IC_ENewsletter_May2013

Page 1


สมาคมสโมสรนักลงทุนปรับกลยุทธ์งานบริการ นานวัตกรรมด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยมา ตอบสนองผู้รับบริการให้ได้รับความสะดวกและรวดเร็ว ขณะที่ศูนย์บริการวีซ่าและใบอนุญาตทางาน หรือ OSOS ที่เปิดบริการใหม่ ระบบงานช่างฝีมือ e Expert System สาหรับยื่นขออนุญาตนาเข้าคน ต่างด้าวโดยไม่จากัดเรื่องเวลาและสถานที่ และไม่ต้องยื่นเป็นเอกสารอีกต่อไป ความมุ่งมั่นพัฒนางานบริการและการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่อง ทั้งการเชื่อมโยงระบบ ให้บริการผ่านออนไลน์ การปรับโฉมเว็บไซต์สมาคมเพื่องานบริการได้รับสะดวกยิ่งขึ้น ตลอดจนด้านการ ฝึกอบรมและสัมมนาได้มีการเพิ่มหลักสูตรเกี่ยวกับระบบงานบริการใหม่ๆ ของสมาคมและบีโอไอ และ หลักสูตรบรรยายภาษาทางเลือกสาหรับนักลงทุนต่างชาติให้มากขึ้น การนาเสนอข่าวสารของ ICN ได้ปรับรูปแบบ e-book ที่ผ่านสายตาผู้อ่านไปแล้ว 2 ฉบับ เป็น อีกหนึ่งการพัฒนาที่ฉีกกฎเกณฑ์เดิมของการส่งข่าวสาร สร้างความแปลกใหม่และสะดวกต่อการรับชม มากขึ้น รวมถึงการประชาสัมพันธ์ข่าวสารสู่สมาชิกและผู้ใช้บริการผ่านอีเมล์ ที่ตอบสนองความต้องการ ผู้รับได้เป็นอย่างดี ด้วยความรวดเร็ว ทันเหตุการณ์และครบถ้วนในทุกข้อมูล อย่างไรก็ตาม ทุกงานบริการของสมาคมจะอานวยความสะดวกต่อผู้ใช้บริการและสร้างความพึง พอใจได้มากน้อยเพียงใดนั้น ทุกท่านสามารถแสดงความคิดเห็น ติชมหรือร้องเรียนงานให้บริการ ได้ที่ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 103 หรือ E-mail: customer_care@ic.or.th หรือแสดงความคิดเห็น ด้านการเผยแพร่ข่าวสาร ได้ที่ icn@ic.or.th สมาคมยินดีรับทุกข้อเสนอแนะเพื่อนามาปรับปรุงพัฒนา งานบริการต่อไป

บรรณาธิการ icn@ic.or.th


“OSOS บริการเบ็ดเสร็จเพื่อนักลงทุน” (One Start One Stop Investment Center) หรือ ศูนย์ประสานการบริการด้านการ ลงทุน คือ ศูนย์รวมบริการจากหลายกระทรวงและหน่วยงานภาครัฐ ที่สามารถเชื่อมโยงการให้บริการและอานวยความสะดวกแก่ นักลงทุนแบบครบวงจร ณ สถานที่แห่งเดียว ศูนย์บริการวีซ่าและใบอนุญาตทางาน สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) เป็นหนึ่งในศูนย์เบ็ดเสร็จที่ ให้บริการนักลงทุนในการขออนุญาตนาเข้าคนต่างด้าว ช่างฝีมือหรือผู้ชานาญการจากต่างประเทศเข้ามาในราชอาณาจักรตาม มาตรา 25 และมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ.2520 ซึ่งอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ประกอบการและนัก ลงทุนที่เข้ามาใช้บริการต่อเนื่องเป็นจานวนมากในทุกวันทาการ บีโอไอจึงได้พัฒนาปรับปรุงการบริการรูปแบบใหม่ “การขออนุญาตนาช่างฝีมือผู้ชานาญการชาวต่างชาติเข้ามาทางานใน ราชอาณาจักรตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุน” ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (สาหรับระบบงานช่างฝีมือ e-Expert System) ซึ่ง สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนางานบริการของส่วนราชการและลดเอกสารที่ไม่จาเป็น เพื่ออานวยความสะดวกแก่บริษัทที่ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุนให้สามารถยื่นคาร้องได้โดยไม่มีข้อจากัดเรื่องเวลาและสถานที่ ทั้งการตรวจสอบสถานะของคาร้อง ( Tracking) การระบุสถานที่ที่จะรับหนังสืออนุมัติจากสานักงานฯ การขอรับบริการอยู่ต่อกับสานักงานตรวจคนเข้าเมือง/ด่านตรวจคนเข้าเมือง และ การขอ/ต่ออายุใบอนุญาตทางานจากกรมการจัดหางาน/สานักงานจัดหางานจังหวัด โดยในช่วงเดือนเมษายน-ธันวาคม 2555 ได้เริ่ม รับและพิจารณาคาร้องขออนุญาตนาเข้าคนต่างด้าวเข้ามาในราชอาณาจักร รวมถึงคาร้องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องแล้ว และมีการจัดฝึกอบรม การใช้ระบบงานนี้ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดให้กับบริษัทที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนรวม 3,500 บริษัท อย่างไรก็ตาม ยังคงมีหลายบริษัทที่ไม่ได้รับข่าวสารหรือไม่เข้าใจระบบงานช่างฝีมือ e-Expert System อย่างถูกต้อง ส่งผลให้ไม่ สามารถดาเนินงานผ่านระบบนี้ได้ ดังนั้น เพื่อให้มีความเข้าใจในการใช้ระบบงานไปในเป็นทิศทางเดียวกัน ICN จึงขอนาเสนอแนว ปฏิบัติสาหรับผู้รับบริการในการใช้ระบบงานช่างฝีมือ e-Expert System ดังนี้

แนวปฏิบัติสาหรับผู้รับบริการในการใช้ระบบงานช่างฝีมือ e-Expert System ขั้นตอนปฏิบัติสาหรับผู้ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (ที่ได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุนแล้ว)

1. บริษัทรับรหัสผู้ใช้งาน User ID และรหัสผ่าน Password เพื่อเข้าใช้ระบบงาน 2. จัดทาข้อตกลงการขอใช้สิทธิประโยชน์การนาช่างฝีมือผู้ชานาญการต่างชาติเข้ามาในราชอาณาจักร ผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (ระบบงานช่างฝีมือ e-Expert System) 3. สามารถยื่นคาร้องขออนุญาตนาเข้าช่างฝีมือผู้ชานาญการต่างประเทศเข้ามาในราชอาณาจักรผ่านระบบงานช่างฝีมือ e-Expert System ได้ตั้งแต่วันที่ 12 เมษายน 2555 ตามประกาศสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ ป.2/2555 เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการขออนุญาตนาช่างฝีมือผู้ชานาญการต่างชาติเข้ามาในราชอาณาจักร ภายใต้ พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ.2520 ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบงานช่างฝีมือ e-Expert System) 4. ผู้รับบริการรายเดิมที่ใช้สิทธิประโยชน์ตามมาตรา 25 ได้รับอนุมัติตาแหน่งและได้รับอนุญาตให้นาเข้าช่างฝีมือ ผู้ชานาญการต่างชาติเข้ามาแล้ว จะต้องลงข้อมูลตาแหน่งที่ได้รับอนุมัติ พร้อมข้อมูลของช่างผู้ชานาญการต่างชาติ และ ครอบครัว (ถ้ามี) ให้ครบถ้วนก่อนเริ่มใช้ระบบงาน


การขอรับ User ID และ Password

1. ติดต่อขอรับ User ID และ Password ได้ที่ กลุ่มผู้ชานาญการต่างประเทศ (กชต.) ศูนย์บริการวีซ่าและใบอนุญาต ทางาน อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 กรุงเทพฯ หรือที่ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนในภูมิภาคทุกแห่งของสานักงาน (จังหวัดชลบุรี เชียงใหม่ พิษณุโลก นครราชสีมา ขอนแก่น สงขลา และสุราษฎร์ธานี) 2. ข้อตกลงการขออนุญาตนาคนต่างด้าวเข้ามาในราชอาณาจักรตามมาตรา 25 และมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการ ลงทุน พ.ศ.2520 ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับระบบงานช่างฝีมือ e-Expert System กระทาโดยกรรมการผู้มีอานาจ ลงนามผูกพันบริษัทตามหนังสือรับรองของกระทรวงพาณิชย์ 3. หนังสือมอบอานาจขอรับ User Name และ Password จากผู้มีอานาจลงนาม ระบุชื่อบุคคลที่จะมารับ (ผู้มารับต้องเป็น บุคคลเดียวกันกับที่ระบุไว้ในหนังสือมอบอานาจ และต้องเป็นเจ้าหน้าที่ของบริษัทเท่านั้น ประทับตราบริษัท (ติดอากร แสตมป์ 10 บาท) 4. สาเนาบัตรประชาชน หรือสาเรา Passport ของผู้มีอานาจ 5. สาเนาบัตรประชาชนของผู้รับมอบอานาจ พร้อมบัตรประจาตัวพนักงาน หรือหนังสือรับรองจากฝ่ายบุคคลของบริษัท 6. สาเนาหนังสือรับรองของบริษัท (เฉพาะหน้าแรก) การกรอกข้อมูลผู้ติดต่อเข้าระบบ e-Expert System

1. จานวนผู้ติดต่อที่สามารถใช้ User ID และ Password ได้พร้อมกันในระบบงาน สูงสุดไม่เกิน 5 คนต่อบริษัท โดยทุกคนจะ ได้รับการแจ้งเตือนจากระบบงานทั้งในกรณีการรับคาร้องเข้าระบบแล้ว การแจ้งให้แก้ไขเพิ่มเติมข้อมูล การแจ้งผลการ พิจารณาว่าอนุมัติหรือไม่อนุมัติ และการแจ้งคืนคาร้องพร้อมเหตุผลในการคืนเรื่อง 2. กรณีใช้บุคคลเดียวดูแลมากกว่า 1 บริษัท จะต้องใช้ e-mail address ต่างกันในแต่ละบริษัท 3. ข้อมูลผู้ติดต่อ ได้แก่ คานาหน้า, ชื่อ-นามสกุล, ตาแหน่ง, โทรศัพท์, โทรสาร, โทรศัพท์มือถือ และอีเมล์ เป็นต้น การ Upload เอกสาร File ข้อมูล

1. เอกสารรูปถ่ายต้องมีขนาด 160 × 240 pixel และไม่เกิน 2 MB รองรับไฟล์ประเภท JPEG, GIF 2. เอกสารแนบประกอบการพิจารณา จัดทาเป็น PDF File ขนาดไม่เกิน 5 MB ได้แก่ ผังสายงานของบริษัท แผน/ผล การถ่ายทอดเทคโนโลยี สาเนาหนังสือรับรองบริษัท บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น งบดุล งบกาไร-ขาดทุน สาเนาหนังสือเดินทางผู้ ขออนุญาต สาเนาหลักฐานการศึกษา สาเนาหลักฐานใบผ่านงาน และสาเนาเอกสารที่แสดงถึงความเกี่ยวพันของ ครอบครัว เป็นต้น 3. สาเนาหนังสือเดินทาง ใช้เฉพาะ  หน้าที่มีรูปถ่าย  หน้าวีซ่า Non-Immigrant Visa ครั้งแรก  การเดินทางครั้งแรกของ Non-Immigrant Visa  หน้าการเดินทางเข้าประเทศครั้งสุดท้าย


โปรแกรมจาเป็นที่ผู้ประกอบการต้องเตรียมสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์

1. 2. 3. 4.

Acrobat Reader / Adobe Acrobat Adobe Flash Player IE version 7 ขึ้นไป / Fire Fox version 3 ขึ้นไป / Google Chrome version 6 ขึ้นไป โปรแกรมสาหรับดูรูปภาพ เช่น ACDSEE

กรณีระบบคอมพิวเตอร์ขัดข้อง

1. กรณีระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการหรือหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายขัดข้องจนไม่สามารถให้บริการได้ และผู้ให้บริการ ได้ประกาศใช้ระบบเอกสารทดแทนระบบคอมพิวเตอร์ชั่วคราว ผู้รับบริการสามารถดาเนินการขออนุญาตนาเข้าคนต่าง ด้าวด้วยระบบเอกสารได้ โดยยื่นเป็นหนังสือต่อผู้ให้บริการโดยแนบเอกสารตามกรณีต่างๆ เป็นไปตามที่ระบุไว้ในใบตรวจ เอกสารของช่างฝีมือ ทั้งนี้ ผู้ให้บริการจะพิจารณาและมีหนังสือแจ้งการอนุมัติไปยังบริษัท สานักงานตรวจคนเข้าเมือง กรมการจัดหางานหรือผู้ว่าราชการจังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป 2. กรณีที่ไม่อาจวินิจฉัยได้ตามประกาศ ป.2/2555 ให้เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเป็นผู้วินิจฉัย

ระบบงานช่างฝีมือ e-Expert System นับเป็นนวัตกรรมแห่งงานบริการที่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของหน่วยงานภาครัฐ ที่มีการพัฒนาและงานบริการเพื่อความสะดวกของประชาชนเป็นสาคัญ ส่งผลถึงการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม ผู้ประกอบการที่ต้องการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ กลุ่มผู้ชานาญการต่างประเทศ ศูนย์บริการวีซ่า และใบอนุญาตทางาน อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2209 1163, 1164, 1166 อีเมล์ visawork@boi.go.th หรือที่ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนในทุกภูมิภาค และสามารถดาวน์โหลดเอกสารรายละเอียดได้ที่ www.ic.or.th

ข้อมูลจาก : กลุ่มผู้ชานาญการต่างประเทศ ศูนย์บริการวีซ่าและใบอนุญาตทางาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน


ต่อ กระบวนการทางานของระบบ RMTS-2011 (RMTS-2011 Procedure) 1. การขอบัตรส่งเสริม เมื่อผู้ประกอบการต้องการได้รับสิทธิประโยชน์ในการยกเว้นอากรขาเข้า ผู้ประกอบการต้องดาเนินการยื่นเรื่องขอรับการ ส่งเสริมกับสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ก่อน 2. การสมัครใช้บริการระบบ RMTS-2011 ระบบ RMTS-2011 เป็นระบบฯ ที่จะอานวยความสะดวกให้กับผู้ประกอบการในการขออนุมัตินาเข้าวัตถุดิบ เพื่อยกเว้น อากร โดยก่อนเริ่มใช้ระบบฯ ผู้ประกอบการจะต้องทาการสมัครเป็นสมาชิกเพื่อใช้บริการก่อน โดยนาหลักฐาน เช่น บัตร ส่งเสริมการลงทุน เป็นต้นมาใช้ในการสมัคร 3. การค้​้าประกัน กรณีที่ผู้ประกอบการยังไม่ได้รับการอนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบ หรือมี

Stock การนาเข้าที่ไม่เพียงพอ ผู้ประกอบการ

สามารถดาเนินการคาประกันไปก่อน เมื่อบัญชีฯ ได้รับการอนุมัติแล้ว หรือมี

Stock เพิ่มขึน ผู้ประกอบการสามารถนา

Invoice ที่ได้ผ่านพิธีการเสียภาษีเนื่องจากการคาประกัน มาดาเนินการสั่งปล่อยถอนคาประกัน เพื่อขอคืนภาษีอากรใน ภายหลังได้ โดยในขันตอนนีผู้ประกอบการจะมาดาเนินการยื่นเรื่องที่สมาคม 4. การขออนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบ, ผลิตภัณฑ์ และสูตรการผลิต เป็นขันตอนที่ผู้ประกอบการต้องยื่นขอบัญชีรายการวัตถุดิบ, ผลิตภัณฑ์ และสูตรการผลิต กับสานักงานฯ ( BOI) 5. การปรับปรุงฐานข้อมูลบัญชีรายการวัตถุดิบ, ผลิตภัณฑ์ และสูตรการผลิต เมื่อผู้ประกอบการได้รับการอนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบ, ผลิตภัณฑ์ และสูตรการผลิต ตามขันตอนในข้อ 4 แล้ว ผู้ประกอบการต้องบันทึกข้อมูลในรูปแบบของ Excel File เพื่อนามายื่นต่อสมาคมเพื่อสร้างฐานข้อมูล หรือปรับปรุงรายการ รายการวัตถุดิบ, ผลิตภัณฑ์ และสูตรการผลิต สาหรับการสั่งปล่อยและตัดบัญชีต่อไป 6. การสั่งปล่อย เป็นขันตอนที่ผู้ประกอบการต้องการนาเข้าสินค้าเพื่อยกเว้นภาษี เมื่อได้รับการอนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบ , ผลิตภัณฑ์ และ สูตรการผลิต และได้ทาการสร้างฐานข้อมูลไว้กับสมาคมฯ ในขันตอนที่ 5 แล้ว ผู้ประกอบการสามารถดาเนินการสั่งปล่อย เพื่อยกเว้นอากรขาเข้า โดยบันทึกข้อมูลอยู่ในรูปแบบของ Excel File และนามายื่นต่อสมาคมโดยตรง หรือ ระบบ Import Online ระบบ RMTS-2011 จะทาการประมวลผลและออกหนังสืออนุมัติการสั่งปล่อยโดยอัตโนมัติ 7. การตัดบัญชี ภายหลังเมื่อผู้ประกอบการได้ทาการส่งออกผลิตภัณฑ์ แล้ว ผู้ประกอบการจะต้องดาเนินการตัดบัญชี เพื่อลดยอด Balance เพื่อสามารถนาเข้าสินค้าหรือวัตถุดิบได้เพิ่มเติมอีก โดยผู้ประกอบบันทึกข้อมูลในรูปแบบ Excel File นามายื่นต่อสมาคม โดยตรงหรือผ่านระบบ Export Online ระบบจะทาการตัดบัญชีให้โดยอัตโนมัติ


8. การยกเลิกการสั่งปล่อย กรณีที่ผู้ประกอบการสั่งปล่อยผิดพลาด ผู้ประกอบการสามารถยื่นเรื่องต่อสมาคม เพื่อยกเลิกการสั่งปล่อยได้ 9. การยกเลิกการตัดบัญชี กรณีที่ผู้ประกอบการตัดบัญชีพลาด ผู้ประกอบการสามารถยื่นเรื่องต่อสมาคมฯ เพื่อยกเลิกการสั่งปล่อยได้ 10. การขอปรับยอดวัตถุดิบที่ BOI กรณีที่ผู้ประกอบการต้องการปรับยอดวัตถุดิบ ผู้ประกอบการต้องยื่นเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องต่างๆ ให้กับ BOI พิจารณา เมื่อพิจารณาแล้ว BOI จะออกหนังสืออนุมัติสาหรับใช้ในการปรับยอดต่อไป 11. การขอปรับยอดวัตถุดิบที่ สมาคม หลังจากที่ได้รับหนังสืออนุมัติให้ปรับยอด ผู้ประกอบการจะต้องยื่นเรื่องขอปรับยอดกับสมาคมฯ โดยบันทึกข้อมูลในรูปแบบ ของ Excel File ซึ่งระบบจะทาการปรับยอดให้โดยอัตโนมัติ 12. การขอขยายเวลาค้​้าประกัน การค้าประกันมีกาหนดระยะเวลา 1 ปี เมื่อระยะเวลาค้าประกันสิ้นสุดลง ผู้ประกอบการจะไม่สามารถดาเนินการสั่งปล่อยถอน ค้าประกันได้ หากต้องการฯ จะต้องยื่นเรื่องต่อ BOI เพื่อพิจารณาขยายระยะเวลาค้าประกัน โดย BOI จะออกหนังสือ ขยายระยะเวลาให้กับผู้ประกอบการ เพื่อนามายื่นต่อสมาคมฯ เพื่อขยายระยะเวลาในระบบ RMTS-2011 13. การช้าระค่าบริการ การสั่งปล่อยและตัดบัญชี ผู้ประกอบการจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ ในแต่ละเดือนสมาคมจะทาการแจ้งยอด เพื่อให้ผู้ประกอบการดาเนินกาชาระเงินตามที่ใช้บริการไว้ 14. การขอข้อมูลจาก BOI ข้อมูลการนาเข้า และการส่งออก เป็นข้อมูลสาคัญในการพิจารณา ซึ่งระบบ RMTS-2011 ได้จัดเก็บไว้ BOI สามารถนาข้อมูล จากสมาคมได้ 15. การขอข้อมูลจากผู้ประกอบการ เป็นขั้นตอนที่ผู้ประกอบการขอข้อมูลการนาเข้า ส่งออก ปรับยอด เพื่อนาไปใช้วางแผน หรือ ตรวจสอบกับข้อมูล ผู้ประกอบการ โดยผู้ประกอบการต้องยื่นเรื่องขอข้อมูลเป็นรายกรณีไป

กระบวนการท้างานในระบบ RMTS-2011 (RMTS-2011 Procedure)





ติดตามข้อมูลส้าคัญเกี่ยวกับงานระบบ RMTS-2011 ส้าหรับ ผู้ใช้บริการ ในด้านอื่นๆ เช่น ขั้นตอนการเตรียมข้อมูลส้าหรับระบบ RMTS-2011 เป็นต้น ใน ICN ฉบับหน้าและทางเว็บไซต์สมาคม www.ic.or.th


บริษัทเพิ่งได้รับบัตรส่งเสริมจากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) และยังไม่มีความรู้ความ เข้าใจด้านการใช้สิทธิประโยชน์จากการได้รับส่งเสริมการลงทุน หากต้องการได้รับความรู้เพื่อใช้สิทธิประโยชน์ให้ ถูกต้องตามที่บีโอไอกาหนด บริษัทควรเริ่มต้นด้วยการสมัครเข้าอบรมหลักสูตรใดเป็นหลักสูตรแรก หลักสูตรพื้นฐานที่เหมาะสมสาหรับบริษัทที่ได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุนรายใหม่ มี 2 หลักสูตร คือ 1. หลักสูตร “วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน” ระยะเวลาอบรม 3 วัน เนื้อหาครอบคลุมรายละเอียดทุกด้านที่ บริษัทได้รับส่งเสริมการลงทุนรายใหม่ควรทราบ ได้แก่ 1.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน 1.2 สิทธิประโยชน์ที่ได้รับตามบัตรส่งเสริมการลงทุน 1.3 การขอรับบัตรส่งเสริมการลงทุน 1.4 การขออนุญาตนาเข้าผู้เชี่ยวชาญ 1.5 การขอใบอนุญาตทางานและการมีถิ่นที่อยู่ของคนต่างชาติ 1.6 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์สาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน 1.7 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็นสาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน 1.8 การนาเข้าและตัดบัญชีวัตถุดิบและวัสดุจาเป็นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (RMTS) 1.9 วิธีการขอเปิดดาเนินการสาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน 1.10 การจัดทาบัญชีสาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน 2. หลักสูตร “ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน” ระยะเวลาอบรม 1 วัน เนื้อหาครอบคลุมข้อมูลหลักทุกด้านที่บริษัท ได้รับส่งเสริมการลงทุนรายใหม่ควรทราบเช่นกัน แต่รายละเอียดเชิงลึกไม่มากเท่ากับหลักสูตร “วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริม การลงทุน” ที่ใช้ระยะเวลาในการอบรม 3 วัน ซึ่งเนื้อหาประกอบด้วย 2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน 2.2 สิทธิประโยชน์ที่ได้รับตามบัตรส่งเสริมการลงทุน 2.3 ขั้นตอนและวิธีการใช้สิทธิประโยชน์ 2.4 การนาเข้าช่างฝีมือและอนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักร 2.5 การขอเปิดดาเนินการ 2.6 กรรมสิทธิ์ทางด้านที่ดิน 2.7 การนาเข้าเครื่องจักรและการนาเข้าวัตถุดิบ 2.8 ภาษีเงินได้นิติบุคคล

บริษัทต้องการรายละเอียดและสารองที่นั่งการเข้าอบรม/สัมมนา สามารถดูรายละเอียดได้จากที่ใด บริษัทสามารถเข้าดูรายละเอียดหลักสูตรอบรม/สัมมนาแต่ละหลักสูตร ได้ที่หน้าปฏิทินสัมมนาของบริการฝึกอบรม/ สัมมนา ทางเว็บไซต์ www.ic.or.th ซึ่งในหน้าต่างดังกล่าวบริษัทสามารถดาวน์โหลดข้อมูลรายละเอียดหลักสูตร อัตราค่า สัมมนา แบบตอบรับการสมัครสัมมนา และสถานที่จัดสัมมนาได้ หากบริษัทต้องการสารองที่นั่งเข้าร่วมอบรม/สัมมนา สามารถกรอกข้อมูลในแบบตอบรับการสมัครสัมมนา และส่งใบ สมัครได้ทางโทรสารหมายเลข 0 2936 1442 หรือ email: is-investor@ic.or.th


หลักสูตรใดบ้างที่สมาคมจัดและผู้สมัครเข้าอบรมสามารถนาชั่วโมงการเข้าร่วมอบรมยื่นนับชั่วโมงพัฒนา ความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพของผู้ทาบัญชี (CPD) กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้ ทุกหลักสูตรที่มีข้อความ CPD กากับ ปัจจุบัน สมาคมมีหลักสูตรที่ผู้สมัครเข้าอบรมสามารถนาชั่วโมงการเข้าร่วม อบรมยื่นนับชั่วโมงพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพของผู้ทาบัญชี (CPD) กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้ 13 หลักสูตร ดังนี้ 1. “ข้อพึงระวังในการจัดทาบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบและแนวทางปฏิบัติสาหรับผู้จัดทาบัญชีของ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน” นับชั่วโมงด้านอื่น ๆ ได้ 13 ชั่วโมง 30 นาที 2. “การใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน” นับชั่วโมงด้าน อื่นๆ ได้ 3 ชั่วโมง 30 นาที 3. “วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน” นับชั่วโมงด้านอื่น ๆ ได้ 20 ชั่วโมง 4. “เกณฑ์การคานวณกาไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดทางบการเงินสาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุน” นับชั่วโมงด้านบัญชีได้ 3 ชั่วโมง 45 นาที และนับชั่วโมงด้านอื่นๆ ได้ 2 ชั่วโมง 15 นาที 5. “เทคนิคการจัดทาบัญชีต้นทุนสาหรับธุรกิจอุตสาหกรรม” นับชั่วโมงด้านบัญชีได้ 12 ชั่วโมง 6. “การจัดทางบกระแสเงินสดตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7” นับชั่วโมงด้านบัญชีได้ 6 ชั่วโมง และนับชั่วโมงด้าน อื่นๆ ได้ 30 นาที 7. “การยื่นแบบและการคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) สาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการ ลงทุน” นับชั่วโมงด้านอื่นๆ ได้ 3 ชั่วโมง 30 นาที 8. “ความเสี่ยงในการทา L/C และการป้องกัน (L/C Fraud & Protection)” นับชั่วโมงด้านอื่นๆได้ 6 ชั่วโมง 9. “สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอดอากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone)” นับชั่วโมงด้านอื่นๆ ได้ 6 ชั่วโมง 10. “เตือนภัย VAT หากจะค้าขายกับ Free Zone” นับชั่วโมงด้านอื่นๆ ได้ 3 ชั่วโมง 11. “การตรวจสอบเอกสารนาเข้า-ส่งออก ระบบ Paperless ของกรมสรรพากร” นับชั่วโมงด้านอื่นๆ ได้ 3 ชั่วโมง 30 นาที 12. “การยื่นแบบและการคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) สาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน” นับชั่วโมงด้านอื่นๆ ได้ 3 ชั่วโมง 30 นาที 13. การบัญชีบริหารด้านต้นทุนเพื่อการวางแผนและการตัดสินใจ นับชั่วโมงด้านบัญชีได้ 6 ชั่วโมง

สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ แผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-208 E-mail: is-investor@ic.or.th หรือดูรายละเอียดได้ที่ www.ic.or.th


ประชุมทีมเจ้าหน้าทีร่ ะดับหัวหน้าฝ่าย แผนก และหัวหน้าทีม เพื่อเตรียมความพร้อมการให้บริการงานระบบ RMTS-2011 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดการ ประชุมสาหรับหัวหน้าฝ่าย หัวหน้าแผนก และหัวหน้าทีมปฏิบัติงาน เพื่อเตรียม ความพร้อมสาหรับการให้บริการระบบ RMTS-2011 ที่จะเปิดให้บริการในอนาคต อันใกล้นี้ ทั้งนี้ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับทราบและทาความเข้าใจเกี่ยว กบข้อมูลภาพรวมระบบ ขั้นตอนการดาเนินงานที่มีการเปลี่ยนแปลง เพื่อการ เผยแพร่สู่ผู้ใช้บริการได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และ รองรับสาหรับการตอบข้อสงสัย การแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น หลังจากเริ่มใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับการเปิดให้บริการระบบ RMTS-2011 สมาคมจะประกาศให้ทราบอย่างเป็น ทางการ พร้อมการจัดอบรม Workshop เพื่อเข้าถึงการใช้งานได้จริง อย่างเป็นรูปธรรมใน โอกาสต่อไป ผู้ใช้บริการสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คุณนัยนา และ คุณเบญจมาศ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 160 และ 120 ตามลาดับ หรือค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ www.ic.or.th

สมาคมสโมสรนักลงทุน จัดกิจกรรมเยี่ยมชม “การวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาและการแพทย์” เมื่อวันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 คุณไพ โรจน์ โสมภูติ กรรมการสมาคม นาคณะ สมาชิกเยี่ยมชม “การวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาและการแพทย์ ” ณ อาคารศูนย์ ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี เริ่มกิจกรรมด้วยการ รับชมวีดีทัศน์แนะนาอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทยและรับฟังการบรรยาย “บริการและ การสนับสนุนการทาวิจัยและพัฒนา ” จากสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) โดย นายสงัด วงศ์ทวีทอง ผู้อานวยการฝ่ายขายและบริการคีย์แอคเคาท์ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จากนั้นนาคณะเดินเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการศูนย์นานา เทคโนโลยีแห่งชาติ(NANOTEC) ,ห้องปฏิบัติการระบบนาส่ง – พัฒนาระบบนาส่งยา และ อาหารเสริม,ห้องปฏิบัติการนาโนเวชสาอาง, “ศูนย์พัฒนายาไทยและสมุนไพร ” และ “บริษัท ซีดีไอพี (ประเทศไทย) จากัด ” (บริษัทวิจัย/รับจ้างวิจัย ผลิตภัณฑ์ยาแผนปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ยา สมุนไพร และเครื่องสาอาง) ซึ่งกิจกรรมนี้ได้เปิดโอกาสให้ผู้ เยี่ยมชมได้ซักถามข้อมูลต่างๆ ด้านการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาและการแพทย์ มากขึ้น สาหรับกิจกรรมพิเศษสาหรับสมาชิกสมาคมและผู้ใช้บริการที่น่าสนใจในครั้งต่อไป สามารถสอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ แผนกลูกค้าสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 201-204 หรือ www.ic.or.th


สมาคมสโมสรนักลงทุนเยี่ยมชมโรงงาน บริษัท ไพโอเนียร์ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จากัด เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2556 คณะผู้บริหาร นาโดย นายภาวิต กองแก้ว ผู้จัดการสมาคมสโมสรนักลงทุนและพนักงานสมาคมเยี่ยมชมโรงงาน บริษัท ไพ โอเนียร์ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จากัด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผู้ผลิต ประกอบผลิตภัณฑ์ สเตอริโออิเล็กทรอนิกส์ และชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ประเภทเครื่องเสียง ( AUDIO SET) โดยมีผู้บริหาร ของบริษัทให้การต้อนรับ อย่างเป็นกันเอง เริ่มด้วยการรับชมประวัติและขั้นตอนการดาเนินงาน ภาพรวมของบริษัท พร้อมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะและแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นระหว่าง บริษัทไพโอเนียร์ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จากัด และสมาคมเกี่ยวกับการดาเนินงานและการให้บริการของ สมาคม จากนั้นตัวแทนบริษัทได้นาคณะเยี่ยมชมระบบการบริหารจัดการภายในโรงงาน และกระบวนการผลิต

หนึ่งในบริการของสมาคมสโมสรนัก ลงทุน คือ การให้บริการด้านข้อมูล ขั้นตอนการใช้บริการต่างๆ ของสมาคม อาทิ การสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบ เครื่องจักร บริการฝึกอบรมและสัมมนา เพื่ออานวยความสะดวกด้านความรู้ ความเข้าใจและการดาเนินงานขั้นตอนที่ ถูกต้อง เพื่อประโยชน์ของนักลงทุน โดยเฉพาะชาวต่างประเทศ ที่ต้องการ เข้ามาลงทุน สร้างโรงงานในประเทศไทย

นักลงทุนชาวญี่ปุ่น ขอรับคาปรึกษาและ คาแนะนาด้านการลงทุน จาก IC

สมาคมติดตามความคืบหน้า กลุ่มบริษัทนาร่องระบบ RMTS-2011

เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2556 สมาคมได้ติดตามความคืบหน้าการใช้งาน ระบบ RMTS-2011 ของกลุ่มบริษัทนาร่อง โดยมีคุณไพโรจน์ โสมภูติ กรรมการ สมาคมให้เกียรติกล่าวเปิดงาน ซึ่งมีบริษัทนาร่องจานวน 9 บริษัทเข้าร่วมการ ประชุม ซึ่งปัจจุบันมีบริษัทที่เริ่มสั่งปล่อยวัตถุดิบแล้ว 1 ราย ส่วนอีก 8 บริษัท ได้ นาข้อมูลรายการวัตถุดิบเข้าระบบเรียบร้อยแล้ว เหลือเพียงงานสั่งปล่อยวัตถุดิบ เท่านั้น สาหรับความคืบหน้าของการทดสอบระบบงาน RMTS-2011และการ เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ สมาคมจะแจ้งให้สมาชิกและผู้ใช้บริการได้รับ ทราบในครั้งต่อไป สาหรับท่านที่สนใจสามารถติดตามข่าวสารความคืบหน้าของ ระบบ RMTS-2011 ได้ที่บอร์ดประชาสัมพันธ์ หรือ วารสาร IC E-Newsletter (รายเดือน) ผ่านทาง E-mail หรือติดต่อสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับ ระบบ RMTS2011 ได้ที่ 0 2936 1429 คุณนัยนา (ต่อ 160) และ คุณเบญจมาศ (ต่อ 120)



หลักสูตร “การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศและ Incoterms’2010” หัวข้อการสัมมนา 1. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเสนอราคาซื้อ-ขาย (PURCHASE CONTRACT, PROFORMA INVOICE) 1.1 ข้อความที่สาคัญที่จะต้องกาหนดทุกครั้ง 1.2 ข้อความที่ควรระวัง 1.3 ข้อบังคับทางการค้าฉบับปรับปรุง (INCOTERMS’2010) 2. EX-WORK, FREE ALONGSIDE SHIP, FREE CARRIER, FREE ON BOARD 3. COST& FREIGHT, CARRIAGE PAID TO..,COST,INSURANCE & FREIGHT 4. CARRIAGE INSURANCE PAID TO.., DELIVERED AT TERMINAL, DELIVERED AT PLACE, DELIVER DUTY PAID 5. เอกสารทางการเงิน (FINANCIAL DOCUMENT) 6. เอกสารทางการขนส่ง (TRANSPORT DOCUMENT) 7. เอกสารทางการค้า (COMMERCIAL DOCUMENT) 8. การจัดทาเอกสารเพื่อขอเปิด Letter of Credit กับธนาคาร (วงจรเอกสารประเทศผู้ส่งออกไปประเทศผู้นาเข้าการทา Shipping Guarantee, Trust Receipt) 9. การจัดทาเอกสารภายใต้เงื่อนไข Letter of Credit (ขั้นตอนการจัดทา การตรวจ และการปฏิเสธ) 9.1 AT SIGHT 9.2 TERMS 10. การจัดทา การจัดหา การนาไปใช้เอกสารเกี่ยวกับตั๋วเรียกเก็บ (BILL FOR COLLECTION) 11. เอกสารเกี่ยวกับ OPEN ACCOUNT 12. เอกสารเกี่ยวกับ CASH IN ADVANCED เพื่อการชาระเงินล่วงหน้าหรือใช้ซื้อเงินสกุลต่างประเทศเพื่อชาระค่าสินค้า วิทยากร คุณวัชระ ปิยะพงษ์ ที่ปรึกษาองค์กรเอกชนชั้นนาด้านการนาเข้าและส่งออก วัน-เวลา-สถานที่ วันพุธที่ 51 พฤษภาคม 2556 เวลา 09.00 – 16.00 น. (ลงทะเบียน 8.30 น.) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ )ถนนวิภาวดีรังสิต( อัตราค่าสัมมนา สมาชิกสมาคม 2,500 บาท + VAT 175 บาท จ่ายสุทธิ 2,675 บาท/คน บุคคลทั่วไป 3,500 บาท + VAT 245 บาท จ่ายสุทธิ 3,745 บาท/คน (อัตรานี้รวมค่าเอกสาร อาหารว่าง อาหารกลางวัน และภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว)  ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษีได้ 022%

ติดต่อสอบถาม แผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 206 (คุณกาญจนา) โทรสาร 0-2936-1441-2 หรือ E-mail : kanjanac@ic.or.th Download แบบตอบรับและรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th


หลักสูตร “เทคนิคการเช็คสต็อกอย่างมีประสิทธิภาพ” หัวข้อการสัมมนา 1. ความจาเป็นในการตรวจนับสินค้าและปัญหาที่เกิดจากการตรวจนับสินค้าผิดพลาด 2. การเตรียมความพร้อมสาหรับการตรวจนับสินค้า 3. การจัดตั้งคณะกรรมการตรวจนับ 4. เทคนิคการเตรียมการตรวจนับ 5. เทคนิคการตรวจนับเพื่อป้องกันการรั่วไหล 5.1 ระยะเวลาที่เหมาะสมสาหรับการตรวจนับสินค้า 5.2 การเตรียมเอกสารสาหรับการตรวจนับสินค้า 5.3 วิธีการตรวจนับสินค้าควบคู่กับการจ่ายสินค้าออกจากสต็อก 5.4 การประมวลผลการตรวจนับสินค้า 5.5 การกระทบยอด 6. การสังเกตการณ์ของผู้ตรวจสอบ 7. การสรุปประมวลผลการตรวจนับ 8. การถูกเปรียบเทียบโทษปรับ 9. วิธีการจัดการกับของเหลือและเศษซาก 10. การนาเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนการตรวจนับสินค้า วิทยากร คุณคัตลียา กุ ชร ณ อยุธยา ที่ปรึกษาด้านงานคลังสินค้าของบริษัทเอกชนชั้นนาและรัฐวิสาหกิจ วัน-เวลา-สถานที่ วันอังคารที่ 21 พฤษภาคม 0116 เวลา 09.00-16.00 น.8 ลงทะเบียน) .(.น 03 โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) อัตราค่าสัมมนา สมาชิกสมาคม 2,500 บาท + VAT 175 บาท จ่ายสุทธิ 2,675 บาท/คน บุคคลทั่วไป 3,500 บาท + VAT 245 บาท จ่ายสุทธิ 3,745 บาท/คน (อัตรานี้รวมค่าเอกสาร ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง และภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว)  ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษีได้ 022% หมายเหตุ สมาคมได้รับการยกเว้นการหักภาษีเงินได้ตามข้อ 12/1 (2) ตามคาสั่งกรมสรรพากรที่ ทป.101/2544 ผู้จ่ายเงินค่าสัมมนาจึงไม่ต้องหักภาษีเงินได้

ติดต่อสอบถาม แผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 206 (คุณกาญจนา) โทรสาร 0-2936-1441-2 หรือ E-mail : kanjanac@ic.or.th Download แบบตอบรับและรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th


หลักสูตร “การส่งเสริมการใช้สิทธิประโยชน์ FTA อาเซียน – จีน” หัวข้อสัมมนา 1. ความเป็นมาของความตกลงการค้า FTA อาเซียน-จีน 2. กฎถิ่นกาเนิดสินค้า อาเซียน-จีน 3. การตรวจสอบคุณสมบัติของถิ่นกาเนิดสินค้า 4. ระเบียบ พิธีการออกหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้า 5. วิธีการยื่นขอหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าฟอร์ม E เพื่อการส่งออกไปยังอาเซียน-จีน 6. ปัญหาที่พบจากการส่งออกไปยังอาเซียน-จีน 7. ระเบียบ พิธีการปฏิบัติในการนาเข้าสินค้าอาเซียน-จีน 8. การตรวจสอบแบบฟอร์มในการนาเข้าสินค้าอาเซียน-จีน 9. ข้อพึงระวังในการขอใช้สิทธิในการนาเข้าสินค้าอาเซียน-จีน 10. ปัญหาที่พบในการนาเข้าสินค้าอาเซียน-จีน วิทยากร ผู้เชี่ยวชาญจากกรมเจรจาการค้า และ ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร วัน-เวลา-สถานที่ วันพุธที่ 02 พฤษภาคม 2556 เวลา 09.00-16.00 น. (ลงทะเบียน 8.30 น.) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ )ถนนวิภาวดีรังสิต( อัตราค่าสัมมนา สมาชิกสมาคม 2,500 บาท + VAT 175 บาท จ่ายสุทธิ 2,675 บาท/คน บุคคลทั่วไป 3,500 บาท + VAT 245 บาท จ่ายสุทธิ 3,745 บาท/คน (อัตรานี้รวมค่าเอกสาร อาหารว่าง อาหารกลางวัน และภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว)  ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษีได้ 022%

ติดต่อสอบถาม แผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 206 (คุณกาญจนา) โทรสาร 0-2936-1441-2 หรือ E-mail : kanjanac@ic.or.th Download แบบตอบรับและรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th


知っておくべきBOIに関する知識 (日本語) “All Executives Need to Know about BOI” (Japanese Version) セミ ナープログラ ム

1. BOI 奨励事業になるには 1.1 対象事業リ スト 1.2 プロジェ ク ト認可基準 1.3 ジョ イ ント ・ ベンチャ ー基準 2. 投資奨励方針 2.1 ゾーンによる恩典 2.2 業種による恩典および優先事業 2.3 STI恩典 2.4 持続的開発のための投資促進政策 3. 認可後の手続き 3.1 奨励証書の発給 3.2 プロジェ クト 実行および報告 3.3 プロジェ クト 変更vs. 新しいプロジェ クト の申請 3.4 事業開始許可 4. 税的恩典の利用 4.1 機械の輸入 4.1.1第 28 条 4.1.2第 29 条 4.2 原材料の輸入 4.2.1第 36 条 4.2.2第 30 条 4.3 法人所得税の恩典 4.3.1第 31 条 4.3.2第 35 条 5. 非税的恩典の利用 5.1 土地所有権 5.2 ビザ/ワークパーミ ッ ト 6. BOI クリ ニッ ク 6.1 原材料デスク 6.2 機械デスク 6.3 ビザ・ ワークパーミ ッ ト ・ デスク 6.4 プロジェ ク ト分析デスク 6.5 プロジェ クト ・ モニターリ ングおよびアカ ウンティ ング・ デスク

講師 タイ国投資委員会 (BOI) 日時

2013年6月 19日 09:00-15:30 会場

Centara Grand at Central Plaza Bangkok (Phaholyothin Road)

言語 日本語 費用 会員

6,420 バーツ/人 (VAT 込み)

一般

8,560 バーツ/人 (VAT 込み)

ติดต่อสอบถาม แผนกบริก ารฝึ กอบรมและสั มมนา โทรศัพ ท์ 0-2936-1429 ต่อ 205, 208 (คุณวิ ลาสินี, คุณ ปริญญา) โทรสาร 0-2936-1441-2 หรือ E-mail : wilasinees@ic.or.th , is-investor@ic.or.th Download แบบตอบรับ และรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th


สมาคมสโมสรนักลงทุน ร่วมมือกับ หน่วยพัฒนาการเชื่อมโยงอุตสาหกรรม สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กาหนดจัดสัมมนาพิเศษ ในงาน Subcon Thailand 2013

เรื่อง “ครบเครื่องเรื่องสิทธิประโยชน์การนาเข้าเครื่องจักรกับบีโอไอ” วันศุกร์ที่ 17 พฤษภาคม 2556 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ ห้องสัมมนา MR 224 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมนานาชาติกรุงเทพ (ไบเทค บางนา)  กาหนดการสัมมนา เวลา

หัวข้อบรรยาย

12.30 – 13.00 น. ลงทะเบียน - สิทธิประโยชน์การนาเข้าเครื่องจักรและอุปกรณ์ ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน 13.00 – 16.00 น. - ข้อกาหนด กฎเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติ ในการนาเข้า เครื่องจักรมาใช้สาหรับโครงการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุน 16.00 – 16.30 น. ถาม - ตอบ

วิทยากร... คุณภาคภูมิ บูรณบุณย์  นักวิชาการส่งเสริมการลงทุน ชานาญการพิเศษ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)

หมายเหตุ  รับจานวนจากัดเพียง 70 ท่านเท่านั้น !!  กรุณาติดต่อกลับสมาคมเพื่อเช็ครายชื่อ ผู้เข้าร่วมสัมมนาหลังส่งแบบตอบรับแล้ว

 แบบตอบรับเข้าร่วมสัมมนาพิเศษ  ชื่อผู้เข้าร่วม (ฟรีสมาชิกบริษัทละ 2 ท่าน) ชื่อบริษัท/ชื่อบุคคล 1) ชื่อ-นามสกุล โทรศัพท์ 2) ชื่อ-นามสกุล โทรศัพท์

โทรสาร โทรสาร

หมายเลขสมาชิก (รหัส 10 หลัก) ตาแหน่ง มือถือ Email ตาแหน่ง มือถือ Email

สัมมนาฟรี! ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น กรุณาสารองที่นั่งภายในวันศุกร์ที่ 10 พฤษภาคม 2556 นี้ หมายเหตุ: ท่านที่ลงทะเบียนแล้วแต่ไม่สะดวกเข้าร่วมด้วยกรณีใด ๆ ก็ตาม โปรดแจ้งการยกเลิกล่วงหน้าก่อนวั นงานอย่างน้อย 7 วันทาการ

 โปรดกรอกแบบตอบรับส่งกลับมาที่ FAX: 0 2936 1441-2 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่แผนกลูกค้าสัมพันธ์  0 2936 1429 ต่อ 201 - 203 E-mail: cus_service@ic.or.th ติดต่อ: คุณพรมรินทร์ E-mail: promarini@ic.or.th : คุณจิตติมา E-mail: chittimap@ic.or.th ติดตามข่าวสารการจัดกิจกรรมของสมาคมได้ที่ www.ic.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.