ICe_Newsletter_January2020

Page 1

Vol.19 / January 2020 Technology เปลี่ ย นโลก เปลี่ ย นเรา (1) เตรียมพร้อมรับ...บังคับใช้ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมู ลส่วนบุ คคล พ.ศ. 2562

มำตรกำรส่งเสริมกำรลงทุน

เพื่อ ปรับเปลี่ยน

เครื่องจักร

สำหรับธุรกิจเอสเอ็มอี


“มีปญ ั หาไม่รู้จะโทรปรึกษาใคร”

Single Window for

Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th

www.ic.or.th


04

มาตรการ ส่งเสริมการลงทุน เพื่อปรับเปลี่ยนเครื่องจักร

เตรียมพร้อมรับ...บังคับใช้ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุ คคล พ.ศ. 2562

12

ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพ ท์ : 0 2936 1429 ต่อ 201 โทรสาร : 0 2936 1441 e-mail : icn@ic.or.th

Technology เปลี่ยนโลก เปลี่ยนเรา (1)

07

15

สาเร็จได้ไวขึน้ ถ้าคิดแต่พอดี

ปั จจั ย ส าคั ญ ส าหรั บ การเป็ น ผู ้ น าในการแข่ ง ขั น ด้ า นเศรษฐกิ จ ในปั จจุ บั น คื อ ความสามารถในการนาเทคโนโลยีท่ีทัน สมัยมาใช้ ป รับปรุ งกระบวนการผลิต และงานบริการ รวมถึงกระบวนการทางานภายในองค์กร เพื่อให้สามารถผลิตสินค้าและบริการที่มีศกั ยภาพ ตอบสนองความต้องการสูงสุดของผู ้บริโภคได้อย่างครบครัน ดังนัน้ ผู ้ป ระกอบการควร มุ ่งเน้นการพัฒนาและปรับปรุ งเทคโนโลยีในการทางานให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพก้าวทันกับ ความเปลี่ยนแปลง เพื่อก้าวสู่การเป็นผู ้นาในการแข่งขัน สถานการณ์เงินบาทแข็งค่าขึ้นในช่ วงนีน้ ับเป็นโอกาสที่ดีของผู ้ประกอบการในประเทศไทย เนื่ อ งจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ ก ากั บ ดู แ ลด้ า นการส่ ง เสริ ม การลงทุ น อย่ า งส านั ก งาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโ อไอ) ได้ออกมาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุ ง ประสิ ทธิ ภาพการผลิ ต เพื่ อกระตุ้ นให้ ผู้ ประกอบการโดยเฉพาะผู ้ ประกอบการ SMEs ใช้ สิ ทธิ ประโยชน์ตามมาตรการส่งเสริมการลงทุนฯข้างต้นด้วยการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรในกระบวนการ ผลิตให้ใช้ เทคโนโลยีท่ีทันสมัยมีประสิทธิภาพและมีศักยภาพมากขึ้น เพื่อเพิ่มความสามารถ ในการผลิต ซึ่งถือว่าเป็นช่ วงเวลาของการลงทุนที่คุ้มค่าเนื่องจากต้นทุนที่ต่าลงเพราะค่าเงิน บาทที่แข็งขึน้ สาหรับมาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุ งประสิทธิภาพการผลิตมี 5 มาตรการ ย่อยที่ผู้ป ระกอบการสามารถเลือกเพื่อยื่น ขอรับสิท ธิป ระโยชน์ได้ต ามความเหมาะสมของ โครงการเดิมที่เคยได้รับการส่งเสริมการลงทุนแต่ระยะเวลาในการใช้ สิทธิประโยชน์หมดลง หรือ โครงการใหม่ท่ีไม่เคยขอรับการส่งเสริมการลงทุนมาก่อน สาหรับผู ้ประกอบการที่มีความประสงค์ จะยื่ น ขอรั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ตามมาตรการเพื่ อ การปรั บ เปลี่ ย นเครื่ อ งจั ก รเพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการผลิต จะได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร ยกเว้นภาษี เงินได้ นิติบุคคล 3 ปี ในสัดส่วนร้อยละ 50 ของเงินลงทุนที่ใช้ ในการปรับปรุ ง สาหรับผู ้ประกอบการ SMEs ได้กาหนดวงเงินลงทุนขัน้ ต่าไว้ 500,000 บาท จากปกติท่ีกาหนด 1 ล้านบาท (ไม่รวม ค่าที่ดินและเงินทุนหมุ นเวียน) และต้องมีสินทรัพย์ถาวรหรือขนาดลงทุนไม่เกิน 200 ล้านบาท มีบุคคลสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน และสามารถยื่นขอรับ ส่งเสริมการลงทุนได้จนถึงเดือนธันวาคม 2563 มาตรการส่ งเสริ มการลงทุน ข้า งต้ นนอกจากจะช่ วยกระตุ้ นและผลั กดั นให้เ กิด การ พัฒนาการผลิตให้ทันสมัยขึน้ แล้ว ยังเป็นการสนับสนุนให้ผู้ประกอบการพัฒนาทักษะบุ คลากร เพื่อสามารถใช้งานเครื่องมือและเครื่องจักรที่ทันสมัยขึน้ อีกด้วย สมาคมสโมสรนักลงทุนพร้อมสนับสนุนและส่งเสริมการลงทุนให้มีการพัฒนาด้านการ ผลิตมากยิ่งขึน้ ด้วยระบบการให้บริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ตลอด 24 ชัว่ โมง ผ่านการให้บริการ แบบออนไลน์ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะบุ คลกร ด้วยบริการด้านหลักสูตรฝึ กอบรมและ สัมมนาที่มีหลักสูตรครอบคลุมการพัฒนาบุ คลากรด้านต่างๆ อีกทัง้ ยังสามารถปรับหลักสูตร ให้ ส อดรั บ กั บ ความต้ อ งการด้ า นการฝึ กอบรมของทุ ก องค์ ก รได้ อ ย่ า งมี คุ ณ ภาพ โดยผู ้ประกอบการที่สนใจสามารถดูรายละเอียดหลักสูตรและเลือกลงทะเบียนเพื่อสมัครร่วม สัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ี โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-209 หรือติดตามข้อมู ลต่างๆของสมาคมฯได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3

icn


เสริมการลงทุน เร่งมาตรการส่ รัดการลงทุนงใหม่ เพื่อปรับเปลีย ่ นเครื่องจักร สาหรับธุรกิจเอสเอ็มอี มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ท่ามกลางเศรษฐกิจของโลกที่มีทัง้ การเปลี่ยนแปลง และการกดดันทางการค้า รวมถึงสถานการณ์ค่าเงินสกุล ต่างๆทั่วโลกที่มีทัง้ แข็งค่าและอ่อนค่า ส่งผลให้นักลงทุน เกิดความไม่มนั่ ใจจนเกิดการย้ายฐานการผลิต ส าหรั บ สถานการณ์ ข องประเทศไทยโดยเฉพาะ ในช่ วงนีท้ ่เี งินบาทแข็งค่าขึน้ หน่วยงานภาครัฐที่กากับดูแล ด้านการส่งเสริมการลงทุนของประเทศอย่างสานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ เล็งเห็น โอกาสจากสถานการณ์ ช่ วงเงิ น บาทแข็ ง ค่ า จึ ง ออก มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนผู ้ประกอบการเอสเอ็มอี ที่ต้องการพั ฒนาหรือปรั บปรุ ง การผลิตให้ ทันสมั ยหรื อ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยกระตุ้นให้มีการใช้ สิทธิประโยชน์ ตามมาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ด้ ว ยการลงทุ น ซื้ อ เครื่องจักรใหม่ท่ีมีเทคโนโลยีท่ีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ มากขึ้ น ส าหรั บ การขยายก าลั ง การผลิ ต หรื อ ปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพการผลิตให้ดียิ่งขึ้น ส่งผลให้ผู้ประกอบการ สามารถผลิ ต สิ น ค้ า และบริ การเพื่ อ จ าหน่ า ยได้ ม ากขึ้ น ช่ วยเพิ่มศักยภาพในการรับมือกับการแข่งขันทางการค้า การลงทุนที่นับวันจะมีแต่ความเข้มข้นเพิ่มมากขึน้

icn

4

มาตรการดังกล่าวให้สิทธิประโยชน์สาหรับกิจการที่ ได้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น แต่ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ห มดแล้ ว รวมถึ ง กิ จ การที่ กาลั ง ด าเนิ น การอยู ่ แ ต่ ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ การ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น จากบี โ อไอซึ่ ง มี ค วามต้ อ งการที่ จ ะ พัฒนาและปรับปรุ งกระบวนการผลิตให้มีความทันสมัย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทัง้ นีม้ าตรการส่งเสริม การลงทุ น เพื่ อ ปรั บ ปรุ งประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต ที่ เ อื้ อ ประโยชน์ ต่ อ ผู ้ ป ระกอบการนั ้น มี 5 มาตรการย่ อ ย ประกอบด้วย 1. มาตรการเพื่อประหยัดพลังงาน 2. มาตรการเพื่ อการปรับ เปลี่ ยนเครื่อ งจักรเพื่ อ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต 3. มาตรการเพื่อการวิจัยพัฒนาและออกแบบทาง วิศวกรรม 4. มาตรการเพื่อการยกระดับอุ ตสาหกรรมเกษตร ไปสู่มาตรฐานสากล 5. มาตรการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ เพื่อปรับปรุ ง ประสิทธิภาพการผลิต ส าหรั บ การลงทุ น ที่ อ ยู ่ ใ นข่ า ยของการปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพการผลิต เช่ น การติดตัง้ ระบบขนย้ายสินค้า อัต โนมั ติ ภายในคลัง สิ นค้ า การติ ด ตัง้ หุ่ นยนต์ท าความ สะอาดเตาเผา การติดตัง้ ชุ ดป้ อนวัตถุดิบอัตโนมัติ การ ติดตัง้ เครื่องจักรแลกเปลี่ยนความร้อนใหม่ในสายการผลิต การติดตัง้ เครื่องเอ็กซ์เรย์ท่ีสายการผลิต การติดตัง้ แผง เซลล์แสงอาทิตย์เพื่อผลิตไฟฟ้ าเองในสถานประกอบการ การติ ด ตั ้ง เครื่ อ งเผากลิ่ น และฝุ ่ นละอองที่ เ กิ ด จากการ กระบวนการผลิต เป็นต้น


โดยผู ้ประกอบการที่มีความประสงค์จะยื่นขอรับ การส่งเสริมการลงทุนในมาตรการดังกล่าวจะได้รับสิทธิ ประโยชน์ยกเว้นอากรเครื่องจักร ยกเว้นภาษี เงินได้นิติ บุ คคล 3 ปี ในสัดส่วนร้อยละ 50 ของเงินลงทุนที่ใช้ ใน การปรั บ ปรุ ง ในส่ ว นของผู ้ ป ระกอบการเอสเอ็ ม อี ไ ด้ กาหนดวงเงิ น ลงทุ น ขั น้ ต่ า 500,000 บาท ซึ่ ง ปรั บ ลดลงจากปกติท่กี าหนดไว้ 1 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดิน และเงินทุนหมุ นเวียน)

ข้อมู ลจาก: https://www.boi.go.th/index.php?page=press_ releases_detail&topic_id=124464 ภาพจาก: https://www.scg.com/innovation/floating-solar-farm/ https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_1806176

ทัง้ นี้ คุณ สมบัติ ของผู ้ ประกอบการเอสเอ็ มอี ท่ี มี ค วามประสงค์ จ ะขอรั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น ตาม ที่บีโอไอกาหนดจะต้องมีสินทรัพย์ถาวรสุทธิหรือขนาด ลงทุนไม่เกิน 200 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและเงินทุน หมุ นเวียน) และต้องมีบุคคลสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน ซึ่ งผู ้ประกอบการที่สนใจ สามารถยื่นขอรับสิทธิประโยชน์ตามมาตรการส่งเสริม การลงทุ น เพื่ อ ปรั บ ปรุ งประสิ ท ธิ ภ าพ การผลิ ต ได้จนถึงเดือนธันวาคม 2563

สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

ข้อตกลงทางการค้า ระหว่างประเทศ INCOTERMS

2020

วันพฤหัสบดีท่ี 16 มกราคม 2563 ณ โรงแรม บู เลอวาร์ด กรุ งเทพฯ หลักสูตร เทคนิคและการเตรียมความพร้อม

ลงทะเบี ย น อ อ น ไ ล น์

BOI

ทางการบัญชี

สาหรับกิจการที่ได้รับสิทธิประโยชน์ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น จาก ลงทะเบี ย น อ อ น ไ ล น์

บรรยายโดย : ดร.วรกร แช่มเมืองปัก ผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีและตรวจสอบภายใน

วั น พฤหั ส บดี ที่ 23 มกราคม 2563 โรงแรม แกรนด์ สุ ขุ ม วิ ท กรุ ง เทพฯ

5

icn


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29

สมัครใช้ บริการ eMT

ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online

ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พมิ พ์ใน ระบบ eMT Online

สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร

ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร

BOI Approve 30 วัน 7 วัน

30-60 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

เป็นเรื่อง ติดต่อ...

ยุงยาก

IC

สา ห รั บ คุ ณ

บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านเครื่องจักร

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 314-315





วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน

เตรียมเอกสารกาหนด วันนาเข้าครัง้ แรก / ขอรับ Username และ Password ระบบ IC Online (ภายใน 1 วันทาการ)

ตามมาตรา 36 (1), (2)

คีย์บัญชีรายการ วัตถุดบิ / เตรียม เอกสารการลงทะเบียน เข้าสู่ระบบ RMTS สมัครใช้ บริการ RMTS

ขออนุมัติ บัญชีรายการ วัตถุดบิ กับ BOI

คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดบิ คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต

คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดบิ

ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน

BOI Approve

30 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

ทาให้คุณ ติดต่อ...

IC

สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านวัตถุดิบ

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 310, 313

ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

กิจกรรมสมาชิก

Supported by:

ครั้งที่ 5/2562

BOI

-Services <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนาฟรี ส าหรั บ สมาชิ ก ครัง้ ที่ 5/2562 เรื่อง “BOI e-Services” เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2562 ณ ห้องแคทลียา โรงแรม รามา การ์เด้นส์ กรุ งเทพฯ เพื่อให้สมาชิ กได้รับความรู้และความเข้าใจข้อมู ลเกี่ยวกับระบบ ออนไลน์ต่างๆที่บีโอไอเปิ ดให้บริการ (BOI e-Services) ซึ่ งเป็น การยกระดั บ ระบบบริ ก ารทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข องบี โ อไอให้ มี ความทั น สมั ย เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการท างาน และอ านวย ความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ บริการตามนโยบายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ การสัมมนาครัง้ นีไ้ ด้รับเกียรติจาก คุ ณ ชนิ น ทร์ ขาวจั น ทร์ ผู ้ อ านวยการศู น ย์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (ผู ้ อ านวยการระดั บ สู ง ) และ รั ก ษาการด้ า นการลงทุ น ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม การลงทุน เป็นวิทยากรบรรยาย โดยมีหัวข้อสาคัญ อาทิ ระบบ สนั บ สนุ นงานส่ งเส ริ ม ก ารล ง ทุ น (e-Investment) ระบ บ อิเล็กทรอนิกส์สาหรับงานสิทธิประโยชน์ด้านเครื่องจักร (eMT) ระบบการขอใช้ สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ย กเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคล ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Tax) ระบบตรวจสอบสถานภาพ เอกสารทางอิ น เทอร์ เ น็ ต (Doc Tracking) ระบบแจ้ ง ผลการ ด าเ นิ น ก าร แ ล ะ คว า มคื บ ห น้ าโค รง ก าร ( e-Monitoring) ระบบรายงานผลการดาเนินงาน (ตส.310) ระบบค้นหาสิทธิและ ประโยชน์เบือ้ งต้น ระบบขยายเวลานาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น ตามมาตรา 36 (Online) ระบบการขออนุญาตถือกรรมสิทธิ์ ที่ดิ น ออนไลน์ (e-Land) และระบบ Single Window for Visa and Work Permit System ทั ้ ง นี้ วิ ท ยากรได้ เ ปิ ดโอกาสให้ ผู ้เข้าร่วมสัมมนาได้ซกั ถามประเด็นปั ญหาที่เป็นข้อสงสัย เพื่อนา ข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่บีโอไอกาหนดไว้ สาหรั บ กิ จ กรรมต่ า งๆของสมาคมที่น่ า สนใจ สามารถติ ดตามได้ ท่ี www.ic.or.th หรื อ Call Center โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่ อ 700 11 icn


เตรียมพร้อมรับ...บังคับใช้

พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th

ในยุ คสมั ย ของโลกการติ ด ต่ อ สื่ อ สารแบบดิ จิ ทั ล ที่เทคโนโลยีช่วยให้การเก็บข้อมู ลและบันทึกข้อมู ลการใช้ งาน ของผู ้ ใ ช้ ง านท าได้ อ ย่ า งง่ า ยดาย และข้ อ มู ล การใช้ ง าน ดั ง กล่ า วเมื่ อ ถู ก เก็ บ รวบรวมอย่ า งดี จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด มู ล ค่ า มหาศาลได้ หากผู ้ประกอบการสามารถนาข้อมู ลพฤติกรรม ของผู ้ บริ โภคมาใช้ ในการวิ เ คราะห์เ พื่อ นาเสนอสิ นค้ าและ บริการได้ตรงกับกลุ่มเป้ าหมาย ซึ่ งจะช่ วยพัฒนาธุ รกิจและ สร้างรายได้ให้กับผู ้ประกอบการได้เป็นอย่างมาก แต่ในอีก ทางหนึ่งข้อมู ลชื่อ ที่อยู ่ หมายเลขโทรศัพท์ อีเมล รวมถึง พฤติกรรมการติดต่อสื่อสาร ที่สามารถระบุ ถึงตัวเจ้าของ ข้อมู ลได้ถือเป็น “ข้อมู ล ส่วนบุ คคล” และเจ้าของข้อมู ล เ ท่ า นั ้ น ที่ มี สิ ท ธิ เ ข้ า ถึ ง แ ล ะ น า ข้ อ มู ล ไ ป ใ ช้ ง า น ไ ด้ ผู ้ ป ระกอบการที่ มี ค วามสามารถและข้ อ ได้ เ ปรี ย บทาง เทคโนโลยีไม่ควรเก็บและนาข้อมู ลของผู ้ใช้ บริการไปวิเคราะห์ เพื่อใช้ งานที่เอือ้ ประโยชน์ต่อการดาเนินธุ รกิจโดยพลการ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมู ล ส่วนบุ คคล พ.ศ. 2562 ได้ ป ระกาศใช้ ใ นราชกิ จ จานุ เ บกษา เมื่ อ วั น ที่ 24 พ ฤ ษ ภาคม พ .ศ. 2562 เหตุ ผ ล ใ นการ ป ร ะกาศใ ช้ พระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้ สื บ เนื่ อ งจากในปั จจุ บั น มี ก าร ล่วงละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมู ลส่วนบุ คคลเป็น จานวนมากจนสร้างความเดือดร้อน ราคาญ หรือความเสียหาย ให้แก่เจ้าของข้อมู ลส่วนบุ คคล ประกอบกับความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีทาให้การเก็บรวบรวม ใช้ หรือ เปิ ดเผยข้อมู ล ส่ ว นบุ คคลอั น เป็ น การล่ ว งละเมิ ด ดั ง กล่ า วท าได้ โ ดยง่ า ย สะดวก และรวดเร็ว ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจ โดยรวม การกาหนดให้มี ก ฎหมายว่ า ด้ ว ยการคุ้ ม ครอง ข้อมู ลส่วนบุ คคลเป็นการทั่วไปขึ้น เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ กลไก หรื อ มาตรการก ากั บ ดู แ ลเกี่ ย วกั บ การให้ ค วาม คุ้มครองข้อมู ลส่วนบุ คคล โดยการบังคับใช้ กฎหมายฉบับนี้ จะมุ ่งเน้นไปที่ผู้ประกอบการภาคธุ รกิจเป็นหลัก icn 12

สาหรับผู ้ประกอบการที่มีการเก็บข้อมู ลของ ลูกค้า ลูกจ้าง ผู ้มาติดต่อ ไม่ว่าจะเป็นทางเว็บไซต์ Application สื่อ Social Media หรือสื่อดิจิทัลอื่นๆ และมีการนาข้อมู ลดังกล่าวมาใช้ ในการวิเคราะห์เพื่อ พัฒ นาการขายหรื อ การให้ บ ริ การอั น เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการทาธุ รกิจ ผู ้ประกอบการในภาคธุ รกิจเหล่านี้ ต้องรีบปรับตัวให้ทันกับการบังคับใช้ กฎหมายฉบับใหม่ ตาม พ.ร.บ.คุ้ ม ครองข้ อ มู ล ส่ ว นบุ คคล ปี 2562 ซึ่ งจะมีผลบังคับใช้ วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เพื่อไม่ให้ถูกลงโทษตามกฎหมาย และเพื่อคุ้มครอง สิทธิของเจ้าของข้อมู ลได้อย่ างมีมาตรฐาน ในการ จัดการข้อมู ลส่วนบุ คคลอย่างเหมาะสมและเพียงพอ เมื่อมีความจาเป็ นต้องขอใช้ ข้อมู ลส่วนบุ คคล ทัง้ นี้ เพื่ อ ป้ องกั น ความเสี่ ย งที่ จ ะมี ผ ลกระทบไปถึ ง การ รักษาความลั บ (Confidentiality) ความถู กต้ อ ง สมบู รณ์ ( Integrity) และความพร้ อ มใช้ งาน (Availability) ของข้ อ มู ล ส่ ว นบุ คคล ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด แนวโน้ ม ให้ เ กิ ด ผลกระทบเชิ ง ลบหรื อ ความเสี ย หาย ในระดับบุ คคลหรือองค์กร


หลั กการสาคัญ ตามพ.ร.บ.คุ้ ม ครองข้ อ มู ล ส่ ว น บุ คคลฯ ที่ผู้ประกอบการควรทาความเข้าใจ ตัวอย่างเช่ น 1. การเก็บ ข้อ มู ล ใช้ ข้อ มู ล เปิ ดเผยข้อ มู ล ต้ อ ง ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมู ลเสมอ 2. การขอความยินยอมเพื่อใช้ ข้อมู ลจากเจ้าของ ข้อมู ล ต้องทาเป็นหนังสือหรือผ่านระบบออนไลน์ตามแบบ ที่ ก าหนดไว้ และในการขอความยิ น ยอมต้ อ งแจ้ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการเก็ บ ข้ อ มู ล การใช้ ข้ อ มู ล และการ เปิ ดเผยข้อมู ล ทัง้ นี้ ข้อความการขอความยินยอมต้อง แยกส่วนออกจากข้อความอื่นอย่างชัดเจน ใช้ ภาษาที่อ่าน ง่ายเพื่อสามารถเข้าถึงและเข้าใจได้ง่าย 3. การเก็ บ ข้ อ มู ล ต้ อ งแจ้ ง รายละเอี ย ดและแจ้ ง สิท ธิ ต่อ เจ้า ของข้ อมู ล ได้ แ ก่ วั ตถุ ป ระสงค์ ข องการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ข้ อ มู ล ที่ จ ะเก็ บ รวบรวมและระยะเวลาที่ คาดหมายได้ ว่ า จะเก็ บ ข้ อ มู ล ไว้ บุ คคลหรื อ หน่ ว ยงานที่ ข้อมู ล อาจจะถูกเปิ ดเผย ข้อมู ลของผู ้ประกอบการ และ ตั ว แทนที่ เ ป็ น ผู ้ เ ก็ บ ข้ อ มู ล สถานที่ ติ ด ต่ อ และวิ ธี ก าร ติดต่อ ในส่วนของสิทธิท่ีต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมู ลทราบ ตัวอย่างเช่ น สิทธิเข้าถึงและขอสาเนาข้อมู ล สิทธิคัดค้าน การเก็บข้อมู ลและการใช้ ข้อมู ล สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย ข้อมู ล สิทธิขอให้แก้ไขข้อมู ลให้ถูกต้อง สิทธิร้องเรียนว่า มีการละเมิดข้อมู ลส่วนบุ คคลตามกฎหมายนี้ ฯลฯ

4. การเก็ บ ข้ อ มู ล ต้ อ งเก็ บ จากเจ้ า ของข้ อ มู ล เท่านัน้ ห้ามเก็บจากแหล่งอื่น กล่าวคือ ต้องให้เจ้าของ ข้อมู ลเป็นผู ้กรอกข้อมู ลและมอบให้โดยตรง 5. ผู ้ ป ระกอบการธุ รกิ จ ขนาดใหญ่ ต้ อ งมี "เจ้ า หน้ า ที่คุ้ ม ครองข้อ มู ล " ของตั ว เอง กรณี ท่ี ผู้ เ ก็ บ ข้อมู ลเป็นหน่วยงานของรัฐ หรือเป็นผู ้ประกอบการที่มี ข้อมู ลส่วนบุ คคลเป็นจานวนมาก หรือผู ้ประกอบการที่มี กิจกรรมหลักเป็นการเก็บข้อมู ล การใช้ ข้อมู ล หรือการ เปิ ดเผยข้อมู ล ต้องจัด ให้มี "เจ้าหน้า ที่คุ้มครองข้อมู ล ส่วนบุ คคล" เป็นของตัวเอง ซึ่ งอาจเป็นพนักงานของ ผู ้ ป ระกอบการนั ้ น ๆ หรื อ เป็ นผู ้ รั บ จ้ า งให้ บ ริ ก าร (Outsource) ก็ได้ 6. การเก็ บ และใช้ ข้ อ มู ล จะถู ก ตรวจสอบโดย คณะกรรมการผู ้เชี่ยวชาญ 7. ข้อมู ลคนตาย กฎหมายไม่คุ้มครอง 8. พ.ร.บ.คุ้ ม ครองข้ อ มู ล ส่ ว นบุ คคลฯ มี ผ ล บังคับใช้ กับผู ้ประกอบการที่อยู ่ในประเทศไทย ไม่ว่า การ เก็ บ ข้ อ มู ล การใช้ ข้ อ มู ล หรื อ การเปิ ดเผยข้ อ มู ล จะ เกิดขึน้ ในประเทศหรือต่างประเทศก็ตาม เนื่องจากโลกยุ ค ปั จจุ บันการติดต่อสื่อสาร การส่งข้อมู ล การเก็บข้อมู ล และการใช้ ข้อมู ล เกิดขึน้ ข้ามพรมแดนตลอดเวลา 9. ผู ้ประกอบการที่ฝ่าฝื นกฎหมายนี้ อาจถู ก ศาลสัง่ ให้จ่าย "ค่าเสียหายเชิงลงโทษ" สองเท่า ที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น เป็ น เพี ย งหลั ก การกว้ า งๆ เกี่ยวกับพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมู ลส่วนบุ คคล พ.ศ. 2562 ผู ้สนใจศึ กษาข้อมู ลรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถสมัคร เข้าร่วมสัมมนาหัวข้อ “Update พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมู ล ส่วนบุ คคล ปี 2563 ภาคปฏิบัติจริงต้องทาอย่างไร” จัดโดยสมาคมสโมสรนักลงทุน ในวันศุกร์ท่ี 24 มกราคม พ.ศ. 2563 เวลา 09.00-16.00 น. ณ โรงแรม แกรนด์ สุ ขุ มวิ ท กรุ งเทพฯ (ถนนสุ ขุ มวิ ท ซอย 6) โดย ล ง ท ะ เ บี ย น อ อ น ไ ล น์ เ พื่ อ ส า ร อ ง ที่ นั่ ง ไ ด้ ที่ http://icis.ic.or.th หากต้องการสอบถามข้อมู ลเพิ่มเติม กรุ ณาติดต่อ คุณกาญจนา แผนกฝึ กอบรมและบริการ นักลงทุน โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 206 ทีม่ า:

http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/069/T_0052.PDF https://ilaw.or.th/node/5332 https://creativetalklive.com/data-privacy-act-and-thing-brand-be-careful/ https://www.acinfotec.com/2019/07/23/data-protection-law-2562/

ภาพจาก: https://www.sundae.co.th/article/?cmd=article&gid=60,68,78&id=235

shorturl.at/sCHQ4 https://news.siamphone.com/news-43468.html

shorturl.at/rzAZ4

13 icn


สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

Update

พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ปี 2563 ภาคปฏิบัติจริงต้องทาอย่างไร ศุกร์ที่ 24 มกราคม 2563 เวลา 09.00-16.00 น. โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล นับวันจะรุนแรงขึน้ ปี 2563 พ.ร.บ.คุ้มครองส่วนบุคคลจะประกาศใช้แล้ว นายจ้างต้องไป จัดการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ให้ชัดเจนและปลอดภัย หากไม่ทา ไม่ปลอดภัย ลูกจ้างมีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายได้

หัวข้อการสัมมนา : • เหตุผลที่ต้องออกกฎหมายนี้ เพราะอะไร ? • ข้อมูลส่วนบุคคล ที่กฎหมายคุ้มครอง มีอะไรบ้าง ? • ข้อมูลใดที่ต้องคุ้มครอง หรือ ไม่คุ้มครอง ต่างกันอย่างไร ? • ถ้ามีคนนาข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ เจ้าของข้อมูล จะฟ้องร้องได้ที่ไหน ? • บทลงโทษผู้ละเมิด ไม่ทาตามกฎมายนี้ อาจจะเสียเงินเป็นล้าน มีอะไรบ้าง ? • บทลงโทษทางปกครอง คืออะไร ?

เหมาะสาหรับ : เจ้าของกิจการ ผู้บริหาร ผู้จัดการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และผู้สนใจทั่วไป

วิทยากร : ฒิด้าธนกฎหมายแรงงาน คุณสิทธิผูศ้ทกั รงคุดิณ์ วุศรี รรมวัฒนา

อัตราค่าสัมมนา : ประเภท

อัตรา ค่าสัมมนา

Early Bird สมัครและชาระเงิน ภายในวันที่ 10 ม.ค. 63

สมาชิก

4,280

3,745

บุคคลทั่วไป

5,350

4,815

อัตรานี้รวมค่าเอกสาร อาหารกลางวัน อาหารว่าง และภาษีมลู ค่าเพิม่ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษีได้ 200%

ลงทะเบียนเพื่อสารองที่นั่ง ออนไลน์ ได้ทาง http://icis.ic.or.th สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม  แผนกฝึ กอบรมและบริ ก ารนั ก ลงทุ น โทรศั พ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 205-209 โทรสาร 0 2936 1441 หรื อ ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ทาง www.ic.or.th


สาเร็จได้ไวขึ้น

ถ้าคิดแต่พอดี เส้าหลิน

ท่านกาลังหาทางไปสู่ความสาเร็จใช่ ไหม บางครัง้ ก็รู้สึกเซง็ เบื่อ หนื่อย หรือกังวลสารพัด แล้ ว หนทางใดที่ ใ ช่ (เหมาะสม) ส าหรั บ ท่ า น และ นาพาไปสู่สิ่งที่มุ่งหวังได้ไวกว่า ปี ใหม่นจี้ ะใช้ วิธีไหนดีนะ? ถ้าถามว่า... อะไรที่ไวกว่าเดิน คาตอบคือ วิ่ง อะไร ที่ ไ วกว่ า วิ่ ง ค าตอบคื อ ขั บ รถ อะไรที่ ไ วกว่ า ขั บ รถ ค าตอบคื อ นั่ ง เครื่ อ งบิ น อะไรที่ ไ วกว่ า นั่ ง เครื่ อ งบิ น คาตอบคือ นั่งยานอวกาศ อะไรที่ไวกว่ายานอวกาศ…. คงไม่ม!ี แต่ ๆ ช้ า ก่ อ น มี สิ่ ง ที่ ไ วที่ สุ ด อยู ่ สิ่ ง หนึ่ ง ที่ แ ม้ แ ต่ นักวิทยาศาสตร์ยังยากที่จะพิสูจน์ สิ่งนัน้ คือ การคิด ของมนุ ษ ย์ เพราะขณะที่ เ รานั่ ง อ่ า นข่ า วสาร โอนเงิ น หาความบั น เทิ ง ต่ า งๆผ่ า นมื อ ถื อ ที่ เ ชื่ อ มต่ อ โซเชี ย ล ความคิ ด เรากลั บ ไปไหนได้ ม ากมายหลายแห่ ง นั่ง อยู ่ ท่ี ทางานกลับคิดถึงบ้าน นั่งอยู ่บ้านคิดถึงงาน เวลานอน คิดถึงอดีต เวลาตื่นคิดไปไกลถึงอนาคต แล้วเราควรจัดการอย่างไรให้ “ความคิด” ไม่ดิน้ ไป ดิน้ มา ไม่ ฟุ้ ง (ซ่ าน) แล้ ว จะรุ ่ ง เอง มีงานวิจัย ของต่างประเทศเกี่ย วกับความคิดของ มนุ ษ ย์ พบว่ า ในแต่ ล ะวั น คนเรามี ค วามคิ ด ในสมอง 60,000-80,000 เรื่องต่อวันเลยทีเดียว หากไม่รู้เท่าทัน หรือควบคุมไม่ได้ คงทาให้ฟุ้งซ่ านได้ไม่น้อย เพจคลินิก สุ ข ภาพจิ ต นายแพทย์ เ จษฎาได้ เ สนอแนะวิ ธี ข จั ด ความฟุ ้ งซ่ านไว้ อาทิ

1) การออกไปจากจุ ดเดิ ม - แล้ ว ท าอะไรสั ก อย่างที่ชอบทา/มีค วามสุขผ่ อนคลาย เช่ น ทาอาหาร อ่ านหนังสื อ ฟั งเพลง เดิน เล่ น ไปหาเพื่อน ดื่มนา้ 2) ลองตะโกน(ในใจ)ว่า “หยุ ด” - เพราะอย่าง น้อยจะทาให้ได้หยุ ดคิดว่ากาลังทาอะไรอยู ่ 3) กาหนดเวลาสาหรับคิด - ถ้าไม่อาจเพิกเฉย ต่อความคิดบางเรื่องหรือจาเป็นต้องครุ ่นคิด ถึ ง มั น จริ ง ๆก็ ใ ห้ ห าเวลาคิ ด อาจก าหนด ช่ วงเวลาที่เราจะนัง่ คิด

4) เขียนความคิดออกมา - การเขียนความคิด ลงบนกระดาษช่ วยให้เราเห็นสิ่งต่างๆชัดเจน ขึ้น และแยกแยะปั ญหาได้ดีขึ้น จากนัน้ จึงลง มือแก้ไขที่ต้นเหตุ 5) ลองมองปั ญหาในมุ ม กลับ ให้เ ป็ นแง่บ วก – มองว่ าปั ญ หาต่า งๆท าให้เ รารู้ ข้อ บกพร่ อ ง ของตั ว เอง มองเป็ น บทเรี ย นส าหรั บ ช่ วย จดจาไว้แก้ไข มองว่าใครๆก็เคยเจอปั ญหา แบบนี้ บางคนเจอปั ญหาหนักๆมากกว่าเรา อีก แต่เขาก็สู้จนอยู ่มาได้ เราจะได้มีกาลังใจ แล้วมองโลกในแง่ดีมากขึน้ 6) ใช้ ธรรมะเข้าช่ วย - ให้อภัย ปล่อยวางจาก สิ่งใดๆที่เข้ามารบกวนจิตใจของเรา 7) ฝึ กสติ ฝึ กทาจิตให้สงบ - อาจลองใช้ วิธีการ สวดมนต์ นั่งสมาธิ กาหนดลมหายใจ หรือ เดิ นสว นสาธารณะมองต้ น ไม้ ใ บเขี ย ว สูดอากาศ หายใจลึกๆ 15 icn


นอกเหนื อ จากคาแนะน าข้า งต้ น หากท าแล้ ว ยั ง รู้ สึ ก ไม่ ดี ขึ้ น ควรลองหาที่ ป รึ ก ษา เช่ น ญาติ พ่ี น้ อ ง เพื่อ นสนิทมิ ตรสหาย รวมถึง แพทย์ เพื่อ ปรั บปลี่ ยนค วามรู้สึก ความคิด อารมณ์ และพฤติกรรม หรืออาจ ลองเปลี่ ย นการใช้ ชี วิ ต ให้ เ รี ย บง่ า ย สร้ า งสรรค์ และ พอเพียง ดังนี้ • รับไว้....เท่าที่รับได้ ทุกอย่างไม่ได้ขึ้นอยู ่กับคุณ คนเดียว ปล่อยให้บางสิ่งเป็นไป และให้คนอื่ น ตัดสินใจบ้าง • ลุยๆๆ ตามหาในสิ่งที่ชอบ ตัวตน จุ ดยืน และ ความคิดของคุณเอง เพื่อใช้ ชีวิตให้สมดุล • หยุ ดทุ ก สิ่ ง รอบตั ว ...แล้ ว อยู ่ ค นเดี ย วบ้ า ง ไม่ ต้ อ งมี แ ผนอะไร ไม่ มี ต าราง ไม่ แ ชท ไม่ คุย โทรศั พ ท์ ไม่ สื่ อ สารกั บ โลกภายนอกสั ก วั น หาอะไรทาอย่างที่อยากจะทาจริงๆ ไม่ใช่ สิ่ง ที่ ต้องทาหรือต้องฝื นทา

อ้างอิงจาก:: เพจคลินิกสุขภาพจิตนายแพทย์เจษฎา

• อยู ่ กั บ ครอบครั ว แม้ ท่ี บ้ า นคุ ณ จะคุ ย กั น โหวกเหวก ทั ้ ง ลู ก ทั ้ ง หลานเจี ๊ย วจ๊ า วกั น ตลอดเวลา แต่นั่นคือการเติมพลังให้ชีวิตอีก ด้านหนึ่ง เพราะครอบครัวคือความอบอุ ่นที่ ไม่ ต้ อ งมี จ ริ ต และไม่ ต้ อ งยึ ด ติ ด ภาพลั ก ษณ์ ไม่ว่าคุณจะเป็นอย่างไร คนในครอบครัวก็รับ คุณได้เสมอ • ลด ละ เลิกในสิ่งที่ไม่จาเป็น ชีวิตจะเบาสบาย ขึ้น และเหนื่ อ ยน้ อ ยลงเมื่ อ คุ ณ ไม่ ต้ อ งวิ่ ง ตาม กระแสสังคม • โละสัมภาระ ลองจัดห้องบ่อยๆหรือเดือนละครัง้ เพื่อสะสางและทิง้ สิ่งที่ไม่จาเป็น หรือมอบให้กับ คนที่ เขาขาดแคลน ยิ่ งท าบ่อ ย การท าแต่ ล ะ ครัง้ ก็จะยิ่งไม่เหนื่อย แล้วชีวิตคุณจะเบาสบาย มาเริ่ ม จั ด ระเบี ย บความคิ ด ของตนเองให้ พ อดี ตัง้ แต่ต้นปี ย่อมเป็นการเติมสุดยอดยาวิเศษที่ทาให้เรา รู้เท่าทันความคิดได้มากขึ้น แล้วความสุข ความสาเร็จ จะมาหาท่านไวกว่าที่คิด

ภาพจาก: https://www.chillpainai.com/scoop/5661/

สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม

ออนไลน์

ผ่านระบบ เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ

หลักสูตรด้านศุลกากร

หลักสูตรการใช้งานระบบ IC

หลักสูตรการบริหารจัดการ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน icn 16

0 2 9 3 6 1 4 2 9 ต่ อ 2 0 5 - 2 0 9


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

การตั ด บั ญ ชี ร ะบบ Paperless Q : การดาวน์โหลดข้อมู ลเพื่อตัดบัญชีระบบ Paperless เริ่มจากใบขนสินค้าขาออกของ เดือนตุล าคม 2018 ใช่ หรือ ไม่ (โดยดาวน์โ หลดข้ อมู ลเพื่อ ตัด บัญ ชี อ อนไลน์ใ นระบบ) ส่วนใบขนสินค้าขาออกปี ก่อนหน้านี้ และไม่เกินเดือนกันยายน 2018 ให้ตัดบัญชีระบบเก่า ใช่ หรือไม่ (โดยใช้เอกสารใบขนสินค้าขาออก 0409 ที่ได้รับจากบริษัทชิปปิ ้ งนาไปยื่นที่ IC) A : ตามประกาศสกท. ที่ ป.8/2561 ใบขนสินค้าขาออกที่ส่งออกตัง้ แต่ วันที่ 1 ตุ ล าคม 2561 จะต้องตัดบัญชีด้วยระบบ paperless เท่านัน้ ส่วนใบขนสินค้าขาออกที่ส่งออก ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2561 ให้ยื่นตัดบัญชีด้วยระบบเดิม ดังนัน้ คาถามที่บริษัทสอบถามนัน้ บริษัทเข้าใจถูกต้องแล้ว

ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ไม่วา่ เราจะทาอะไรก็ตาม จงอย่าเอา ความสาเร็จของคนอื่นมาเป็นตัวตัง้ เพราะบริบทของตัวเรา และสภาพแวดล้อมไม่เหมือนกัน

คุณโชค บูลกุล กรรมการผู้ จั ด การ กลุ่ ม บริ ษั ท ฟาร์ ม โชคชั ย ที่มา>> https://www.thairath.co.th/content/453456 ภาพจาก>> https://readthecloud.co/choak-bulakul/

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก

www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 201 โทรสาร 0 2936 1441 17 icn


ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ

@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ

Add friends

IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย

ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !


ตารางสัมมนาประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2563 เดือนมกราคม 2563

วันสัมมนา

สถานที่จัด

ชื่อหลักสูตร

วิทยากร

อัตราค่าสัมมนา สมาชิก บุคคลทั่วไป

หลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน (กรุงเทพฯ) 24-26 ม.ค. 63 (09.00-17.00 น.) 25 ม.ค. 63 (09.00-16.00 น.)

วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2563 (รับวุฒิบัตร) วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 1/2563

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)

วิทยากรจาก BOI และ IC

5,350

6,420

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

3,745

4,280

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

3,745

4,280

ดร.วรกร แช่มเมืองปัก

4,280

5,350

คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

4,280

5,350

หลักสูตรบริหารจัดการ 16 ม.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 21 ม.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 23 ม.ค. 63 (09.00-16.30 น.) 24 ม.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 28 ม.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 30 ม.ค. 63 (09.00-16.00 น.)

ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ INCOTERMS®2020 ความรู้การน�ำเข้าและส่งออกทั้งระบบเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด เทคนิคและการเตรียมความพร้อมทางการบัญชีส�ำหรับกิจการที่ ได้รับสิทธิ ประโยชน์ส่งเสริมการลงทุนจาก BOI (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD& CPA) Update พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ปี 2563 ภาคปฏิบัติจริงต้องท�ำอย่างไร การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศและIncoterms®2020 กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ 2560 และวิธีจัดเก็บค่าภาษีอากร

หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT online

26 ม.ค. 63 วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์สำ� หรับวัตถุดิบ (09.00-17.00 น.) ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) ครั้งที่ 1/2563

โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5)

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

3,745

4,280

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)

วิทยากรจาก IC

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI และผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

4,280

5,350

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

2,996

4,066

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

4,280

5,350

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

4,280

5,350

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

3,745

4,280

ดร.วรกร แช่มเมืองปัก

4,280

5,350

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณเมธี แสงมณี คุณวิรดา ยูวะเวส พ.ต.อ.หญิง นัฐวินุศ หัสดินทร ณ อยุธยา

3,210

4,280

3,210

4,280

เดือนกุมภาพันธ์ 2563

หลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน (กรุงเทพฯ) 1 ก.พ. 63 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ ได้รับการส่งเสริม โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (09.00-17.00 น.) การลงทุน ครั้งที่ 1/2563 (ถนนรัชดาภิเษก) ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบและ 1-2 ก.พ. 63 โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ แนวทางปฏิ บั ติ ส� ำ หรั บ ผู ้ จั ด ท� ำ บั ญ ชี ข องกิ จ การที่ ไ ด้ รั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น (09.00-17.30 น.) ครั้งที่ 1/2563 (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD& CPA) (ถนนสุขุมวิท 5) 15 ก.พ. 63 โรงแรม แกรนด์ สุขมุ วิท กรุงเทพฯ (09.00-16.00 น.) ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2563 (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) 22 ก.พ. 63 โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (09.00-16.00 น.) วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน (ถนนสุขุมวิท 5)

หลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน (ชลบุรี) 29 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน

โรงแรม แปซิฟิคพาร์ด ศรีราชา

หลักสูตรบริหารจัดการ 1 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 5 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 6 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 15 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 18 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 20 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 21 ก.พ. 63 (09.00-16.30 น.) 22 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 24 ก.พ 63 (09.00-17.00 น.) 27 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.)

พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน ฉบับปี 2017 กฎหมายคุ้มครองนายจ้างและสิทธิการบริหารที่นายจ้างท�ำได้ตามกฎหมาย สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความตกลงระหว่างประเทศภายใต้ JTEPA สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรกับเขตการค้าเสรี FTA ทุกความตกลง 30 Best Practices การบริหารธุรกิจขององค์กรระดับโลก ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ INCOTERMS®2020 เจาะลึกกระบวนการตรวจสอบภายในยุคใหม่ แบบครบวงจร (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) การใช้หนังสือรับรองถิ่นก�ำเนิดสินค้าของอาเซียน (Form D, e-Form D) และการรับรองถิ่นก�ำเนิดสินค้าด้วยตนเอง (SC1 และ SC2) พ.ร.บ.“Transfer Pricing” การเตรียมความพร้อมและการป้องกัน กรณีถูกตรวจสอบ (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) ขั้นตอนการขออนุญาตท�ำงานของชาวต่างชาติในประเทศไทย

โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

สนใจส�ำรองที่นั่งเข้าร่วมสัมมนาได้ที่ คุณวิลาสินี คุณกาญจนา คุณศิริรัตน์ หรือ คุณชาตรี แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205-209 โทรสาร 0-2936-1441 E-mail : is-investor@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th


ตารางสัมมนาประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2563 วันสัมมนา

ชื่อหลักสูตร

สถานที่จัด

วิทยากร

อัตราค่าสัมมนา สมาชิก บุคคลทั่วไป

หลักสูตรบริหารจัดการ 28 ก.พ. 63 เกณฑ์ค�ำนวณก�ำไรสุทธิทางบัญชี VS.ภาษีอากร พร้อมการจัดท�ำงบการเงิน (09.00-16.30 น.) ส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน (อยูร่ ะหว่างการขออนุมตั ิ CPD&CPA) 29 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) ข้อควรรูเ้ กี่ยวกับความผิดทางศุลกากรตามกฎหมายใหม่ 2560

โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

คุณเมธี แสงมณี

3,210

4,280

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)

วิทยากรจาก IC

2,140

3,210

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน

5,350

6,420

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

1,605

1,926

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

วิทยากรจาก BOI และผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

3,745

4,815

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

คุณมุกดาวดี เทียนทอง

4,280

5,350

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

คุณเมธี แสงมณี

3,210

4,280

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

3,745

4,280

ดร.วรกร แช่มเมืองปัก

4,280

5,350

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

5,350

6,420

คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

4,280

5,350

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

4,280

5,350

ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณเมธี แสงมณี

3,210

4,280

วิทยากรจาก IC

2,675

3,745

วิทยากรจาก IC

2,140

3,210

หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT online 2 ก.พ. 63 วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักร (09.00-17.00 น.) ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (eMT online) ครั้งที่ 1/2563

หลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน (กรุงเทพฯ) 7 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 13-15 มี.ค. 63 (09.00-17.00 น.) 14 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 21 มี.ค. 63 (09.00-17.00 น.) 22 มี.ค. 63 (09.00-17.00 น.)

เดือนนีนาคม 2563

หลักเกณฑ์และปัญหาการใช้สิทธิและประโยชน์ที่ได้รับตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2563

วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 2/2563 (รับวุฒิบัตร) วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 2/2563 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 2/2563 การใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับกิจการที่ ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2563 รวมเทคนิคการวางระบบบัญชีส�ำหรับธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน และ 28 มี.ค. 63 การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการตรวจสอบอย่างมืออาชีพ ครั้งที่ 1/2563 (09.00-17.00 น.) (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD& CPA)

โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)

หลักสูตรบริหารจัดการ ใบก�ำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ และใบรับอิเล็กทรอนิกส์ (e-Tax Invoice และ 5 มี.ค. 63 e-Receipt) ระเบียบกรมสรรพากรว่าด้วยการจัดท�ำส่งมอบและเก็บรักษาใบ (09.00-16.30 น.) ก�ำกับภาษีระบบอิเล็กทรอนิกส์ (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) การปรับปรุงบัญชีและค�ำนวณก�ำไรสุทธิ เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลสิ้นงวด 6 มี.ค. 63 บัญชีส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ (09.00-16.30 น.) CPD&CPA) 7 มี.ค. 63 สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอดอากร (Free Zone) (09.00-16.00 น.) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) 11 มี.ค. 63 ® (09.00-16.00 น.) การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศและ Incoterms 2020 12 มี.ค. 63 (09.00-16.30 น.) 14-15 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 19 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 21 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 24 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 28 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 30 มี.ค. 63 (09.00-17.00 น.)

เทคนิคการจัดเตรียมเอกสารรับ-จ่ายเงินให้สรรพากรยอมรับและถูกต้องตาม พ.ร.บ.การบัญชี (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) การน�ำเข้า-ส่งออกและสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรภายใต้กฎหมายศุลกากรฉบับ ใหม่ (e-Import - e-Export e-Tax Incentive) 20 กลยุทธ์การบริหารคนให้พร้อมรับมือ World Disruption กฎว่าด้วยถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Rule of Origin) ป้องปราบ 87 พฤติกรรมทุจริตในองค์กร การใช้หนังสือรับรองถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Form E) อาเซียน - จีน เพื่อให้ได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร ข้อผิดพลาดทางด้านบัญชีของกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD& CPA)

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5)

หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT online 15 มี.ค. 63 (09.00-17.00 น.) 22 มี.ค. 63 (09.00-17.00 น.)

วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับวัตถุดิบ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) ครั้งที่ 2/2563 วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักร ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (eMT online) ครั้งที่ 2/2563

โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)

หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจส�ำรองที่นั่งเข้าร่วมสัมมนาได้ที่ คุณวิลาสินี คุณกาญจนา คุณศิริรัตน์ หรือ คุณชาตรี แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205-209 โทรสาร 0-2936-1441 E-mail : is-investor@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.