ตลอดระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมา สมาคมได้มุ่งมั่นให้บริการด้านการสั่งปล่อยเครื่องจักรและวัตถุดิบ การตัด บัญชีวัตถุดิบ ตลอดจนการให้บริการด้านฝึกอบรม สัมมนา และกิจกรรมอื่นๆ ซึ่งสมาคมได้รับการตอบรับจาก สมาชิกและผู้ใช้บริการอย่างต่อเนื่องเสมอมา ดังนั้น เพื่อเป็นการขอบคุณสมาชิกและผู้ใช้บริการ ตลอดจนเพื่อร่วม ฉลองในโอกาสครบรอบ 20 ปีแห่งการก่อตั้งสมาคม สมาคมจึงได้มอบส่วนลดพิเศษค่าบริการสั่งปล่อยและตัด บัญชีวัตถุดิบให้แก่สมาชิก 10% และ 5% สาหรับผู้ใช้บริการ ตั้งแต่รอบบิลเดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2556 ซึ่ง ก็ได้รับการตอบรับจากบรรดาสมาชิกและผู้ใช้บริการกันอย่างคับคั่งเลยทีเดียว นอกจากของขวัญที่แสดงความขอบคุณแก่สมาชิกและผู้ใช้บริการแล้ว สมาคมยังได้มอบการบริการที่ อานวยความสะดวกให้แก่ลูกค้ามากยิ่งขึ้น ด้วยบริการระบบงาน RMTS-2011 โดยสามารถรองรับการใช้บริการที่ เพิ่มสูงขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบัน สมาคมอยู่ระหว่างการให้การอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ใช้บริการ ณ สานักงานใหญ่กรุงเทพฯ ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้ใช้บริการได้ศึกษาเรียนรู้ขั้นตอนการใช้งาน และ เตรียมข้อมูลสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบผ่านระบบ RMTS-2011 และภายหลังการอบรม ผู้ใช้บริการจะสามารถ ดาเนินการจัดทาบัญชีรายการวัตถุดิบใหม่ และสามารถทยอยเข้าสู่การใช้งานระบบใหม่ได้ในอีก 2 เดือนข้างหน้า ความพิเศษอีกหนึ่งโครงการที่สมาคมมอบให้แก่สมาชิกและผู้ใช้บริการ ได้แก่ การจัดทา หนังสือ BOI Promoted Companies Directory 2014-2015 ซึ่งรวบรวมรายชื่อบริษัทผู้ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงเดือนมิถุนายน 2556 ไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ซึ่ง คาดว่าจะสามารถเผยแพร่ได้ประมาณไตรมาสที่สองของปี 2557 สมาชิกและผู้ใช้บริการท่านใดสนใจจองพื้นที่ โฆษณาเพื่อเปิดช่องทางธุรกิจของท่านผ่านหนังสือเล่มนี้ สามารถติดต่อและสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ แผนกประชาสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 209, 211 e-mail: pritsanak@ic.or.th (ด่วน! สมาชิก สมาคมรับโปรโมชั่นพิเศษ ตามเงื่อนไขและระยะเวลาที่กาหนด) ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรมและโครงการที่เป็นประโยชน์ของสมาคม ได้ทาง ICN, Email Marketing และเว็บไซต์ของสมาคม นอกจากนี้ ทุกท่านยังสามารถแสดงความคิดเห็น ติชมหรือร้องเรียนงานให้บริการ ได้ที่ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 103 หรือ E-mail: customer_care@ic.or.th หรือแสดงความคิดเห็นด้านการ เผยแพร่ข่าวสาร ได้ที่ icn@ic.or.th สมาคมยินดีรับทุกข้อเสนอแนะเพื่อนามาปรับปรุงพัฒนางานบริการต่อไป
บรรณาธิการ icn@ic.or.th
เปิดม่านการอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) ระบบงาน RMTS-2011 ให้กับบริษัทผู้ใช้บริการงานสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบ ไปเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ที่ผ่านมา นับเป็นก้าวสาคัญของการเปลี่ยนโฉมงานบริการของสมาคมในการยกระดับศักยภาพสู่ระดับ มาตรฐานสากล การเปลี่ยนผ่านจากระบบเก่าสู่ระบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพนั้น ก่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว และยังสามารถลดต้นทุนให้แก่ ผู้ใช้บริการได้มากยิ่งขึ้น ดังนั้น ICN ฉบับนี้ จึงขอนาเสนอวิธีปฏิบัติการสั่งปล่อยวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น ที่ได้รับการพัฒนาขั้นตอนและ เอกสารประกอบการดาเนินงานต่างๆ ตามมาตรา 36 (1) (2) และมาตรา 30 และเพื่อให้ผู้ใช้บริการได้ปฏิบัติตามขั้นตอนอย่างค่อยเป็น ค่อยไป ซึ่งจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจระบบงาน RMTS-2011 ได้อย่างถูกต้องชัดเจน สมาคมจึงยังคงดาเนินงานระบบ RMTS ปัจจุบัน ควบคู่ไปกับระบบ RMTS-2011 โดยมีรายละเอียดวิธีปฏิบัติการสั่งปล่อยวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น ดังนี้
รายละเอียดของเอกสารประกอบการสั่งปล่อยวัตถุดิบด้วยระบบ RMTS ปัจจุบัน มาตรา 36 (1) (2) และมาตรา 30 ลาดับที่
ประเภทการสั่งปล่อย
เอกสารประกอบ
มาตรา 36(1) 1 2
ยกเว้นอากรขาเข้า คืนอากร
3
ชาระภาษีบางส่วน
4
รายการเครื่องจักรปะปน
5
นาวัตถุดิบกลับมาซ่อมเพื่อส่งกลับออกไป
6
ยกเลิกสั่งปล่อยใหม่ อ้างถึง อก
7
ประเภทอินวอยซ์ขาเข้า เช่น Commercial Invoice, Tax Invoice เป็นต้น ผลิตภัณฑ์รับจ้างซ่อม
8
-
แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 ใบขนขาเข้า เฉพาะหน้าระบุวันนาเข้า ระบุหมายเหตุ : เพื่อคืนอากร แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 ระบุหมายเหตุ : กรุ๊ป 99999ชาระภาษี หรือ กรุ๊ป 99999 สงวนสิทธิ(BOI) แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 ระบุหมายเหตุ : สาหรับรายการส่วนที่เหลือได้แยกสั่งปล่อยในข่าย เครื่องจักรมาต่างหาก หรือ สาหรับรายการส่วนที่เหลือไม่ได้รับอนุมัติให้ชาระอากรเต็ม แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 ระบุหมายเหตุ : เป็นการนาเข้าวัตถุดิบกลับมาซ่อมเพื่อส่งกลับออกไป แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 ระบุหมายเหตุ : ขอยกเลิกหนังสือ ที่ อก 090../ศ.ค/............ลงวันที่ ..........เนื่องจาก................ แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 ระบุหมายเหตุ : Commercial Invoice แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 ระบุหมายเหตุ : บริษัทได้รับอนุมัติให้นาเข้าผลิตภัณฑ์ที่มาจากผู้ผลิต รายอื่นเพื่อนามาซ่อมแซม หรือปรับปรุงคุณภาพและส่งกลับออกไป
9
1 อินวอยซ์สั่งปล่อย 2 โครงการ หรือมากกว่า 1 โครงการ
- แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 - ระบุหมายเหตุ : สาหรับรายการวัตถุดิบในกรุ๊ป 888888 ได้แยก พิจารณาอนุมัติสั่งปล่อยตามบัตรส่งเสริมเลขที่ .........ลงวันที.่ ......... - สาหรับรายการวัตถุดิบในกรุ๊ป 888888 ได้แยกพิจารณาอนุมัติสั่งปล่อย ในข่ายวัตถุดิบ มาต่างหาก - สาหรับรายการวัตถุดิบในกรุ๊ป 888888 ได้แยกพิจารณาอนุมัติสั่งปล่อย ในข่ายสิ่งของ มาต่างหาก - สาหรับรายการวัตถุดิบในกรุ๊ป 888888 ได้รับพิจารณาอนุมัติสั่งปล่อย ตามหนังสือสานักงาน เลขที่ อก 090.../ศ.ค./...... ลงวันที่ ..............
มาตรา 36(2) 1
ยกเว้นอากรขาเข้า
2
คืนอากร
3
ชาระภาษีบางส่วน
4
รายการเครื่องจักรปะปน
5
ยกเลิกสั่งปล่อยใหม่ อ้างถึง อก
6
ประเภทอินวอยซ์ขาเข้า เช่น Commercial Invoice,Tax Invoice เป็นต้น
7
1 อินวอยซ์สั่งปล่อย 2 โครงการ หรือมากว่า 1 โครงการ
-
แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าสิ่งของ ตามมาตรา 36 Invoice/Packing List แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าสิ่งของ ตามมาตรา 36 ใบขนขาเข้า Invoice/Packing List ระบุหมายเหตุ : เพื่อคืนอากร แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าสิ่งของ ตามมาตรา 36 Invoice/Packing List ระบุหมายเหตุ : กรุ๊ป 99999ชาระภาษี หรือ กรุ๊ป 99999 สงวนสิทธิ(BOI) แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าสิ่งของ ตามมาตรา 36 Invoice/Packing List ระบุหมายเหตุ :สาหรับรายการส่วนที่เหลือได้แยกสั่งปล่อยในข่าย เครื่องจักรมาต่างหาก หรือ สาหรับรายการส่วนที่เหลือไม่ได้รับอนุมัติให้ชาระอากรเต็ม แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าสิ่งของ ตามมาตรา 36 Invoice/Packing List ระบุหมายเหตุ : ขอยกเลิกหนังสือ ที่ อก 090../ศ.ค/..............ลงวันที่ ............เนื่องจาก................ แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าสิ่งของ ตามมาตรา 36 Invoice/Packing List ระบุหมายเหตุ : Commercial Invoice แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าสิ่งของ ตามมาตรา 36 Invoice/Packing List ระบุหมายเหตุ : สาหรับรายการวัตถุดิบในกรุ๊ป 888888 ได้แยก พิจารณาอนุมัติสั่งปล่อยตามบัตรส่งเสริมเลขที่ ...... ลงวันที.่ .... สาหรับรายการวัตถุดิบในกรุ๊ป 888888 ได้แยกพิจารณาอนุมัติสั่งปล่อย ในข่ายวัตถุดิบ มาต่างหาก สาหรับรายการวัตถุดิบในกรุ๊ป 888888 ได้แยกพิจารณาอนุมัติสั่งปล่อย ในข่ายสิ่งของ มาต่างหาก สาหรับรายการวัตถุดิบในกรุ๊ป 888888 ได้รับพิจารณาอนุมัติสั่งปล่อย ตามหนังสือสานักงาน เลขที่ อก 090.../ศ.ค./...... ลงวันที่ ..............
มาตรา 30 1
ลดหย่อนอากรขาเข้า
2
คืนอากร
3
ชาระภาษีบางส่วน
4
รายการเครื่องจักรปะปน
5
ยกเลิกสั่งปล่อยใหม่ อ้างถึง อก
6
ประเภทอินวอยซ์ขาเข้า เช่น Commercial Invoice,Tax Invoice เป็นต้น 1 อินวอยซ์สั่งปล่อย 2 โครงการ หรือมากกว่า 1 โครงการ
7
-
หมายเหตุ :
แบบคาขออนุมัติลดหย่อนอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบ ตามมาตรา 30 Invoice/Packing List แบบคาขออนุมัติลดหย่อนอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบ ตามมาตรา 30 ใบขนขาเข้า Invoice/Packing List ระบุหมายเหตุ : เพื่อคืนอากร แบบคาขออนุมัติลดหย่อนอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบ ตามมาตรา 30 Invoice/Packing List ระบุหมายเหตุ : กรุ๊ป 99999ชาระภาษี หรือ กรุ๊ป 99999 สงวนสิทธิ(BOI) แบบคาขออนุมัติลดหย่อนอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบ ตามมาตรา 30 Invoice/Packing List ระบุหมายเหตุ :สาหรับรายการส่วนที่เหลือได้แยกสั่งปล่อยในข่าย เครื่องจักรมาต่างหาก หรือ สาหรับรายการส่วนที่เหลือไม่ได้รับอนุมัติให้ชาระอากรเต็ม แบบคาขออนุมัติลดหย่อนอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบ ตามมาตรา 30 Invoice/Packing List ระบุหมายเหตุ : ขอยกเลิกหนังสือ ที่ อก 090../ศ.ค/..............ลงวันที่ ............เนื่องจาก................ แบบคาขออนุมัติลดหย่อนอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบ ตามมาตรา 30 Invoice/Packing List ระบุหมายเหตุ : Commercial Invoice แบบคาขออนุมัติลดหย่อนอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบ ตามมาตรา 30 Invoice/Packing List ระบุหมายเหตุ : สาหรับรายการวัตถุดิบในกรุ๊ป 888888 ได้แยก พิจารณาอนุมัติสั่งปล่อยตามบัตรส่งเสริมเลขที่........ ลงวันที.่ ...... สาหรับรายการวัตถุดิบในกรุ๊ป 888888 ได้รับพิจารณาอนุมัติสั่งปล่อย ตามหนังสือสานักงาน เลขที่ อก 090.../ศ.ค./...... ลงวันที่ ..............
1. มาตรา 36 (1) แนบเอกสารตามที่กาหนดพร้อมประทับ ตราบริษัทและลงนามโดยผู้มีอานาจทุกแผ่น 2. มาตรา 36 (2) และมาตรา 30 แนบเอกสารประกอบการสั่งปล่อยวัตถุดิบทุกประเภทดังเดิม พร้อมประทับ ตราบริษัทและลงนามโดยผู้มีอานาจทุกแผ่น
รายละเอียดของเอกสารประกอบการสั่งปล่อยวัตถุดิบด้วยระบบ RMTS-2011 มาตรา 36 (1) (2) และมาตรา 30 ลาดับที่
ประเภทการสั่งปล่อย
1 2
ยกเว้นอากร คืนอากร
3
ค้าประกัน
4
ถอนค้าประกัน
1
ยกเว้นอากร คืนอากร
3
ค้าประกัน
4
ถอนค้าประกัน
1
ลดหย่อนอากรขาเข้า
2
คืนอากร
3
ค้าประกัน
4
ถอนค้าประกัน
เอกสารประกอบ
มาตรา 36(1)
- ไม่แนบเอกสาร 1 แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 2 ใบขนขาเข้า เฉพาะหน้าระบุวันนาเข้า 1 แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 2 หนังสือขออนุญาตการใช้ธนาคารค้าประกัน 1. แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 2. หนังสือขออนุญาตการใช้ธนาคารค้าประกัน 3. ใบขนขาเข้า เฉพาะหน้าระบุวันนาเข้า
มาตรา 36(2)
- แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าสิ่งของ ตามมาตรา 36 - Invoice/packing List 1. แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าสิ่งของ ตามมาตรา 36 2. Invoice/packing List 3. ใบขนขาเข้า 1. แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าสิ่งของ ตามมาตรา 36 2. Invoice/packing List 3. หนังสือขออนุญาตการใช้ธนาคารค้าประกัน 1. แบบคาขออนุมัติยกเว้นอากรขาเข้าสิ่งของ ตามมาตรา 36 4. Invoice/packing List 2. หนังสือขออนุญาตการใช้ธนาคารค้าประกัน 3. ใบขนขาเข้า
มาตรา 30
- แบบคาขออนุมัติลดหย่อนอากรขาเข้า ตามมาตรา 30 - Invoice/packing List 1. แบบคาขออนุมัติลดหย่อนอากรขาเข้า ตามมาตรา 30 2. Invoice/packing List 3. ใบขนขาเข้า 1. แบบคาขออนุมัติลดหย่อนอากรขาเข้า ตามมาตรา 30 2. Invoice/packing List 3. หนังสือขออนุญาตการใช้ธนาคารค้าประกัน 1. แบบคาขออนุมัติลดหย่อนอากรขาเข้า ตามมาตรา 30 2. Invoice/packing List 3. หนังสือขออนุญาตการใช้ธนาคารค้าประกัน 4. ใบขนขาเข้า
หมายเหตุ : แนบเอกสารตามที่กาหนด พร้อมประทับตราบริษัทและลงนามโดยผู้มีอานาจทุกแผ่น
จากตารางรายละเอียดของวิธีปฏิบัติและการเตรียมเอกสารประกอบ จะเห็นได้ว่าระบบ RMTS-2011 นั้น สามารถ ลดขั้นตอนการดาเนินงานและต้นทุนด้านเอกสารประกอบที่เป็นกระดาษได้เป็นอย่างดี สาหรับความคืบหน้าของการก้าวไปสู่การใช้บริการระบบ RMTS-2011 นั้น เมื่อบริษัทได้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ กับสมาคมเรียบร้อยแล้ว บริษัทจะต้องไปดาเนินการจัดทาบัญชีรายการวัตถุดิบตามรูปแบบใหม่ โดยจะใช้เวลาประมาณ 2 เดือน จากนั้นบริษัทจะสามารถเริ่มใช้งานระบบเพื่อสั่งปล่อยวัตถุดิบและวัสดุจาเป็นได้ โดยระหว่างนั้น บริษัทอื่นๆ ก็จะ ทยอยเข้ารับการอบรมกับสมาคมได้อย่างต่อเนื่อง จนถึงสิ้นเดือนกันยายน 2556 ซึ่งคาดว่าทุกบริษัทจะเข้าสู่ระบบ RMTS-2011 ได้อย่างครบถ้วน และสมาคมสามารถปิดบริการระบบ RMTS ปัจจุบันได้ประมาณกลางปี 2557
สมาชิกและผู้ใช้บริการ สามารถสอบถามรายละเอียดข้อมูล ระบบ RMTS-2011 เพิ่มเติม ได้ที่ แผนกบริการสั่งปล่อยวัตถุดิบ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 130-132 และ 142, 150-157 และทางเว็บไซต์สมาคม www.ic.or.th
การเตรียมข้อมูลในระบบ RMTS -2011 2.3 การสั่งปล่อยถอนค้าประกัน (แบบเต็มจ้านวนและไม่เต็มจ้านวน) การสั่งปล่อยถอนค้้าประกัน เป็นการขอใช้สิทธิน้าเข้าหลังจากที่ได้เดินพิธีการขาเข้ากับกรมศุลกากรแล้ว ซึ่งในการสั่งปล่อยถอน ค้้าประกันนี้จะอ้างถึงเลขที่ใบขนสินค้าขาเข้า และเลขที่หนังสือค้้าประกัน การสั่งปล่อยถอนค้้าประกัน ระบบจะท้าการตรวจสอบเงื่อนไขต่างๆ แบบอัตโนมัติ เมื่ออนุมัติแล้ว ระบบ RMTS-2011 จะส่ง ข้อมูลรายการวัตถุดิบที่อนุมัติพร้อมเลขที่หนังสืออนุมัติของ BOI ไปยังกรมศุลกากร การถอนค้้าประกัน สามารถระบุได้ทั้งแบบเต็มจ้านวน หรือแบบไม่เต็มจ้านวนก็ได้ ถ้าเป็นการถอนค้้าฯ แบบไม่เต็มจ้านวน ระบบ RMTS-2011 จะสร้างหนังสือขอช้าระภาษีเนื่องจากถอนค้้าประกันไม่เต็มจ้านวนให้โดยอัตโนมัติ ผู้ประกอบการสามารถขอรับ หนังสือขอช้าระภาษีฯ ได้ที่สมาคมสโมสรนักลงทุน (IC) เลขที่หนังสือค้้าประกันที่ใช้อ้างถึงในการสั่งปล่อยถอนค้้าประกันนี้ จะสามารถน้ามาใช้ได้เพียงครั้งเดียว แม้ว่าจะเป็นการสั่ง ปล่อยถอนค้้าฯ แบบไม่เต็มจ้านวนก็ตาม และต้องเป็นเลขที่หนังสือค้้าประกันที่ขอค้้าประกันในช่วงระยะเวลาที่ได้รับสิทธิ ไม่ถูกยกเลิก และยังไม่หมดอายุ เงื่อนไขการปฏิบัติงาน เงื่อนไขการถอนค้้าประกัน 1. ระบุประเภทการสั่งปล่อยท้ายชื่อแฟ้มข้อมูล 1. รายการค้้าประกัน 1 รายการ สามารถน้ามาใช้สั่ง 2. 1 งวด ประกอบด้วย 1 อินวอยซ์ และ 1 แฟ้มข้อมูลรองรับ ปล่อยถอนค้้าประกันได้เพียงครั้งเดียว ถ้าถอนค้้าฯ ได้หลายงวด โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องเป็นหนังสือประเภท ไม่เต็มจ้านวน ส่วนที่เหลือ ระบ บจะท้าการออก เดียวกัน และภายใต้โครงการเดียวกัน หนังสือเรียกเก็บภาษี 3. 1 รายการในอินวอยซ์ สามารถแตกเป็นหลายรายการใน ใบขนสินค้าขาเข้า 4. ล้าดับที่ในใบขนสินค้าขาเข้าต้องไม่ซ้ากัน เงื่อนไขการตรวจสอบ 1. ไม่เป็นโครงการที่ถูกระงับสิทธิ 2. ไม่เป็นโครงการที่มีการยื่นยกเลิกหรือถูกเพิกถอนโครงการ 3. เลขที่หนังสือค้้าประกัน ต้องยังไม่ถูกยกเลิกมาก่อน 4. เลขที่หนังสือค้้าประกัน ต้องยังไม่ถูกสั่งปล่อยถอนค้้าประกันมาก่อน 5. การตรวจสอบชื่อสินค้า (ท้าเช่นเดียวกับการขอสั่งปล่อยปกติ) 6. การตรวจสอบปริมาณ - ตรวจสอบปริมาณเช่นเดียวกับการสั่งปล่อยปกติ และปริมาณที่ขอถอนค้้าประกันต้องน้อยกว่าหรือเท่ากับปริมาณที่ ค้้าประกันไว้ 7. การตรวจสอบระยะเวลาการได้รับสิทธิ - เป็นไปตามเงื่อนไขของสิทธิที่ได้รับ ณ วันน้าเข้า ดังนั้นการตรวจสอบระยะเวลาการได้รับสิทธิ จะใช้วันที่น้าเข้ามาใช้ ในการตรวจสอบเงื่อนไข เช่นเดียวกับการขอสั่งปล่อยปกติ (วันที่ FPA – วันที่สิ้นสุดสิทธิ)
8. การตรวจสอบระยะเวลากรณีสิ้นสุดสิทธิ จะตรวจสอบดังนี้ สิ้นสุดสิทธิแต่ไม่เกิน 6 เดือน ระบบอนุญาตให้สั่งปล่อยถอนค้้าประกันได้ส้าหรับรายการที่ค้าประกันก่อนสิ้นสุดสิทธิ แต่ ไม่อนุญาตให้สั่งปล่อยถอนค้้าประกันส้าหรับรายการที่ค้าประกันหลังสิ้นสุดสิทธิ 9. สิทธิด้านภาษีอากรและภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. ถอนค้้าประกันเต็มจ้านวน 2. ถอนค้้าประกันไม่เต็มจ้านวน - ตามเงื่อนไขที่ได้ค้าประกันไว้ - ตามเงื่อนไขที่ได้ค้าประกันไว้ ส่วนที่เหลือให้เรียกเก็บภาษี 10. การเชื่อมโยงข้อมูลกับกรมศุลกากร วันที่มีสิทธิน้าเข้า = วันที่ FPA วันที่สิ้นสุดสิทธิการน้าเข้า = วันที่อนุมัติค้าร้องขอสั่งปล่อยถอนค้้าประกัน + n เดือน (12 เดือน) แต่ไม่ เกินวันที่สิ้นสุดสิทธิ WF-IMP-03 : ขั้นตอนการสั่งปล่อยถอนค้้าประกันระบบ RMTS-2011 (กรณีมีหนังสืออนุมัติฯ)) 1. สมาคมฯ ท้าการ Upload ข้อมูลการค้้าประกัน ขึ้นสู่ระบบ Import Online 2. ผู้ประกอบการ Download การค้้าประกันจากระบบ Import Online 3. ผู้ประกอบการเตรียมข้อมูลส้าหรับการสั่งปล่อยในรูปแบบของ Excel File (ดูวิธีการบันทึกข้อมูลสั่งปล่อย) โดยระบุประเภทการสั่งปล่อย = 3 ถ้า ถอนค้้าฯ เต็มจ้านวน และระบุประเภทการสั่งปล่อย = 4 กรณีถอนค้้าฯ ไม่เต็มจ้านวน และระบุเลขที่หนังสืออนุมัติที่ค้าประกัน พร้อมทั้งเลขที่ใบขน สินค้าที่ค้าประกัน 4. ผู้ประกอบการน้าข้อมูลสั่งปล่อยในรูปแบบ Excel File มายื่นต่อสมาคมฯ ซึ่งมี 2 ช่องทางคือการยื่นด้วยตัวเองที่สมาคมฯ ซึ่งบันทึกข้อมูลลง Diskette หรือ USB Disk หรือยื่นผ่านระบบ Import Online เมื่อสมาคมฯ ได้รับข้อมูล ระบบ RMTS-2011 จะท้าการตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูล โดยจะตรวจสอบกับฐานข้อมูลการค้้าประกันว่ามีข้อมูลการค้้าที่จะถอนค้้าฯ อยู่หรือไม่ และจะต้องไม่ถูกยกเลิก หรือ เคยถูกถอนค้้าฯ มา ก่อน 5. กรณีพบข้อผิดพลาด (Error) ระบบ RMTS-2011 ถ้าผู้ประกอบการยื่นการสั่งปล่อยด้วยตัวเองที่สมาคมฯ ระบบจะท้าการพิมพ์ Error Report ส่งให้ ผู้ประกอบการท้าการตรวจสอบ ถ้ายื่นผ่านระบบ Import Online สามารถตรวจสอบผ่านระบบ Import Online ได้ทันที 6. ระบบฯ ท้าการประมวลผลข้อมูล และบันทึกข้อมูลการถอนค้้าประกัน 7. ระบบพิมพ์หนังสืออนุมัติสั่งปล่อย จ้านวน 2 ฉบับ และรายงานการน้าเข้า 1 ฉบับ และพนักงานสมาคมฯ ท้าการจัดชุด เสนอเจ้าหน้าที่ BOI พิจารณาลงนาม 8. กรณีที่ถอนค้้าประกันไม่เต็มจ้านวน หรือไม่ครบทุกรายการ ส่วนที่เหลือ ระบบจะท้าการพิมพ์หนังสืออนุมัติเพื่อเรียกเก็บภาษี ซึ่งประกอบด้วย หนังสืออนุมัติ 2 ฉบับ และรายงาน 1 ฉบับ 9. เจ้าหน้าที่ BOI พิจารณาลงนาม 10. พนักงานสมาคมฯ แยกชุด จัดเอกสาร 11. พนักงานสมาคมฯ ท้าการบันทึกสถานะงาน เพื่อค้านวณค่า NC (Non Conformance) ในขั้นตอนนี้ระบบจะท้าการส่งข้อมูล ebXML ไปยังกรม ศุลกากร กรณีที่ถอนค้้าประกันไม่เต็มจ้านวน มีภาษีที่ต้องเรียกเก็บ ระบบจะส่งข้อมูล ebXML ไปอีก 1 ชุดส้าหรับเรียกช้าระภาษี 12. ระบบของกรมศุลกากร จะท้าการตรวจสอบข้อมูล ebXML ที่ส่งไป และจะส่งข้อมูล ebXML กลับคืน 13. ระบบ RMTS-2011 จะท้าการตรวจสอบข้อมูล ebXML ที่ส่งกลับคืนมา กรณีที่กรมศุลกากร ส่งสถานะกลับคืนมาว่า ไม่ถูกต้อง ระบบ RMTS-2011 จะต้องส่งข้อมูล ebXML กลับไปอีกครั้ง 14. ผู้ประกอบการตรวจสอบสถานะงานสั่งปล่อยผ่านระบบ Import Online หรือระบบ Kios 15. ผู้ประกอบการมารับหนังสือสั่งปล่อยวัตถุดิบที่สมาคมฯ หรือที่สุวรรณภูมิ ในกรณีที่ผู้ประกอบการได้แจ้งความประสงค์ให้สมาคมฯ จัดส่งเอกสารไป สุวรรณภูมิ 16. พนักงานสมาคมฯ ส่งมอบเอกสาร 17. พนักงานสมาคมฯ จัดเก็บเอกสาร 18. เสร็จสิ้นกระบวนการสั่งปล่อยถอนค้้าประกันของสมาคมฯ 19. ผู้ประกอบการน้าหนังสือสั่งปล่อยไปเดินพิธีการที่กรมศุลกากร
2.4 การสั่งปล่อยขอคืนอากร การขอสั่งปล่อยคืนอากร เป็นการขอใช้สิทธิน้าเข้า ที่ผู้ประกอบการได้เดินพิธีการกับกรมศุลกากรโดยการช้าระอากรไปก่อน (สงวนสิทธิ) ดังนั้นในการสั่งปล่อยคืนอากรนี้จะต้องระบุถึงเลขที่ใบขนสินค้าขาเข้าที่เดินพิธีการโดยการช้าระอากรไปก่อน และระบบจะ ท้าการตรวจสอบเงื่อนไขต่างๆ แบบอัตโนมัติ เมื่ออนุมัติแล้ว ระบบ RMTS-2011 จะส่งข้อมูลรายการวัตถุดิบที่อนุมัติพร้อมเลขที่หนังสือ อนุมัติของ BOI ไปยังกรมศุลกากร ผู้ประกอบการสามารถขอใช้สิทธิน้าเข้าวัตถุดิบ ที่เป็นการขอสั่งปล่อยคืนอากร ซึ่งจะมีผลต่อการขอ คืนอากรขาเข้าวัตถุดิบที่ช้าระไปก่อนได้ใน 4 กรณีดังนี้ 1. มาตรา 36(1) เป็นการน้าเข้าวัตถุดิบหรือวัสดุจ้าเป็น 2. มาตรา 36(2) เป็นการน้าเข้าสินค้าตัวอย่าง 3. ประเภท Rework เป็นการน้าเข้าผลิตภัณฑ์ที่เคยส่งออกและมีวัตถุประสงค์เพื่อน้ากลับมาซ่อม 4. กิจการประเภทรับจ้างซ่อม เป็นการน้าเข้าสินค้ารับจ้างซ่อมของผู้ประกอบการที่มีประเภทกิจการ เป็นกิจการ ประเภทรับจ้างซ่อม ซึ่งในแต่ละกรณีผู้ประกอบการจะต้องระบุว่าต้องการใช้สิทธิในโครงการใด เลขที่ใบขนสินค้าขาเข้าที่ใช้ในการอ้างถึงเพื่อขอสั่ง ปล่อยคืนอากร เงื่อนไขการปฏิบัติงาน 1. ระบุประเภทการสั่งปล่อยท้ายชื่อแฟ้มข้อมูล 2. 1 งวด ประกอบด้วย 1 อินวอยซ์ และ 1 แฟ้มข้อมูลรองรับได้หลายงวด โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องเป็น หนังสือประเภทเดียวกัน และภายใต้โครงการเดียวกัน 3. 1 รายการในอินวอยซ์ สามารถแตกเป็นหลายรายการในใบขนสินค้าขาเข้า 4. ล้าดับที่ในใบขนสินค้าขาเข้าต้องไม่ซ้ากัน เงื่อนไขการตรวจสอบ 1. ไม่เป็นโครงการที่ถูกระงับสิทธิ 2. ไม่เป็นโครงการที่มีการยื่นยกเลิกหรือถูกเพิกถอนโครงการ 3. การตรวจสอบชื่อสินค้า (ท้าเช่นเดียวกับการขอสั่งปล่อยปกติ) 4. การตรวจสอบปริมาณ (ท้าเช่นเดียวกับการขอสั่งปล่อยปกติ) 5. การตรวจสอบระยะเวลาการได้รับสิทธิ - สินค้าที่จะขอคืนอากร ต้องมีวันน้าเข้า อยู่ในระหว่างวันที่ได้รับสิทธิ - วันที่ยื่นค้าขอคืนอากร ต้องอยู่ภายในระยะเวลา 1 ปีนับจากวันสิ้นสุดสิทธิ 6. การตรวจสอบระยะเวลากรณีสิ้นสุดสิทธิ จะตรวจสอบดังนี้ - สิ้นสุดสิทธิแต่ไม่เกิน 1 เดือน 7. การเชื่อมโยงข้อมูลกับกรมศุลกากร วันที่มีสิทธิน้าเข้า = วันที่ FPA วันที่สิ้นสุดสิทธิการน้าเข้า = ไม่เกินวันที่สิ้นสุดสิทธิ
WF-IMP-04 : ขั้นตอนการสั่งปล่อยขอคืนอากร ระบบ RMTS-2011 (กรณีมีหนังสืออนุมัติฯ) 1. ผู้ประกอบการเตรียมข้อมูลส้าหรับการสั่งปล่อยในรูปแบบของ Excel File (ดูวิธีการบันทึกข้อมูลสั่งปล่อย) โดยระบุประเภทการสั่งปล่อย = 5 2. ผู้ประกอบการน้าข้อมูลสั่งปล่อยในรูปแบบ Excel File มายื่นต่อสมาคมฯ ซึ่งมี 2 ช่องทางคือ การยื่นด้วยตัวเองที่สมาคมฯ ซึ่งบันทึกข้อมูลลง Diskette หรือ USB Disk หรือยื่นผ่านระบบ Import Online เมื่อสมาคมฯ ได้รับข้อมูล ระบบ RMTS-2011 จะท้าการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 3. กรณีพบข้อผิดพลาด ( Error) ระบบ RMTS-2011 ถ้าผู้ประกอบการยื่นการสั่งปล่อยด้วยตัวเองที่สมาคมฯ ระบบจะท้าการพิมพ์ Error Report ส่งให้ ผู้ประกอบการท้าการตรวจสอบ แต่ถ้ายื่นผ่านระบบ Import Online สามารถตรวจสอบผ่านระบบ Import Online ได้ทันที 4. กรณีที่ไม่พบข้อผิดพลาด ระบบ RMTS-2011 จะท้าการประมวลผลและท้าการ Update ข้อมูล พร้อมทั้งบันทึกยอดการสั่งปล่อย และส่งข้อมูลเลขที่ หนังสืออนุมัติสั่งปล่อยเข้าสู่ระบบ Import Online โดยมีสถานะเป็น รออนุมัติ 5. ระบบ RMTS-2011 จะท้าการพิมพ์หนังสืออนุมัติสั่งปล่อยจ้านวน 2 ฉบับ (ระบบจะพิมพ์ออกเครื่องพิมพ์ Line Printer ซึ่งใช้กระดาษต่อเนื่องเป็น Copy 1 ฉบับ) และรายงานการน้าเข้า (Report I) หลังจากนั้นพนักงานสมาคมฯ จะท้าการจัดชุด เพื่อเสนอเจ้าหน้าที่ BOI เพื่อพิจารณาลงนาม 6. เจ้าหน้าที่ BOI พิจารณาลงนาม 7. พนักงานสมาคมฯ ท้าการจัดชุด แยกเอกสาร 8. พนักงานสมาคมฯ ท้าการบันทึกสถานะงาน เพื่อค้านวณค่า NC ในขั้นตอนนี้ระบบฯ จะท้าการส่งข้อมูล ebXML ไปยังกรมศุลกากร 9. ระบบของกรมศุลกากร จะท้าการตรวจสอบข้อมูล ebXML ที่ส่งไป และจะส่งข้อมูล ebXML กลับคืน 10. ระบบ RMTS-2011 จะท้าการตรวจสอบข้อมูล ebXML ที่ส่งกลับคืนมา กรณีที่กรมศุลกากรส่งสถานะ กลับ คืนมาว่า ไม่ถูกต้อง ระบบ RMTS-2011 จะต้องส่งข้อมูล ebXML กลับไปอีกครั้ง 11. ผู้ประกอบการตรวจสอบสถานะงานสั่งปล่อยผ่านระบบ Import Online หรือระบบ Kios 12. ผู้ประกอบการมารับหนังสือสั่งปล่อยวัตถุดิบ ที่สมาคมฯ หรือที่สุวรรณภูมิ ในกรณีที่ผู้ประกอบการได้แจ้งความประสงค์ให้สมาคมจัดส่งเอกสารไปยัง สุวรรณภูมิ 13. พนักงานสมาคมฯ ส่งมอบเอกสาร 14. พนักงานสมาคมฯ จัดเก็บเอกสาร 15. เสร็จสิ้นกระบวนการสั่งปล่อยของสมาคมฯ 16. ผู้ประกอบการน้าหนังสือสั่งปล่อยไปเดินพิธีการที่กรมศุลกากร 17.
การขยายเวลาค้าประกัน
การค้้าประกันจะมีระยะเวลา 1 ปี นับตั้งแต่วันที่ค้าประกัน เมื่อระยะเวลาดังกล่าวสิ้นสุดลง ผู้ประกอบการสามารถขอขยาย ระยะเวลาค้้าประกัน ได้อีก 1 ปี ซึ่งการขยายระยะเวลาค้้าประกันจะมีเงื่อนไขว่า หนังสือค้้าประกันที่ต้องการขยายจะต้องยังไม่ได้ถอนค้้า ประกัน และยังไม่ถูกยกเลิก จึงจะสามารถขยายระยะเวลาได้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
WF-EXT-BNK : ขั้นตอนการขยายเวลาค้้าประกัน ระบบ RMTS-2011 ผู้ประกอบการด้าเนินการยื่นค้าร้องขอขยายระยะเวลากับ BOI โดยแนบเอกสารหลักฐานหนังสืออนุมัติค้าประกัน เจ้าหน้าที่ BOI พิจารณาค้าร้อง ผู้ประกอบการรับหนังสืออนุมัติขยายระยะเวลาค้้าประกัน ผู้ประกอบการน้าหนังสืออนุมัติขยายระยะเวลาค้้าประกันมาด้าเนินการยื่นเรื่องที่สมาคมฯ พนักงานสมาคมฯ พิจารณาเอกสารครบถ้วนหรือไม่ พนักงานสมาคมฯ เข้าระบบ RMTS-2011 ท้าการตรวจสอบเลขที่ อก หนังสือค้้าประกันว่ามีการยกเลิก หรือถอนค้้าประกันแล้วหรือไม่ หรือมีการขยาย ระยะเวลาแล้วหรือไม่ กรณีพบข้อผิดพลาดตามข้อ 5 ผู้ประกอบการด้าเนินการตรวจสอบและยื่นเรื่องต่อ BOI ใหม่ กรณีไม่พบข้อผิดพลาด พนักงานสมาคมฯ บันทึกข้อมูลขยายระยะเวลาค้้าประกัน เสร็จสิ้นกระบวนการขยายระยะเวลาค้้าประกัน การบันทึกข้อมูลสั่งปล่อยให้บันทึกข้อมูลตามโครงสร้างข้อมูลใหม่และท้าการบันทึกข้อมูลในรูปแบบ Excel File โดยตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลว่า BIRTIMP แล้วตามด้วยประเภทสั่งปล่อยเป็นตัวเลข 1-5 อีก 1 หลัก ดังนี้ 1 = สั่งปล่อยยกเว้นอากรขาเข้า 2 = ค้้าประกัน 3 = สั่งปล่อยถอนค้้าประกันเต็มจ้านวน 4 = สั่งปล่อยถอนค้้าประกันไม่เต็มจ้านวน 5 = ขอคืนอากร กรณีมีข้อมูลมากกว่า 1 แฟ้มข้อมูลให้เพิ่ม _1, _2, … ต่อท้ายชื่อแฟ้มข้อมูลเช่น BIRTIMP1_1.XLS เป็นต้น
โครงสร้างการบันทึกข้อมูล ง
ล้าดับ
ชื่อข้อมูล
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
PROJ_CODE DOC_NO INVOICE INV_DATE DESC_1 DESC_2 QTY UOM GRP_NO BY IMP_LINE INV_LINE APP_NO
ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวเลข ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร
8 8 35 10 512 254 18 3 6 2 4 4 20
14
IMP_ENTRY
ตัวอักษร
14
15
IMP_DATE
ตัวอักษร
10
16
ESS_MAT
ตัวอักษร
1
ล้าดับ
ประเภท
วิธีการบันทึกข้อมูล ง ชื่อข้อมูล
ความยาว
ทศนิยม
6
ค้าอธิบาย รหัสโครงการ เลขที่งวด เลขที่ Invoice วันที่ของ Invoice บันทึกในรูปแบบ DD/MM/YYYY ชื่อวัตถุดิบที่น้าเข้า ชื่อวัตถุดิบที่น้าเข้า (ขายชื่อรองเช่น Part NO.สีของสินค้า) ปริมาณน้าเข้า หน่วยวัตถุดิบ (ตาม BIRTMML) รายการวัตถุดิบ (ตาม BIRTMML) ช่องทางการน้าเข้า (ใช้ในกรณีขอรับหนังสืออนุมัติที่สุวรรณภูมิ) ล้าดับที่ใบขนสินค้าขาเข้า ล้าดับที่ใน Invoice เลขที่หนังสือสั่งปล่อย บันทึกค่าเมื่อประเภทการ สั่งปล่อยเป็นประเภทการถอนค้้าแบบเต็มและไม่เต็มจ้านวน (ประเภท 3 และ 4) เลขที่ใบขนสินค้าขาเข้า บันทึกค่าเมื่อประเภทการสั่งปล่อยเป็นประเภทการถอน ค้้าแบบเต็ม / ไม่เต็มจ้านวนและการขอคืนอากร (ประเภท 3 , 4 และ 5) วันที่ใบขนสินค้าขาเข้า บันทึกในรูปแบบ DD/MM/YYYY บันทึกค่าเมื่อประเภท การสั่งปล่อยเป็นประเภทการถอนค้้าแบบเต็ม / ไม่เต็มจ้านวนและการขอคืนอากร (ประเภท 3 , 4 และ 5) ประเภทของสินค้า ระบุ Y กรณีเป็นวัสดุจ้าเป็น ระบุ N กรณีเป็นวัตถุดิบ ช่องนี้ใช้บันทึกส้าหรับรายการที่เป็นการค้้าประกันก่อนได้รับอนุมัติรายการ วัตถุดิบ (ประเภท 2)
เงื่อนไขการบันทึก
ตัวอย่าง
1 2 3
PROJ_CODE ไม่เป็นค่าว่าง ทุกบรรทัดต้องมีค่าเหมือนกัน DOC_NO ไม่เป็นค่าว่าง ต้องไม่ซ้ากับที่เคยน้าเข้าแล้ว ต้องไม่ซ้ากับที่เคยน้าเข้าแล้ว หากซ้้าต้องท้าการยกเลิกงวดเดิมก่อนหรือต้องไม่เป็นประเภทการสั่งปล่อยเดียวกัน INVOICE
12345611 000001 TCB 1000 / 2012
4 5 6 7 8
INV_DATE DESC_1 DESC_2 QTY UOM
ไม่เป็นค่าว่างต้องอยู่ในรูปแบบ DD/MM/YYYY ไม่เป็นค่าว่าง มีค่าว่างได้ ไม่เป็นค่าว่างเป็นตัวเลขเท่านั้น ต้องเป็นหน่วยตามรหัสหน่วยของกรมศุลกากร และต้องตรงกับบัญชีรายการวัตถุดิบ
15/06/2012 ARM ARM 10.25 C62
9 10 11 12 13 14 15 16
GRP_NO BY IMP_LINE INV_LINE APP_NO IMP_ENTRY IMP_DATE ESS_MAT
ต้องไม่เป็นค่าว่าง ต้องตรงกับบัญชีรายการวัตถุดิบ มีค่าว่าง หรือมีค่าเท่ากับ A กรณีรับเอกสารสั่งปล่อยที่สุวรรณภูมิ ไม่เป็นค่าว่าง ต้องไม่ซ้ากัน ไม่เป็นค่าว่าง ต้องไม่ซ้ากัน เลขที่หนังสืออนุมัติ บันทึกเมื่อประเภทการสั่งปล่อย เท่ากับ 3, 4, 5 บันทึกเมื่อประเภทการสั่งปล่อย เท่ากับ 5 บันทึกเมื่อประเภทการสั่งปล่อย เท่ากับ 5 บันทึกเมื่อเป็นรายการค้้าประกันก่อนได้รับอนุมัติ Max Stock ระบุ Y เมื่อประเภทสินค้าเป็นวัสดุจ้าเป็น ระบุ N เมื่อประเภทสินค้าเป็นวัตถุดิบ
000001 1 1 อก0907R550700000363 A0030550200009 20/01/2012 Y
เงื่อนไขการบันทึกข้อมูล 1. 1 แฟ้มข้งอมูลบันทึกข้อมูลได้หลายงวด แต่ต้องเป็นการสั่งปล่อยประเภทเดียวกัน 2. 3. 4. 5.
1 งวดบันทึกได้ 1 อินวอยซ์ ความยาวของอินวอยซ์ สูงสุดไม่เกิน 35 ตัวอักษร ชื่อวัตถุดิบความยาวสูงสุดไม่เกิน 512 ตัวอักษร ไม่มีการบันทึก รหัสวัตถุดิบ 777777,888888,999999 ให้บันทึกเฉพาะรายการวัตถุดิบที่ได้รับยกเว้น หรือลดหย่อน หรือค้้าประกัน ส่วนที่ไม่ได้บันทึกมาจะถูกเรียกเก็บอากรจากกรมศุลกากร 6. ไม่ต้องระบุประเภทอินวอยซ์ เช่น Commercial Invoice เป็นต้น 7. กรณีที่มีหลายแฟ้มข้อมูลใน 1 Disk ให้ใส่ _1, _2, … ต่อท้ายชื่อแฟ้มข้อมูล เช่น Birtimp1_1.xls, Birtimp1_2.xls เป็นต้น 8. การถอนค้้าประกันจะถอนได้เพียงครั้งเดียว กรณีที่ถอนค้้าไม่เต็มจ้านวนส่วนที่เหลือจะถูกเรียกเก็บอากร 9. การขอคืนอากรจะขอคืนอากรได้เพียงครั้งเดียว 10.นอกจากการยื่นข้อมูลด้วย Disk ที่แผนกสั่งปล่อยของสมาคมฯ แล้ว ผู้ประกอบ การยังสามารถส่งข้อมูลผ่านระบบ Import Online เช่นเดียวกับระบบ RMTS ปัจจุบัน ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้หลายครั้ง (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในระบบ Import Online)
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล ง
1. การสั่งปล่อยยกเว้นหรือลดหย่อนอากร (ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลเป็น BIRTIMP1.XLS) PROJ_ CODE 12345611
DOC_NO
INVOICE
00001
12345611
00001
MIT 1/2012 MIT 1/2012
INV_ DATE 15/01/20 12 15/01/20 12
DESC_1 ARM BALL BARING
DESC QTY _2 (L) 100
UOM GRP_ NO SET 000001
1234
SET
200
2. การสั่งปล่อยค้้าประกัน แบบไม่มี M M L (ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลเป็น PROJ_ CODE 12345611
DOC_NO
INVOICE
00001
12345611
00001
MIT 1/2012 MIT 1/2012
INV_ DATE 15/01/20 12 15/01/20 12
000002
1234
200
2
ESS_ MAT
2
BIRTIMP2.XLS)
DESC_1 DESC QTY UOM GRP_ _2 NO ARM (L) 100 SET BALL BARING
BY IMP_ INV_ APP_ IMP_ IMP_ LINE LINE NO ENTRY DATE 1 1
BY
IMP_ INV_ APP LINE LINE _NO 1 1
SET
2
IMP_ IMP_ ENTRY DATE
ESS_ MAT N
2
N
3. การสั่งปล่อยค้้าประกัน แบบมี MML (ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลเป็น BIRTIMP2.XLS) PROJ_ CODE 12345611
DOC_NO
INVOICE
00001
MIT1/2012
12345611
00001
MIT 1/2012
INV_ DATE 15/01/ 2012 15/01/ 2012
DESC_1 ARM BALL BARING
DESC QTY _2 (L) 100 1234
200
UOM GRP_ NO SET 00000 1 SET 00000 2
BY IMP_ INV_ APP LINE LINE _NO 1 1 2
2
IMP_ ENTRY
IMP_ DATE
ESS_ MAT
4.
.
4. การสั่งปล่อยถอนค้้าประกันเต็มจ้านวน (ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลเป็น BIRTIMP3.XLS) 6. PROJ_ DOC_NO INVOICE INV_ DESC DESC QTY UOM GRP_ BY IMP_ CODE 12345611
00001
12345611
00001
MIT 1/2012
DATE 15/01/ 2012
_1 ARM
_2 (L)
MIT 1/2012
15/01/ 2012
BALL 1234 BARING
100
SET
200
SET
NO 00000 1
LINE 1
00000 2
2
INV_ APP_NO LINE 1 อก 0907R55070 0000363 2 อก 0907R55070 0000363
IMP_ IMP_ ENTRY DATE A003055 01/01/ 0200009 2013
ESS_ MAT
A003055 01/01/ 0200009 2013
5. การสั่งปล่อยถอนค้้าประกันไม่เต็มจ้านวน (ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลเป็น BIRTIMP4.XLS) PROJ_ CODE 12345611
DOC_NO
INVOICE
00001
MIT 1/2012
INV_ DATE 15/01/ 2012
DESC _1 ARM
DESC _2 (L)
QTY 50
UOM GRP_ NO SET 00000 1
BY IMP_ INV_ APP_NO LINE LINE 1 1 อก 0907R55070 0000363
IMP_ ENTRY A003055 0200009
IMP_D ESS_ ATE MAT 01/01/ 2013
6. การสั่งปล่อยขอคืนอากร (ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลเป็น BIRTIMP5.XLS) PROJ_ CODE 12345611
DOC_NO
12345611
00001
00001
INVOI CE MIT 1/2012 MIT 1/2012
INV_DATE DESC_1 15/01/201 2 15/01/201 2
ARM BALL BARING
DESC _2 (L)
QTY
1234
100
50
UOM GRP_ NO SET 00000 1 SET 00000 2
BY IMP_ INV_ APP LINE LINE _NO 1 1 2
2
IMP_ ENTRY A0030550200 009 A0030550200 009
IMP_ DATE 01/01/ 2013 01/01/ 2013
ESS_ MAT
การบันทึกข้อมูล : ให้บันทึกข้อมูลในรูปแบบ Excel File โดยตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลว่า BIRTIMP..XLS โดยใส่เลข 1 – 5 ตามประเภทของงาน สั่งปล่อย กรณีมีข้อมูลมากกว่า 1 แฟ้มข้อมูล ให้เพิ่ม _1, _2, … ต่อท้ายชื่อแฟ้มข้อมูลเช่น BIRTIMP1_1.XLS เป็นต้น ก้าหนดนามสกุล (Save as Type) เป็นดังนี้เท่านั้น หรือ Microsoft Excel book - Microsoft Excel 4.0 worksheet - Microsoft Excel 97- 2003 workbook - Microsoft Excel 5.0/95 workbook
ติดตามข้อมูลสาคัญเกี่ยวกับงานระบบ RMTS-2011 สาหรับผู้ใช้บริการ ในส่วนขั้นตอนงานตัดบัญชีวัตถุดิบที่จะต้องปฏิบัติใน ระบบ RMTS-2011 และด้านอื่นๆ ได้ทาง ICN ฉบับหน้าและทางเว็บไซต์สมาคม www.ic.or.th สาหรับความคืบหน้าการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการของผู้ใช้บริการใน หัวข้อ “ขั้นตอนและการเตรียมข้อมูลสั่งปล่อยและ ตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ RMTS-2011” ซึ่งคาดว่าจะครบทุกบริษัทในรอบแรกนี้ ทั้ง 36 รุ่น ในต้นเดือนตุลาคม 2556 จากนั้น สมาคมจะดาเนินการเตรียมความพร้อมระบบ RMTS-2011 ให้กับบริษัทผู้ใช้บริการตามภูมิภาคโดยเริ่มที่สานักงาน สาขาแหลมฉบัง จ.ชลบุรี ต่อไป โดยผู้ใช้บริการสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ แผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 207, 212 (คุณศิริรัตน์, คุณรติรัตน์)
หลังจากสมาคมได้ดาเนินโครงการกิจกรรมเพื่อสังคมเพื่อผลักดันการพัฒนาด้านการศึกษาของเยาวชนไทยต่อเนื่องมาจนเข้าสู่ปีที่ 3 โดยต่อยอดโครงการของโรงเรียนต่างๆ ที่สมาคมเคยให้การสนับสนุนและมีความจาเป็นเร่งด่วน ซึ่งโรงเรียนเหล่านี้ ยังคงขาดแคลน สาธารณประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้และคุณภาพชีวิตที่ดีของเด็กๆ รวม 6 โรงเรียน ปัจจุบันทั้ง 6 โรงเรียนได้ดาเนิน โครงการไปแล้วหลายส่วนงาน ICN จึงขอนาเสนอความคืบหน้าการก่อสร้าง ซ่อมแซมและการจัดการโครงการของโรงเรียนต่างๆ ดังนี้
โรงเรียนบ้านแม่ออกผารู สาขาทีนเึ ด จ.ตาก สมาคมสนับสนุนการก่อสร้างอาคารเรียนขนาด 3 ห้องเรียน จากอดีตที่มีเพียง 1 อาคารเรียนซึ่งไม่เพียงพอ เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ทั้งหมด 22 คน ได้ใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน ภาพอาคารเรียนหลังเดิม
ภาพความคืบหน้าการก่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่
โรงเรียนชุมชนบ้านแม่สาบ จ.เชียงใหม่
พันธุ์ไก่ไข่ชุดใหม่
สมาคมสนับสนุนการจ้างครู และโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน และเสริมรายได้ให้กับโรงเรียน โรงเรือนเลี้ยงไก่ที่สร้างเพิ่มโดยความร่วมมือของโรงเรียนและชุมชน
โรงเพาะเห็ดนางฟ้า
การปรับปรุงบ่อเลี้ยงกบ
ปล่อยลูกกบลงบ่อ
โรงเรียนบ้านศาลาพระม่วง จ.กระบี่ สมาคมสนับสนุนการสร้างลานกีฬาเอนกประสงค์ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง ภาพลานสนามหญ้าเดิม (ซึ่งเกิดปัญหาเนื่องจากฝนตกบ่อย
ภาพความคืบหน้า
ทาให้สนามชื้นแฉะ นักเรียนไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้)
การก่อสร้างลานเอนกประสงค์
จากภาพความคืบหน้าโครงการต่างๆ แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของ โรงเรียนในอันที่จะก่อร่างสร้างเด็กไทยให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ สร้างเสริม ประสบการณ์ชีวิตด้วยประสบการณ์จริง และนาไปบูรณาการกับการดาเนิน ชีวิตต่อไปในอนาคต สมาคมเป็นหนึ่งในแรงสนับสนุนที่มีเจตจานงเฉก เช่นเดียวกันกับโรงเรียนเหล่านี้ และต้องการผลักดันให้เด็กไทยได้รับคุณภาพ การศึกษาที่ดียิ่งขึ้นตลอดไป สาหรับด้านการ ประชาสัมพันธ์ สมาคมได้ เรียนเชิญสมาชิกและผู้ใช้บริการร่วมสมทบบริจาคทุนทรัพย์ตามกาลังศรัทธา เพื่อ ร่วมสนับสนุนเด็กไทยให้มีอนาคตที่สดใสด้วยกัน ปัจจุบันสมาคมได้ปิดรับบริจาคไปเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2556 ที่ผ่านมา โดย ได้รับความสนใจจากสมาชิก ผู้ใช้บริการและผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาค เงินจานวนทั้งสิ้น 17,000 บาท ซึ่งสมาคมจะดาเนินการ นาเงินบริจาคของทุกท่านไปจัดสรรแบ่งปันความช่วยเหลือให้กับโรงเรียนที่ขาดแคลนตามวัตถุประสงค์ของสมาคมต่อไป โดย สมาชิกและผู้ใช้บริการทุกท่านสามารถติดตาม ความคืบหน้าของโครงการ “ส่งเสริม ความคิด สร้างคุณภาพชีวิตด้วย
การศึกษา” ในครั้งต่อไปได้ทาง IC E-Newsletter และทาง www.ic.or.th
การเตรียมตัวเพื่อเข้าสู่ระบบ RMTS-2011 บริษัทจะต้องทาอะไรบ้าง ก่อนเข้าสู่ระบบ RMTS-2011 สมาคม จะจัดอบรม Workshop ให้กับบริษัทที่อยู่ระบบ RMTS เดิมทุกรายให้ รู้เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติการใช้งานระบบ RMTS-2011 และหลังจากนั้นให้บริษัทจัดทาบัญชีรายการวัตถุดิบและ ยื่นขออนุมัติกับสานักงานฯ ใหม่ให้แล้วเสร็จภายใน 2 เดือน แล้วนามาบันทึกที่สมาคม ซึ่งสมาคมจะให้ท่าน กรอกแบบฟอร์มใบลงทะเบียนขอใช้ระบบ RMTS-2011 อีกครั้งก่อนเข้าใช้ระบบ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ เพิ่มเติม
การลงทะเบียนเข้าใช้งานระบบ RMTS-2011 ต้องทาอย่างไรบ้าง บริษัทกรอกแบบฟอร์มใบลงทะเบียนขอใช้ระบบ RMTS-2011 โดย Download ใบลงทะเบียนได้ที่ www.ic.or.th แล้วนามายื่นที่หน่วยงานบริการฐานข้อมูลในวันที่มาติดต่อขอใช้ระบบครั้งแรกเพื่อสมาคม ดาเนินงานต่อไป
เมื่อผ่านการอบรมระบบ RMTS-2011 แล้วบริษัทต้องดาเนินงานอย่างไรบ้าง เมื่อเข้ารับการอบรมเรียบร้อยแล้ว บริษัทจะต้องเข้าใช้ระบบ RMTS-2011 ภายใน 2 เดือนโดยมีขั้นตอนดาเนินงาน ดังนี้ 1. ขออนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบใหม่ ตามรูปแบบ RMTS-2011 กาหนดกับเจ้าหน้าที่ สกท. สานักบริหารการ ลงทุนที่บริษัทท่านสังกัด ซึ่งต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 1 เดือน 2. นาบัญชีรายการวัตถุดิบที่ได้รับอนุมัติในข้อ 1 บันทึกในแบบฟอร์ม BIRTMML และ BIRTDESC แล้วยื่นที่ สมาคมๆ จะทาการตรวจสอบและบันทึกลงระบบ RMTS-2011 ให้แล้วเสร็จภายใน 2 วันทาการ 3. บริษัทสั่งปล่อยวัตถุดิบในระบบ RMTS-2011 4. บริษัทขออนุมัติสูตรการผลิตตามรูปแบบ RMTS-2011 กับเจ้าหน้าที่ สกท. สานักบริหารการลงทุนที่บริษัท ท่านสังกัดและนามาบันทึกในแบบฟอร์ม BIRTFRM แล้วยื่นที่สมาคมเพื่อใช้ในการตัดบัญชีวัตถุดิบต่อไป
เมื่อบริษัทเริ่มสั่งปล่อยวัตถุดิบในระบบ RMTS-2011 แล้วข้อมูลในระบบ RMTS เดิม จะต้องทาอย่างไรบ้าง ข้อมูลในระบบ RMTS เดิม สมาคมจะดาเนินการดังนี้ 1. ระงับการสั่งปล่อยของบริษัทโดยการเปลี่ยน Max_Stock ให้เป็นศูนย์ 2. บริษัทใดที่มียอดคงเหลือวัตถุดิบหรือยังตัดบัญชีไม่แล้วเสร็จ ให้นาใบขนสินค้าขาออกหรือเอกสารการ ส่งออกต่าง ๆ มาตัดบัญชีในระบบ RMTS เดิมให้แล้วเสร็จภายใน 3 เดือน เมื่อครบกาหนดแล้วให้ทาการสรุปยอดคงเหลือจากระบบ RMTS เดิมตามแบบฟอร์มที่สมาคมกาหนดมาปรับยอดต่อไป โดยสามารถ Download แบบฟอร์มการโอนยอดคงเหลือวัตถุดิบได้ที่ www.ic.or.th
เมื่อเข้าสู่ระบบ RMTS-2011 แล้ว รหัสโครงการหรือ Project Code ยังคงใช้รหัสเดิมหรือไม่
เมื่อเข้าสู่ระบบ RMTS-2011 แล้ว รหัสโครงการหรือ Project Code ยังคงใช้รหัสเดิมหรือไม่ ตอบ ระบบ RMTS-2011 กาหนดให้ใช้รหัสโครงการจากเดิม 5 หลัก เป็น 8 หลัก ตามรูปแบบ XXXXXXYZ XXXXXX หมายถึง รหัสโครงการความยาว 6 หลัก (ใช้รหัสเดียวกับ BOI) Y หมายถึง มาตรา โดย 1 หมายถึง มาตรา 36(1) 2 หมายถึง มาตรา 36(2) 3 หมายถึง มาตรา 30 Z หมายถึง ประเภทสต็อก 1 หมายถึงสต็อกแบบ หมุนเวียน 2 หมายถึงสต็อกแบบ ไม่หมุนเวียน 3 หมายถึงสต็อกแบบ หมุนเวียนและไม่หมุนเวียน ตัวอย่างเช่น 55123411
สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ คุณนัยนา และ คุณเบญจมาศ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 160 , 120 หรือติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ทาง www.ic.or.th
สมาคมจัดสัมมนาพิเศษ หัวข้อ “All Executives Need to Know about BOI” สมาคมจัดสัมมนาพิเศษในหัวข้อ “All Executives Need to Know about BOI” (Japanese Version) (บรรยายภาษาญี่ปุ่น) ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่าลาดพร้าว กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2556 ที่ผ่านมา เพื่อสร้างความเข้าใจในการส่งเสริมการ ลงทุนให้แก่นักลงทุนต่างชาติ รวมถึงขั้นตอนการเพิ่มผลประโยชน์ต่อการลงทุน โดยได้รับ เกียรติจากคุณบงกช อนุโรจน์ ผู้อานวยการสานักการตลาดเพื่อการลงทุน และ คุณอัจฉรา สุนทรครุธ นักวิชาการส่งเสริมการลงทุน ระดับชานาญการพิเศษ จากสานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นวิทยากรบรรยายในช่วงเช้า โดยมีหัวข้อประกอบด้วย 1. How to get BOI promotion 2.Current investment incentives policies 3.Postapproval procedures 4.Use of tax incentives 5.Use of non-tax incentives ในช่วงบ่ายเป็นคลินิกให้คาปรึกษา-แก้ไขปัญหาต่างๆ ด้านการลงทุนโดยมีคณะ ผู้เชี่ยวชาญจากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน โดยมีนักลงทุนจากประเทศ ต่างๆ เข้าร่วมงานสัมมนาครั้งนี้กว่า 70 ท่าน สาหรับท่านที่สนใจสามารถติดตามกิจกรรมฝึกอบรมและสัมมนา ได้ที่ แผนกฝึกอบรม และบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-208 หรือ www.ic.or.th
สมาคมสโมสรนักลงทุน ร่วมกับ บริษัท รี้ด เทรดเด็กซ์ จากัด จัดสัมมนาพิเศษ ในงาน Manufacturing Expo 2013 สมาคมสโมสรนักลงทุน ร่วมกับ บริษัท รี้ด เทรดเด็กซ์ จากัด จัดสัมมนาพิเศษ ในงาน Manufacturing Expo 2013 ซึ่งเป็นงานแสดงเทคโนโลยีทางด้านเครื่องจักร ใน หัวข้อ “BOI สามารถช่วยลดต้นทุนค่าเครื่องจักรและอุปกรณ์ของผู้ประกอบการได้ อย่างไร” เมื่อวันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน 2556 ณ ห้องสัมมนา MR 220 ศูนย์แสดงสินค้า และการประชุมนานาชาติ (ไบเทค) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้ เผยแพร่ -ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อบุคลากรและการดาเนินธุรกิจ ซึ่งมีหัวข้อบรรยาย ได้แก่ สิทธิประโยชน์การนาเข้าเครื่องจักรและอุปกรณ์ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริม การลงทุน และข้อกาหนด กฎเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติ ในการนาเข้าเครื่องจักรมาใช้สาหรับ โครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและการถามตอบข้อสงสัยต่างๆ เพื่อให้สมาชิก และผู้เข้าร่วมสัมมนาได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น โดยได้รับเกียรติจาก คุณภาคภูมิ บูรณบุณย์ นักวิชาการส่งเสริมการลงทุน ชานาญการพิเศษ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน (BOI) เป็นวิทยากรบรรยาย โดยมีผู้สนใจเข้าร่วมงานสัมมนากว่า 70 ราย สาหรับกิจกรรมที่น่าสนใจของสมาคม สมาชิกและผู้ใช้บริการสามารถติดตาม ได้ทางเว็บไซต์สมาคม www.ic.or.th หรือ สอบถามรายละเอียดได้ที่ แผนกลูกค้า สัมพันธ์และสื่อสารองค์กร โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 201-204
สมาคมจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “ขั้นตอนและการเตรียมข้อมูล สั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ RMTS - 2011”
สมาคมจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ขั้นตอนและการเตรียมข้อมูลสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ RMTS 2011” ให้กับบริษัทที่ผ่านการสัมมนาภาพรวมระบบ RMTS-2011 และได้รับวันและเวลาเข้าอบรม workshop โดยเริ่มการอบรม วันแรก รุ่นที่ 1 เมื่อที่ 1 กรกฎาคม2556 ณ ห้องอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน เริ่มด้วยการบรรยายจาก นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนชานาญการ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ในหัวข้อ แนวทางการจัดทาบัญชีรายการ วัตถุดิบ,แนวทางการจัดทาสูตรการผลิต,ประกาศสานักงาน จากนั้นหัวหน้าแผนกบริการฐานข้อมูล คุณเบญจมาศ เกียรติภานนท์ ได้บรรยายเกี่ยวกับ รูปแบบของรหัสโครงการ,ขั้นตอนการยื่นข้อมูลรายการวัตถุดิบและสูตรการผลิต,โครงสร้างการคีย์ข้อมูล BIRTMML,BIRTDESC,BIRTFRM ในช่วงบ่ายเป็นการบรรยายเกี่ยวกับขั้นตอนการสั่งปล่อยวัตถุดิบด้วยระบบ RMTS-2011, โครงสร้างการคีย์ข้อมูล BIRTIMP , ขั้นตอนการสั่งปล่อยวัตถุดิบผ่านระบบ Online โดยคุณริญญารัตน์ ถิรวัฒน์ทวีโชติ หัวหน้า แผนกบริการสั่งปล่อยวัตถุดิบ พร้อมทั้งขั้นตอนการตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ RMTS-2011 , โครงสร้างการคีย์ข้อมูล BIRTEXP,BIRTEXL,BIRTVEN , ขั้นตอนการตัดบัญชีวัตถุดิบผ่านระบบ Online โดยคุณนัยนา ชัยศิริ หัวหน้าแผนกบริการตัด บัญชีวัตถุดิบ สาหรับหัวข้อขั้นตอนต่างๆ เกี่ยวกับระบบ RMTS 2011 วัตถุดิบ ได้แก่ขั้นตอนและระยะเวลาการเตรียมข้อมูลเข้าสู่ ระบบ RMTS-2011,ขั้นตอนการเข้าสู่ระบบ RMTS-2011,แบบฟอร์มใบลงทะเบียนเข้าใช้งาน,ขั้นตอนการ Cutoff ระบบ RMTS เดิม ,แบบฟอร์มการโอนย้ายข้อมูลจากระบบ RMTS เดิมไประบบ RMTS - 2011,ข้อตกลงการใช้ระบบ RMTS-2011 บรรยายโดยคุณ กฤตยา ดวงภมร หัวหน้าฝ่ายบริการเครื่องจักรและ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการในวันแรกทั้งสิ้นกว่า 40 ท่าน สาหรับท่านที่สนใจสามารถติดตามกิจกรรมฝึกอบรมและสัมมนา ได้ที่ แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-208 หรือ www.ic.or.th
สมาคมจัดอบรมภายใน (In House Training) เรื่อง “กระบวนการทางศุลกากรระบบใหม่และสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากร ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Tax Incentive)” สมาคมจัดอบรม In house Training เรื่อง “กระบวนการทางศุลกากรระบบใหม่และสิทธิ ประโยชน์ทางภาษีอากร ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Tax Incentive)” ให้กับบริษัทการปิโตรเลียมแห่ง ประเทศไทย จากัด (มหาชน) หรือ ปตท. พร้อมหน่วยงานด้านพลังงานต่างๆ เข้าร่วมรวมกว่า 80 ท่าน เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2556 ณ ห้องประชุม Pentane ชั้น 12 อาคาร 1 ปตท. โดยในช่วงเช้า มีหัวข้อการบรรยาย ได้แก่ ผู้นาเข้า-ส่งออกระดับมาตรฐานเออีโอ, ตัวแทนออกของระดับ มาตรฐานเออีโอ, ภาษีศุลกากร ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีอื่น ๆ ในการนาเข้า-ส่งออก, การ ประเมินราคาศุลกากร ค่าขนส่ง ค่าประกันภัย Incoterms 2010 ค่าสิทธิ (Royalty Fee), พิกัด อัตราศุลกากร การลดอัตราอากร ยกเว้นอากร การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีอากรกรณี FTA,การ ผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์ว่าด้วยกระบวนการทางศุลกากรสาหรับการนาเข้า(eImport) สาหรับช่วงบ่ายบรรยายในหัวข้อ การผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์ว่าด้วย กระบวนการทางศุลกากรสาหรับการส่งออก(e-Export) การวางประกันโต้แย้งพิกัดหรือราคา, สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร, การผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์ว่าด้วยกระบวนการทาง ศุลกากรสาหรับการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร(e-Tax Incentive), ข้อผิดพลาดที่มักเกิดจาก การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีภายใต้ FTA เชื่อมโยงกับ Free Zone, IEAT, FZ, Bonded Warehouse, 19 ทวิ และ BOIและข้อควรระวังและแนวทางในการแก้ไขข้อผิดพลาดการปฏิบัติ พิธีการศุลกากรนาเข้า-ส่งออก โดยได้รับเกียรติจากคุณวิชัย มากวัฒนสุข ผู้เชี่ยวชาญระดับ ชานาญการพิเศษ กรมศุลกากร เป็นวิทยากรบรรยาย สาหรับท่านที่สนใจกิจกรรมต่างๆ ของสมาคม สามารถติดตามกิจกรรมฝึกอบรมและสัมมนา ได้ที่ แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-208
Special Seminar the topic “All Executives Need to Know about BOI” (English Version) The special seminar on the topic "All Executives Need to Know about BOI" (English version) at Centara Grand at Central Plaza Ladprao Bangkok on Tuesday, July 16, 2556. To create an understanding of the investment to foreign investors. The process of maximizing the benefits of the investment. Which has been honored by Khun Ajarin Pattanapanchai Senior Executive Investment Advisor and Khun Duangjai Asawachintachit Deputy Secretary General from the Board of Investment of Thailand. Be a guest speaker in the morning. The topics include: 1.How to get BOI promotion 2.Current investment incentives policies 3.Post-approval procedures 4.Use of tax incentives 5.Use of non-tax incentives. In the afternoon, a clinical counseling - counseling issues about investment by a panel of experts from the Board of Investment of Thailand. By foreign investors attend this seminar more than 30 people. The next special events for members and users. Please contact for information: Members and Investors Service Division Tel: 0 2936 1429 ext. 201-208 or www.ic.or.th
สมาคมสโมสรนักลงทุน
INVESTOR CLUB ASSOCIATION
เลขที่ 1 อาคาร ที พี แอนด์ ที ชั้น 12, 16 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2936 1429 โทรสาร 0 2936 1441-2 1 TP&T Tower, 12, 16 Fl., Vibhavadi Rangsit Rd., Chatuchak, Chatuchak, Bangkok 10900 Tel: (+66) 2936 1429, Fax: (+66) 2936 1441-2
ที่ IS 413 /2556 24 กรกฎาคม 2556 เรื่อง ขอเรียนเชิญเข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงาน บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จากัด เรียน ท่านสมาชิกและผู้ใช้บริการสมาคมสโมสรนักลงทุน ผู้ประกอบการ นักลงทุน และผู้สนใจทั่วไป สิ่งที่ส่งมาด้วย กาหนดการพร้อมแบบตอบรับ จานวน 1 แผ่น ด้วยสมาคมสโมสรนักลงทุนมีกาหนดจัดกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงาน “บริษัท ซี.พี.อินเตอร์เทรด จากัด” ในวันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม 2556 เวลา 09.30 – 12.00 น. ณ ห้องออดิทอเรี่ยม โรงงานข้าวนครหลวง อ.นครหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ ประสบการณ์ และวิสัยทัศน์ ในการดาเนินธุรกิจของท่าน ดังมีรายละเอียดปรากฏตามสิ่งที่ส่งมาด้วย ในการนี้ สมาคมเห็นว่ากิจกรรมดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินธุรกิจและบุคลากรของท่าน จึงขอเรียนเชิญท่านเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ (รับจานวนจากัดเพียง 40 ท่าน) โปรดกรอกแบบตอบรับส่งกลับมาที่ โทรสาร 0 2936 1441–2 หรือ Email: cus_service@ic.or.th ปิดรับสมัครภายในวันที่ 9 สิงหาคม 2556 หรือปิดรับทันทีเมื่อที่นั่งเต็ม ทั้งนี้ สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ แผนกลูกค้าสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 201 - 203 (เบญจวรรณ, นลนีย์, ลัดดาวัลย์) จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (นางสาวกฤตยา ดวงภมร) รักษาการผูจ้ ัดการสมาคมสโมสรนักลงทุน แผนกลูกค้าสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 201 - 4 โทรสาร 0 2936 1441 - 2 Email: cus_service@ic.or.th ติดตามข่าวสารการจัดกิจกรรมได้ที่ www.ic.or.th
วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม 2556 เวลา 09.30 – 12.00 น. ณ บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จากัด โรงงานข้าวนครหลวง อ.นครหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา
สมาคมสโมสรนักลงทุน มีความยินดีขอเชิญทุกท่านเข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงาน บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จากัด (ผู้ผลิตและจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวตราฉัตร) ด้วยโรงงานผลิตข้าวขนาดใหญ่ และทั น สมั ย ที่ สุ ด ในโลก มี ร ะบบการบริ ห ารจั ด การที่ ดี ผลิ ต ข้ า วด้ ว ยเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย ควบคุ ม ด้ ว ยคอมพิ ว เตอร์ ใ น กระบวนการผลิตทั้งระบบ มีการบรรจุสินค้าที่ทันสมัยที่สุดและรวดเร็วที่สุดในโลกไปสู่ผู้บริโภคทั้งในประเทศและตลาดโลกด้วย ท่าเรื อขนส่งสินค้า แห่งใหม่ที่ทันสมัยและสมบูร ณ์ที่สุดของประเทศ อีกทั้งเป็นองค์กรที่ตระหนักถึงความสาคัญของการใช้ พลังงานอย่างคุ้มค่าที่สุด รวมถึงการมีความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) จนกระทั่งได้รับรางวัลดีเด่นมากมาย...!!!
Highlight!! เยี่ยมชมโรงงาน ฟังบรรยาย พบปะ
กาหนดการเยี่ยมชมโรงงาน เวลา
หัวข้อกิจกรรม
06.30 – 07.00 น. 07.30 – 08.45 น. 09.30 – 11.00 น.
ลงทะเบียน พร้อมรับประทานอาหารว่าง ณ สมาคมสโมสรนักลงทุน (ชั้น 12) ออกเดินทางมุ่งหน้าสู่โรงงานข้าวนครหลวง (กรุงเทพฯ – พระนครศรีอยุธยา) กล่าวต้อนรับโดย ผู้บริหารของบริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จากัด รับฟังการบรรยาย ประวัติและการเติบโตของ บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จากัด การบริหารจัดการที่ดี การควบคุมคุณภาพ การพัฒนา และปรับปรุงผลิตภัณฑ์ การผลิตข้าวด้วยเทคโนโลยีทที่ ันสมัยควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ในกระบวนการผลิตทั้งระบบ การบรรจุสินค้าที่ทันสมัยที่สดุ และรวดเร็วทีส่ ุดในโลกไปสู่ผู้บริโภคด้วยท่าเรือขนส่งสินค้า แห่งใหม่ที่ทันสมัยและสมบูรณ์ที่สุดของประเทศ การจัดการด้านพลังงาน สิ่งแวดล้อม และความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR)
11.10 – 12.00 น. 12.00 – 13.00 น. 13.00 – 15.00 น.
เยี่ยมชมกระบวนการผลิต และถาม–ตอบ กล่าวขอบคุณพร้อมมอบของที่ระลึกและถ่ายภาพร่วมกัน รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน ออกเดินทางกลับถึงสมาคมสโมสรนักลงทุน
★☆ หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์การเข้าชมโรงงานสาหรับกิจการประเภทเดียวกันกับบริษัท ☆★
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ แผนกลูกค้าสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 201-3 (เบญจวรรณ, นลนีย์, ลัดดาวัลย์)
ใบสมัครกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงาน
บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จากัด วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม 2556 เวลา 09.30 – 12.00 น. ณ โรงงานข้าวนครหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา ชื่อบริษัท ประเภทกิจการ ที่อยู่บริษัท (สาหรับออกใบเสร็จรับเงิน) หมายเลขสมาชิก ___________________________________________________________________________________________ รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม 1. ชื่อ-นามสกุล (นาย/นาง/นางสาว) โทรศัพท์ (มือถือ)
ตาแหน่ง E-mail
2. ชื่อ-นามสกุล (นาย/นาง/นางสาว)
ตาแหน่ง
โทรศัพท์ (มือถือ)
ชื่อผู้ประสานงาน โทรศัพท์
ตาแหน่ง E-mail
โทรสาร
อัตราค่าลงทะเบียน (รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) สมาชิก 1,391 บาท บุคคลทั่วไป 1,819 บาท สมัครด่วน! รับจำนวนจำกัดเพียง 40 ท่ำน เท่ำนั้น (หมดเขตภายในวันศุกร์ที่ 9 สิงหาคม 2556) ติดต่อสอบถาม/สมัครเข้าร่วมกิจกรรมได้ที่โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 201 - 3 (เบญจวรรณ, นลนีย์, ลัดดาวัลย์) หรือกรอกแบบตอบรับส่งแฟกซ์กลับมาที่ 0 2936 1441–2 หรือ Email: cus_service@ic.or.th
ส่วนของธนาคาร (โปรดเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจากผู้ชาระเงิน)
แบบฟอร์มการชาระเงินเพื่อเข้าบัญชี
"สมาคมสโมสรนักลงทุน"
บมจ. ธ.ไทยพาณิชย์ Comp Code: 0746 เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์
(15 บาท/15บาท)
บมจ. ธ.กรุงเทพฯ (Br. No.045) (20 บาท/35บาท) บมจ. ธ.กสิกรไทย 943-1-00006-4 (15 บาท/35บาท) บมจ. ธ.ทหารไทย Comp Code : 371/service code 1102 (10 บาท/20บาท) บมจ. ธ.กรุงศรีอยุธยา 644-0-00007-8 (15 บาท/30บาท) บมจ. ธ.กรุงไทย Comp Code : 3418 (15 บาท/25บาท) บมจ. ธ.ธนชาต TAX.ID 3108114983 00 (10 บาท/10บาท) หมายเลขเช็ค ชื่อธนาคาร/สาขา เงินสด / CASH
INVESTOR CLUB ASSOCIATION
(099 3 00013367 6)
SERVICE CODE: INVESTOR สาขาที่รับฝาก............................................... วันที่............/.............../................ ชื่อลูกค้า/NAME………………………………………………………………….. รหัสลูกค้า/CUSTOMER NO.REF.NO.1) หมายเลขสมาชิก............................... 1-30-019 รหัสค่าบริการ/REF.NO.2)………………...............………………..……………... ชื่อกิจกรรม...........เยีย่ มชมโรงงาน บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จากัด..................... ชื่อผู้นาฝาก................................................โทรศัพท์................................................ เช็คลงวันที่ จานวนเงิน (บาท)
จานวนเงินเป็นตัวอักษร (.........................................................................................................................................) เจ้าหน้าที่ธนาคาร-ผู้รับ..............................................
วิธีการชาระเงิน 1. นา “แบบฟอร์มการชาระเงิน” ไปชาระเงินด้วย Bill Payment ตามช่องทางบริการต่าง ๆ ของธนาคาร 7 แห่ง คือ 1. ธ.ไทยพาณิชย์ 2. ธ.กรุงเทพฯ 3. ธ.กสิกรไทย 4. ธ.ทหารไทย 5. ธ.กรุงศรีอยุธยา 6. ธ.กรุงไทย 7. ธ.ธนชาต 2. ชาระด้วยเงินสดได้ที่ฝ่ายบัญชีและการเงิน ณ ที่ทาการสานักงานใหญ่ของสมาคมสโมสรนักลงทุน หรือ ชาระด้วยเช็คสั่งจ่ายในนาม “สมาคมสโมสรนักลงทุน” หรือ “INVESTOR CLUB ASSOCIATION” หมายเหตุ : สมาคมได้รับยกเว้นการถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามข้อ 12/1 (2) ตามคาสั่งกรมสรรพากรที่ ทป. 101/2544