ICeNewsletter_August2018

Page 1

Vol.17 / August 2018 นับถอยหลังระบบงาน ตัดบัญชีวัตถุดบิ แบบไร้เอกสาร IM มิ ติ ใหม่ ของการจั ด การ ยุ คใหม่ (2)

เกษตรอัจฉริยะ


การกรอกข้อมูล เป็นเรื่องยากสาหรับคุณ”

“หากคิดว่า

“ง่ายสาหรับคุณ... ยื่นขออนุญาตนาเข้าช่างฝีมือและผู้ชานาญการด้วยระบบ e-Expert พร้อมบริการติดต่อประสานงาน สานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429

คุณอภิชาติ ต่อ 314 apichartp@ic.or.th คุณชลพัชร ต่อ 315 chonlapatchp@ic.or.th

www.ic.or.th


04 เกษตรอัจฉริยะ

Brand สื่อสารสู่ความสาเร็จ

07 09 นับถอยหลังระบบงานตัดบัญชี วัตถุดิบแบบไร้เอกสาร

12

ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ณัฐพงษ์ วัฒ นไทยสวัสดิ์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • กฤตยา วิชยั ดิษฐ์ • กฤษดา ทับทิม • ปริญญา ศรีอนันต์ ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพ ท์ : 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร : 0 2936 1441-2 e-mail : icn@ic.or.th

18

IM มิติใหม่ของการจัดการยุ คใหม่ (2)

สร้างความมัน่ คงทางจิตใจ เรื่องหมู ๆ ที่ไม่หมู

ธุ รกิจอุ ตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ ในปั จจุ บัน ต่างหันมาให้ความสาคัญกับการใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ เครื่องมือและอุ ปกรณ์ที่ได้รับการพัฒนาแปรเปลี่ยนเป็น เครื่องมือเพื่อช่ วยสนับสนุนกระบวนการทางานให้เกิดความสะดวก ดาเนินการผลิตได้ รวดเร็ว สามารถสั่งการจากที่ใดก็ได้ และได้ผลผลิตหรือผลตอบรับจากการทางานใน ปริมาณที่เพิม่ ขึน้ และมีคุณภาพมากขึน้ ในอุ ตสาหกรรมการเกษตรก็ เ ช่ นเดี ย วกั น เกษตรกรส่ ว นใหญ่ มี ก ารริ เ ริ่ ม น า เทคโนโลยีมาช่ วยในกระบวนการปลูกพืชผล เรียกได้ว่าเกือบจะครบจนจบทัง้ กระบวนการ ทัง้ เรื่องระบบตรวจจับการติดตามสภาพต่าง ๆ ระบบควบคุมการใช้ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เช่ น นา้ ปุ๋ ย เวชภัณฑ์ ตลอดจนระบบโรงเรือนที่นาเทคโนโลยีการกากับดูแลแบบอัตโนมัติที่ สามารถควบคุมได้ในทุกช่ วงเวลา เพื่อให้ผลผลิตมีความสมบู รณ์ และนาออกจาหน่ายได้ เต็มจานวน สร้างมู ลค่าให้กับผลิตผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รั บ การสนั บสนุ น จากหน่ว ยงานภาครั ฐ ที่ เกี่ ย วข้อ งในทุ ก ด้ าน ทั ้งการให้ คาปรึกษา ร่วมทดลอง วิจัยและพัฒนาเครื่องมือด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย การติดตาม ผลการใช้ งาน ตลอดจนการแก้ไขข้อผิดพลาด และปั ญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการ เปลี่ ย นแปลงการเพาะปลู ก เพื่ อ น ามาวิ เ คราะห์ แ ละพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ ให้ เ อื้อ ประโยชน์ และตอบสนองต่ อ การใช้ ง านได้ เ หมาะสมกั บ พื ช ผลแต่ ล ะชนิ ด หรื อ เหมาะสมกั บ พื้น ที่ เพาะปลูก ด้านการส่งเสริมการลงทุนภาคการเกษตร สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน หรือ บีโอไอ ซึ่ งเป็นหน่วยงานที่สนับสนุนให้เกิดการลงทุนในภาคการเกษตรเพิ่มมากขึ้น ด้วยมาตรการส่งเสริมการลงทุนที่ผลักดันให้เกษตรกรนาเทคโนโลยีมาใช้ ในกระบวนการ เพาะปลู ก หรื อ เรี ย กว่ า “เกษตรอั จ ฉริ ย ะ” อี ก ทั ง้ ยั ง ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การลงทุ น จาก ผู ้ประกอบการต่างชาติในการเข้ามาร่วมทุนในอุ ตสาหกรรมนี้ เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้ ภาคการเกษตรของไทยเปลี่ยนผ่านสู่การเป็น “เกษตร 4.0” ได้ในอนาคต สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น พร้ อ มสนั บ สนุ น ทุ ก ภาคอุ ตสาหกรรมที่ ไ ด้ รั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุน ด้วยระบบการให้บริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว สามารถให้บริการได้ทุกที่ ตลอด 24 ชัว่ โมง ผ่านการให้บริการแบบออนไลน์ ตลอดจนบริการหลักสูตรฝึ กอบรมและ สัมมนาที่มีการปรับปรุ งหลักสูตรใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพบุ คลากรให้มีความรู้และ ความชานาญในการใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ให้สอดรับกับธุ รกิจขององค์กร โดยสามารถ ลงทะเบียนร่วมสัมมนาในหลักสูตรที่เหมาะสมได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ ท่านสอบถาม ข้ อ มู ล ด้ า นบริ ก ารเพิ่ม เติ ม ได้ ที่ โทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 700 หรือ ติดตามทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3

icn


เกษตร อัจฉริยะ

มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

หนึ่งในนโยบายส่งเสริมการลงทุนของประเทศที่ถูก กล่าวขานและเป็นที่จับตามอง เนื่องจากเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต ของคนไทยมายาวนาน นัน่ คือ “เกษตรกรรม” ซึ่ งมีความ ผู กพันกับวัฒนธรรม จนเรียกได้ว่าเป็นอัตลักษณ์ท่ีทั่วโลก รู้จักจากวิถีเกษตรกรและความเป็นชุ มชนของคนไทย มาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ภาคการเกษตร ถูกหยิบยกให้เป็นหนึ่งในนโยบายสาคัญของการขับเคลื่อน ประเทศสู่ยุค 4.0 ด้วยแนวทางการสนับสนุนการลงทุน ให้ กับ ภาคการเกษตรระดั บ ท้อ งถิ่ น ด้ ว ยการส่ งเสริม ให้ เกษตรกรนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ ในการทาการเกษตร เช่ น การน าระบบเซ็ น เซอร์ ม าใช้ ต รวจสอบอุ ณหภู มิ ความชืน้ และวัดค่า เพื่อให้สามารถควบคุมปั จจัยด้านต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเติบโตของพืชผล รวมถึงการควบคุมการ เติมปั จจัยอื่น เช่ น ปุ๋ ย นา้ สารเคมีจาเป็นสาหรับผลผลิต ผ่ านทางแอปพลิ เคชันบนโทรศัพท์ มื อถื อ หรื อโปรแกรม ควบคุ ม ทางคอมพิ ว เตอร์ วิ ธี ก ารสมั ย ใหม่ เ หล่ า นี้ เราเรียกว่า “เกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming)” หรือ อาจจะเรียกว่า “เกษตรแม่นยา (Precision Agriculture)” หรือ “เกษตร 4.0” ดังนัน้ เพื่อเป็นการเอื้อประโยชน์ให้เกษตรกรได้รับ การสนั บ สนุ น และสามารถเข้ า ถึ ง เทคโนโลยี ไ ด้ ม ากขึ้ น สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) จึงได้ มีมาตรการส่งเสริมการลงทุนสาหรับการเกษตรสมัยใหม่ 3 มาตรการ ประกอบด้วย icn

4

มาตรการที่ 1 การสนับสนุนภาคการผลิต หรือ ผู ้ให้บริการระบบเกษตรสมัยใหม่ เช่ น ระบบตรวจจับ ระบบ ติ ด ตามสภาพต่ า ง ๆ ระบบควบคุ ม การใช้ ปั จจั ย ที่ เกี่ยวข้อง เช่ น นา้ ปุ๋ ย เวชภัณฑ์ และระบบโรงเรือน โดย ผู ้ประกอบการที่ต้องการขอรับส่งเสริมการลงทุนจะต้อง ออกแบบระบบ หรือซอฟท์แวร์ท่จี ะใช้ ในการบริหารจัดการ นาเสนอประกอบการขอรับการส่งเสริมการลงทุนกับบีโอไอ มาตรการที่ 2 การส่ ง เสริ ม การลงทุ น เพื่ อ การ ยกระดั บ อุ ตสาหกรรมเกษตรไปสู่ ม าตรฐานสากล ทัง้ มาตรฐาน GAP (จี เอ พี) หรือ การปฏิบัติการเกษตรที่ดี คือ การผลิตพืชเพื่อให้ผลผลิตได้มาตรฐาน ปลอดภัย ปลอดจากศั ต รู พื ช และมี คุ ณ ภาพดี อี ก นั ย หนึ่ ง คื อ “ค่ามาตรฐานผลผลิ ต ” ซึ่ งเป็ นค่า มาตรฐานที่ออกโดย กรมวิ ช าการเกษตรและกรมการข้ า ว และมาตรฐาน ISO 22000 หรือ ข้อกาหนดของระบบการบริหารงาน ความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อมุ ่งสู่เป้ าหมายในการขยาย ตลาดสินค้าเกษตรของไทยสู่ตลาดโลกให้เพิ่มมากขึน้ มาตรการที่ 3 การส่งเสริมการลงทุนสาหรับภาค การเกษตรในระดั บ ท้ อ งถิ่ น เป็ น การส่ ง เสริ ม ให้ ชุ มชน ในท้องถิ่นสร้างมู ลค่าเพิ่มให้กับ ผลผลิตทางการเกษตร ยกระดับราคาสินค้า เกษตรในประเทศ ให้สูงขึน้ โดยการ แปรรูปผลผลิต อย่างครบวงจร


ประเภทกิ จ การที่ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ต าม มาตรการนี้ ได้ แ ก่ กิ จ การผลิ ต ปุ๋ ยชี ว ภาพ ปุ๋ ยอิ น ทรี ย์ ปุ๋ ยอินทรีย์เคมีนาโน และสารป้ องกันกาจัดศัตรูพืชชีวภัณฑ์ กิจการปรับปรุ งพันธุ ์พืชหรือสัตว์ กิจการแปรรูปยางขัน้ ต้น กิจการผลิตเชื้อเพลิงจากผลผลิตการเกษตร กิจการผลิต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากยางธรรมชาติ กิ จ การผลิ ต อาหารหรื อ ถนอมอาหารและเครื่องดื่ม กิจการคัดคุณภาพบรรจุ และ เก็ บ รั กษาพื ชผั ก ผลไม้ ดอกไม้ กิ จ การผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จากผลพลอยได้ทางเกษตร และกิจการผลิตสารสกัดหรือ ผลิตภัณฑ์จากสารสกัดจากวัตถุดิบทางธรรมชาติ กิจการ ห้ อ งเย็ น และขนส่ ง ห้ อ งเย็ น และศู น ย์ ก ลางการค้ า สิ น ค้ า เกษตร สาหรับสิทธิและประโยชน์ตามมาตรการส่งเสริมการ ลงทุ น สาหรั บ ภาคการเกษตรในระดั บ ท้ อ งถิ่ น จะแบ่ ง เป็ น 2 กรณี คือ 1. กรณีผู้ประกอบการรายเล็กที่ลงทุนในกิจการด้าน การเกษตรเอง จะได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 5-8 ปี เป็นสัดส่วน 200% ของเงินลงทุน 2. กรณีผู้ประกอบการสนับสนุนหรือร่วมดาเนินการ กั บ ท้ อ งถิ่ น เพื่ อ ด าเนิ น กิ จ การด้ า นการเกษตร จะได้ รั บ ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคลส าหรั บ รายได้ จ ากกิ จ การ ที่ดาเนินการอยู ่เดิม 3 ปี เป็นสัดส่วน 100% ของเงินลงทุน ที่จ่ายจริงในการสนับสนุนหรือร่วมดาเนินการ

ทัง้ นี้ เกษตรกรและผู ้ ประกอบการที่ส นใจจะขอรั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น ตามมาตรการดั ง กล่ า วข้ า งต้ น จะต้องยื่นคาขอรับการส่งเสริมการลงทุนภายในปี 2561 นี้ โดยสอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ ท่ี ส านั ก งาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน โทรศัพท์ 0 2553 8111 อีเมล head@boi.go.th และ www.boi.go.th ข้อมู ลจาก : http://www.ry9.com/s/nnd/2838526, http://www.boi.go.th ภาพจาก: https://www.st.com/en/applications/smart-farming.html https://www.mmthailand.com/ https://www.bangkokbanksme.com/article/13817

จะเห็ น ได้ ว่ า มาตรการส่ ง เสริม การลงทุ น ด้ า น การเกษตรที่ออกมานี้ค่อนข้างจะเข้าถึง ยากสาหรั บ เกษตรกรดั ง้ เดิ ม ที่ ท าการเกษตรมานาน แต่ จ ะเอื้อ ประโยชน์สาหรับเกษตรกรรุ ่นใหม่ หรือ Young Smart Farmer ที่ ไ ด้ เ ริ่ ม น าเทคโนโลยี ส มั ย มาใช้ ใ นการผลิ ต ซึ่ งปั จจุ บันยังมีไม่มากนัก ดังนัน้ ถ้าดูให้จริงจังแล้ว มาตรการนีจ้ ะเอือ้ สาหรับผู ้ประกอบการเสียมากกว่า

อย่างไรก็ตาม ต้องยอมรับว่ามาตรการเหล่านี้ ถื อ เป็ น ความพยายามของภาครั ฐ และหน่ ว ยงาน ที่เกี่ยวข้องในการผลักดันให้การเกษตรในประเทศไทย เป็น “เกษตรอัจฉริยะ หรือ เกษตร 4.0” ซึ่ งอาจต้อง อาศัยการรวมกลุ่มกันของเกษตรกรทัง้ รุ ่นเก่าและรุ ่น ใหม่ เพื่อ ให้เ กิด การผลิต ด้ว ยเครื่ องมือ ทั นสมั ยและ ลดต้นทุน มีการส่งเสริมการเกษตรแบบผสมผสาน ที่สาคัญ คือ การปรับเปลี่ยนทัศนคติของเกษตรกร รุ ่น เก่ าให้ม องเห็ นความส าคั ญและความจาเป็ นของ การใช้ เ ทคโนโลยี ใ หม่ ๆ เข้ า มาช่ วยในการผลิ ต ตลอดจนการจู งใจเกษตรกรรุ ่ น ใหม่ ซึ่ งได้ รั บ การศึ กษาที่ สู ง กว่ า เข้ า มาท าการเกษตรให้ ม ากขึ้ น เพื่อจะได้นาความรู้และความชานาญในแบบสมัยใหม่ มาปรับใช้ ร่วมกับแบบดัง้ เดิม และผลักดันให้เกิดการใช้ เทคโนโลยีขนั ้ สูงในกระบวนการผลิต เพื่อให้ได้ผลิตผล ที่มีคุณภาพในปริมาณที่มากขึ้น เชื่ อแน่ว่าหากภาค การเกษตรสามารถปรับ เปลี่ ยนได้ ต ามนี้ อี กไม่ น าน ประเทศไทยต้ อ งเป็ น “เกษตรอั จ ฉริ ย ะ” ได้ อ ย่ า ง แน่นอน 5

icn


RMTS 1. ขธธนุมัตผบัญ ชฝ ร าฬการทัต ถุดผบ 1.1 ขธบัญชฝ ราฬการทัต ถุดผบ (BIRTMML) 1.2 ขธเอผ่ มชื่ ธ ราฬการทั ตถุ ดผบ (BIRTDESC) 1.3 ขธบัญชฝ ราฬการฯลผ ต ภั ณ ฑ์แ ละสู ต รการฯลผ ต (BIRTFRM) 1.4 ขธปรับ ฬธดฐานข้ธมู ล ทั ต ถุดผบ (BIRTADJ) 2. ขธธนุมัตผ สั่น ปล่ธ ฬทัต ถุดผบ 2.1 ขธธนุ มั ตผ สั่น ปล่ ธ ฬทั ตถุ ดผบแบบปกตผ 2.2 ขธธนุ มั ตผ สั่นปล่ ธ ฬทัต ถุดผ บแบบใื น ธากร 2.3 ขธธนุ มั ตผ สั่นปล่ ธ ฬทัต ถุดผ บแบบถธนการใช้ ธนาใารใา้ ประกั น 3. ขธธนุญ าตฯ่ธ นฯัน ใช้ ธ นาใารใา้ ประกัน ทัต ถุ ดผบ 3.1 ขธฯ่ ธ นฯั น ใช้ ธ นาใารใา้ ประกั น ทั ตถุดผ บ 4. ขธธนุญ าตตั ด บัญ ชฝ ทัต ถุ ดผบ 4.1 ขธตัด บัญ ชฝ ทัต ถุ ดผบ 4.2 ขธปรั บ ฬธดทั ตถุดผ บ

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม

0 2936 1429 ต่อ 314 - 315

e-mail : counterservice@ic.or.th www.ic.or.th


นับถอยหลัง ระบบงานตัดบัญชีวัตถุดิบแบบไร้เอกสาร กฤตยา วิชัยดิษฐ์ kittayad @ic.or.th

ฉบับนี้ เรากลับมาพู ดคุยถึงเรื่อง “ระบบงานตัดบัญชี วัตถุดิบแบบไร้เอกสาร” กันไปอีกสักระยะหนึ่งนะคะ เป็นที่ทราบ กั น ชัด เจนแล้ ว ส าหรั บ ระบบตั ด บั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ แบบไร้ เอกสารที่สมาคมได้ทาการพัฒนาระบบ และมีกาหนดเปิ ด ให้บริการ สาหรับข้อมู ลการส่งออกตัง้ แต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 เป็นต้นไป เรามาร่วมกันนับถอยหลัง รวมถึงเตรียม ความพร้ อ มในการเตรี ย มตั ว และเรี ย นรู้ ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ เพิ่มเติมกันดีกว่านะคะ IC Focus หลายฉบับที่ผ่านมา สมาคมได้นาเสนอ รายละเอี ย ดของการจั ด ท าข้ อ มู ล การส่ ง ออกกั บ กรม ศุล กากร การจัดทาข้อมู ลกรณีท่ีมีการซื้อขายวัตถุดิบ ระหว่ า งบริ ษั ท ที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น ด้ ว ยกั น ภายในประเทศ รวมถึงรายละเอียดขัน้ ตอนการตัดบัญชี วั ต ถุ ดิ บ แบบไร้ เ อกสาร ซึ่ ง ท่ า นได้ เ ห็ น แล้ ว ว่ า มี ค วาม แตกต่างไปจากการตัดบัญชีวัตถุดิบในปั จจุ บันพอสมควร ส าหรั บ ประโยชน์ ท่ี ทุ ก ท่ า นจะได้ รั บ นั ้น มี ม ากมาย อาทิ ช่ วยลดการใช้ เอกสาร ลดกระบวนการทางาน และที่สาคัญ สามารถยื่ นตั ดบั ญชี วั ตถุ ดิ บได้ ทุ กที่ ทุ กเวลา เป็ นการ อานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของท่านเพิ่มมากขึน้ PROJ_CODE

EXP_ENTRY

EXP_DATE

12345611 A015D600200088 15/02/2017 12345611 A015D600200092 15/02/2017 12345611 A015D600200092 15/02/2017 12345611 A015D600200093 15/02/2017 65432111 A015D600200094 15/02/2017 65432111 A015D600200092 15/02/2017 65432111 A015D600200093 15/02/2017 65432111 A015D600200093 15/02/2017

EXP_DECLARE _LINE_NO 1 1 2 1 1 3 2 3

เรามาศึ กษาและเรี ย นรู้ ไ ปพร้ อ ม ๆ กั น นะคะว่ า “ระบบการตัดบั ญชี วัต ถุดิบ แบบไร้เอกสารนี้ มีลั กษณะ การทางานอย่างไร และแตกต่างไปจากระบบเดิมอย่างไร” การทางานของระบบตัดบัญชี วัตถุดิบแบบไร้เอกสาร 1. การคีย์ข้อมู ลและการบันทึกข้อมู ล เป็นดังนี้ • การคีย์และบันทึกข้อมู ล : กาหนดให้ 1 แฟ้ มข้อมู ล สามารถคีย์ข้อมู ลเพื่อตัดบัญชีวัตถุดิบได้มากกว่า 1 โครงการ และตัดบัญชีวัตถุดิบได้มากกว่า 1 ใบขน และใน 1 ใบขน จะตัดบัญชีวัตถุดิบได้เพียงครัง้ เดียว • เพิ่ ม ล าดั บ รายการที่ ใ นใบขนสิ น ค้ า ขาออกและ Report V (EXP_DECLARE_LINE_NO) ในการคี ย์ ข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ ตั ด บั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ ซึ่ งบริ ษั ท สามารถ ดาวน์ โ หลดข้ อ มู ล การส่ ง ออกของบริ ษั ท ท่ า นเอง ผ่านระบบ IC Online ตัวอย่าง English Description of goods 23025-0363 1A TAIL LAMP 23016-0605 LAMP ASSY 23016-0607 LAMP ASSY 23016-0609 LAMP ASSY 23025-0348 TAIL LAMP 23025-0350 TAIL LAMP 23037-0295 2A SIGNAL LAMP 23038-0296 2A SIGNAL LAMP Product Code

QTY

UOP REVISION

172 40 360 100 48 108 40 60

C62 C62 C62 C62 C62 C62 C62 C62

1 1 1 1 1 1 1 1 7

icn


2. บริษัทผู ้ส่งออกจะต้องเพิ่มชื่อผลิตภัณฑ์ของผู ้รับโอน (VENDOR_ENGLISH_DESC) ในโครงสร้างการคีย์ข้อมู ล เพื่อโอนสิทธิให้กับผู ้ขายในประเทศ (Vendor) นัน่ หมายความว่า วัตถุดิบที่บริษัทซื้อจากภายในประเทศนัน้ จะต้องเป็นชื่อ วัตถุดิบที่บริษัทได้รับอนุมัติเป็นชื่อหลักหรือชื่อรองในบัญชีรายการวัตถุดิบของบริษัทตนเอง จึงจะสามารถโอนวัตถุดิบ รายการนัน้ ให้กับผู ้ขายในประเทศ (Vendor) ได้ ตัวอย่าง PROJ_ CODE

VEN_ TYPE

VEN_QTY

12345611 000042 TEST COMPANY CO.,LTD 0105539122622

B

572.174496

12345611 000025 ICA COMPANY CO.,LTD 0105539122622

B

200.00

GRP_NO

VEN_NAME

VEN_ID

VEN_PRODUCT VEN_ENGLISH_ DESC _CODE 9379008336 HEAT INSULATOR 9379008020

CUSHION

3. การออกรายงานหรือข้อมู ลการโอนสิทธิให้กับ Vendor (Report V) จะแตกต่างจากระบบเดิมโดยจะแยกเลขที่ Report V ตามจานวนผู ้รับโอน ตัวอย่าง

4. ไม่อนุญาตให้ยกเลิกการตัดบัญชีวัตถุดิบ 5. สาหรับบริษัทที่ขายสินค้าในประเทศให้กับบริษัท Trading (Non BOI) เป็นผู ้ส่งออก ปั จจุ บันบริษัทจะเป็น ผู ้นาเอกสารใบขนสินค้าขาออกมาตัดบัญชีวัตถุดิบ โดย จะตรวจสอบการระบุ ข้อความการโอนสิทธิ์ ส าหรั บ การตั ด บั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ แบบไร้ เ อกสารนี้ จะเปลี่ ย นวิ ธี ใ หม่ เ ป็ น ให้ บ ริ ษั ท Trading (Non BOI) ที่ส่งออกจะต้องเลือกสิทธิ  BOI และจะต้องระบุ Tax ID ของผู ้รับโอนในช่ อง “ใช้ สิทธิพิเศษ” ในการทาข้อมู ล การส่ ง ออกกั บ กรมศุ ล กากร เพื่ อ ให้ ส มาคมสามารถ ดาวน์ โ หลดข้ อ มู ล การส่ ง ออกจากกรมศุ ล กากรมาให้ บริษัทที่เป็นผู ้รับโอนสามารถนาข้อมู ลไปตัดบัญชีวัตถุดิบ แบบไร้ เอกสารได้ โดยกาหนดรายละเอีย ดในการกรอก ข้อมู ลการส่งออกให้เป็น 1 รายการต่อ 1 Vendor และ ต้องไม่เกินปริมาณที่ส่งออก icn 8

ทั ้ง หมดนี้ คื อ การท างานของระบบการตั ด บั ญ ชี วัตถุดิบแบบไร้เอกสาร ที่จะเปิ ดให้บริการสาหรับข้อมู ลการ ส่งออก ตัง้ แต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 เป็นต้นไป ไม่ต้องกังวลนะคะ รายละเอียดเพิ่มเติมสาหรับการ ปฏิบัติงานนัน้ สมาคมจะมีการจัดสัมมนาประชาสัมพันธ์ และจัดอบรมเชิ งปฏิบัติการเกี่ยวกับการทางานของระบบ ให้ ทุ กท่ า นได้ ท ราบกัน อี กครั ้ง ในช่ วงเดือ นสิ งหาคม ถึ ง กันยายน 2561 นี้ ในระหว่างนี้ ขอให้ทุกท่านสารวจข้อมู ล การส่งออกที่ผ่านมาว่าบริษัทของท่านได้ทาตามที่สมาคม แจ้งไว้หรือไม่ หรือติดขัดที่หน่วยงานใด ท่านจะได้รีบแก้ไข ให้ถูกต้องต่อไป ฉบับนี้ ขอฝากเอาไว้เพียงเท่านีก้ ่อน หากมีท่านข้อ สงสัย หรือต้องการข้อมู ลเพิ่มเติม สามารถติดตามข้อมู ล ข่าวสารได้ทาง ICN และที่ www.ic.or.th


IM มิติใหม่ของการจัดการ ยุ คใหม่ (2) จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com

เมื่ อ เอ่ย ถึ ง มาตรฐานที่ เ ป็น สากลและประเทศทั่ว ไป ยอมรับ คงไม่มีใครปฏิเสธหรือไม่รู้จัก “ISO (International Organization for Standardization)” ซึ่ งมาตรฐาน ที่ หน่ วยงานให้ การรั บรองนี้กาหนดขึ้ นมานั ้น มิ ได้ มี เพี ยง แค่ ม าตรฐานด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ แต่ ยั ง มี ม าตรฐานด้ า น กระบวนการหรือระบบงานอีกด้วย ทัง้ ยังมีมาตรฐานการ จัดการที่เป็นสากลที่รู้จักกันทั่วไปมาร่วม 3 ทศวรรษแล้ว นั่นคือ มาตรฐาน ISO 9000 (Quality Management) นั่น เอง สิ่ ง ที่ จ ะบอกก็ คื อ “อี กไม่ น านจะมี ม าตรฐานใหม่ ด้านนวัตกรรม ISO 50501 (Innovation Management: IM) เกิดขึน้ อีกด้วย” ในปี 2013 เป็ น ปี ที่ เ กิ ด การรวมตั ว ของคนจาก 23 ประเทศทั่วโลก มาร่วมกันจัดทามาตรฐาน ในรู ปแบบ ของคณะทางานด้านเทคนิค (Technical Committee-TC) ในนาม ISO/TC 279 เพื่ อ ช่ วยกั น ร่ า งข้ อ ก าหนดและ รายละเอียดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทามาตรฐานใหม่ โ ด ย ผู ้ ที่ เ ข้ า ร่ ว ม นี้ ม า จ า ก ห ล า ก ห ล า ย อ ง ค์ ก ร ทัง้ ภาคอุ ตสาหกรรมและพาณิชยกรรม รวมถึง SMEs อาทิ โรงงานอุ ตสาหกรรม ธุ รกิจบริการ องค์กรด้านการ ลงทุน กองทุนร่วมลงทุน บริษัทที่ปรึกษา ด้ า นการจั ด การนวั ตกรรม หน่วยงานด้านการประเมิน มู ล ค่ า และการถ่ า ยทอด เทคโนโลยี สถาบันการศึ กษา และหน่วยวิจัย เป็นต้น

ทุกคนล้วนเป็นผู ้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ แต่มีความ เกี่ยวข้องกั บการจัดการนวัตกรรม ซึ่ งเป็น หัวข้อสาคั ญ และเป็นที่สนใจมากหัวข้อหนึ่งในยุ คนี้ ทัง้ นี้เพราะองค์กร จานวนไม่น้อยกาลังจะผันตัวเองไปสู่ธุรกิจที่สามารถสร้าง มู ลค่าเพิ่มได้สูงขึน้ มากกว่าการรับจ้างผลิตที่มุ่งลดต้นทุน หรือขจัดปั ญหาเดิม ๆ โดยวัตถุประสงค์เพื่อจัดทามาตรฐาน เครื่ อ งมื อ ต่ า ง ๆ ที่ มี ก ารน ามาใช้ ใ นงานนวั ต กรรม และวิ ธี ก ารในทุ ก จุ ดที่ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั น ระหว่ า งคนที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการนวัตกรรม ครอบคลุมประเด็นเชิ ง อุ ตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม และสังคม คณะท างานดั งกล่า วแบ่ งออกเป็น คณะย่อ ย อาทิ WG1 หรือกลุ่ม IMS ทาหน้าที่กาหนดขอบเขตของระบบ การจัดการนวัตกรรม (กระบวนการและองค์กร) WG2 หรื อกลุ่ม Terminology ท าหน้ าที่ กาหนดค านิ ยามและ ความหมาย ตลอดจนคาสาคัญที่ใช้ อ้างอิงร่วมกันเพื่อให้ เข้าใจในทิศทางเดียวกัน WG3 หรือกลุ่ม Tools and Methods ทาหน้าที่กาหนดเครื่องมือและวิธีการที่ใช้ เพื่อสนับสนุนงาน ด้ า นนวั ต กรรม (ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา ความร่ ว มมื อ การบริ หารโครงการ) เพื่ อให้แน่ ใจได้ ว่า มาตรฐานใหม่ นี้ สามารถจะประยุ กต์ใ ช้ ไ ด้ ใ นหลายรู ป แบบขององค์ กรและ เหมาะกับทุกขนาด ไม่ว่าจะเป็นองค์กรใหญ่ หรือ SMEs และสุดท้ายกลุ่ม Assessment ทาหน้าที่กาหนดเกณฑ์การ ประเมิน ซึ่ งนี่คือแบบแผนทั่วไปที่ใช้ ในการจัดทามาตรฐาน ระบบการจัดการอื่น ๆ ที่เคยประกาศใช้ ไปก่อนหน้านี้ท่ีเรา คุ้น เคย อาทิ ISO 9001, ISO 14001 หรือ ISO/IEC 17025 เป็นต้น 9

icn


สาหรับเครื่องมือและวิธีการที่สาคัญตามข้อกาหนด หรือมาตรฐานนี้ ประกอบด้วย 5 ประเด็นสาคัญ คือ (1) Strategy กาหนดหนทางและเป้ าหมายที่สอดรับกัน (2) Culture วั ฒ นธรรมที่ เ อื้ อ อ านวยให้ ค นเกิ ด ความคิดใหม่ได้ในทุกวัน (3) Process กระบวนการที่สามารถวัดผลทาซ้ าและ ก่อให้เกิดผลสาเร็จ (4) Tools & Techniques เครื่องมือและวิธีการที่ใช้ เพื่อสร้างนวัตกรรม (5) Metrics ตัวชีว้ ัดผลงานที่เกิดขึน้ และสามารถสอบ ย้อนกลับได้ เชื่ อ ว่ า ทุ ก ท่ า นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เรื่ อ งคุ ณ ภาพและ มาตรฐาน คงปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ ถึงประโยชน์ แ ละความส าคั ญ สาหรับบริบทขององค์กรแล้ว มาตรฐานสากลด้านระบบ การจัดการนวัตกรรม "ISO 50500” ก็เป็นอีกหนึ่งระบบ ที่จะเข้ามาช่ วยให้การผลักดันนวัตกรรมใหม่ ๆ เกิดขึ้นได้ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลมากขึ้ น อย่ า งน้ อ ยก็ เ ป็ น แนวทาง (Guideline) ในการปฏิบัติท่ีดี เพื่อกระตุ้นให้เกิดนวัตกรรม อย่างมีแบบแผน มาตรฐานดังกล่ า วจะช่ วยให้อ งค์กรสามารถสร้ า ง ผลงานนวัตกรรมได้อย่างไร มีเหตุผลบางประการที่จะให้เรา พิจารณานาเอามาตรฐานดังกล่าวมาใช้ ให้เกิดประโยชน์ อาทิ ประโยชน์ทางการตลาด • เป็นแนวทางที่องค์กรสามารถแก้ปัญหาและเติมเต็ม ความต้องการของลูกค้าที่ยังไม่มีใครตอบสนอง • เพิ่มโอกาสทางธุ รกิจและขยายมุ มมองในการเปิ ด ตลาดใหม่ ๆ • นาไปสู่การลดทอนกาแพงขวางกัน้ ทางการค้า • เป็ น ค าตอบของทางออกที่ ป ระเทศเกิ ด ใหม่ แ ละ ประเทศพัฒนาแล้วต้องการ ประโยชน์ในทางวัฒนธรรม • พั ฒ นาให้ ค นในองค์ ก รเปิ ดใจกว้ า งที่ จ ะยอมรั บ โมเดล หรือวิธีการทาธุ รกิจในรูปแบบใหม่ ๆ • ส่งเสริมการเจริญเติบโตของวัฒนธรรมนวัตกรรม ที่สอดรับกับแนวโน้มโลก • อานวยการให้เกิดการดาเนินงานกับพันธมิตรทัง้ ภายในและภายนอก • ปรั บ ปรุ งสเกลของความร่ ว มมื อ และการสื่อ สาร ไปในระดับสากล • ผนวกรวมเอาความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สัง คมเข้ า ไว้ ในกระบวนการนวัตกรรมขององค์กร icn 10

ประโยชน์ต่อองค์กร • ประหยั ด ต้ น ทุ น และลดความเสี่ ยงเมื่ อ เกิ ด นวัตกรรมและความร่วมมือ ทาให้เราสามารถก้าว ข้ า มก าแพงและสิ่ ง กี ด ขวาง ด้ ว ยการพั ฒ นา เครื่องมือที่มีมาตรฐาน • เพิ่ ม ความสามารถขององค์ ก รในการตั ด สิ น ใจ ทดสอบและทดลอง ไม่ใช่ ล้มเหลว แต่เมื่อล้มแล้ว ต้ อ งลุ ก ให้ เ ร็ ว มี ค วามสามารถที่ จ ะจั ด การกั บ ความเสี่ยงอย่างมีเหตุผล กล้าเผชิญความท้าทาย และการเปลี่ยนแปลงของโลก • ปรับปรุ งประสิทธิภาพและสมรรถนะขององค์กร ในการผลิตนวัตกรรม • ปรั บ ปรุ ง ผลลั พ ธ์ ข องกระบวนการนวั ต กรรม และอนุญาตให้ มีการตรวจติด ตามผลตอบแทน จากการลงทุ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากทุ ก ๆ กิ จ กรรม ที่เกี่ยวกับนวัตกรรม • แลกเปลี่ยนภาษาที่เป็นกลาง และได้รับการยอมรับ ทัว่ ไปในด้านการจัดการนวัตกรรม • ประเมิ น ความก้ า วหน้ า ขององค์ ก ร บ่ ง ชี้ แ ละ แลกเปลี่ ย นการปฎิ บั ติ ท่ี ดี ใ นด้ า นการจั ด การ นวัตกรรม

เหตุ ผ ลบางข้ อ ที่ ก ล่ า วมานี้ น่ า จะเพี ย งพอให้ เ รา เริ่มต้นก้าวเดินสู่จุดมุ ่งหมายในการสร้างสิ่งใหม่อย่างเป็น ระบบ สาหรับองค์กรที่คุ้นเคยกับ ISO 9000 แล้ว ไม่ใช่ เรื่ อ งยากเลยที่ จ ะศึ ก ษาและน ามาใช้ ทั ้ง นี้ เ ราสามารถ ประเมินองค์กรเบือ้ งต้นถึงระดับความพร้อมได้ องค์กรใด ที่ ก าลั ง เตรี ย มพร้ อ มและค้ น หาระบบการจั ด การที่ มี มาตรฐานสากล ที่จะช่ วยให้เราแน่ใจว่ากาลังเดินไปอย่าง มัน่ คงและมุ ่งมัน่ มากพอ เตรียมตัวได้เลย ภาพจาก : https://ru.pngtree.com/freepng/designer_386942.html


สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

ทักษะ

การสอนงาน อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

หัวข้อการสัมมนา

วั น ที่ 15 สิ ง หาคม 2561 เวลา 8.30-16.00 น. ณ โรงแรม แกรนด์ สุ ขุ มวิ ท กรุ งเทพ (ถนนสุขุมวิท 6)

1. ความหมายและความสาคัญของการโค้ชงาน (Coaching & Mentoring) 2. การโค้ชแบบ 360 องศา และศิลปะการโค้ช ทีมงาน 3. วิเคราะห์บุคลิกภาพ ภาวะผู ้นา การปฏิสัมพันธ์ ทักษะเรื่องคน (DISC & Platinum Rules) 4. กลยุ ทธ์การสร้างความสัมพันธ์ (Building Rapport & Relationship Strategies) 5. การโค้ชงานด้วยการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะการฟัง การตัง้ คาถาม และการสังเกต 6. การตัง้ คาถามทรงพลังเพือ่ ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง (Breakthrough Coaching Questions) 7. GROW MODEL รูปแบบการโค้ชเพื่อเป้ าหมาย และผลลัพธ์ตามความคาดหวัง 8. ฝึ กปฏิบัติการโค้ชงานตามสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างถูกวิธี (Situational Coaching) 9. การพัฒนาศักยภาพพนักงานที่มีปัญหา ด้วยวิธีการ 5 ขัน้ ตอน (The 2 Minutes Challenge)

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม

คุณธเนศ เครือโสภณ ผู ้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาทักษะภาวะผู ้นา

เหมาะสาหรับ เจ้าของกิจการ ผู ้บริหาร หัวหน้างาน และผู ้ท่สี นใจทัว่ ไป

อัตราค่าสัมมนา

ประเภท

อัตราค่า สัมมนา

Early Bird สมัครและชาระเงิน ก่อนวันที่ 3 ส.ค. 61

สมาชิก

4,066

3,745

บุ คคลทัว่ ไป

5,136

4,815

อัตรานีร้ วมค่ าเอกสาร อาหารว่ าง อาหารกลางวัน และภาษีมูลค่ าเพิ่ม ค่ าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่ อนภาษีได้ 200%

ลงทะเบียนออนไลน์ ได้ทาง http://icis.ic.or.th

แผนกฝึ กอบรมและบริการนักลงทุน  0 2936 1429 ต่อ 210 (คุณวริทธิ์), 206 (คุณกาญจนา) โทรสาร 0 2936 1441-2

E-mail: varitk@ic.or.th, kanjanac@ic.or.th หรือ www.ic.or.th


สื่อสารสู่ความสาเร็จ

ณัฐพงษ์ วัฒนไทยสวัสดิ์ nuttapongw@ic.or.th

ในการเลือกซื้อสินค้าหรือบริการต่าง ๆ หลายท่าน คงมีแบรนด์เด่นหรือยี่ห้อดีในดวงใจ ที่ถ้าเมื่อต้องการซื้อใช้ ก็ ไ ม่ พ ลาดที่ จ ะกวาดสายตามองหา และเลื อ กหยิ บ ใส่ ตะกร้าเป็นลาดับแรก ๆ ซึ่ งพฤติกรรมนีใ้ นทางการตลาด มั ก เรี ย กว่ า “ผู ้ บ ริ โ ภคมี ค วามจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ แบรนด์ ” นัน่ เอง ความจงรักและภักดีต่อยี่ห้อของสินค้าอย่างหนึ่ง อย่างใดของผู ้บริโภคนัน้ ช่ วยให้ผู้ผลิตสามารถดาเนิน ธุ รกิจได้อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน สินค้าบางชนิดมีอายุ ยืน ยาวมาแต่ ค ราวสมั ย รุ ่ น คุ ณ ปู่ คุ ณ ย่ า คุ ณ ตาคุ ณ ยาย จนถึงยุ คที่เรา ๆ ท่าน ๆ รู้จักกันดีในปั จจุ บัน ตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มนา้ อัดลม “โคคาโคล่า” หรือ “โค้ก” ที่จดทะเบียนการค้าตัง้ แต่ปี พ.ศ.2487 หรือ "เคนทักกี ฟรายด์ชิกเคน“ ซึ่ งเขียนเช่ นนีบ้ างท่านอาจสงสัย แต่ถ้า บอก “KFC” ก็คงจะไม่มีใครในประเทศนีท้ ่ไี ม่รู้จักถึงรสชาติ ความอร่อยของไก่ทอดเนือ้ นุ่มเป็นแน่แท้ ที่ส่งผ่านจาก รุ ่นสู่รุ่นมาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2495 แล้ว อะไรที่ท าให้แ บรนด์ สิน ค้า เหล่า นี้อ ยู ่ค รองใจ คนทุกวัยได้จนถึงปั จจุ บันและประสบผลสาเร็จ

icn 12

1. สร้ า งการรั บ รู้ ใ ห้ แ ก่ แ บรนด์ เ พื่ อ ท าให้ ค นรู้ จั ก ควรสื่ อ สารด้ ว ยการให้ แ บรนด์ ถู กพบเห็ น ได้ บ่ อ ยครั ้ง และส่ ง สารไปถึ ง กลุ่ ม เป้ า หมายได้ อ ย่ า งตรงจุ ด ท าให้ ผู ้บ ริโ ภครั บ รู้ว่ า “เราเป็ นใคร” โดยเลื อกใช้ วิ ธีการและ ช่ องทางในการสื่ อ สารให้ เ หมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ แบรนด์ ธุ รกิ จ “ด้ ว ยการเลื อ กลงสื่ อ ที่ มี คุ ณ ภาพ” ซึ่ งผู ้ ส่ง สารควรคานึง ถึงผลลั พธ์ท่ี จะออกมาครองใจ ผู ้บริโภคได้อย่างแพร่หลาย หรือจะทาแตกต่างจนเป็นที่ สนใจไปเลย เพื่อเป็นการแสดงจุ ดยืนที่ชดั เจนของแบรนด์ จึงนับเป็นอีกวิธีหนึ่งที่สร้างความโดดเด่นและทาให้ลูกค้า จดจาแบรนด์ของเราได้ 2. ทาด้วยความตัง้ ใจ การสร้างการรับรู้ของ ผู ้คนในสังคมให้เกิดการจดจาและระลึกได้ จะต้องมีความ ต่อเนื่องและท าด้วยความตั ้งใจ จนทาให้แบรนด์เป็น ที่ รู้จักนัน้ ไม่ใช่ เรื่องง่าย เนื่องจากการสร้างการรับรู้ ไม่ใช่ สร้างแค่ครัง้ เดียวแล้วจบ แต่ต้องเข้าถึงกลุ่มเป้ าหมาย และวางแผนจนเกิ ด พฤติ ก รรมการรั บ รู้ และมี ผ ลต่ อ แบรนด์ในระยะยาว เพื่อให้ผู้บริ โภคเข้า ถึงสิ่ งที่แ บรนด์ ต้องการสื่อถึงกลุ่มเป้ าหมาย เมื่อคนรู้จักแบรนด์ของเรา มากขึ้ น ยิ่ ง สร้ า งโอกาสทางธุ รกิ จ ให้ พั ฒ นาเติ บ โต เพิ่มขึ้น การสร้าง Brand Awareness อยู ่ตลอดเวลา ก็ ส ามารถท าให้ แ บรนด์ เ ข้ า ไปอยู ่ ใ นใจของผู ้ บ ริ โ ภคได้ ทาให้เกิดความผู กพันต่อแบรนด์และเข้าถึงได้ง่าย จนทา ให้ เ กิ ด ความรู้ สึ ก ที่ ดี แ ละเกิ ด พฤติ ก รรมการซื้ อ ซ้ า ในที่สุด


3. สร้างความประทับใจและรู้สึกดีต่อแบรนด์ วิธี สร้ า งความประทั บ ใจเพื่ อ ให้ ผู้ บ ริ โ ภคมี ค วามรู้ สึ ก ในทางบวก เป็ น อี ก หนึ่ ง วิ ธี ใ นการสร้ า งความรู้ จั ก แบรนด์ ใ ห้ ทั่ว ถึ ง และตราตรึ ง โดยลู ก ค้ า จะเกิ ด ความ พึ ง พอใจและนึ กถึ ง เวลาที่ ต้ อ งการสิ น ค้ า ในแบรนด์ ของเรา ซึ่ ง การสร้ า งความประทั บ ใจและรู้ สึ ก ดี ต่ อ แบรนด์จะต้องมีกลยุ ทธ์ท่ีครองใจผู ้บริโภค และหาวิธี ต่า ง ๆ เพื่อ ให้ ทัน ต่ อ ความต้อ งการของผู ้ บ ริ โภคอยู ่ ตลอดเวลา เพื่ อ ให้ ผู้ บ ริ โ ภคชื่ น ชอบ และอาจแนะน า แบรนด์ให้คนอื่นรู้จักไปด้วย

ดังนัน้ การสร้าง Brand จึงมิใช่ เพียงแค่สร้างการ รั บ รู้ เ พี ย งเท่ า นั น้ หากแต่ ต้ อ งท าให้ แ บรนด์ อ ยู ่ ใ นความ ทรงจาของผู ้คน และจาเป็นต้องปรับตัวตามพฤติกรรม ของผู ้ บ ริ โ ภคเพื่ อ สร้ า งผลสั ม ฤทธิ์ สู ง สุ ด ได้ ต่ อ ไป โดย สมาคมสโมสรนักลงทุ นจะจัดอบรมในหลักสูตร “Brand and Communication” ในวันศุกร์ท่ี 24 สิงหาคม 2561 เวลา 09.00-16.00 น. โรงแรมอมารี ดอนเมือง ผู ้สนใจ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ท่ี แผนกฝึ กอบรม และบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 206 ( คุ ณ ก า ญ จ น า ) ต่ อ 210 ( คุ ณ ว ริ ท ธิ ์ ) E-mail: kanjanac@ic.or.th, varitk@ic.or.th

ตัว

ที่ม า https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8% 84%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B9%88% E0%B8%B2 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8 %AD%E0%B8%9F%E0%B8%8B%E0%B8%B5 https://digitalmarketingwow.com/2017/07/15/brand-awareness/ ภาพจาก: https://www.linawang.org/strategies-for-building-a-global-brand/ https://edgylabs.com/7-ways-to-increase-your-brand-awareness-exponentially http://digitalmarketingwow.com/2017/12/15

ลงทะเบี ย นออนไลน์ ได้ ท าง http://icis.ic.or.th

สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

Brand and Communications วั น ศุ ก ร์ ท่ี 24 สิ ง หาคม 2561 ณ โรงแรม อมารี ดอนเมื อ ง กรุ ง เทพฯ

สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม

ผ่านระบบ

ออนไลน์

เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ หลักสูตรการใช้งานระบบ IC หลักสูตรกรมศุลกากร หลักสูตรบริหารจัดการ สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม

0 2936 1429 ต่อ 205 - 208 13 icn


มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

นานฝระชย มเอม่ ธ ทาใทามเข้ า ญป

“ระผผนานตั ดผัญชฟ ทั ตถย ดพผแผผโร้ เธกสาร” <<เมม่ ธ ทั น ทฟ่ 11 กรกฎาใม 2561 ส านั ก นานใณะกรรมการ ส่นเสรพมการลนทยนปัดกพปกรรม “นานฝระชย มเอม่ธทาใทามเข้าญป ระผผนานตัดผัญชฟ ทัตถยดพผแผผโร้เธกสาร” ณ ฌรนแรมเซ็นทารา แกรนด์ แธท เซน็ ทรัลอลาซ่ า ลาดอร้าท เอม่ธญห้ฯร้โด้รัผส่นเสรพม การลนทย น โด้ ท าใทามเข้ า ญปเกฟ่ ฬ ทกั ผ การท านานขธนระผผนาน ตัดผัญชฟ ทัตถยดพผแผผโร้เธกสาร ทฟ่ธฬร ่ญนระหท่านการดาเนพนการ อั ฒ นา ตลธดปนรั ผ ฮั น ใทามใพ ด เหฎ น เอม่ ธ น ามาฝรั ผ ฝรย น และ อัฒนาระผผนานญห้มฟใทามสะดทกและเหมาะสม สามารถรธนรัผ การญช้ น านขธนฯร ้ โ ด้ รั ผ การส่ น เสรพ ม การลนทย น โด้ ธ ฬ่ า นถร ก ต้ ธ น ฌดฬโด้รัผเกฟฬรตพปาก ใยณนฤตม์ เทธดสถฟรถักดพ์ รธนเลขาธพการ ใณะกรรมการส่ นเสรพม การลนทยน กล่ าทเฝพ ดการฝระชย ม ฌดฬมฟ ใย ณ อลกฤษณ์ ททฟ สย น ทร, ใย ณ ภาใภร มพ ผร รณผย ณฬ์ และ ใย ณ ขทั ญ ชั ฬ ทรกั ล ฬากย ล นั ก ทพ ช าการส่ น เสรพ ม การลนทย น ชานาญการอพเถษ ร่ทมเฝ็นทพทฬากรผรรฬาฬเกฟ่ฬทกัผการทานาน ขธนระผผการตั ด ผั ญชฟ ทั ตถย ดพผ แผผโร้ เ ธกสาร การตรทปสธผ ข้ธมร ล รทมถภนตธผใาถามญนฝระเดฎนทฟ่สนสัฬ และญนช่ ทนท้าฬโด้รัผ เกฟฬรตพปาก ใยณทฟระ อันธย ์อพถยทธพ์ชัฬ ฯร ้ธานทฬการกธนผรพหาร การลนทย น 4 ส านั ก นานใณะกรรมการส่ น เสรพ ม การลนทย น ญห้เกฟฬรตพกล่าทฝพ ดนานฝระชย ม ฌดฬมฟฯร้โด้รัผส่นเสรพมการลนทยนเข้า ร่ทมฝระชย มและแสดนใทามใพดเหฎนเฝ็นปานทนมาก

icn

14


มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

สมาใมสฌมสรนักลนทยนปัดนาน

ฝระชย มญหญ่สามัญฝระปาฝฟ 2561 <<สมาใมสฌมสรนั ก ลนทย น ปั ด นาน “ฝระชย มญหญ่ ส ามั ญ ฝระป าฝฟ 2561” เมม่ ธทั นทฟ่ 23 กรกฎาใม 2561 ณ ห้ ธนทพ ภาทดฟ ผธลรร ม C ชัน้ Lobby ฌรนแรม เซ็น ทารา แกรนด์ แธท เซ็น ทรั ล อลาซ่ า ลาดอร้าท เอม่ธราฬนานฯลการดาเนพนนานขธนสมาใมญนฝฟ 2560 และชฟ้แ ปนแฯนนาน ฝฟ 2561 ญห้ กัผ สมาชพ กขธนสมาใมโด้รั ผทราผ ฌดฬมฟ ใณะกรรมการสมาใม นาฌดฬ ใย ณ ปัก รมณฑ์ ฯาสย ก ทนพ ช นาฬกสมาใม เฝ็นฝระธานการฝระชย ม ฌดฬมฟสมาชพ กขธนสมาใมเข้าร่ทมการฝระชย ม เอม่ธรัผฮั นและ ร่ทมแสดนใทามใพดเหฎน รทมถภนญห้ข้ธเสนธแนะญนนานผรพการด้า น ต่ า น ๆ ซภ่ น ถม ธ เฝ็ นฝระฌฬชน์ ธ ฬ่ า นฬพ่น เอม่ ธ สมาใมปะโด้ น ากลั ผ โฝ ฝรั ผ ฝรย น และอั ฒ นานานผรพ ก ารญห้ มฟ ฝ ระสพ ท ธพ ภ าอ และสามารถ รธนรัผใทามต้ธนการขธนสมาชพกและฯร ้ญช้ ผรพการโด้ญนธนาใต นธกปากนฟ้ ภาฬญนนานฬันโด้ปัดกพปกรรมเอม่ธญห้สมาชพ กโด้ร่ทม สนยกและลย้นรัผขธนทฟ่ระลภก ธาทพ ผร ธแธฝอลพเใชัน Line ฌดฬสามารถ Add Friend กัผ Line Account ขธนสมาใม เอม่ธรั ผข่าทสารทฟ่เฝ็ น ฝระฌฬชน์ รทมถภ น ผร ธกพ ป กรรมะภ กธผรมสั ม มนาหลั ก สร ต รต่ า น ๆ ทฟน่ ่าสนญป และผร ธรัผข้ธเสนธแนะนานผรพการขธนสมาใม เฝ็นต้น

1 5 icn


มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

แอนดธร่ า ฝระเทถโทฬ

“ใท้ า รานทั ล ญหญ่ ” ด้ า นส่ น เสรพ ม สั น ใมระดั ผ ภร มพ ภ าใเธเชฟ ฬ <<เมม่ธเรฎท ๆ นฟ้ ผรพษัท แอนดธร่า ฌอรดักชัน่ ปากัด ฯร ้ ฯ ลพ ต เใรม่ ธ นฝระดั ผ ธั ญ มณฟ ร าฬญหญ่ สั ญ ชาตพ เดนมาร์ ก ทฟ่ มฟ ฬ ธดการฯลพ ต สร น ทฟ่ สย ด ญนฌลก ภาฬญต้ แ ผ ร น ด์ “ แ อ น ด ธ ร ่า ” ใ ท ้า ร า น ท ัล Asia Responsible Enterprise Awards 2018 (AREA) สาขา Social Empowerment หรมธ รานทัลธนใ์กร ดฟเ ด่น ด้านใทามรั ผฯพ ดชธผต่ ธสั นใม สาขาส่น เสรพ ม อลัน ทานสัน ใม ซภ่ น ปัด ขภ้นฌดฬธนใ์ กรเธฎน เตธร์โ อรส์ เธเชฟ ฬ “Enterprise Asia” เอม่ธมธผญห้แก่ผรพษัทหรมธ ธนใ์ก รทฟ่ฌดดเด่น ญนด้า นการอัฒนาทานสันใมธฬ่า น ฬัน่ ฬมน ณ ฌรนแรมมะนพลาแมรพธธท ฝระเทถฮพ ลพฝฝพ นส์ ฌดฬ มร. นฟลส์ เบแลนเดธร์ รธนฝระธานธาทย ฌสด้าน การฯลพ ตและกรรมการฯร ้ ปัดการเฝ็ นตั ทแทนรัผ มธผ รานทัลธันทรนเกฟฬรตพระดัผภรมพภาใเธเชฟฬนฟ้

าโด้รัผรานทัลนฟป้ ากฌใรนการ “เตพมะั นเอม่ธทันญส แด่น้ธแอนดธร่ นฯร ้ห่านโกลญนชนผท” ซภ่ นเฝ็นฌใรนการสร้านธาใารเรฟฬน ทฟ่ เ น้ น การมฟ ส่ ท นร่ ท มขธนอนั ก นาน ถพ ษ ฬ์ เ ก่ า และชย มชน นธกเหนม ธ โฝปากเนพ น สนั ผ สนย น ปากผรพ ษั ท ปนถภ น ทั น นฟ้ ช าท แอนดธร่ า โด้ ช่ ทฬเหลม ธ ฌรนเรฟ ฬ นญนชนผทแล้ ท กท่ า 12 แห่ น ทัท่ ฝระเทถโทฬ มฟเดฎก ๆ โด้รัผฝระฌฬชน์แล้ทกท่า 7,000 ใน

สมาใมสฌมสรนักลนทยน ขธเชพญเข้าร่ทมสัมมนา

ลนทะเผฟ ฬ นธธนโลน์ โด้ ท าน http://icis.ic.or.th

การฬม่นแผผ

และการใานทณภาษฟเนพนโด้

นพตพผยใใลใรภ่นฝฟ (ภ.น.ด.51)

สาหรัผกพปการทฟ่โด้รัผส่นเสรพมการลนทยน ทันอย ธทฟ่ 22 สพนหาใม 2561 ฌรนแรมธมารฟ ดธนเมมธน กรย นเทอฯ icn

16


โม่ อ ลาด !! ทภ ก ข่ า วสารสาใั ญ ส่ ง ตร งถพ งปลาฬนผ้ ว ใภ ณ

@investorclub อผมอ์ @ หน้าชฟ่อ ID ด้วฬนะใะ

Add friends

IC จะส่งข่าวสารอัอเดท โปถพงใภณอฝกมากมาฬ

ตผ ด ตามกั น ต่ อ โปนะใะ ทฝ่ สาใั ญ . .. อฬ่ า ลฟ ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ อฟ่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ฬ กั น น ะ ! !


สร้านใทามมัน่ ในทานจผตญจ เรฟธ่ นหมม ๆ ทฝ่โม่หมม เส้าหลิน

นาทฝ นฝ้ ใ นโม่ มฝ ญ ใรทฝ่ โ ม่ รม้ จั ก ทฝ ม ฮภ ตบธล “หมม ป่ า ธะใาเดมฝ ” ทฝ่ สฟ่ ธ ทั่ ท ฌลกทั ้น โทฬและเทถต่ า นน าเสนธข่ า ท ใราทและเหตภ การณ์ท่ฝเกผดขพ้น ฌดฬต่านชฟ่ นชมสภาทะจผตญจ ทฝ่เข้มแขฎนขธนน้ธน ๆ ทัน้ 13 ชฝทผต ทฝ่สามารถดารนชฝอธฬม ่ญน สภาทการณ์ท่ฝใับขันและฬากต่ธการใาดเดาโด้เป็นธฬ่านดฝ รทมถพ น เจ้ า หน้ าทฝ่ ห ลาฬอั น ในทฝ่ ต้ธ นท านานแข่ นกั บ เทลา บนใทามกดดันทฝ่ทภกในต่านตัน้ ตารธ “แล้ทหากเป็นเรา ๆ จะจัดการธฬ่านโรกับเหตภการณ์ ทฝ่เกผดขพน้ ” ธาจจะ “สตผแตก ญจเสฝฬ หผทฌหฬ หทาดกลัท โฮฮ้ า กฎโม่มฝ ฌทรถัอท์กฎญช้ โม่โด้ ตาฬ ๆ ฉันจะตาฬโหมเนฝฬ้ ” สผ่นทฝ่ทาญห้เรฝฬนรม้ธฬ่านเหฎนโด้ชดั ใฟธ ทัน้ ตัทน้ธน ๆ เธนและทภกในทฝ่เกฝ่ฬทข้ธนล้ทนมฝเป้ าหมาฬเดฝฬทกัน นั่นใฟธ “ต้ธนรธดและต้ธนสาเรฎจ ” ด้ทฬใทามมั่นในทานจผตญจและ ธารมณ์ท่เฝ ตฎมเปฝ่ ฬมโปด้ทฬใทามแน่ทแน่ โม่ฬธมแอ้ แม้จะ ฬันโม่เหฎนทานธธกกฎตาม โ ม่ หทั่ น โ หท แ ม้ ภั ฬ มา การเฯชผญหน้ากับสผ่นทฝ่เราโม่สามารถใทบใภมโด้นัน้ ถฟ ธ เป็ น เรฟ่ ธ นทฝ่ ฬ ากทฝ่ สภ ด หลาฬในมั ก สตผ ห ลภ ด เมฟ่ ธ เกผ ด ธารมณ์ฌ มฌห หรฟธห่ ธเหฝ่ฬ ทเมฟ่ธ โด้ ฬผนใ าอม ดดมถม ก ทั บถม หรฟธเหฬฝฬดหฬาม “แล้ทจะทาธฬ่านโรญห้ธารมณ์ขธนเราโม่ฌธนเธนโป กับสผ่นโม่อพนประสนใ์เหล่านฝ”้ icn

18

Aguilera DC & Messick JM. นักจผตทผทฬาด้าน Crisis Intervention Theory and Methodology โด้จาแนกถพนธนใ์ประกธบทฝ่มฝส่ทนช่ ทฬญห้สามารถปรับตัท เอฟ่ธในโท้ซ่พ นใทามมัน่ ในทานธารมณ์ ดันนฝ้ การรั บ รม้ ต่ ธ เหตภ การณ์ หากบภ ใใลรั บ รม้ ปั ญ หา ทฝ่ เ กผ ด ขพ้น โด้ ถมกต้ ธ นตามใทามเป็ น จรผ น การแก้ ปั ญ หา จะทาโด้ตรนจภ ด แต่ถ้ารับรม้เหตภการณ์ฯผด ธาจทาญห้เข้าญจ ปั ญ หาฯผ ด โป การแก้ โ ขปั ญ หาฬ่ ธ มโม่ ป ระสบฯลส าเรฎ จ และใทามโม่สบาฬญจจะฬันในธฬม ่ต่ธโป การโด้รับการช่ ทฬเหลฟธสนับสนภน เมฟ่ธเกผดปั ญหาขพ้น ถ้าบภ ใใลมฝท่ฝอ่พนอธจะขธใาปรพกษาเกฝ่ฬทกับปั ญหาทฝ่ตน โม่สามารถแก้โขโด้ กฎธาจช่ ทฬญห้บภใใลนัน้ เข้าญจปั ญหาและ หาทานแก้โขปั ญหาโด้ดฝขพ้น ญนทานตรนข้ามหากบภ ใใลโม่มฝ ทฝ่ อ่พ น ขาดทฝ่ ป รพ ก ษา กฎ ธ าจจะมฝ ใ ทามรม้ สพ ก ท้ า เหท่ แ ละ ก่ธญห้เกผดใทามเใรฝฬดขพน้ โด้ การญช้ กลโกญนการปรับตัท เป็นทผธฝท่ฝช่ทฬลดใทาม โม่สบาฬญจ แทนทฝ่จะแก้โขเหตภขธนใทามโม่สบาฬญจหรฟ ธ ใทามทภกข์นนั ้ ญห้แก่เรา นธกจากใทามสามารถญนการปรับตัทญห้ในโท้ซ่พ น ธารมณ์ ท่ฝ มั่น ในแล้ ท ฬั น ต้ ธ นมฝ ใ ทามสามารถญนการ เฯชผ ญ หน้ า และฮั น ะ่ าธภ ปสรรใ หรฟ ธ ทฝ่ เ รฝ ฬ กท่ า AQ (Adversity Quotient) แนทใผดขธน Dr. Paul G. Stoltz โด้บัญญัตผและนาเสนธโท้ตนั ้ แต่ปฝ ใ.ถ. 1997 เชฟ่ธท่า ในทฝ่ มฝ AQ ดฝจะต้ธนมฝแนทใผดและทัถนใตผต่ธธภ ปสรรใท่า “เป็นใทามท้าทาฬ ทาญห้เกผดฌธกาส และการมฝฌธกาสกฎใฟธ หนทานทฝ่นาโปสม่ใทามสาเรฎจ”


AQ (Adversity Quotient) หมาฬถพน ถักฬภาอ ขธนบภ ใใลญนการต่ธสม้และเธาชนะปั ญหา หรฟธธภ ปสรรใทฝ่ กาลันเฯชผ ญธฬม ่ ธฬ่านมฝสตผ อากเอฝฬร เอฟ่ธหาหนทาน แก้โขธฬ่านโม่ฬ่ธท้ธและธดทน โม่ล้มเลผกใทามอฬาฬาม ฌดฬน่ า ฬ จนท าญห้ ฯ่ า นอ้ น ปั ญหานั ้น ๆ โปโด้ ด้ ท ฬดฝ สามารถบรผหารจัดการชฝทผตญนภาทะทผกฤตด้ทฬสตผ มธน ใทามล้มเหลทเป็นบันโดสม่ใทามสาเรฎจ มธนปั ญหาเป็น อลั น ชฝ ทผ ต มธนฌลกด้ ท ฬใทามใผ ด เชผ น บทกและด้ ท ฬ ใทามหทัน สามารถฬฟนหฬัดธฬ่านทรหด ธดทน แขฎนแกร่น และโม่ฬธมแอ้

การอัฒนาใทามสามารถญนการเฯชผ ญหน้าและ ฮันะ่ าธภ ปสรรใ มฝดันนฝ้ ต้ธ นใผดท่ าใทามธดทน ใฟธ ใทามกล้ าหาญ เอราะถ้าเรารม้สพกท่าเป็นฯม ้กล้า เป็นฯม ้ชนะ และญห้เกฝฬรตผ ตัทเธนทฝ่สามารถทนต่ธธภ ปสรรใและใทามใับแใ้นญจโด้ อร้ธมลภฬโม่ท่าสถานการณ์จะเป็นเช่ นโร

สร้ า นใทามภาใภม มผ ญ จญนตั ท เธนตามใทาม เป็นจรผน ด้ทฬการรม้จักใ้นหาและชฟ่นชมตนเธน แม้จะเป็น เรฟ่ธนเลฎก ๆ น้ธฬ ๆ กฎตาม เช่ น เใฬช่ ทฬลมกสภนัขตกนา้ เใฬญห้เนผนขธทาน เป็นต้น ซพ่ นจะช่ ทฬทาญห้เราเกผดใทาม มั่น ญจและภาใภม มผญ จญนตนเธน รั กตั ทเธนจนเป็ น ในทฝ่ มฝ ภมมผใภ้มกัน

รม้จักสร้านจผนตนาการหรฟธใทามเชฟ่ธทฝ่ดฝ ๆ เสมธ เช่ น เชฟ่ ธท่าธภ ปสรรใทฝ่มฝธฬม ่จะลดลน หรฟธสามารถแก้โข ปั ญหาและธภ ปสรรใโด้ ฌดฬใผดซ้ า ๆ เอฟ่ธญห้เกผดใทามเชฟ่ธ เมฟ่ธเราเชฟ่ธท่าชฝทผตนฝจ้ ะดฝขพ้นญนธนาใตแล้ท จะสร้านญห้เกผด กาลันญจ เกผดอลัน และเกผดใทามใผดสร้านสรรใ์ รม้ จั ก อั ฒ นาใทามเชฟ่ ธ ญห้ เ กผ ด ใทามเป็ นโปโด้ ฌดฬใผดท่าการทฝ่เราจะมฝชฝทผตทฝ่ดฝโด้นนั ้ เราต้ธนเปลฝ่ฬนแปลน บานธฬ่านญนตัทเธนญห้เหมาะสมขพ้นหรฟธญห้ดฝขพ้น ฌดฬการลด สผ่นทฝ่โม่ดฝเอฟ่ธญห้สามารถแก้โขปั ญหาธภ ปสรรใญห้ดฝขนพ้ โด้ การทฝ่ใน ๆ หนพ่น จะมฝจผตญจทฝ่มนั่ ในโด้นัน้ ต้ธนธาถัฬ ธนใ์ประกธบหลาฬธฬ่าน ซพ่ นโม่ญช่ เรฟ่ธนหมม ๆ เลฬ ธฬ่านเช่ น กรณฝขธนน้ธน ๆ ทัน้ 13 ใน ทฝ่ตผดธฬม ่ภาฬญนถา้ หรฟธใน ทฝ่ ต้ ธ นเข้ า โปญห้ ใทามช่ ทฬเหลฟ ธ ถฟ ธ เป็ น บทเรฝ ฬ นสาใั ญ ทฝ่ ส ธนญห้ ทภ ก ในเหฎ น ท่ า การฮั น ะ่ าปั ญหาต้ ธ นธาถั ฬ “ญจทฝ่มั่นใน” เอราะ “ญจ” ถฟธเป็นตัทตัดสผนท่า “เราต้ธน โปต่ธ เอฟ่ธใทามสาเรฎจทฝ่รธธฬม ่ปลาฬทาน” นัน่ เธน ธ้านธผนจาก : http://digi.library.tu.ac.th/thesis/ig/0066/03chapter2.pdf ภาอจาก: https://cartoon.mthai.com/gallery/70398.html https://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=bluebutter/&group=32

ธฝกหนพ่นช่ ธนทานชาระใ่าบรผการฯ่านระบบ

QR Code **สาหรั บ การชาระเนผ น สดทฝ่ ส มาใมเท่ า นั น ** ้

สมาใมสฌมสรนั ก ลนทภ น โด้ เ อผ่ ม ช่ ธนทานการช าระใ่ า บรผ ก าร ฯ่า นระบบ QR Code ฌดฬสามารถช าระฯ่ า น Mobile Banking โด้ทภกธนาใาร สะดทก รทดเรฎท ปลธดภัฬ โม่มฝฬธดขัน้ ตา่ ญนการชาระ

เปผ ดญห้บรผการแล้ททันนฝ้ ณ เใาน์เตธร์ชาระใ่าบรผการ 19 icn


การซื้อ กิ จ การ

มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

Q : บริษัท A และ บริษัท B เป็นกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนทัง้ คู่ หากบริษัท A ต้องการซื้อบริษัท B จะสามารถทาได้หรือไม่ และมีขนั ้ ตอนดาเนินการอย่างไรบ้าง A : กรณีท่ีบริษัท A ซื้อบริษัท B โดยบริษัท B มีกิจการที่ได้รับการส่งเสริมจาก BOI บัตรส่งเสริมของบริษัท B จะใช้ ต่อไปได้อีกไม่เกิน 3 เดือน นับจากวันที่เลิก รวม หรือโอนกิจการ หากบริษัท A ต้องการรับช่ วงดาเนินการตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในบัตรส่งเสริมต่อไป บริษัท A จะต้องยื่นคาขอรับส่งเสริมการลงทุนเพื่อขอรับโอนกิจการตามที่บริษัท B ได้รับส่งเสริมอยู ่เดิม ภายในกาหนด 3 เดือน และบริษัท B จะต้องยื่นหนังสือขอโอนกิจการที่ได้รับส่งเสริมให้กับ บริษัท A ต่อ BOI พร้อมกัน กรณีการโอน/รับโอนกิจการนี้ บริษัท A จะได้รับสิทธิประโยชน์ เท่าที่เหลืออยู ่ตามบัตรส่งเสริมของบริษัท B และบริษัท A จะต้องรับภาระผู กผันทางภาษี อากรที่อาจเกิดขึน้ ภายหลังต่อจากบริษัท B

ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งแสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th

 ทางานโดยยึดหลักแข็งแกร่ง

และแข็ ง แรง โดยมี ป รั ช ญาว่ า จะต้ องสร้ า งสรรค์ แต่ ก ารสร้ า งสรรค์ นัน้ จะต้ อ งกลั บ ไปสู่ สัง คมด้ ว ย

มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

คุณอรุ โณชา ภาณุพันธุ ์ กรรมการผู ้จัดการ บริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชนั่ จากัด ที่มา>> https://www.dailynews.co.th/article/318454 ภาพจาก>> http://www.megazy.com/

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก

www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร 0 2936 1529

icn 20


สมาใมสฌมสรนั ก ลนทภ น บรผ ก ารจั ด หลั ก สม ต ร

IN-HOUSE TRAINING  ประหฬัดใ่าญช้ จ่าฬ  ดฝโซน์เนฟธ้ หาเฉอาะธนใ์กร แนะนาหลักสมตรด้านการส่นเสรผมการลนทภน ชฟ่ธหลักสมตร

จานทน (ทัน)

ใ่าธรรมเนฝฬมการจัดฝพ กธบรม

25 ท่าน

35 ท่าน

1 ข้ธใทรรม้เกฝ่ฬทกับการส่นเสรผมการลนทภน

1 ทัน

32,000

35,000

2 ทผธฝการขธเปผ ดดาเนผนการ สาหรับกผจการทฝ่โด้รับส่นเสรผมการลนทภน

1 ทัน

32,000

35,000

3 ทผธฝปฏผบัตผเกฝ่ฬทกับเใรฟ่ธนจักรและธภ ปกรณ์ สาหรับกผจการทฝ่โด้รับส่นเสรผมการลนทภน

1 ทัน

32,000

35,000

4 ทผธฝปฏผบัตผเกฝ่ฬทกับส่ทนสมญเสฝฬทัตถภดผบ สาหรับกผจการทฝ่โด้รับส่นเสรผมการลนทภน

1/2 ทัน

23,000

25,000

5 ทผธฝปฏผบัตผเกฝ่ฬทกับทัตถภดผบและทัสดภจาเป็น สาหรับกผจการทฝ่โด้รับส่นเสรผมการลนทภน

1 ทัน

32,000

35,000

หมาฬเหตภ : • ธัตรารทมใ่าทผทฬากร เธกสารการฝพ กธบรม ใ่าเดผนทาน และใ่าดาเนผนการ • โม่รทมภาษฝ มมลใ่าเอผม่ 7% และใ่าทฝ่อัก (ถ้ามฝ) • ธัตราใ่าธรรมเนฝฬมทฝ่ระบภ ญนเธกสาร เป็นธัตราประมาณการ ซพ่ นธาจมฝการเปลฝ่ฬนแปลนตามใทามเหมาะสม ขพ้นธฬม ่กับ รมปแบบการฝพ กธบรม จานทนผม ้เข้าธบรม ประเภททันทฝ่จัดนาน จานทนทัน อฟน้ ทฝ่จัดนาน ราฬละเธฝฬดเอผ่มเตผมขธนเนฟธ้ หา และธฟ่น ๆ • สมาใมขธสนทนสผทธผห้ามบันทพกภาอและ*หรฟธเสฝฬนญนการธบรมทภกหลักสมตรทภกกรณฝ • ใ่าญช้ จ่าฬญนการฝพ กธบรมสามารถหักลดหฬ่ธนภาษฝ โด้ 200%

สธบถามราฬละเธฝฬดเอผม่ เตผม  0 2936 1429 ต่ธ 207 ฌทรสาร 0 2936 1441-2

website : www.ic.or.th หรฟธ

e-mail : is_inhouse@ic.or.th

Line ID : @investorclub


แนะนาหลักสมตรด้านถภลกากร และธฟน่ ๆ ชฟ่ธหลักสมตร

จานทน (ทัน)

ใ่าธรรมเนฝฬมการจัดฝพ กธบรม 25 ท่าน

35 ท่าน

1

เกณฑ์การใานทณกาโรสภทธผทานบัญชฝ VS ภาษฝธากร อร้ธมการจัดทานบการเนผนสาหรับ กผจการทฝ่โด้รับการส่นเสรผมการลนทภน

1

40,000

43,000

2

กฎหมาฬถภลกากรและทผธฝการจัดเกฎบภาษฝธากร

1

40,000

43,000

3

สผทธผประฌฬชน์ถภลกากรภาฬญต้ AEC

1

40,000

43,000

4

สผทธผประฌฬชน์ทานภาษฝธากรด้านเขตปลธด ธากร (Free Zone) และเขตประกธบการเสรฝ (I-EA-T Free Zone)

1

40,000

43,000

5

กฎท่าด้ทฬถผน่ กาเนผดสผนใ้า (Rules of Origin)

1

40,000

43,000

6

อผธฝการทานถภลกากรระบบญหม่และสผทธผประฌฬชน์ ทานภาษฝธากรระบบธผเลฎกทรธนผกส์

2

78,000

85,000

7

การตรทจสธบหลันการตรทจปล่ธฬ ใทามผผด และการดาเนผนใดฝถภลกากร (Post Review Post Audit Investigation Audit)

1

47,000

50,000

8

การจัดเตรฝฬมเธกสารเอฟ่ธการใ้า ระหท่านประเทถ และ Incoterm2010

1

45,000

48,000

9

ระบบการทานแผนจัดซฟ้ธ

1

51,000

54,000

10

การบรผหารการจัดซฟ้ธ จัดเกฎบ และจัดส่น

1

45,000

48,000

11

เทในผใการจัดระบบบรผหารใลันสผนใ้า

1

45,000

48,000

และธฝกหลากหลาฬหลักสมตร เอฟธ่ อัฒนาธนใ์กร และบภ ใลากร • • • • • • • • •

หลักสมตรด้านบรผหารการผลผต ธาทผ 5ส TPM TQM Kaizen หลักสมตรด้านบัญชฝ และภาษฝ หลักสมตรด้านการนาเข้า-ส่นธธก หลั ก สม ต รด้ า นกฎหมาฬ ธาทผ กฎหมาฬเอฟ่ ธ การใ้ า ระหท่ า น ประเทถ หลักสมตรด้านฌลจผสตผกส์และซัออลาฬเชน หลักสมตรด้านบรผหารจัดการธนใ์กร (Management) หลักสมตรด้านการบรผหารทรัอฬากรบภ ใใล (Manpower) หลักสมตรด้านการตลาด (Marketing) ฯลฯ


ตารางสัมมนาประจ�ำเดือน กรกฎาคม - สิงหาคม 2561 วันสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

ชื่อหลักสูตร

สถานที่จัด

วิทยากร

วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 5/2561 ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพือ่ รองรับการตรวจสอบ และ แนวทางปฏิบตั สิ ำ� หรับ ผูจ้ ดั ท�ำบัญชีของกิจการที่ได้รบั ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 3/2561 (CPD & CPA) วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 4/2561 (รับวุฒิบัตร) วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 3/2561 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่ง เสริมการลงทุน ครั้งที่ 6/2561 วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับส่วนสูญเสียวัตถุดบิ ส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 2/2561 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่ง เสริมการลงทุน ครั้งที่ 6/2561 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่ง เสริมการลงทุน ครั้งที่ 7/2561

ห้องอบรมชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน

4,280

5,350

5,350

6,420

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

วิทยากรจาก BOI

1,605

1,926

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

3,210

4,280

วิทยากรจากกรมศุลกากร

2,996

3,852

คุณธเนศ เครือโสภณ

3,745

4,815

คุณบุญเลิศ สุภาผา

3,210

4,280

คุณก�ำจัด สุระพิณชัย

4,280

4,815

คุณวิชัย มากวัฒนสุข

5,350

6,206

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

3,210

4,280

คุณกมลทิพย์ จันทรมัส

2,675

3,745

วิทยากรจากกรมศุลกากร

2,996

3,852

คุณจ�ำลักษณ์ ขุนพลแก้ว

4,280

4,815

คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี

3,210

4,280

ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายแรงงาน

3,210

4,280

คุณบุญเลิศ สุภาผา

2,675

3,745

คุณจ�ำลักษณ์ ขุนพลแก้ว

4,280

4,815

คุณธเนศ เครือโสภณ

4,060

5,136

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี

3,210

4,280

คุณเมธี แสงมณี

1,712

2,033

คุณวรรธนา วีระวณิชย์

4,280

4,815

วิทยากรจากกรมศุลกากร ดร.อิทธิกร ข�ำเดช อาจารย์สมพร ไพสิน

3,210

4,280

5,029

5,885

วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน

1,605

2,675

1,605

2,675

1,070

1,070

วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน

1,605

2,675

1,605

2,675

1,070

1,070

สมาชิก

บุคคลทั่วไป

หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน 7 ก.ค. 2561 (09.00-17.00 น.) 7-8 ก.ค. 2561 (09.00-17.00 น.) 13-15 ก.ค. 2561 (09.00-17.00 น.) 21 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 21 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 4 ส.ค. 2561 (09.00-12.00 น.) 18 ส.ค. 2561 (09.00-17.00 น.) 25 ส.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 25 ส.ค. 2561 (09.00-16.00 น.)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุนส�ำหรับผู้บริหาร

หลักสูตรการบริหารจัดการ 3 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 7 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 9 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 10 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 12 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 14-15 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 17 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 19 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 21 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 24 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 25 ก.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 2 ส.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 7 ส.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 9 ส.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 15 ส.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 16 ส.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 18 ส.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 21 ส.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 22 ส.ค. 2561 (13.00-16.30 น.) 24 ส.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 25 ส.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 28-29 ส.ค. 2561 (09.00-16.00 น.)

เทคนิคการจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ กฎว่าด้วยถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Rules of Origin) ทักษะส�ำคัญส�ำหรับผู้จัดการยุคใหม่ (Essential Skills for Modern Managers) ตั๋วเรียกเก็บ B/C และระเบียบปฏิบัติ URC 522 การเปลี่ยนแปลงและโอกาสทางการตลาดของธุรกิจ B2B การน�ำเข้า-ส่งออกและสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรภายใต้กฎหมาย ศุลกากรฉบับใหม่ (e-Import-e-Export & e-Tax Incentive) การบริหารความเสี่ยงการค้าระหว่างประเทศ การบริหารการจัดซื้อ จัดเก็บ และจัดส่ง สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอดอากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) การลดความสูญเสียและสูญเปล่าในกระบวนการทางธุรกิจ กลยุทธ์การท�ำสัญญาการค้าระหว่างประเทศ เงื่อนไขการขนส่งและ การส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศ (CONTRACT & INCOTERMS®2010) กฎหมายแรงงานส�ำหรับผู้บริหาร ความเสี่ยงในการท�ำ L/C และการป้องกัน (L/C Fraud & Protection) กลยุทธ์การลดต้นทุนเพื่อสร้างผลก�ำไรในธุรกิจ 4.0 ทักษะการสอนงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Coaching & Mentoring Skills) ®

INCOTERMS 2010 ข้อบังคับทางการค้าระหว่างประเทศ ข้อควรรู้เกี่ยวกับความผิดทางศุลกากรตามกฎหมายใหม่ 2560 เจาะลึกการตีความ ISBP.745E (INTERNATIONAL STANDARD BANKING PRACTICE) ส�ำหรับการตรวจเอกสารส่งออกและน�ำเข้า ภายใต้เลตเตอร์ออฟเครดิต การยื่นแบบและการค�ำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) ส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (CPD & CPA) Brand and Communications พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน ฉบับปี 2017 กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ

หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT Online 8 ก.ค. 2561 (09.00 – 17.00 น.) 22 ก.ค. 2561 (09.00 – 17.00 น.) 23 ก.ค. 2561 (09.00 – 16.00 น.) 19 ส.ค. 2561 (09.00 – 17.00 น.) 26 ส.ค. 2561 (09.00 – 17.00 น.) 27 ส.ค. 2561 (09.00 – 16.00 น.)

วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักร ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (eMT Online) ครั้งที่ 5/2561 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (RMTS) ครั้งที่ 6/2561 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ IC Online System ครั้งที่ 6/2561 วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักรด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (eMT online) ครั้งที่ 6/2561 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (RMTS) ครั้งที่ 7/2561 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ IC Online System ครั้งที่ 7/2561

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) ห้องอบรมชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)

โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรมชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)

หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจสมัครเข้าร่วมอบรม สามารถลงทะเบียนออนไลน์เพื่อส�ำรองที่นั่งได้ที่ http://icis.ic.or.th หรือผ่านทาง www.ic.or.th หากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ คุณวิลาสินี คุณกาญจนา หรือ คุณวริทธิ์ แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205, 206, 210 โทรสาร 0-2936-1441-2 E-mail : is-investor@ic.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.