงอยู ทัง้ การแสดงออกทางวาจาและการกระทําทางรางกาย โดยสถานี โทรทัศนชอ ง ๙ มีการนําเสนอความรุนแรงมากทีส่ ดุ ๔๘ นาที คิดเปน ๓๗% รองลงมาคือ ชอง ๓ และชอง ๗ ซึง่ เนือ้ หาความรุนแรงจะปรากฏอยูใ น รายการการตูนมากที่สุด คิดเปน ๖๔% นอกจากนี้เนื้อหาโฆษณาใน รายการโทรทัศนสาํ หรับเด็ก ๓๙% เปนโฆษณาขนมขบเคีย้ วมากทีส่ ดุ และ มีการนําเสนอความรุนแรงในภาพยนตรโฆษณา ถึง ๓๒% ซึง่ เด็กจะไดรบั ผลเสียสองตอ คือ ภาวะโรคอวนและการเลียนแบบพฤติกรรมความรุนแรง จากสือ่ โฆษณาดวย รศ. ดร. วิลาสินี อดุลยานนท สํานักรณรงคและสือ่ สารสาธารณะเพือ่ สังคม สสส. กลาวอยางเปนหวงกับผลการสํารวจดัง กลาวเทากับวาสภาพปญหาของรายการโทรทัศนยงั อยูใ นภาวะขาดการ ดูแล จึงเสนอวานาทีจ่ ะเรงใหมอี งคกรอิสระมาทําหนาทีค่ มุ ครองเด็กและ เยาวชนเกิดขึน้ โดยเร็ว

๒๘

พุทธิกา

artwork34.p65

30

1/1/45, 0:20


เด็กญีป่ นุ ติดมือถือ ประเทศญีป่ นุ มีความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีมากทีส่ ดุ ในโลก แตมปี ญ  หาเด็กนักเรียนติดมือถือมากจนเกินเหตุ ทัง้ ในเวลากิน เรียน หรือ อาบน้าํ ยังไมวางโทรศัพทมอื ถือ สงอี-เมล อานขอความ พบวา ๔๖% ของนักเรียนชัน้ ประถม ๑๓-๑๔ ป และ ๙๖% ของนักเรียนชัน้ มัธยม ๑๖ ๑๗ ป มีโทรศัพทมอื ถือใช และ ๑ ใน ๔ ของนักเรียนอายุ ๑๑-๑๒ ป มี โทรศัพทมอื ถือใชดว ย และจากการสํารวจ ๑๐,๐๐๐ คน ๑ ใน ๕ คน สงและรับอี-เมล วันละอยางนอย ๕๐ ครัง้ หรือมากกวานัน้ ในจํานวนนี้ ๗% สงและรับอี-เมลมากกวา ๑๐๐ ครัง้ ตอวัน และ ๑ ใน ๔ คน ใชโทรศัพท มือถือระหวางรับประทานอาหาร ๑๐% ใชมอื ถือระหวางอาบน้าํ และอีก ๑๘% ใชระหวางเขาเรียนในโรงเรียน ผูปกครองบางคนไมทราบภัยของการใชมือถือมากเกินไปหรือใช อินเตอรเน็ตมากเกินไป ทางกระทรวงศึกษาของเขาจึงเตือนผูป กครองให ควบคุมการใชโทรศัพทมอื ถือ ใหคาํ นึงถึงปญหาสังคมทีจ่ ะตามมา เชน ปญหาที่เกิดจากนักเรียนลงขอมูลสวนตัวไวในเว็บไซตบางเว็บไซต ซึ่ง สามารถถูกลวงเขาไปไดจากการใชอนิ เตอรเน็ตในโทรศัพทมอื ถือ และมัก จะตกเปนเหยือ่ ของแกงหลอกลวง ทีน่ า กลัวอีกอยางคือ โทรศัพทมอื ถือทีใ่ ชอนิ เตอรเน็ตไดของนักเรียน ถึง ๘๐% ไมมกี ารปองกันการเขาเว็บไซตทไี่ มเหมาะสม บานเราใชวา จะ ไมนอ ยหนา ถายังขาดการเหลียวแลการใชมอื ถือ การเลนเน็ตของเด็ก อีก ไมชา ก็คงจะเจริญรอยตามดังทีญ ่ ปี่ นุ ประสบอยู

พุทธิกา artwork34.p65

31

1/1/45, 0:20

๒๙


สํานักพุทธฯ หวัน่ พระเณรลดลง ดร.อํานาจ บัวศิริ ผอ.สํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม (มส.) สํานัก งานพระพุทธศาสนาแหงชาติ (พศ.) เปดเผยวา พศ.ไดจดั เก็บขอมูลสถิติ จํานวนพระภิกษุและสามเณร ประจําป ๒๕๕๑ พบวา พระภิกษุทั่ว ประเทศ มีจาํ นวน ๒๕๑,๙๙๗ รูป แบงเปนมหานิกาย ๒๒๔,๙๖๐ รูป และธรรมยุต ๒๗,๐๓๗ รูป สวนจํานวนสามเณรมี ๖๙,๖๐๗ รูป เปนมหา นิกาย ๖๑,๓๘๗ รูป และธรรมยุต ๘,๒๒๐ รูป และเมือ่ เปรียบเทียบกับป ๒๕๕๐ พบวาในป ๒๕๕๑ มีจาํ นวนพระภิกษุลดลง ๖,๑๖๖ รูป และสาม เณรลดลง ๔๔๗ รูป เมือ่ สํารวจรายจังหวัด พบวา หลายจังหวัดมีจาํ นวน พระภิกษุ-สามเณรลดลง อาทิ เพชรบูรณ สามเณรลดลงเหลือ ๖๙๘ รูป จาก ๑,๐๐๕ รูป, กาญจนบุรี สามเณรมี ๒๘๕ รูป จาก ๘๑๕ รูป, กาฬสิ นธุ มีพระภิกษุ ๓,๖๐๗ รูป จาก ๕,๒๔๐ รูป และมีสามเณร ๘๔๒ รูป จาก ๑,๕๘๑ รูป, พะเยา พระภิกษุ ๑,๑๕๗ รูป จาก ๒,๓๑๐ รูป สามเณร ๑,๗๓๕ รูป จาก ๓,๒๙๖ รูป เปนตน ดร.อํานาจ กลาวตอไปวา ถึงแมบางจังหวัดจํานวนพระภิกษุ สามเณรจะลดลง แตในอีกหลายจังหวัดกลับมีจํานวนเพิ่มขึ้น อาทิ กรุ งเทพฯ เดิมมีสามเณร ๒,๓๘๓ รูป เพิม่ เปน ๔,๒๐๙ รูป ฉะเชิงเทรา เดิม มีพระภิกษุ ๒,๖๐๗ รูป เพิม่ เปน ๓,๙๗๘ รูป สามเณร ๖๐๕ รูป เพิม่ เปน ๘๑๘ รูป ยโสธร เดิมมีพระภิกษุ ๒,๐๔๖ รูป เพิม่ เปน ๒,๗๗๙ รูป สามเณร ๓๖๗ รูป เพิม่ เปน ๗๔๗ รูป สมุทรสงคราม สามเณรเพิม่ จาก ๑๐๘ รูป เปน ๒,๖๐๕ รูป เพชรบูรณ พระภิกษุเพิม่ ขึน้ จาก ๓,๒๕๓ รูป เปน ๔,๔๕๗ รูป ซึง่ การเพิม่ และลดลงของพระภิกษุ-สามเณร ตนคิดวามาจากหลาย ปจจัย เชน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาของภาครัฐที่มี ประสิทธิภาพและคุณภาพมากขึน้ รวมทัง้ คนในปจจุบนั นิยมบวชระยะสัน้

๓๐

พุทธิกา

artwork34.p65

32

1/1/45, 0:20


มากกวา รวมทั้งขาวสารดานลบเกี่ยวกับพระสงฆและวงการพระพุทธ ศาสนา ทัง้ นี้ พศ.จะสรุปขอมูลจํานวนพระภิกษุ-สามเณรประจําป ๒๕๕๑ และปจจัยที่สงผลตอการเพิ่มและลดจํานวนของพระภิกษุ-สามเณร รายงานดังกลาวมีการนําเสนอตอมหาเถรสมาคม (มส.)ดวย สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย เจาอาวาสวัดปากน้ําภาษีเจริญ กรรมการมหาเถรสมาคม (มส.) กลาววา เรือ่ งของจํานวนของเด็กทีม่ า บรรพชาเปนสามเณรนอยลงนัน้ สาเหตุใหญมาจากขณะนีก้ ารศึกษาขัน้ พืน้ ฐานครอบคลุมมากขึน้ ทําใหเด็กมาบวชเรียนในโรงเรียนพระปริยตั ธิ ร รมนอยลง สามเณรในระบบการศึกษาก็นอยลงไป ขณะที่โรงเรียนพระ ปริยตั ธิ รรมทัว่ ไปเปดสอนตัง้ แตประโยค ๑-๒ ถึง ประโยค ๓ ๔ ๕ แตใน ระดับประโยค ๖ - ๙ ไมคอ ยเปดสอน จึงไดเปดศูนยการเรียนการสอน ประโยคสูง ๆ โดยเฉพาะ ภาคละ ๑ แหง โดยจะตองมีผเู รียนชัน้ ละ ๑๐ รูป/คนขึน้ ไปถึงจะเปดการเรียนการสอน เพือ่ สงเสริมการศึกษาใหพระภิกษุ มีทเี่ รียนอยางทัว่ ถึง โดยจะเริม่ เปดนํารองป ๒๕๕๒ นี้

๕ โรคของคนชรา สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พบวาผูส งู อายุมจี าํ นวนสูงถึง ๗.๒ ลานคน และในป ๒๕๖๓ ประเทศไทย จะมีผูสูงอายุเพิ่มขึ้นถึง ๑๐.๘ ลานคน คิดเปนรอยละ ๑๕.๓ ของ ประชากรทัง้ หมด แนวโนมของภาวะเจ็บปวยตางๆ โดยเฉพาะโรคเรือ้ รังใน ผูส งู อายุ ผลการสํารวจของสํานักงานสถิตแิ หงชาติในป ๒๕๕๐ พบวา ผูส งู อายุมโี รคความดันโลหิต รอยละ ๓๑.๗ โรคเบาหวาน รอยละ ๑๓.๓ โรคหัวใจ รอยละ ๗.๐ โรคอัมพาตอัมพฤกษ รอยละ ๒.๕ โรคหลอดเลือด ในสมองตีบ รอยละ ๑.๖ และโรคมะเร็ง รอยละ ๐.๕ สวน อาการทีพ่ บ พุทธิกา artwork34.p65

33

1/1/45, 0:20

๓๑


บอยในผูส งู อายุ ไดแก ภาวะหกลม การสูญเสียความสามารถในการเดิน สติปญ  ญาเสือ่ มถอย เบือ่ อาหาร ปสสาวะอุจจาระราด และเกิดภาวะแทรก ซอนอืน่ ๆ ไดงา ย ขณะนีเ้ ริม่ มีหนวยงานใหความสนใจบาง อาทิ กระทรวง สาธารณสุข ศูนยสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพือ่ ผูส งู อายุ จัดฝกอบรม ดูแลผูสูงอายุแบบองครวม แกบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข เพือ่ ถายทอดความรูแ ละเทคโนโลยีดา นการดูแลผูส งู อายุ สรางเครือขาย ในการแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณและแนวทางการดูแลผูสูงอายุ แบบองครวม รวมทัง้ นําความรูไ ปถายทอดแกญาติ สมาชิกในครอบครัว และผูด แู ลผูป ว ย แตยงั ไมกวางขวางพอ เริม่ ตนฝกบุคลากรจํานวน ๑๐๐ คนเทานัน้

โลกรอนกระทบชาวนาไทย ดร.วิ เ ชี ย ร เกิ ด สุ ข อาจารย ป ระจํ า สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นา มหาวิทยาลัยขอนแกน เปดเผยงานวิจยั เรือ่ ง “สภาวะโลกรอนกับผลกระทบ ของชาวทุง กุลารองไห” วา มีผลกระทบชัดเจนในชวง ๒-๓ ปทผี่ า นมาจาก ภาวะฝนทีต่ กในชวงตนฤดูมาก สงผลใหนาขาวเจริญเติบโตไมดพี อ และ ผลผลิตลดลงมาก โดยเฉพาะพืน้ ทีท่ มี่ กี ารเติบโตของนาขาว แถบทุง เจา พระยาทีเ่ คยเปนอูข า วอูน า้ํ ของประเทศไทย ขาวหอมมะลิทงุ กุลารองไห เติบโตในพืน้ ทีข่ นาดใหญ ๑,๒๗๖,๐๐๐ ไร ครอบคลุม ๕ จังหวัด ไดแก รอยเอ็ด มหาสารคาม สุรนิ ทร ยโสธร ศรีสะเกษ ซึง่ ขาวหอมมะลิจากทุง กุลารองไหมเี อกลักษณโดดเดนจนเปนทีน่ ยิ มไปทัว่ โลก ขาวหอมมะลิมี ความแตกตางจากพันธุอ นื่ ทีห่ อม นุม เมล็ดยาวรี จนกลายเปนสินคาสง ออกที่ครองอันดับหนึ่งมานานนับสิบป ซึ่งทุงกุลารองไห คือตัวอยาง ปรากฏการณโลกรอนทีเ่ ริม่ สงสัญญาณเปลีย่ นแปลง หากอุณหภูมเิ พิม่ ขึน้

๓๒

พุทธิกา

artwork34.p65

34

1/1/45, 0:20


๑-๒ องศาฯ จะทําใหพนื้ ทีน่ าขาวหอมมะลิทใี่ หญทสี่ ดุ ของประเทศตองกระ เทือน “ในชวงสองสามปทผี่ า นมา ชาวนาทุง กุลาฯ ประสบปญหาฝนตก น้าํ ทวม และเผชิญกับภัยแลงในชวงเวลาเดียวกัน จนอาจจะสงผลกระทบ ตอแหลงผลิตอาหารทีส่ าํ คัญ” สุภาภรณ อนุชิราชีวะ โครงการเกษตรและประมง กลาวถึงผล กระทบทีเ่ กิดจากสภาพภูมอิ ากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลงจากภาวะโลกรอน วา ได ศึกษาผลกระทบจากภาวะอากาศการปลูกขาวหอมมะลิ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัด ยโสธร พบวา ในชวงสีป่ ท ผี่ า นมา ฝนในตนฤดูมาชา และในชวงกรกฎาคม สิงหาคม ก็หายไป ซึง่ เปนชวงทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ชาวบานในยโสธรทีไ่ มมรี ะบบ ชลประทานปริมาณฝนทีเ่ ปนอยูไ มเพียงพอตอ การหลอเลีย้ งขาว ทีแ่ ยไป กวานัน้ ฝนยังมาตกในฤดูเก็บเกีย่ วคือในชวงเดือนพฤศจิกายน ทําใหขา วที่ ลําตนสูงมากก็ลม ลง และจมน้าํ เสียหาย นายอภิชาต จงสกุล เปดเผยวา ในป ๒๕๕๑ ขาวนาปรังไดรบั ผล กระทบจากอากาศรอนสลับหนาวในชวงสัปดาหเดียวกัน จนตนขาวเสีย หายเกิดการแพรระบาดของเพลีย้ กระโดดสีนา้ํ ตาล สวนการปลูกขาวโพด ปลายฤดูกาลเกิดฝนตกหนักจนผลผลิตขึน้ รา พรอมกับกลาวดวยความ หวงใยวา การที่ไทยสามารถปลูกพืชและเลี้ยงสัตวไดหลากหลายชนิด จนเปนผูส ง ออกสินคาเกษตรรายใหญ โดยมีเปาหมายจะเปนครัวของโลก ทําใหเปนทีจ่ บั ตามองของประเทศคูแ ขงและคูค า ดังนัน้ นโยบายดานการ เกษตรจึงมีความสําคัญ และจะตองเผชิญมาตรการกีดกันทางการคา สารพัดรูปแบบมากขึน้

พุทธิกา artwork34.p65

35

1/1/45, 0:20

๓๓


·π–πÌ“Àπ—ß ◊Õ‡§√◊բ㓬æÿ∑∏‘°“ เหนือความตาย : จากวิกฤตสูโอกาส โดย พระไพศาล วิสาโล เขียน/เรียบเรียง จํานวน ๑๗๖ หนา ราคา ๑๒๐ บาท

ความตายในทัศนะของพุทธทาสภิกขุ โดย พระดุษฎี เมธังกุโร, สันต หัตถีรตั น, เอกวิทย ณ ถลาง, นิธพิ ฒ ั น เจียรกุล, สุวรรณา สถาอานันท, ประชา หุตานุวตั ร จํานวน ๙๗ หนา ราคา ๗๐ บาท

การชวยเหลือผูปวยระยะสุดทายดวยวิธีแบบพุทธ สมทบคาจัดพิมพ เลมละ ๑๐ บาท (ไมรวมคาจัดสง)

ΩÜ“æåπ«‘°ƒµ»’≈∏√√¡¥å«¬∑—»π–„À¡ã

พระไพศาล วิสาโล เขียน จํานวน ๘๘ หนา ราคา ๘๐ บาท

¡ÕßÕ¬ã“ßæÿ∑∏ : ‡æ◊ÕË §«“¡‡¢å“„®„π™’«µ‘ ·≈– —ߧ¡

พระไพศาล วิสาโล อรศรี งามวิทยาพงศ และสมเกียรติ มีธรรม เขียน พจน กริชไกรวรรณ บรรณาธิการ จํานวน ๑๒๐ หนา ราคา ๗๕ บาท

๑. DVD สูค วามสงบทีป่ ลายทาง ราคาแผนละ ๔๙ บาท ๒. MP3 เสียงบทพิจารณาความตาย ราคาแผนละ ๔๙ บาท ๓. CD รวมบทความมองยอนศร ราคาแผนละ ๓๐ บาท ๔. CD รวมบทความมองอยางพุทธ ราคาแผนละ ๓๐ บาท

๓๔

พุทธิกา

artwork34.p65

36

1/1/45, 0:20


©≈“¥∑Ì“∫ÿ≠ (©∫—∫ª√—∫ª√ÿß) √«¡‡√◊ËÕßπã“√Ÿå §Ÿã¡◊Õ∑Ì“∫ÿ≠„Àå∂Ÿ°«‘∏’ พระชาย วรธัมโม และพระไพศาล วิสาโล เรียบเรียง โอภาส เชฏฐากุล บรรณาธิการ จํานวน ๙๖ หนา ราคา ๖๐ บาท

ฉลาดทําใจ : หนักแคไหนก็ไมทุกข สุขเพียงใดก็ไมพลั้ง พระไพศาล วิสาโล : ผูเ ขียน จํานวน ๒๐๘ หนา ราคา ๙๙ บาท

บทเรียนจากผูจ ากไป : ผลึกความรู ดูแลคนไขระยะสุดทายแบบไทย ๆ นพ.เต็มศักดิ์ พึ่งรัศมี / อโนทัย เจียรสถาวงศ บรรณาธิการ จํานวน ๑๐๐ หนา ราคา ๑๐๐ บาท เผชิญความตายอยางสงบ : สาระและกระบวนการเรียนรู พระไพศาล วิสาโล/ปรีดา เรืองวิชาธร เรียบเรียง จํานวน ๒๑๔ หนา ราคา ๑๖๐ บาท สุขสุดทายที่ปลายทาง : เผชิญความตายอยางสงบ กรรณจริยา สุขรุง ผูเ ขียน จํานวน ๒๓๖ หนา ราคา ๑๙๐ บาท ™’«µ‘ ·≈–§«“¡µ“¬„π —ߧ¡ ¡—¬„À¡ã จํานวน ๖๖ หนา ราคา ๕๕ บาท √–≈÷°∂÷ߧ«“¡µ“¬ ∫“¬π—° พระไพศาล วิสาโล จํานวน ๙๑ หนา ราคา ๔๐ บาท ขายใยมิตรภาพ วรพงษ เวชมาลีนนท บรรณาธิการ จํานวน ๘๐ หนา ราคา ๔๐ บาท พุทธิกา artwork34.p65

37

1/1/45, 0:20

๓๕


„∫ ¡—§√/µãÕÕ“¬ÿ ¡“™‘° ®¥À¡“¬¢ã“«  √“¬ “¡‡¥◊Õπ

(ถายสําเนา หรือ ดาวนโหลดไดที่ www.budnet.org)

ชือ่ ผูส มัคร........................................................นามสกุล................................................. เพศ............... อายุ........... อาชีพ.............................................................................. ที่อยูจัดสง..................................................................................................... .......................................................................รหัสไปรษณีย.................... โทรศัพท................................................................. โทรสาร ......................................... อีเมล ................................................. ระยะเวลา........ป (ปละ ๑๐๐ บาท จํานวน ๔ เลม) เริม่ ตัง้ แตฉบับที.่ ..................เดือน.................................................... ประเภทสมาชิก สมัครใหม สมาชิกเกา (หมายเลขสมาชิก...................................) หรือ อุปถัมภพระ/แมช/ี โรงเรียน ระยะเวลา......................ป สถานทีจ่ ดั สง................................................................................................................ ............................................................................................................................................ รหัสไปรษณีย. .......................................โทรศัพท........................................................... รวมเปนจํานวนเงินทัง้ สิน้ .................................................บาท โดย ธนาณัติ ตัว๋ แลกเงิน เช็ค เงินสด โอนเขาบัญชีธนาคาร สัง่ จายในนาม นางสาวนงลักษณ ตรงศีลสัตย (ปณ.ศิรริ าช ๑๐๗๐๒) เช็คตางจังหวัดเพิม่ อีก ๑๐ บาท จดหมายขาวพุทธิกา ๙๐ ซ.อยูอ อมสิน ถ.จรัญฯ ๔๐ แขวงบางยีข่ นั เขตบางพลัด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท ๐-๒๘๘๓-๐๕๙๒ ,๐-๒๘๘๖-๙๘๘๑, ๐-๘๖๓๐๐-๕๔๕๘ โทรสาร ๐-๒๘๘๓-๐๕๙๒ หรือโอนเขาบัญชีธนาคาร

ชือ่ บัญชี นางสาวนงลักษณ ตรงศีลสัตย ธนาคารกรุงเทพ สาขาคลองสาน บัญชีออมทรัพย เลขที่ ๑๕๑–๐๕๙ ๗๗๔–๑ โปรดสงหลักฐานการโอนและใบสมัครมายังเครือขายพุทธิกาดวย

æÿ∑∏‘°“ √“¬ “¡‡¥◊Õπ Àπ“°«ã“‡¥‘¡ √“§“‡¥‘¡ artwork34.p65

38

1/1/45, 0:20


‡§√◊բ㓬æÿ∑∏‘°“ ‡æ◊ÕË æ√–æÿ∑∏»“ π“·≈– —ߧ¡

ารรักษาพระศาสนาใหยงั่ ยืนนัน้ มิใชเปนหนาทีข่ องคนใดคนหนึง่ หรือบุคคล กลุม ใดกลุม หนึง่ เทานัน้ ทัง้ มิใชเปนความรับผิดชอบทีจ่ าํ กัดอยูก บั พระสงฆหรือ รัฐบาลเทานัน้ หากเปนหนาทีข่ องชาวพุทธทุกคนและเปนความรับผิดชอบที่ พระพุทธองคทรงมอบใหแกพทุ ธบริษทั ทัง้ หลาย ดังนัน้ เมือ่ ถึงคราวทีพ่ ทุ ธศาสนาประสบ วิกฤต จึงควรทีช่ าวพุทธทุกคนจะรวมมืออยางเต็มกําลังความสามารถเพือ่ ฟน ฟูพทุ ธศาสนา ให้เจริญงอกงามและกลับมามีความหมายต่อสังคมไทย รวมทัง้ ยังประโยชน์แก่สงั คมโลก ดวยเหตุนี้ “เครือขายพุทธิกา” จึงเกิดขึน้ เพือ่ เปนจุดเริม่ ตนของการมีองคกรประสาน งานในภาคประชาชน สําหรับการเคลือ่ นไหวผลักดันใหมกี ารฟน ฟูพทุ ธศาสนาอยางจริงจัง และตอเนือ่ ง เครือขายพุทธิกา ประกอบดวยองคกรสมาชิก ๙ องคกร ไดแก มูลนิธโิ กมลคีมทอง, มู ล นิ ธิ เ ด็ ก , มู ล นิ ธิ พุ ท ธธรรม, มู ล นิ ธิ สุ ข ภาพไทย, มู ล นิ ธิ ส านแสงอรุ ณ , มู ล นิ ธิ สายใยแผนดิน, เสมสิกขาลัย, มูลนิธเิ มตตาธรรมรักษ และเสขิยธรรม แนวทางการดําเนินงาน ทีส่ าํ คัญคือการสงเสริมใหเกิดความเขาใจทีถ่ กู ตองเกีย่ วกับ หลักธรรมของพุทธศาสนาเพื่อนํามาประยุกตใชใหเกิดประโยชนทั้งในระดับบุคคล และ สังคม หลักธรรมสําคัญเรือ่ งหนึง่ คือ “บุญ” บอยครัง้ การทําบุญในปจจุบนั ไมกอ ใหเกิด ประโยชนเทาทีค่ วร ทัง้ ๆ ทีห่ ลักธรรมขอนีน้ าํ มาใชในการสรางสรรคชวี ติ และสังคมทีด่ งี าม ดวยการเผยแพรสอื่ และผลักดันโครงการตาง ๆ ลาสุดคือโครงการสุขแทดว ยปญญา และ อีกแนวคิดหนึง่ ทีส่ าํ คัญคือการทําความเขาใจเกีย่ วกับชีวติ และความตาย เครือขายฯ ไดจดั ทําโครงการเผชิญความตายอยางสงบขึน้ โดยมีกระบวนการเรียนรูท มี่ มี ติ ทิ างจิตวิญญาณ หรือดานในของชีวติ สามารถเผชิญความตายไดทงั้ กับตนเอง และการชวยเหลือผูอ นื่ สถานทีต่ ดิ ตอ เครือขายพุทธิกา ๙๐ ซ.อยูอ อมสิน ถ.จรัญฯ ๔๐ แขวงบางยีข่ นั เขตบางพลัด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร. ๐–๒๘๘๓-๐๕๙๒, ๐-๒๘๘๖-๙๘๘๑ โทรสาร ๐–๒๘๘๓-๐๕๙๒ เว็บไซต: www.budnet.org อีเมล: b_netmail@yahoo.com

°“√øÑπú øŸæ∑ÿ ∏»“ π“ ª√–™“™πµåÕß¡’ «ã π√ã«¡ artwork34.p65

39

1/1/45, 0:20


จดหมายขาวพุทธิกา ๙๐ ซ.อยูอ อมสิน ถ.จรัญสนิทวงศ ๔๐ แขวงบางยีข่ นั เขตบางพลัด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐

๏ จดหมายขาวฉบับ พุทธิกา ๏ จัดทําโดย เครือขายพุทธิกา ๏ บรรณาธิการผูพ  มิ พโฆษณา สุพจน อัศวพันธธนกุล ๏ สาราณียกร พระไพศาล วิสาโล ๏ กองสาราณียกร นงลักษณ  ตรงศีลสัตย, วรพงษ เวชมาลีนนท, มณี ศรีเพียงจันทร, พรทิพย ฝนหวานไฟ, ณพร นัยสันทัด ๏ อัตราคาสมาชิก ปละ ๑๐๐ บาท จํานวน ๔ ฉบับ วิธสี งั่ จายหรือโอนเงินดูในใบสมัครภายในเลม ๏ สํานักงาน ๙๐ ซ.อยูอ อมสิน ถ.จรัญสนิทวงศ ๔๐ แขวงบางยีข่ นั เขตบางพลัด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท ๐-๒๘๘๓-๐๕๙๒, ๐-๒๘๘๖-๙๘๘๑, ๐-๘๖๓๐๐-๕๔๕๘ โทรสาร๐–๒๘๘๓-๐๕๙๒ www.budnet.org

กรุณาสง

สิ่งตีพิมพ

๏บุคคลหรือองคกรใดสนใจจัดพิมพเผยแพรหนังสือ “ฉลาดทําบุญ” เพือ่ แจกจายแกวดั หองสมุด โรงเรียน เด็กและเยาวชน หรือในงานสาธารณกุศลอืน่ ๆ ผูจ ดั พิมพยนิ ดีดาํ เนินการจัดพิมพใหใน ราคาทุน หรือกรณีสงั่ ซือ้ จํานวนมากตัง้ แต ๑๐๐ เลมขึน้ ไปลด ๓๐% ๒๐๐ เลมขึน้ ไปลด ๓๕% โปรดติดตอเครือขายพุทธิกา ๏จะเผชิญความตายอยางไรใหใจสงบคนหาและเรียนรูร ว มกันในโครงการ “เผชิญความตายอยางสงบ”

1/1/45, 0:20

40

artwork34.p65


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.