ICe_Newsletter_January2019

Page 1

Vo l. 18 / J anuary 2 0 19 IC ขยายงานบริการฝึ กอบรม และสัมมนาสู่ภูมิภาคตะวันออก

เมื่อ “เครื่องจักรเรียนรู้” สู่ปัญญาประดิษฐ์ (1)

20 ปี อนาคตประเทศไทยสู่ความมัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน


การกรอกข้อมูล เป็ นเรือ่ งยากสาหรับคุณ”

“หากคิดว่า

“ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติดว้ ยระบบ e-Expert พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมืองและกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร”

0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th

www.ic.or.th


04

เมื่ อ “เครื่ อ งจั ก รเรี ย นรู้ ” สู่ ปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ (1)

“ยุ ทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ” อนาคต ประเทศไทยสู่ความมัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน

11

IC ขยายงานบริการฝึ กอบรมและสัมมนา สู่ภูมิภาคตะวันออก

ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพ ท์ : 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร : 0 2936 1441-2 e-mail : icn@ic.or.th

07 15 ไม่ลังเลที่จะ (ตัดสินใจ) “ก้าว”

สวัสดีปีใหม่ ต้อนรับ ปี พุทธศักราช 2562 กันด้วยความสดชื่นแจ่มใส เพราะหลายๆท่าน คงได้รับแรงกระตุ้นอย่างดีมากมายในช่ วงเทศกาลเฉลิมฉลองส่งท้ายปี เก่าต้อนรับปี ใหม่ที่ผ่านมา ทัง้ ในรู ปแบบโบนัสก้อนโตและวันหยุ ดยาวต่อเนื่องเพื่อพักผ่อนหรือเดินทางไปเที่ยวตามสถานที่ ต่างๆกับครอบครัวรวมทัง้ ญาติส นิทมิตรสหาย เพื่อพัก ร่างกายและจิตใจอันเหนื่อยล้าจาก การทางานหนักมาตลอดทัง้ ปี ให้กลับมาชุ่ มชื่นและมีชีวิตชีวาพร้อมที่จะเผชิญหน้ากับการทางานที่ หนักหน่วงอีกครัง้ นอกจากรางวัลจากการทางานที่แต่ละท่านได้รับแล้ว ปี ใหม่นีร้ ัฐ บาลยังได้มอบของขวัญ ชิน้ ใหญ่ระดับประเทศ ได้แก่ การประกาศใช้ “ยุ ทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ” เพื่อเป็นแนวทางในการ บริหารประเทศอย่างรอบด้าน และเป็นแรงผลักดันให้ภาคอุ ตสาหกรรมเติบโตสามารถบู รณาการ การดาเนินงานเข้ากับยุ ทธศาสตร์ชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพส่งผลให้ฐานเศรษฐกิจของประเทศ ขยายไปสู่ตลาดระดับโลกได้อย่างมัน่ ใจ โดยยุ ทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) เป็นแนวทางการบริหารจัดการภาพรวม ของประเทศแบบครบทุกมิติภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน เป็นประเทศ พัฒ นาแล้ วด้ ว ยการพั ฒ นาตามหลั ก ปรัช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” เพื่ อน าไปสู่ ก ารพั ฒ นา คุณภาพชีวิตให้คนไทยมีรายได้ระดับสูงและมีความสุข สังคมมีความมั่นคง เสมอภาค และเป็นธรรม รวมถึงประเทศชาติสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจโลก ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประกอบด้วยกรอบยุ ทธศาสตร์สาคัญ 6 ด้าน ได้แก่ 1. ยุ ทธศาสตร์ ชาติด้านความมัน่ คง 2. ยุ ทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3. ยุ ทธศาสตร์ชาติ ด้ า นการพั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งศัก ยภาพคน 4. ยุ ทธศาสตร์ ช าติ ด้ า นการสร้ า งโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม 5. ยุ ทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม และ 6. ยุ ทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่ ง ยุ ทธศาสตร์ ช าติ ฉ บั บ นี้ ส ร้ า งความตื่ น ตั ว ให้ กั บ ภาครั ฐ และภาคเอกชนเป็ น อย่ า งมาก เพราะจะสามารถกระตุ้นเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศได้ทุกทิศทางอย่างเหมาะสม เป็นรู ปธรรม สามารถสร้างประเทศไทยให้เป็นชาติที่มีความมัน่ คงและประชาชนในประเทศมีความสุขได้อย่างยัง่ ยืน ส าหรั บ สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น มี ค วามพร้ อ มสนั บ สนุ น ทุ ก นโยบายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดาเนินงานของสมาคมฯภายใต้กรอบยุ ทธศาสตร์ชาติด้วยระบบการให้บริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ ว ตลอด 24 ชั่ว โมง ผ่ า นการให้ บ ริ ก ารแบบออนไลน์ และสมาคมฯก าลั ง พั ฒ นา ระบบงานบริ ก ารด้ านงานตั ด บัญ ชี วั ตถุ ดิ บแบบไร้ เ อกสารให้ ส ามารถรองรั บผู ้ ใ ช้ บริ ก ารแบบ ออนไลน์ เพื่อก้าวเข้าสู่การให้บริการออนไลน์เต็มรู ปแบบ นอกจากนีย้ ังมีบริการด้านหลักสูตร ฝึ กอบรมและสัมมนาที่มีการพัฒนาหลักสูตรใหม่ๆให้สอดคล้องกับการพัฒนาศักยภาพบุ คลากร ให้มีความรู้ ความสามารถ และความชานาญเฉพาะด้านเพื่อให้สอดรับกับธุ รกิจขององค์กร โดย ผู ้ ที่ ส นใจสามารถดู ร ายละเอี ย ดหลั ก สู ต รและเลื อ กลงทะเบี ย นเพื่ อ สมั ค รร่ ว มสั ม มนาได้ ท าง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 หรือ ติดตามข้อมู ลต่างๆของสมาคมฯได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3

icn




สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

ความรู้การนาเข้าและส่งออก

ทัง้ ระบบ เพื่อให้ได้ ประโยชน์ สูงสุด วันพฤหัสบดีท่ี 24 มกราคม 2562 เวลา 09.00-16.00 น. โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6)

หัวข้อการสัมมนา • วงจรนาเข้า-ส่งออก • ขัน้ ตอนในการส่งสินค้าออกและนาเข้า • สัญญาซือ้ ขาย สาระสาคัญในการทาสัญญา ข้อควรระวัง การกาหนดเงื่อนไข เทอมการค้า การชาระค่าสินค้า • เงื่อนไขการส่งมอบสินค้า ความรับผิดชอบ ค่าใช้จ่าย (Incoterms®2010) • เครื่องมือที่ใช้ในการชาระค่าสินค้า หลักการและวิธีการ • ขัน้ ตอนในการส่งสินค้า และการจัดทาเอกสารที่ เกี่ยวข้องทางการค้าระหว่างประเทศ • เทคนิคเบือ้ งต้นในการป้ องกันความเสี่ยงจาก ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ Forward Contract, Option, Swap ฯลฯ • แนวทางในการเลือกประกันภัยเพื่อคุ้มครองสินค้าที่ จัดซือ้ จากต่างประเทศ • แนวทางในการเลือกวิธีการขนส่งสินค้าที่สงั่ ซือ้ จาก ต่างประเทศที่คุ้มค่าปลอดภัย ทันเวลา และเหมาะสม กับสินค้า • พิธีการศุลกากรขาออก/ขาเข้าและการตรวจปล่อย สินค้า • หลักเกณฑ์ในการเสียภาษี การประเมินราคา และการคานวณค่าภาษีอากร • การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรเพื่อการนาเข้าส่งออก เช่ น FTA การขอคืนอากรมาตรา 19 ทวิ เขตปลอดอากร (Free Zone) เป็นต้น • กรณีศึกษา

คุณวัชระ ปิ ยะพงษ์ ที่ปรึกษาองค์กรเอกชนชัน้ นาด้านการนาเข้าและส่งออก

เหมาะสาหรับ เจ้ า ของกิ จ การ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ผู ้ จั ด การ/เจ้ า หน้ า ที่ ฝ่ ายการเงิน/ฝ่ ายบัญชี/ฝ่ ายต่างประเทศ/ฝ่ ายนาเข้า-ส่งออก และผู ้ท่สี นใจทัว่ ไป

อัตราค่าสัมมนา ประเภท

อัตรา ค่าสัมมนา

สมาชิ ก

2,996 บาท/คน

บุ คคลทั่วไป

3,852 บาท/คน

• อัตรานีร้ วมค่ าเอกสาร อาหารว่ าง อาหารกลางวัน และภาษีมูลค่ าเพิ่ม • ค่ าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่ อนภาษีได้ 200%

ลงทะเบี ยนออนไลน์ เ พื่ อสารองที่นั่งได้ทาง http://icis.ic.or.th สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม  Call Center โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 โทรสาร 0 2936 1441-2 ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ทาง www.ic.or.th





บริการงานวัตถุดบิ RMTS 1. ขธธนุมัตผบัญ ชฝ ร าฬการทัต ถุดผบ 1.1 ขธบัญชฝ ราฬการทัต ถุดผบ (BIRTMML) 1.2 ขธเอผ่ มชื่ ธ ราฬการทั ตถุ ดผบ (BIRTDESC) 1.3 ขธบัญชฝ ราฬการฯลผ ต ภั ณ ฑ์แ ละสู ต รการฯลผ ต (BIRTFRM) 1.4 ขธปรับ ฬธดฐานข้ธมู ล ทั ต ถุดผบ (BIRTADJ) 2. ขธธนุมัตผ สั่น ปล่ธ ฬทัต ถุดผบ 2.1 ขธธนุ มั ตผ สั่น ปล่ ธ ฬทั ตถุ ดผบแบบปกตผ 2.2 ขธธนุ มั ตผ สั่นปล่ ธ ฬทัต ถุดผ บแบบใื น ธากร 2.3 ขธธนุ มั ตผ สั่นปล่ ธ ฬทัต ถุดผ บแบบถธนการใช้ ธนาใารใา้ ประกั น 3. ขธธนุญ าตฯ่ธ นฯัน ใช้ ธ นาใารใา้ ประกัน ทัต ถุ ดผบ 3.1 ขธฯ่ ธ นฯั น ใช้ ธ นาใารใา้ ประกั น ทั ตถุดผ บ 4. ขธธนุญ าตตั ด บัญ ชฝ ทัต ถุ ดผบ 4.1 ขธตัด บัญ ชฝ ทัต ถุ ดผบ 4.2 ขธปรั บ ฬธดทั ตถุดผ บ

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม

0 2936 1429 ต่อ 314 - 315

e-mail : counterservice@ic.or.th www.ic.or.th


IC

ขยายงานบริการฝึ กอบรมและสัมมนา

สู่ ภูมิภาคตะวันออก

ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th

ข่าวดีต้อนรับปี ใหม่ 2562 สมาคมสโมสรนักลงทุน ขยายงานบริการฝึ กอบรมและสัมมนาสู่ภูมิภาคตะวันออก เพื่อตอบสนองความต้องการด้านงานบริการฝึ กอบรม ของบริษัทที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุนซึ่ งเป็นทัง้ สมาชิก และผู ้ ใช้ บริการที่มีการประกอบธุ รกิจและดาเนินกิจการใน พื้น ที่ จั ง หวั ด ชลบุ รี แ ละจั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย ง โดยคั ด เลื อ ก หลั ก สูต รด้า นการส่ง เสริ ม การลงทุ น 5 หลัก สู ตรเด่ น ที่ มี เ นื้อ หาส าคั ญ และข้ อ มู ล พื้น ฐานซึ่ ง มี ค วามจ าเป็ น สาหรับบริษัทที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุนนาไปใช้ ในการ ปฏิบัติงานเพื่อให้สามารถใช้ สิทธิประโยชน์ท่ี ได้รับจากการ ส่งเสริมการลงทุนได้อย่างถูกต้อง สอดคล้องกับเงื่อนไข ของสิทธิและประโยชน์ท่ีได้รับ และก่อให้เกิดประโยชน์อย่าง สูงสุดต่อการดาเนินธุ รกิจ ได้แก่ หลั ก สูต ร “ข้ อ ควรรู้ เ กี่ ย วกั บ การส่ ง เสริ ม การ ลงทุน ” เหมาะส าหรั บ บริ ษัท ที่ ได้ รับ อนุมั ติส่งเสริ มการ ลงทุนที่ต้องการทราบข้อมู ลที่มีความสาคัญและจาเป็น สาหรับการวางแผนการดาเนินการของบริษัทให้สอดรับ กั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท่ี ได้ รั บ จากการส่ ง เสริ ม การลงทุ น เพื่ อ ให้ ส ามารถใช้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท่ี ได้ รั บ ให้เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด รวมถึ ง วิ ธีป ฏิ บั ติ ท่ี ถู กต้ อ งหลั ง จากได้ รั บ อนุ มั ติ ให้การส่งเสริมการลงทุนแล้ว เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ในการติ ดต่ อ ประสานงานกับ สานั กงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (BOI) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมศุลกากร กรมสรรพากร เป็นต้น 01

02

หลักสูตร “ข้อพึงระวังในการจัดทาบัญชี การ เตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบ และแนวทางปฏิบัติ สาหรับผู ้จัดทาบัญชีของกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการ ลงทุ น ” ผู ้ ได้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น มั ก จะมี ค าถาม เกิ ด ขึ้ น มากมาย ภาย หลั ง จากไ ด้ รั บ บั ต ร ส่ ง เสริ ม และโดยมากมั ก จะสั บ สนไม่ รู้ ว่ า จะเริ่ ม ต้ น จั ด ท าบั ญ ชี อย่างไรสาหรับกิจการที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุน และ ต้องทาอย่างไรจึ งจะสามารถใช้ สิ ทธิป ระโยชน์ ด้านภาษี เงินได้นิติบุคคลที่ได้รับมานัน้ อย่างถูกต้องและคุ้มค่ามาก ที่สุด การเข้ารับการอบรมตามหลักสูตรนี้ เพื่อเป็นการ เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ที่ ถู ก ต้ อ ง ใ ห้ แ ก่ ผู ้ประกอบการเกี่ยวกับการใช้ สิทธิประโยชน์ด้านภาษี เงินได้ นิ ติ บุ คคลแล ะแนวทางการปฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไขใน บัตรส่งเสริม โดยมุ ่งเน้นถึงข้อพึงระวังในการจัดทาบัญชี สาหรับกิจการที่ ได้รับส่งเสริมการลงทุน สิทธิประโยชน์ ที่เกี่ยวข้องกับการบัญชี และการขอใช้ สิทธิประโยชน์เพื่อ ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล รวมทัง้ ยังมุ ่งเน้นการให้ข้อมู ล แก่ผู้ประกอบการเพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับรองรับ การตรวจสอบทัง้ จากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน (BOI) และกรมสรรพากร ผ่านการบรรยายพร้อม ยกตัวอย่างประเด็นปั ญหา ที่สาคัญประกอบ การบรรยาย

11 icn


หลั ก สู ต ร “วิ ธี ข อเปิ ดด าเนิ น การส าหรั บ กิ จ การ ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน” การขอเปิ ดดาเนินการเป็น เงื่อนไขสาคั ญประการหนึ่ งที่ถูกกาหนดไว้ ในบัตรส่งเสริ ม ผู ้ ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทา ความเข้าใจ และเรียนรู้วิธีการและขัน้ ตอนการปฏิบัติตาม เงื่อนไขของสิทธิประโยชน์ท่ีถูกต้องสาหรับการขอเปิ ดดาเนินการ ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมถึ ง การจั ด เตรี ย มเอกสาร สาหรับการปรับเปลี่ยนวงเงินภาษี เงินได้นิติบุคคลที่จะได้รับ การยกเว้นเพื่อใช้ สาหรับการขอเปิ ดดาเนินการ 03

หลักสูตร “วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น สาหรับกิจการที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุน” กิจการที่ ได้รับ การส่งเสริมการลงทุนที่ ได้รับสิทธิและประโยชน์ยกเว้นหรือ ลดหย่อนอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจาเป็นตามมาตรา 30 มาตรา 36 (1) (2) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 จะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บและเงื่ อ นไขของ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ดังนัน้ ผู ้ได้รับ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น ต้ อ งเข้ า ใจถึ ง วิ ธี ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ วั ต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ จ าเป็ น ตามมาตราที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น รวมถึ ง ขั ้ น ตอนปฏิ บั ติ แ ละกระบวนการด าเนิ น การ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้ สิทธิและประโยชน์ ได้ตรงตามที่ กาหนดไว้ ในบัตรส่งเสริม อันจะทาให้กิจการได้รับประโยชน์ สูงสุด 04

หลั ก สู ต ร “วิ ธี ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ เครื่ อ งจั ก รและ อุ ปกรณ์สาหรับกิจการที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ” การยกเว้นหรือลดหย่อนอากรการนาเข้าเครื่องจักรและ อุ ปกรณ์ตามมาตรา 28 และ มาตรา 29 เป็นสิทธิประโยชน์ ด้านภาษี อากรที่สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน (BOI) ให้กับผู ้ประกอบการที่ ได้รับอนุมัติ ให้การ ส่งเสริมการลงทุน เพื่อช่ วยเหลือผู ้ประกอบการที่มีการ ผลิ ต เพื่ อ การส่ ง ออกในการลดต้ น ทุ น การผลิ ต ให้ สามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้ ดังนัน้ ผู ้ประกอบการ จึ ง มี ค วามจ าเป็ น ที่ จ ะต้ อ งเรี ย นรู้ วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ แ ละ เงื่ อ นไขต่ า งๆ รวมถึ ง ระยะเวลาของการได้ รั บ สิ ท ธิ ประโยชน์ เพื่ อ สามารถใช้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท่ี ไ ด้ รั บ ให้ เ กิ ด ประโยชน์สูงสุดแก่การประกอบธุ รกิจ 05

บริษัทที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและประกอบ ธุ รกิ จ ในภู มิ ภ าคตะวั น ออกที่ มี ค วามสนใจเข้ า อบรม หลั ก สู ต รด้ า นการส่ ง เสริ ม การลงทุ น สามารถสมั ค ร เข้าร่วมอบรมโดยลงทะเบียนออนไลน์เพื่อสารองที่นั่ง ได้ท่ี http://icis.ic.or.th หรือผ่านทาง www.ic.or.th ตามช่ วงเวลาที่ ร ะบุ รายละเอี ย ดไว้ ใ นตารางด้ า นล่ า ง หากต้ อ งการสอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม กรุ ณ าติ ด ต่ อ Call Center โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 โทรสาร 0 2936 1441-2

กาหนดการจัดอบรมหลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุนในภูมิภาคตะวันออก ประจาปี 2562 ลาดับที่

หลักสูตร

เวลา มี.ค. พ.ค. ก.ค. (วัน)

1

ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน

1

2

ข้อพึงระวังในการจัดทาบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการ ตรวจสอบ และแนวทางปฏิบัติสาหรับผู ้จัดทาบัญชีของกิจการ ที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

2

3

วิธีขอเปิ ดดาเนินการสาหรับกิจการที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

1

4

วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็นสาหรับกิจการที่ ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน

1

5

วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุ ปกรณ์สาหรับกิจการที่ ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน

1

icn 12

ก.ย.

ต.ค.

9 21-22 26 20

4


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

สัมมนาสมาชิกครัง้ ที่ 5

Supported by:

“Customer Journey” <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนาฟรี ส าหรั บ สมาชิ ก ครัง้ ที่ 5 ในหัวข้อ “Customer Journey” เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2561 ณ ห้ องกิ นรี 1 โรงแรม อมารี ดอนเมื อง แอร์ พอร์ ต กรุ งเทพฯ เพื่ อ ให้ ส มาชิ ก ได้ รั บ ความรู้ แ ละท าความเข้ า ใจ เกี่ ย วกั บ การจั ดการเพื่ อ มุ ่ง เน้ นลู ก ค้ าและตลาด (Customer and Market Focus) เรียนรู้กลยุ ทธ์ ในการบริหารประสบการณ์ ลู ก ค้ า ด้ ว ยเทคนิ ค Customer Journey Mapping ซึ่ งเป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ท าให้ เ ข้ า ใจพฤติ ก รรมลู ก ค้ า ได้ อ ย่ า งถ่ อ งแท้ แ ละ ลึกซึ้ง รวมถึงเทคนิคการจัดทา Customer Journey Mapping: Step-by-step นอกจากนี้ผู้เข้าสัมมนายังได้รับทราบเกี่ยวกับ การศึ กษาเชิ ง ปริ ม าณ (Quantitative Method) เพื่ อ ระบุ Touch Point ที่สาคัญ การวิเคราะห์เพื่อค้นหาโอกาสในการ ปรับปรุ งและสร้างนวัตกรรมบริการและตัวอย่าง กรณีศึกษา Customer Journey Mapping และการวิเคราะห์ของธุ รกิจ ชัน้ นา การสัมมนาครัง้ นี้สมาคมได้รับเกียรติจาก คุณณัฐพัชร์ ล้ อ ประดิ ษ ฐ์ พ งษ์ ที่ ป รึ ก ษาด้ า นการพั ฒ นาองค์ ก รและการ จัดการเชิงกลยุ ทธ์ เป็นวิทยากรบรรยายพร้อมตอบข้อซักถาม ของผู ้เข้าร่วมสัมมนาถึงกรณีปัญหาต่างๆเกี่ยวกับ Customer Journey อีกด้วย

FAQ 108

คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น www.faq108.co.th แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น

1 3 icn


ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ

@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ

Add friends

IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย

ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !


ไม่ลังเลที่จะ ตัดสินใจ

“ก้ า ว” เส้าหลิน

เมื่อก่อนเวลาที่ต้องเดินทางไปยังสถานที่ท่ี ไม่คุ้นเคย ถ้ามีเพียงเส้นทางตรงไม่คดเคีย้ วคงไปถึงยังที่หมายได้อย่าง สวยงามแบบไม่มีปัญหา แต่หากเจอทางเลีย้ วหรือทางแยก ที่ต้องมีการตัด สินใจ ท่านคงเริ่มเกิดอาการลังเล กังวล และไม่แน่ใจว่าจะไปทางไหนดี! แต่ ในยุ คนี้การเดิน ทางไปที่ ไหนสักแห่งบนโลกคง ไม่ ใช่ เรื่องยาก หากเรามีโทรศัพท์มือถือที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ก็สามารถใช้ GPS เพื่อช่ วยในการนาทาง แต่อยู ่ท่ีว่าเราจะ ตัดสินใจเชื่อหรืออาศัยการสังเกตป้ ายบอกทาง การสอบถาม คนท้องถิ่นที่พบระหว่างทางประกอบด้วย ไม่เช่ นนัน้ บางท่าน ก็อาจหลงทางเพราะ GPS การไปสู่เป้ าหมายของชีวิตก็เช่ นกัน คงไม่สามารถใช้ อุ ปกรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ห รื อ ระบบ GPS น าทางให้ ไ ปใน ทิศทางไหน แต่ขนึ้ อยู ่กับ “เทคนิคการตัดสินใจ” ของแต่ละ บุ คคล ซึ่ งผู ้ท่สี ามารถก้าวผ่านอุ ปสรรคจนบรรลุเป้ าหมาย นัน้ จะไม่เสียเวลาไปกับความลังเล

“Google” เคยเสนอขายกิจการให้แก่ “Yahoo” ด้วยมู ลค่าเพียง 3.3 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2540 แต่ถูก Yahoo ปฏิเสธ ซึ่ งต่อมาในปี พ.ศ. 2545 Google ก็ยังคง เสนอกิจการให้ Yahoo ซื้ออีกครัง้ แต่ Yahoo ก็ยังปฏิเสธ อยู ่ดี นับตัง้ แต่นัน้ เป็นต้นมา Google ก็พัฒนาบริษัท ให้มีศกั ยภาพจนมาถึงวันนี้ Google มีมูลค่าทางธุ รกิจ สูงถึง 11.5 ล้านล้านบาท มากกว่า Yahoo ถึง 10 เท่า อีกหนึ่งกรณีคือ “โรนัล เวย์น” (Ronald Wayne) วิ ศ วกรคอมพิ ว เตอร์ ผู ้ ร่ ว มก่ อ ตั ้ง บริ ษั ท แอปเปิ ล คอมพิวเตอร์ (Apple Computer Inc.) เมื่อปี พ.ศ. 2519 เขาตัด สินใจขายหุ้ นทัง้ หมดด้วยมู ลค่า 26,000 บาท ซึ่ งถือเป็นราคาที่ตา่ และถ้าตอนนีเ้ ขายังมีหุ้นอยู ่ในบริษัทฯ มู ลค่าหุ้นทัง้ หมดของเขาจะอยู ่ท่ี 1.15 ล้านล้านบาท ฉะนั ้น แล้ ว ...ตั ด สิ น ใจอย่ า งไรจึ ง จะได้ ผ ลลั พ ธ์ ดีเลิศ? ไม่ผิดพลาด!!!

สาเร็ จ ทุ ก สถานการณ์ ด้ ว ยเทคนิ ค การตั ด สิ น ใจ จากสถิติมนุษย์เราต้องตัดสินใจอย่างต่ามากกว่ า 70 ครั ้ง ต่ อ วั น ไม่ ว่ า จะเป็ น การตั ด สิ น ใจในเรื่ อ งทั่ ว ไป รว มถึ ง การ ตั ด สิ น ใจ ใน เรื่ อ งส า คั ญ ๆที่ ต้ อ งใ ช้ กา ร ไตร่ ต รองสู ง หลายท่ า นคงเคยรู้ สึ ก เสี ย ดายเหตุ ก ารณ์ บางอย่างที่ผ่านมาว่าไม่น่าตัดสินใจแบบนัน้ เลย แม้นักธุ รกิจ ที่ ป ระสบความส าเร็ จ ในชี วิ ต ก็ มี ก ารตั ด สิ น ใจพลาดได้ เช่ นกัน อาทิ

Dr.Travis Bradberry ผู ้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยา ผู ้ร่วมก่อตัง้ บริษัททดสอบความฉลาด Talent Smart และเป็นผู ้เขียนหนังสือ Emotional Intelligence 2.0 ได้ศึกษากระบวนการตัดสินใจของผู ้ท่ีประสบความสาเร็จ ของโลก จาแนกออกเป็น 8 ข้อ ดังนี้ 15 icn


เทคนิคการตัดสินใจให้ประสบความสาเร็จทุกสถานการณ์ 1. ฝึ กตั ด สิ น ใ จเรื่ อ งเล็ ก ๆเป็ นกิ จ วั ต ร ป ร ะจ าวั น เปรียบเสมือนกับว่าหากต้องการมีสุขภาพที่แข็งแรง ควรหมั่ น ออกก าลั ง กายบ่ อ ยๆโดยเริ่ ม ต้ น จากวิ่ ง 100 เมตร 500 เมตร 800 เมตร จนกล้ า มเนื้อ แข็งแรงแล้วจึงเพิ่มระยะการวิ่งที่ไกลขึน้ 2. เรียงลาดับการตัดสินใจ โดยนาการตัดสินใจในรื่อง สาคัญๆมาไว้ ในช่ วงเช้ า เพราะเมื่อร่างกายได้รับการ พักผ่อนสมองย่อมปลอดโปร่งพร้อมคิดวิเคราะห์ 3. ให้เชค็ อารมณ์ของตัวเองก่อนตัดสินใจ โดยส่วนใหญ่ การตัดสินใจมักเป็นไปตามอารมณ์มากกว่าเหตุผล ดังนัน้ การเช็คอารมณ์ต นเองก่ อนตัด สินใจจึงเป็ น สิ่งจาเป็น ไม่ว่าจะอยู ่ในสภาวะอารมณ์บวกหรือลบ 4. วิ เ คราะห์ ตั ว เลื อ กอย่ า งถี่ ถ้ ว น เป็ น ขั ้น ตอนในการ ประเมิ น ถึ ง ประโยชน์ ท่ี ไ ด้ รั บ ผลดี ผ ลเสี ย เพื่ อ ชัง่ น ้า หนั กถึ งผลที่ จ ะได้ รั บเมื่ อ เลื อ กตัว เลื อ กนั น้ ว่ า คุ้มค่าหรือไม่ 5. หลับอย่างน้อยหนึ่งตื่น Dr.Travis ได้กล่าวไว้ว่า เมื่อ ได้ รั บ ข้ อ มู ล ให้ ตั ด สิ น ใจอะไรบางอย่ า ง นอกจากให้ เวลากั บ มั น อย่ า งเต็ ม ที่ แ ล้ ว ก็ ค วรให้ เ วลากั บ สมอง ให้ ส มองได้ พั ก ผ่ อ นเพื่ อ สามารถวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ 6. ให้ ค านึ ง ถึ ง ศี ล ธรรมและความถู ก ต้ อ ง เพราะการ ตัดสินใจที่ดี ไม่ใช่ เพียงได้รับประโยชน์เพียงฝ่ ายเดียว แต่ต้ องอยู ่บ นพื้น ฐานการประพฤติดี ประพฤติ ชอบ อีกด้วย อ้างอิง: https://www.unlockmen.com/how-decision-went-right/ ภาพจาก: http://columbiabusinesstimes.com/2016/04/25/this-or-that-decisionmaking/ / https://www.zoominsoftware.com/blog/how-product-documentation-improvesdecision-making/

7. ปรึกษาคนที่ ไม่ ได้รับผลประโยชน์เกี่ยวข้อง เนื่องจาก การตัดสินใจเพียงลาพังอาจมีแนวโน้มเข้าข้างตนเอง หรือมีอคติ ดังนัน้ ควรลองปรึกษาคนในครอบครัว เพื่ อ น หรื อ ผู ้ อ าวุ โสที่ มี ค วามรู้ เพื่ อ แลกเปลี่ ย น มุ มมองแล้ วน าข้ อคิ ดเห็น เหล่า นัน้ มารวบรวมเพื่ อ วิเคราะห์ประกอบการตัดสินใจ 8. น าบทเรี ย นจากประสบการณ์ ใ นอดี ต มาประกอบ การตัดสินใจ ไม่ว่าจะเป็นประสบการณ์เมื่อ 2-3 วัน ที่ผ่านมา 1 สัปดาห์ 1 เดือน หรือ 1 ปี ล้วนนามา ประกอบการวิเคราะห์ในปั จจุ บันได้ ถือเป็นแหล่งเรียนรู้ ชัน้ ดีท่ที าให้เกิดความรอบคอบ

จากเทคนิคทัง้ 8 ข้อข้างต้นจะเห็นได้ว่า เส้นทางที่จะ ไปสู่ เป้ าหมายอะไรสั กอย่ างในชี วิ ตหรื อการฝ่ าฟั นปั ญหา ที่เข้ามาทัง้ ในรู ปแบบที่คาดคิดและไม่คาดคิดล้วนต้องใช้ การตั ด สิ น ใจในการก้ า วผ่ า นบนพื้น ฐานความคิ ด แบบ รอบด้าน ไม่รีบจนลืมศึ กษาข้อมู ลหรือช้ าจนไม่ทันกาล ดังนัน้ การตัดสินใจที่ดีตัง้ แต่ก้าวแรก ผลลัพธ์สุดท้าย คงไม่พ้นคาว่า “สาเร็จ” แบบไม่ต้องลังเล

อีกหนึ่งช่ องทางชาระค่าบริการผ่านระบบ

QR Code

**สาหรั บ การชาระเงิ น สดที่ ส มาคมเท่ า นั ้น ** สมาคมสโมสรนักลงทุนได้ เ พิ่มช่ องทางการชาระค่าบริการผ่านระบบ QR Code โดยสามารถชาระผ่าน Mobile Banking ได้ทุกธนาคาร สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย ไม่มียอดขัน้ ตา่ ในการชาระ icn

16

เปิ ดให้ บ ริ ก ารแล้ ว วั น นี้ ณ เคาน์ เ ตอร์ ชาระค่ า บริ ก าร


ขอขยายเวลานาเข้าวัตถุดบิ

มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

Q : เนื่องจากระยะเวลานาเข้าวัตถุดิบของบริษัทได้หมดอายุ ลงตัง้ แต่เดือนเมษายน 2560 ทางบริษัท ต้องดาเนินการยื่นเอกสารขอรับสิทธิ์ใหม่หรือไม่ ต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง และใช้ เวลาในการ ขอรับสิทธิ์ใหม่ก่วี ัน A : ตามประกาศ สกท. ที่ ป.8/2561 การขอขยายเวลาน าเข้ า วัต ถุ ดิบ ตามมาตรา 36 จะต้อ งยื่ น คาขอขยายเวลาภายในไม่เกิน 6 เดือนนับจากวันสิน้ สุดสิทธิ์ กรณีท่สี อบถามนัน้ ระยะเวลานาเข้าวัตถุดิบสิน้ สุดเกินกว่า 6 เดือนแล้ว จึงจะขอขยายเวลา นาเข้าไม่ ได้ แต่สามารถขอรับสิทธิประโยชน์ตามมาตรา 36 ได้อีก โดยวัตถุดิบที่เหลือค้างจากการ นาเข้าตามระยะเวลาเดิมจะต้องดาเนินการตัดบัญชีหรือขอชาระภาษี เพื่อเคลียร์ยอดค้างคงเหลือ เป็นศูนย์ด้วย ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

 เราต้องการเป็นองค์กรที่ผู้บริโภคอยากให้ดารงอยู่ต่อไป

ซึ่ งการที่จะเป็นแบบนัน้ ได้ กต้องครอบคลุมในทุกเรื่อง แน่นอนที่สุดคือ ผลิตสินค้าออกมาดีให้ตรงกับความต้องการของผู ้บริโภค ทากาไรแล้วคืนกาไรในรูปแบบของภาษี สร้างงานให้แก่แรงงานไทย คืนประโยชน์ ให้กับสังคมในรูปแบบต่างๆ รูปแบบอย่างนีก้ คงไม่เปลี่ยน เป็นการเติบโตอย่างยัง่ ยืน ยืนอยู ่เคียงข้างสังคมตลอดไป

คุณพิทักษ์ พฤทธิสาริกร

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารปฏิบัติการ บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จากัด ที่มา>> https://www.autoinfo.co.th/article/14647/ ภาพจาก>> http://www.benewsonline.com/home/2018/07/honda-ปลุกพลังความคิดสร้าง/นายพิทักษ์ -พฤทธิสาริกร-3/

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก

www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร 0 2936 1529 17 icn


สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น บริ ก ารจั ด หลั ก สู ต ร

IN-HOUSE TRAINING  ประหยัดค่าใช้ จ่าย  ออกแบบเนือ้ หาเฉพาะองค์กร แนะนาหลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน ชื่อหลักสูตร

จานวน (วัน)

ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท)

25 ท่าน

35 ท่าน

1 ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

2 วิธีการขอเปิ ดดาเนินการ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

3 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

4 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1/2 วัน

23,000

25,000

5 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

หมายเหตุ : • อัตราค่าธรรมเนียมรวมค่าวิทยากร เอกสารการฝึ กอบรม ค่าเดินทาง และค่าดาเนินการ • ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิม่ 7% และค่าที่พัก (ถ้ามี) • อัตราค่าธรรมเนียมที่ระบุ ในเอกสาร เป็นอัตราประมาณการ ซึ่ ง อาจมีก ารเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ขึ้นอยู ่กับ รูปแบบการฝึ กอบรม จานวนผู ้เข้าอบรม ประเภทวันที่จัดงาน จานวนวัน พืน้ ที่จัดงาน รายละเอียดเพิ่มเติมของเนือ้ หา และอื่นๆ • สมาคมขอสงวนสิทธิห้ามบันทึกภาพและ/หรือเสียงในการอบรมทุกหลักสูตรทุกกรณี • ค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200%

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม  0 2936 1429 ต่อ 207 โทรสาร 0 2936 1441-2

website : www.ic.or.th

e-mail : is_inhouse@ic.or.th


แนะนาหลักสูตรด้านศุลกากร และอืน่ ๆ ชื่อหลักสูตร

จานวน (วัน)

ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท) 25 ท่าน

35 ท่าน

1

เกณฑ์การคานวณกาไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดทางบการเงินสาหรับ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

1

40,000

43,000

2

กฎหมายศุลกากรและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร

1

40,000

43,000

3

สิทธิประโยชน์ศุลกากรภายใต้ AEC

1

40,000

43,000

4

สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอด อากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone)

1

40,000

43,000

5

กฎว่าด้วยถิน่ กาเนิดสินค้า (Rules of Origin)

1

40,000

43,000

6

พิธีการทางศุลกากรระบบใหม่และสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากรระบบอิเล็กทรอนิกส์

2

78,000

85,000

7

การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุ ทรณ์การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศุลกากร

1

47,000

50,000

8

การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ และ Incoterm®2010

1

45,000

48,000

9

ระบบการวางแผนจัดซื้อ

1

51,000

54,000

10

การบริหารการจัดซื้อ จัดเก็บ และจัดส่ง

1

45,000

48,000

11

เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า

1

45,000

48,000

และอีกหลากหลายหลักสูตร เพือ่ พัฒนาองค์กร และบุ คลากร • • • • • • • • •

หลักสูตรด้านบริหารการผลิต อาทิ 5ส TPM TQM Kaizen หลักสูตรด้านบัญชีและภาษี หลักสูตรด้านการนาเข้า-ส่งออก หลักสูตรด้านกฎหมาย อาทิ กฎหมายเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ หลักสูตรด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน หลักสูตรด้านบริหารจัดการองค์กร (Management) หลักสูตรด้านการบริหารทรัพยากรบุ คคล (Manpower) หลักสูตรด้านการตลาด (Marketing) ฯลฯ


ตารางสัมมนาประจ�ำเดือน มกราคม – กุมภาพันธ์ 2562 วันสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

ชื่อหลักสูตร

สถานที่จัด

วิทยากร

วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562 (รับวุฒิบัตร) วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม หลุยส์ แทเวิร์น กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดี-รังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม หลุยส์ แทเวิร์น กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดี-รังสิต) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6)

วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน (IC)

5,350

6,420

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

1,605

1,926

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6)

วิทยากรจาก BOI และคุณเมธี แสงมณี

4,280

5,350

โรงแรม หลุยส์ แทเวิร์น กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

3,210

4,280

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

2,996

3,852

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

2,996

3,852

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณวิรดา ยูวะเวส พ.ต.อ. หญิง นัฐวินุศ หัสดินทร ณ อยุธยา

2,996

3,852

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

3,210

4,280

คุณเมธี แสงมณี

2,996

3,852

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

โรงแรม ซินนาม่อน เรสซิเดนซ์ (ซอยวิภาวดีรังสิต 42)

คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี

3,210

4,280

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6)

คุณเมธี แสงมณี

3,424

4,280

สมาชิก

บุคคลทั่วไป

หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน 18-20 ม.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 26 ม.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 2 ก.พ. 2562 (09.00-17.00 น.) 9 ก.พ.2562 (09.00-16.00 น.) 10 ก.พ. 2562 (09.00-12.00 น.) 16-17 ก.พ. 2562 (09.00-17.00 น.) 23 ก.พ. 2561 (09.00-16.00 น.)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562 การใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับกิจ การที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562 ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการ ตรวจสอบและแนวทางปฏิบัติส�ำหรับผู้จัดท�ำบัญชีของกิจการ ที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562 (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562

หลักสูตรการบริหารจัดการ 24 ม.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 26 ม.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 29 ม.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 31 ม.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 2 ก.พ. 2562 (09.00-16.00 น.) 7 ก.พ. 2562 (09.00-16.00 น.) 9 ก.พ. 2562 (09.00-16.00 น.) 10 ก.พ. 2562 (09.00-16.00 น.) 12 ก.พ. 2562 (09.00-16.00 น.) 14 ก.พ. 2562 (09.00-16.00 น.) 21 ก.พ. 2562 (09.00-17.00 น.) 22 ก.พ. 2562 (09.00-16.00 น.) 23 ก.พ. 2562 (09.00-16.00 น.) 27 ก.พ. 2562 (09.00-16.00 น.) 28 ก.พ. 2562 (09.00-17.00 น.)

ความรู้การน�ำเข้าและส่งออกทั้งระบบเพื่อให้ ได้ประโยชน์สูงสุด กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ 2560 และวิธีจัดเก็บค่าภาษีอากร เทคนิคการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความตกลงระหว่างประเทศภายใต้ JTEPA พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน ฉบับปี 2017 INCOTERMS®2010 ข้อบังคับทางการค้าระหว่างประเทศ การใช้ สิ ท ธิ พิ เ ศษทางภาษี ศุ ล กากรกั บ เขตการค้ า เสรี FTA ทุกความตกลง การใช้หนังสือรับรองถิ่นก�ำเนิดสินค้าของอาเซียน (Form D, e-Form D) และการรั บ รองถิ่ น ก� ำ เนิ ด สิ น ค้ า ด้ ว ยตนเอง (SC1 และ SC2) ขั้นตอนการขออนุญาตท�ำงานของชาวต่างชาติในประเทศไทย เทคนิคการจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ เกณฑ์การค�ำนวณก�ำไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อม การจัดท�ำงบการเงินส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความตกลงการค้าเสรี อาเซียน – เกาหลี (AKFTA) ข้อควรรูเ้ กีย่ วกับความผิดทางศุลกากรตามกฎหมายใหม่ 2560 กลยุทธ์การท�ำสัญญาการค้าระหว่างประเทศ เงื่อนไขการขนส่ง และการส่ ง มอบสิ น ค้ า ระหว่ า งประเทศ (CONTRACT & INCOTERMS®2010) พ.ร.บ. “Transfer Pricing” การเตรี ย มความพร้ อ มและ การป้องกันกรณีถูกตรวจสอบ (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA)

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม หลุยส์ แทเวิร์น กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดี-รังสิต) โรงแรม ซินนาม่อน เรสซิเดนซ์ (ซอยวิภาวดีรังสิต 42) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม หลุยส์ แทเวิร์น กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดี-รังสิต) โรงแรม หลุยส์ แทเวิร์น กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดี-รังสิต) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม หลุยส์ แทเวิร์น กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดี-รังสิต)

หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT Online 27 ม.ค. 2562 (09.00 – 17.00 น.)

วิธีการเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับวัตถุดิบ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) ครั้งที่ 1/2562

ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)

วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน (IC)

2,675

3,745

3 ก.พ. 2562 (09.00 – 17.00 น.)

วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักร ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (eMT Online) ครั้งที่ 1/2562

ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)

วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน (IC)

1,605

2,675

หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจสมัครเข้าร่วมอบรม สามารถลงทะเบียนออนไลน์เพื่อส�ำรองที่นั่งได้ที่ http://icis.ic.or.th หรือผ่านทาง www.ic.or.th หากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ Call Center โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 โทรสาร 0 2936 1441-2


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.