Vol.18 / August 2019 ความตกลงการค้ า เสรี อาเซี ย น-เกาหลี
หกปั จจัยสาคัญ สร้างนวัตกรรม ให้เป็นจริง (2)
กลไกสนับสนุน อุ ต สาหกรรมดิ จิ ทั ล ไทย
“มีปญ ั หาไม่รู้จะโทรปรึกษาใคร”
Single Window for
Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th
www.ic.or.th
04
Cyber Security กลไกสนับสนุน อุ ตสาหกรรมดิจิทัลไทย
07 หกปั จจัยสาคัญ สร้างนวัตกรรมให้เป็นจริง (2)
ความตกลงการค้าเสรี อาเซียน-เกาหลี
13
ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพ ท์ : 0 2936 1429 ต่อ 201 โทรสาร : 0 2936 1441 e-mail : icn@ic.or.th
18
สู ด (หายใจ) ให้ สุ ด ! หยุ ดที่ ค วามสาเร็ จ
“โลกยุ คดิจิทัล” เป็น คานิยามที่เหมาะสมกับสถานการณ์โลกในปั จจุ บัน อย่างแท้จ ริง เป็ นภาพสะท้อนของการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่นับวัน จะลา้ ยุ ค ก้าวไกล และก้าวกระโดดจนแทบจะตามไม่ทัน มีการคิดค้นสิ่งอานวยความสะดวกที่สร้าง ความสบายต่ อ การด ารงชี วิ ต มากมาย ไม่ ว่ า จะเป็ น การเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล และบริ ก ารต่ า งๆ ที่ง่ายดายและรวดเร็วยิ่งขึ้น รวมไปถึงการเชื่อมโยงปั จจัยพืน้ ฐานของการใช้ ชีวิตก็สามารถ ทาได้สะดวกมากขึน้ ความก้ า วไกลของเทคโนโลยี นั ้น สร้ า งสรรค์ โ ลกให้ ซิ วิ ไ ลซ์ ช่ วยยกระดั บ เศรษฐกิ จ และสังคมในมิติต่างๆ อีกทัง้ ยังเอือ้ ประโยชน์อย่างมากให้กับผู ้ใช้ งานหากนาเทคโนโลยีนัน้ ไปใช้ ในทางที่ถูกต้องและเหมาะสม แต่ ในมุ ม กลับกัน เทคโนโลยีท่ีถูกพัฒนาโดยผู ้ท่ีป ระสงค์ร้าย ก็สามารถทาลายและสร้างความเสียหายให้กับบุ คคลและองค์กรได้ทุกระดับเช่ นเดียวกัน ดังนัน้ การป้ องกัน อัน ตรายจากเทคโนโลยีร้ายที่ถูกพัฒนาขึ้น โดยผู ้ไม่หวังดีจึงเป็ น สิ่งสาคัญมาก ทาให้เกิดการพัฒนาระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยความเสี่ยงที่จะเกิดจาก เทคโนโลยี หรือที่เรียกว่า ระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ โดยปั จจุ บันมีองค์กร ภาคเอกชนที่ให้ความสนใจพัฒนาซอฟต์แวร์ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ เพื่อให้สอดคล้อง ตอบรับ และก้าวทันกับการเติบโตอย่างต่อเนื่องของอุ ตสาหกรรมดิจิทัลไทย ทัง้ ด้านซอฟต์แวร์ ดิจิทัลคอนเทนต์ และแพลตฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ งกิจการเหล่านีจ้ ะเน้น การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาเพิ่มประสิทธิภาพ รวมถึงความรู้ความสามารถของบุ คลากร แบบเฉพาะทางเป็นหลัก และใช้เงินลงทุนไม่มาก จากสถิติขอรับส่งเสริมการลงทุนกับบีโอไอพบว่ากิจการพัฒนาซอฟต์แวร์การรักษา ความมั่น คงปลอดภั ย ทางไซเบอร์ ได้ รั บ ความสนใจจากนั ก ลงทุ น เพิ่ ม ขึ้น มี ก ารพั ฒ นา ซอฟต์แวร์ป้องกันความปลอดภัยแบบครอบคลุมรอบด้าน และภาครัฐเองก็ให้ความสาคัญ ในการส่งเสริม ให้เกิดการลงทุนเพื่อช่ วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบโครงสร้างของ อุ ตสาหกรรมดิ จิ ทั ล ตลอดจนลดความเสี่ ย งจากภั ย ทางไซเบอร์ ทั ้ง ภายในประเทศและ ต่างประเทศ สมาคมสโมสรนักลงทุนพร้อมรองรับและสนับสนุนทุกกิจการในอุ ตสาหกรรมดิจิทัล ที่ขยายตัวเพิ่มขึน้ อย่างต่อเนื่อง ด้วยระบบการให้บริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ตลอด 24 ชัว่ โมง ผ่านการให้บริการแบบออนไลน์ และบริการด้านหลักสูตรฝึ กอบรมและสัมมนาที่มีการพัฒนา หลั ก สู ต รใหม่ ๆ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ กิ จ การด้ า นเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม ครอบคลุ ม การใช้ เทคโนโลยีท่ีทันสมัย และการพัฒนาทักษะความสามารถของบุ คลากร หลักสูต รได้รับการ พั ฒ นาให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของทุ ก องค์ ก รได้ อ ย่ า งมี คุ ณ ภาพ โดยผู ้ ท่ี ส นใจ สามารถดู ร ายละเอี ย ดหลั ก สู ต รและเลื อ กลงทะเบี ย นเพื่ อ สมั ค รร่ ว มสั ม มนาได้ ท าง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ี โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 หรือ ติดตามข้อมู ลต่างๆของสมาคมฯได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3
icn
Cyber Security กลไกสนับสนุน อุตสาหกรรมดิจิทัลไทย มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
ปั จจุ บันต้องยอมรับว่าการพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารมี ส่ ว นส าคั ญ มากต่ อ การ พั ฒ นาด้ า นเศรษฐกิ จ และสั ง คมแบบก้ า วกระโดด ด้วยศักยภาพของเทคโนโลยีทาให้การพัฒนาซอฟต์แวร์ แอปพลิเคชัน และแพลตฟอร์มต่างๆสามารถทาได้ง่า ย ไม่ยากเช่ นในอดีต และยังมีประสิทธิภาพสูงอีกด้วย นอกเหนื อ จากเทคโนโล ยี ท่ี มี ค ว ามทั น สมั ย เอื้อ ต่ อ การใช้ ง านแล้ ว ความสามารถของนั ก พั ฒ นา ดิจิทัลก็มีส่วนสาคัญด้วย ซึ่ งส่วนใหญ่เป็นคนรุ ่นใหม่ท่ีมี ทักษะและความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีท่ีสอดคล้องกับ เจนเนอเรชัน่ ของพวกเขา ทาให้การสร้างสรรค์ผลงาน ด้านไอทีล้วนแล้วแต่มีความทันสมัย สะดวกต่อการใช้ งาน และสอดคล้องกับชีวิตประจาวันของคนทัว่ ไปอย่างมาก ในทางกลั บ กั น เทคโนโลยี ก็ ส ามารถก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายและสร้ า งความเดื อ ดร้ อ นให้ กั บ บุ คคล ผู ้ใช้ งานได้ ที่ร้ายแรงที่สุด คือ ทาให้เกิดการแทรกแซงและ ทาลายความมั่นคงขององค์กรทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน ไม่ว่าจะเป็นระดับบุ คคล ระดับหน่วยงาน ระดับประเทศ หรือแม้แต่ระดับโลก ด้วยวิธีการต่างๆทัง้ การโจมตีระบบ ขโมย ทาลาย บิดเบือนข้อมู ล หรือหลอกลวง ภัยเหล่านี้ เราเรียกว่า “การโจมตีทางไซเบอร์” เมื่ อ การพั ฒ นาด้ า นเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล เติ บ โตขึ้ น การเฝ้ าระวังภัยจากการโจมตีทางไซเบอร์จึงจาเป็นต้อง พัฒนาให้ก้าวทันกันด้วย ซึ่ งภาครัฐให้ความสาคัญกับ ภัยคุกคามด้านเทคโนโลยีอย่างจริงจัง โดยจัดตัง้ หน่วยงาน ที่ กากั บ ดู แ ลเกี่ ย วกั บ ความมั่น คงปลอดภั ย ทางไซเบอร์ (Cyber Security) 2 แห่ง คือ icn
4
1. ศู น ย์ ป ระสานการรั กษาความมั่น คงปลอดภั ย ระบบคอมพิวเตอร์ประเทศไทย (ไทยเซิ ร์ต) มีหน้าที่หลัก ในการตอบสนองและจั ดการกั บ เหตุ การณ์ ความมั่น คง ปลอดภัยคอมพิวเตอร์ ให้คาแนะนาในการแก้ไขภัยคุกคาม ความมัน่ คงปลอดภัยทางด้านคอมพิวเตอร์ ติดตาม และ เผยแพร่ข่าวสารและเหตุการณ์ทางด้านความปลอดภัย ทางคอมพิวเตอร์ให้สาธารณชนได้รับทราบ 2. ศู น ย์ ป ร ะ สา น งา น คว า มมั่ น คง ป ล อ ด ภั ย สารสนเทศภาครัฐ (จีเซิ ร์ ต) มี หน้ าที่ จัดการและตอบสนอง เ ห ตุ ก า ร ณ์ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ท า ง คอมพิ วเตอร์แ ละระบบเครื อข่ ายของหน่ วยงานภาครั ฐ สร้างเครือข่ายพันธมิตรเพื่อให้เกิดความมั่นคงปลอดภัย และช่ วยลดความเสี่ ย งต่ อ การเกิ ด อาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร์ นอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้น การส่งเสริมและ สนั บ สนุ น ด้ า นการพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ ที่ จ ะช่ วยป้ องกั น และควบคุ ม การโจมตี ท างไซเบอร์ จ ากผู ้ ไ ม่ ห วั ง ดี นั ้ น ก็เป็น สิ่งที่ภาครัฐให้ความสาคัญเช่ นกัน โดยสานั กงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ ได้ออกนโยบาย และมาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนกิจการในกลุ่มดิจิทัล เช่ น กิจการพัฒนาซอฟต์แวร์ ดิจิทัลคอนเทนต์ และบริการ แพลตฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
โดยอุ ตสาหกรรมดิจิทัลของประเทศไทยในปั จจุ บัน มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง เห็นได้จากยอดการขอรับ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ในกลุ่ ม ดิ จิ ทั ล ในไตรมาสแรกของ ปี 2562 เพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 108 จากช่ วงเวลาเดียวกัน กับปี 2561 ซึ่ งกิจการโดยส่วนใหญ่ท่ีขอรับการส่งเสริม เป็ น การลงทุ น พั ฒ นาซอฟต์ แ วร์ท่ี มี ค วามซับ ซ้ อ นและ มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น เช่ น ซอฟต์แวร์ระบบสมองกลฝั งตัว เพื่อควบคุมการทางานของอุ ปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ซอฟต์ แ วร์ ส าหรั บ การวิ เ คราะห์ แ ละเชื่ อ มโยงเพื่ อ การ บริหารจัดการข้อมู ล (Big Data, Data Analytics) และ ซอฟต์ แ วร์ ด้ า นการรั ก ษาความมั่ น คงปลอดภั ย ทาง ไซเบอร์ เป็นต้น ซึ่ งเป็นการลงทุนที่สอดคล้องกับเป้ าหมาย ของภาครั ฐ ที่ มุ่ ง เน้ น ให้ เ กิ ด การลงทุ น ในอุ ตสาหกรรม ที่สร้างมู ลค่าเพิ่มสูง มีการนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม มาใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับขีดความสามารถ ในการแข่ ง ขั น ของอุ ตสาหกรรม และเป็ นกิ จ การ ฐานความรู้ ท่ี เ น้ น ใช้ เ ทคโนโลยี ท่ี ทั น สมั ย และใช้ ค วามรู้ ความสามารถของบุ คลากรเป็นหลัก
บี โ อไอให้ ค วามส าคั ญ กั บ กิ จ การพั ฒ นา ซอฟต์ แ วร์ ด้ า นการรั ก ษาความมั่ น คงปลอดภั ย ทางไซเบอร์ เนื่องจากอุ ตสาหกรรมในกลุ่มดิจิทัลของ ไทยกาลั ง เติ บ โต ดั ง นั ้น การป้ อ งกั น ภั ย จากเทคโนโลยี จึงมีความจาเป็น โดยล่าสุดบีโอไอได้อนุมัติส่งเสริมการ ลงทุ น โครงการพั ฒ นาซอฟต์ แ วร์ ร ะบบความมั่ น คง ปลอดภั ย ทางไซเบอร์ ( Cyber Security) ของ บริษัท อาร์ วี คอนเน็กซ์ จากัด ซึ่ งเป็นโครงการที่จะ พั ฒ นาซอฟต์ แ วร์ ร ะบบฝึ กอบรมด้ า นความมั่ น คง ปลอดภัยทางไซเบอร์แบบออนไลน์ ระบบการฝึ กทักษะ การป้ องกั น การโจมตี ท างไซเบอร์ ผ่ า นสถานการณ์ จาลอง และซอฟต์แวร์สาหรับการใช้ งานทางการทหาร และหน่ ว ยงานภาครั ฐ เช่ น ระบบศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก าร ข่าวกรองเพื่อวิเคราะห์และเชื่ อมโยงข้อมู ลทางยุ ทธิวิธี ผ่านเครือข่ายโทรคมนาคม ระบบปฏิบัติการทางยุ ทธวิธี ส า ห รั บ อ า ก า ศ ย า น แ ล ะ ภ า ค พื้ น ร ะ บ บ รั ก ษ า ความปลอดภัยเชิงพืน้ ที่แบบ real-time เป็นต้น แน่ น อนว่ า โครงการลงทุ น พั ฒ นาซอฟต์ แ วร์ ระบบความมั่ น คงปลอดภั ย ทางไซเบอร์ ข องบริ ษั ท อาร์ วี คอนเน็กซ์ จากัด จะเป็นเฉกเช่ นกาแพงในการ เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ของโครงสร้ า งพื้น ฐานและ ระบบนิเวศของอุ ตสาหกรรมดิจิทัล ช่ วยป้ องกันรักษา ความปลอดภัย และลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทาง ไซเบอร์ ทั ้ง ภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนเป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั น ใ ห้ กั บ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ไ ด้ อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อมู ลจาก: https://www.boi.go.th/upload/content/No.93_2562_5d0b0a20530c1.pdf https://dga.or.th/upload/download/file_769c60982e4c374dcd33b41c 29227a31.pdf
แจ้งเปลี่ยนแปลง บัญชี ธนาคาร
มีผลตัง้ แต่
วันที่ 1 สิงหาคม 2562 เป็นต้นไป
เรียน ผู ้ใช้ บริการ สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น ขอแจ้ ง บั ญ ชี ธ นาคารส าหรั บ การโอนเงิ น เพื่ อ ช าระค่ า บริ ก ารผ่ า นระบบ Bill Payment ตัง้ แต่ วันที่ 1 สิงหาคม 2562 เป็นต้นไป ดังนี้
ชื่อบัญชี สมาคมสโมสรนักลงทุน ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุ งเทพ
ส อ บ ถ า ม เ พิ่ ม เ ติ ม โ ท ร ศั พ ท์ 0 2 9 3 6 1 4 2 9 ต่ อ 4 0 4 ( คุ ณ ป า ร ณี ย์ )
5
icn
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29
สมัครใช้ บริการ eMT
ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online
ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พมิ พ์ใน ระบบ eMT Online
สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร
ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร
BOI Approve 30 วัน 7 วัน
30-60 วัน 7 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
เป็นเรื่อง ติดต่อ...
ยุงยาก
IC
สา ห รั บ คุ ณ
บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์
COUNTER ด้านเครื่องจักร
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 314-315
6 ปัสร้จาจังนวัยสตาคักรรมญ ให้เป็นจริง
(2)
จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com
สมการความส าเร็ จ ในการสร้ า งนวั ต กรรมที่ ไ ด้ กล่าวถึงเมื่อฉบับที่แล้ว ประกอบด้วย 6 ปั จจัยสาคัญ โดย Langdon Morris ได้อธิบายไว้ดังนี้
ความซั บ ซ้ อนและการเปลี่ ย นแปลง สภาพแวดล้ อ มภายนอกเป็ นต้ น ตอของการ เปลี่ยนแปลงที่สาคัญและไม่ ได้เป็นไปโดยธรรมชาติ อีกทัง้ ไม่สนใจว่าจะก่อให้เกิดความเสียหายกับใคร สร้างผลกระทบ ในวงกว้า งแค่ ไหน และสิ่ง มีชี วิ ตในโลกนี้จ ะเตรีย มพร้ อ ม รับมือกับมันได้หรือไม่ สภาพแวดล้อมเป็นที่ซึมซับรับเอาผล ของการใช้ชีวิตของมนุษย์ทัง้ ที่เป็นความต้องการที่ไม่สิน้ สุด ของผู ้บริโภค การวิจัยค้นคว้าเพื่อเอาชนะข้อจากัดเดิมๆ และผลกระทบเชิ ง ลบจากการใช้ สิ่ง ต่า งๆที่ม นุษ ย์ส ร้า งขึ้น ที่ ส าคั ญ ปั จจั ย ต่ า งๆนั ้น มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งสั ม พั น ธ์ กั น ทัง้ ทางตรงและทางอ้อมกันแบบซับซ้ อนมาก ซึ่ งทุกองค์กร ล้ ว นต้ อ งปรั บ ตั ว ให้ ส อดรั บ กั บ สภาพแวดล้ อ มที่ เ ป็ น อยู ่ ถ้าสิง่ นัน้ จะนาไปสู่การอยู ่รอด ด้วยเหตุนีค้ วามซับซ้ อนและ การเปลี่ยนแปลงจึงหมายถึงบริบทที่นวัตกรรมและกลยุ ทธ์ ทางธุ รกิ จเกี่ย วข้ องสัม พัน ธ์ กัน มั นเป็น การเปลี่ ยนแปลง ภายนอกที่ ขั บ เคลื่ อ นความต้ อ งการและความชื่ น ชอบ ของตลาด (The Driving Forces of Change) และด้วยเหตุนี้ มั น จึ ง มี บ ทบาทน าที่ ส าคั ญ ส าหรั บ องค์ ก รในการปรั บ ตั ว ให้เข้ากับจังหวะ ลักษณะ และปรากฏการณ์ที่เกิดขึน้ ในโลก ที่กว้า งใหญ่ ไพศาล เสมื อนเป็ นตัว ชี้นาในกระบวนการที่ มุ ่งตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ตั ว อย่ า งแนวโน้ ม การเปลี่ ย นแปลงของโลก อาทิ สังคมผู ้สูงวัย การใส่ ใจในสุขภาพของคน ความห่วงใยใน ภาวะโลกร้อน พลังงานทางเลือก การขาดแคลนแรงงานฝี มือ การเข้ า หาธรรมชาติ แ ละต่ อ ต้ า นสารเคมี โลกเสมื อ นและ สื่อสังคมออนไลน์ สังคมไร้เงินสด การลดความสิน้ เปลือง วัตถุดิบจากการใช้น้อย ใช้ซ้ า นากลับไปใช้ ใหม่ และย่อยสลาย ได้ง่าย
ค ว า ม เ สี่ ย ง เมื่ อ เราเข้ า ใจว่ า มี อ ะไรเกิ ด ขึ้ น ในสิ่ ง แวดล้ อ ม ภายนอก เราจะสามารถคิดสร้า งสรรค์และลงมื อปฏิบัติ เพื่อให้เกิดนวัตกรรมได้ เป้ าหมาย คือ การผลิตนวัตกรรม ที่ ถู ก ต้ อ งให้ ส อดรั บ กั บ ความต้ อ งการของตลาดและ สภาพแวดล้อมในอนาคต ซึ่ งการดาเนินการในสิง่ ที่ไม่เคยมี มาก่อนนับได้ว่าเป็นความท้าทายสติปัญญา อีกทัง้ ยังไม่ สามารถคาดเดาได้ว่าผลลัพธ์ที่ออกมาจะเป็นที่ต้องการ และได้รับการยอมรับหรือไม่ว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้อง เนื่องจาก เป้ าหมายนัน้ ต่ างจากสิ่งที่เราปฏิบัติ กัน อยู ่ ในปั จจุ บันที่ มี ความแน่นอน ชัดเจน และได้รับการพิสูจน์แล้ว ความเสี่ ย งเกิด ขึ้น ได้ ห ลายประการ ประการแรก การคาดการณ์ ค วามต้ อ งการในอนาคตอย่ า งถู ก ต้ อ ง ไม่ ใช่ งานที่ง่ายเลย จะเกิดอะไรขึน้ ถ้าคุณเห็นได้อย่างชัดแจ้ง ว่า อะไรคือ ความต้ องการในอนาคต แต่ ในตอนท้า ยมั น กลับกลายเป็นว่าคุณคาดการณ์ผิด กรณีนีอ้ าจเห็นได้จาก ในยุ คที่ ผู้ ผ ลิ ต ยานยนต์ ช ัน้ น าทั่ ว โลกมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะพั ฒ นา สมรรถนะในส่ ว นต่ า งๆของรถยนต์ ให้ แ รง ให้ เ ร็ ว ให้ประหยัด เชื้อเพลิง ให้มีน า้ หนัก เบา ให้ปลอดภัย มากขึ้น และให้มีสิ่งอานวยความสะดวกที่แสนเลิศหรู ยิ่งขึ้น แต่เมื่อ นา้ มันที่เป็นเชื้อเพลิงหลักราคาสูงขึ้นเรื่อยๆ การแสวงหา พลังงานทางเลือกใหม่ๆกลายเป็นตัวเร่งให้ยานยนต์ ไฟฟ้ า (Electrical vehicle – EV) มาเร็วในตลาดยานยนต์และ ได้ รั บ การตอบรั บ อย่ า งดี จ ากหลายประเทศ อั น เป็ น ผล สื บ เนื่ อ งมาจากประเด็ น เสริ ม เรื่ อ งการช่ วยลดมลภาวะ ในอากาศ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น อาจส่ ง ผลให้ ซัพ พลายเชนของ อุ ตสาหกรรมยานยนต์ แ บบเครื่ อ งยนต์ สั น ดาบเสื่ อ ม ความนิยมและหายไปในอนาคต 7
icn
ประการที่ ส อง แม้ ว่ า คุ ณ จะสามารถคาดการณ์ ความต้องการในอนาคตได้อย่างถูกต้อง แต่ยังคงมีปัญหา ตามมามากมายที่เกี่ยวพันกับการพัฒนาสินค้าและบริการ ให้ ต รงกั บ ความต้ อ งการที่ ค าดการณ์ ไ ว้ ไม่ ว่ า จะเป็ น การ ดาเนินงานให้ ได้ตามแผนงานและการออกแบบที่กาหนดไว้ การควบคุ ม งา นให้ เ ส ร็ จ ภายในระยะเวลา ที่ ก าหน ด และจ านวนบุ คลากรในองค์ ก รที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถ รวมไปถึ ง พั น ธมิ ต รที่ ดี ที่ จ ะร่ ว มแรงร่ ว มใจกั น เอาชนะ ความท้าทายจากปั ญหามากมายที่เกิดขึน้ ความเสี่ยงเป็นเรื่องธรรมชาติที่ทุกองค์กรต้องเจอ ในการทางานด้านนวัตกรรม การที่องค์กรมีข้อมู ลที่มาก และรอบด้านเพียงพอจะช่ วยให้สามารถหลีกหนีจากโอกาส การเกิดและผลกระทบจากความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น เพราะว่า คุณอาจไม่รู้ ได้ว่าคู่แข่งของคุณกาลังสร้างนวัตกรรมอะไร อยู ่ เป็นไปไม่ ได้ที่เราจะครอบครองหรือใช้ ทุกเทคโนโลยีใหม่ที่ เกิดขึ้น แต่ก็ไม่ ได้หมายความว่าจะไม่ทุ่มเททาอะไรเลยแล้ว ปล่อยให้อนาคตมายา่ ยีธุรกิจของคุณ ทุกองค์กรที่จะอยู ่รอด ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น จ าเป็ น ต้ อ งลงมื อ ท า และแม้ จ ะตกอยู ่ ใ น สถานการณ์ที่ถูกบังคับให้ทา ก็ขอให้ลงมือทาอย่างมุ ่งมั่น แม้ว่าจะมีข้อมู ลที่ ไม่สมบู รณ์ก็ตาม นี่คือลักษณะของความเสี่ยงที่องค์กรจะต้องรับมือ จงทาให้ดีด้วยความคิดและแผนงาน ประสบการณ์จะทาให้ การคาดการณ์ มี ค วามแม่ น ย ามากขึ้ น สามารถสร้ า ง นวัตกรรมได้เร็วขึน้ และมีความพร้อมด้านบุ คลากรสูงขึน้
ความเร็ ว (Speed) แม้ ว่ า การเปลี่ ย นแปลงรู ป แบบธุ รกิ จ และการปรั บ โครงสร้ า งองค์ ก รให้ ส อดรั บ กั บ บริ บ ทใหม่ จ ะมี ค วามเสี่ ย ง มากมายที่ต้องเผชิญอยู ่ข้างหน้าก็ตาม แต่นัน่ ไม่ใช่ เหตุผล หรือสิง่ ที่จะมาหยุ ดยัง้ การพัฒนาและสร้างสิง่ ใหม่ เมื่อคิดถึง อนาคตข้ า งหน้ า ที่ อ งค์ ก รสามารถอยู ่ ร อดปลอดภั ย และนาพาทุกคนในองค์กรไปด้วยกันได้ โดยไม่ต้องทิง้ ใครไว้ ข้า งหลั ง เพี ย งแต่ ว่ า ความเร็ว ในการเปลี่ ยนรู ป แปลงร่ า ง องค์กรจะเร็วพอและทันกับการเปลี่ยนแปลงที่กาลังเกิดขึ้น หรือไม่ ทัง้ นีเ้ พราะการเปลี่ยนแปลงใหม่ ในยุ คนี้ ไม่เหมือนการ เปลี่ยนแปลงทุกครัง้ ในอดีต หากแต่เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ใหญ่ และรวดเร็วจนบางธุ รกิจไม่ทันตัง้ ตัวและรับมือได้ทันจนต้อง ล้ม หายตายจากไปแบบยกทั ง้ อุ ตสาหกรรมมาแล้ว อาทิ อุ ตสาหกรรมสื่อ (สิ่งพิมพ์ ซีดีเพลง ดีวีดีภาพยนตร์ ฟิ ล์ม บันทึกภาพ) กระบวนการเปลี่ยนผ่านของธุ รกิจไม่ใช่ เรื่องง่าย และเป็นเรื่องที่จะต้องทาอย่างละเอียดรอบคอบ แต่นอกเหนือ ไปกว่ า นั น้ สิ่ง ที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด คื อ การตั ด สิ น ใจอย่ า งรวดเร็ ว icn 8
หากมองย้ อ นกลั บ ไปวิ เ คราะห์ ธุ รกิ จ ที่ ล้ ม หายตายจาก ไปแล้ ว นั ้น ยั ง พบอี ก ว่ า ข้ อ มู ล ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ กลั บ ถู ก มองข้ามอย่างไม่ ให้ความสาคัญ โดยชะล่าใจว่าการขาด ข้ อ มู ล ที่ พ ร้ อ มและสมบู รณ์ เ พี ย งพอจะไม่ ส่ ง ผลกระทบ รุ นแรงมากนักต่อกระบวนการเปลี่ยนผ่านของธุ รกิจ เราไม่รู้ว่าคู่แข่งของเราเคลื่อนทีเ่ ร็วแค่ ไหนและตลาด จะตอบสนองต่ อ แนวคิ ด ใหม่ ข องเราและคู่ แ ข่ ง ของเรา อย่างไร เมื่อ 20 ปี ก่อนตอนที่อินเทอร์เน็ตเริ่มเป็นที่นิยม อย่ า งแพร่ ห ลายในประเทศไทย พาณิ ช ย์ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ หรือ E-commerce กลายเป็นกระแสใหม่ของการค้าขาย ตอนนั ้น ผู ้ ผ ลิ ต และขายสิ น ค้ า ในไทยยั ง ไม่ ตื่ น ตั ว มากนั ก ในขณะเดี ย วกั น ผู ้ บ ริ โ ภคก็ ยั ง มี ค วามกลั ว ที่ จ ะใช้ บ ริ ก าร อยู ่มาก อีกทัง้ ระบบการชาระเงินออนไลน์ก็ยังไม่ ได้รับการ สนับสนุน อย่า งเต็ มที่จ ากสถาบั นการเงิ น จึ งใช้ เวลานาน มากกว่า 10 ปี กว่า ที่ก ารค้า ออนไลน์จ ะเริ่ม ขยั บปรับ ตั ว แต่ ในเวลาเพียง 5 ปี ที่ผ่านมา อัตราการขยายตัวของร้านค้า ออนไลน์ แ ละยอดการสั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ า ทางอิ น เทอร์ เ น็ ต กลับเติบโตแบบก้าวกระโดดอย่างมาก ร้านค้าเล็กๆที่เคยเช่ าพืน้ ที่ไม่กี่ตารางเมตรสาหรับ วางขายสิ น ค้า ต่ า งทิ ้ง พื้นที่ และน าค่ าเช่ าพื้น ที่ ม าใช้ เป็ น ส่วนลดราคาสินค้าในร้านแทน ทาให้สินค้าออนไลน์มีราคา ถูกกว่าสินค้าที่ วางขายตามร้านค้าหรือห้ างสรรพสินค้ า ทัว่ ไป อีกทัง้ ยังสามารถหาซื้อได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ประหยัด ค่ า ใช้ จ่ า ย เพราะไม่ ต้ อ งเดิ น ทางออกจากบ้ า นด้ ว ยซ้ า ระบบการซื้อขายที่ดีขนึ้ ความเชื่อมัน่ ระหว่างผู ้ซื้อและผู ้ขาย นวัตกรรมทางการเงินที่ทาให้ซื้อง่ายขายคล่อง ส่งผลให้การ เติ บ โตของธุ รกิ จ ออนไลน์ ใน 1 ปี มี อั ต ราเร่ ง แซงการ เปลี่ยนแปลงร่วม 20 ปี ที่ผ่านมา ดังนัน้ หนทางที่ดีที่สุดที่จะช่ วยจัดการกับส่วนผสม ของความไม่แน่นอนคือไปให้เร็ว เรียนรู้ ให้เร็ว เรียนรู้ว่าอะไร ใช่ อะไรไม่ ใช่ ผ่านเทคนิคที่เรียกว่า ออกตัวอย่างปราดเปรียว (Agile sprints) การทาต้นแบบอย่างรวดเร็ว (Rapid prototyping) ผลิตภัณฑ์ขัน้ ต่าแม้ชิน้ เดียวก็ทาให้ได้ (On demand) การทดสอบความต้องการของตลาดเบือ้ งต้น (Pre-order) และเทคนิ ค อื่ น ที่ สั ม พั น ธ์ กั น เราเรี ย กสิ่ ง นี้ ในสมการนวัตกรรมว่า ความเร็ว ซึ่ งมีคุณค่าอย่างมาก ที่ทาให้ได้ผลลัพธ์ที่ชดั เจนเร็วกว่าคู่แข่ง
ภาวะผู ้ นา (Leadership)
ความผู กพั น (Engagement) ปั จจั ย ที่ สี่ ข องสมการซึ่ งเกี่ ย วข้ อ งกั บ การสร้ า ง วัฒนธรรมองค์กร คือ การทาให้ทุกคนในองค์กรรวมกัน เป็นหนึ่ง ช่ วยกันพัฒนาความคิด ทดลองผลิต และเปลี่ยน สิ่งที่ผลิตได้ ให้เป็นสิ่งใหม่ที่มีประโยชน์ ทาการทดสอบ และ นาสิ่งนัน้ เข้าสู่ตลาด ในทางทฤษฎีองค์กรสามารถค้นพบ บุ คลากรที่ฉลาดด้วยการแต่งตัง้ หรือดึงพวกเขาเหล่านัน้ เข้ ามาร่วมสร้ า งนวั ตกรรมเพื่อ สร้า งความท้ า ทายใหม่ ๆ ในทางปฏิบัติองค์กรต้องรู้ ให้ ได้ถึงความสามารถที่แตกต่าง หลากหลายของบุ คลากรแต่ละคนทัง้ ในเชิงลึกและเชิงกว้าง เพราะว่าโครงการนวัตกรรมต้องบู รณาการความรู้ข้าม หลายศาสตร์แ ละใช้ ความรู้อ ย่า งลึ กซึ้ งจากแต่ ละศาสตร์ เช่ นเดียวกัน นวัตกรรมจึงไม่ ใช่ กิจกรรมที่ทาโดยลาพัง แต่ต้องการ การสนั บ สนุ น ในรู ป แบบที ม กระบวนการนวั ต กรรมที่ เหมาะสมคื อ กระบวนการที่ อ งค์ ก รท าให้ ทุ ก คนภายใน องค์ ก รได้ ม าสร้ า งความผู กพั น เกิ ด ความแข็ ง แรงทาง ความคิด และนาความฉลาดมารวมกัน โดยมีระบบนิเวศ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความผู กพั น อย่ า งที่ สุ ด ของคนในองค์ ก ร โ ค ร ง ส ร้ า ง แ น วดิ่ ง ที่ แ บ่ ง เ ป็ น แ ผน ก ห รื อ ฝ่ า ย จ ะ มี ความส าคั ญ น้ อ ยลงไป การท างานแบบข้ า มแผนก ข้ า มฝ่ ายในลั ก ษณะโครงการจะมี ค วามส าคั ญ มากขึ้ น ทุกคนเปิ ดกว้างพร้อมที่จะทางานกับใครก็ได้
ภาพจาก : http://testingfreak.com/agile-methodology-sprint-scrum/
FAQ 108
ทุกองค์กรจะเกิดการมีส่วนร่วมกันอย่างลึกซึ้งได้ก็ ต่อเมื่อผู ้นาได้แสดงออกถึงความมุ ่งมัน่ ตัง้ ใจในทิศทางใหม่ อย่างชัดเจน สังเกตได้ว่านวัตกรรมจะสามารถเกิดขึน้ ได้ ใน องค์ ก รที่ รั บ รู้ แ ละเข้ า ใจความเสี่ ย ง มี ค วามสั บ สนและ ความไม่ แ น่ น อนอยู ่ เ ป็ น ธรรมชาติ ใ นกระบวนการภายใน และมี ค วามตั ้ ง ใจของผู ้ ค นในองค์ ก รที่ ผู กพั น กั น และ พร้อมรับมือกับความเสี่ยงที่ประเมินไว้ องค์ ก รที่ มั ก ลงโทษพนั ก งานเนื่ อ งจากท าให้ เ กิ ด ความผิดพลาดจากความพยายามทาสิง่ ใหม่ที่แตกต่างและ ดีกว่าเดิมแต่กลับล้มเหลวนัน้ จิตวิญญาณของนวัตกรรม จะหยุ ดลงอย่างรวดเร็วและทันที ด้วยเหตุนี้ ผู ้นาจึงต้อง โอบอุ ้ ม และส่ ง เสริ ม องค์ ป ระกอบส าคั ญ ที่ ช่ วยเกื้อ หนุ น วัฒนธรรมนวัตกรรมให้เกิดขึน้ และคงอยู ่
เครื่ อ งมื อ (Tools) ปั จ จั ย สุ ด ท้ า ยของสมการเกี่ ย วข้ อ งกั บ เครื่ อ งมื อ และวิ ธี ก ารที่ อ งค์ ก รใช้ ในการจั ด การกั บ ความทุ่ ม เท เพื่ อ สร้ า งนวั ต กรรม เครื่ อ งมื อ และวิ ธี ก ารที่ ดี ก ว่ า ย่อมสนับสนุนให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีกว่า บางครัง้ อาจจาเป็นต้อง ลงทุนเงินเป็นจานวนมากในเทคโนโลยีใหม่ พัฒนาความรู้ ใหม่ ๆ ให้ พ นั ก งาน และเปิ ดพื้ น ที่ ใ ห้ พ นั ก งานได้ ท ดลอง น าเครื่ อ งมื อ ต่ า งๆมาใช้ ฝึ กฝนเพื่ อ สร้ า งความช านาญ แต่ ก ระนั น้ ก็ ยั ง ต้ อ งระมั ด ระวั ง และลงทุ น อย่ า งเหมาะสม ในวิ ธี ก ารหรื อ กระบวนการที่ ช่ วยเกื้อ หนุ น และส่ ง เสริ ม ให้ เกิดโครงการที่สร้างนวัตกรรมใหม่ๆได้จริง นี่ คื อ หกปั จจั ย ส าคั ญ ที่ อ ยู ่ ในสมการนวั ต กรรม อันจะช่ วยผลั กดันความคิด ความฝั น และความมุ ่งมั่น พยายามของทุ ก องค์ ก รไม่ ว่ า จะเป็ น องค์ ก รขนาดเล็ ก หรือขนาดใหญ่ ให้สามารถก้าวข้ามปั ญหา อุ ปสรรค การ เปลี่ยนแปลง และก่อให้เกิดโอกาสใหม่ทางธุ รกิจที่สามารถ อยู ่รอดได้อย่างยัง่ ยืน
คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น
9
icn
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
กิ จ กรรม Road show วิธีการเตรียมข้อมูล งานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ สาหรั บ
เครื่องจักร
จ.ชลบุรี
ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจร (Electronic Machine Tracking System : eMT Online) <<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดกิจกรรม Road show สัมมนา หลั ก สู ต รด้ า นการใช้ ร ะบบงานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ เ ครื่ อ งจั ก ร สาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ณ จังหวัดชลบุ รี หั ว ข้ อ วิ ธี ก ารเตรี ย มข้ อ มู ล งานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ส าหรั บ เ ครื่ อ ง จั ก รด้ ว ย ระ บ บ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บ บ ครบ ว ง จ ร (Electronic Machine Tracking System : eMT Online) เมื่ อวั นที่ 29 มิ ถุ นายน 2562 ณ โรงแรม แปซิ ฟิ ค พาร์ ค ศรีราชา จังหวัดชลบุ รี เพื่อให้สมาชิ กและผู ้ใช้ บริการในภูมิภาค ตะวันออก ได้รับความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการขออนุมัติ บัญชีรายการเครื่องจักรด้วยระบบ eMT online การขออนุญาต ขยายเวลาค ้า ประกั น เครื่ อ งจั กรด้ ว ยระบบ eMT online การขออนุมัติสั่งปล่อย/คืนอากร/ถอนคา้ ประกันเครื่องจัก ร ด้ ว ยระบบ eMT online การขออนุ ญ าตส่ ง คื น /ส่ ง ซ่ อม เครื่ อ งจั ก รไปต่ า งประเทศด้ ว ยระบบ eMT online และ การบริ ห ารจั ด การระบบ Admin โดยได้ รั บ เกี ย รติ จ าก คุณกฤษดา ทับทิม หัวหน้าแผนกบริการข้อมู ลเครื่องจักร สมาคมสโมสรนักลงทุน เป็นวิทยากรบรรยายพร้อมเปิ ดโอกาส ให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ซกั ถามอย่างเป็นกันเอง
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ
สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
ส่วนสูญเสียวัตถุดิบ
สาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
icn 10
วั น เสาร์ท่ี 17 สิง หาคม 2562 เวลา 09.00-12.00 น. โรงแรม แกรนด์ สุขุ ม วิ ท กรุ ง เทพฯ (ถนนสุขุ ม วิท ซอย 6)
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
กิจกรรมสมาชิก
ครั้งที่ 3/2562
Supported by:
เคล็ด(ไม่)ลับ การใช้สิทธิประโยชน์เครื่องจักร กับ มาตรการส่งเสริมการลงทุน เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ การผลิต <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนาฟรี ส าหรั บ สมาชิ ก ครัง้ ที่ 3/2562 เรื่อง “เคล็ด(ไม่)ลับการใช้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ เ ครื่ อ งจั ก รกั บ มาตรการส่ ง เสริ ม การ ลงทุนเพื่อปรับปรุ งประสิทธิภาพการผลิต ” เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2562 ณ ห้องดอนเมือง 1-2 โรงแรม อมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุ งเทพฯ เพื่อให้สมาชิ ก ไ ด้ รั บ คว าม รู้ แ ล ะ คว า ม เ ข้ าใ จเกี่ ย ว กั บ ก า รใ ช้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ด้ า นเครื่ อ งจั ก รและอุ ปกรณ์ ต าม สิทธิประโยชน์มาตรา 28, 29 รวมถึงแนวทางการใช้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ด้ า นเครื่ อ งจั ก รและอุ ปกรณ์ ต าม มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุ งประสิทธิภาพ การผลิต การสั มมนาครั ้งนี้ได้ รั บเกี ยรติ จาก คุ ณภาคภู มิ บู รณบุ ณย์ นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนชานาญการ พิเ ศษ ส านั กงานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น เป็นวิทยากรบรรยาย โดยมีหัวข้อสาคัญ อาทิ ข้อควร ระวั ง ในการใช้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ด้ า นเครื่ อ งจั ก รและ อุ ปกรณ์ ตามมาตรา 28, 29 แนวทางการใช้ สิ ท ธิ ประโยชน์ด้านเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ตามมาตรการ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น เพื่ อ การประหยั ด พลั ง งาน การใช้ พ ลั ง งานทดแทน หรื อ การลดผลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้ อม และมาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น เพื่ อ การปรั บ เปลี่ ย นเครื่ อ งจั ก รเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การผลิ ต รวมถึ ง แนวทางการชี้ แ จงการน าเข้ า เครื่องจักรและอุ ปกรณ์ภายใต้มาตรการส่งเสริมการ ล ง ทุ น เ พื่ อ ป รั บ ป รุ ง ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ผ ลิ ต ทั ้ง นี้ วิ ท ยากรได้ เ ปิ ดโอกาสให้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาได้ ซักถามกรณีปัญหาต่างๆด้วย
11 icn
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน
เตรียมเอกสารกาหนด วันนาเข้าครัง้ แรก / ขอรับ Username และ Password ระบบ IC Online (ภายใน 1 วันทาการ)
ตามมาตรา 36 (1), (2)
คีย์บัญชีรายการ วัตถุดบิ / เตรียม เอกสารการลงทะเบียน เข้าสู่ระบบ RMTS สมัครใช้ บริการ RMTS
ขออนุมัติ บัญชีรายการ วัตถุดบิ กับ BOI
คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดบิ คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต
คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดบิ
ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน
BOI Approve
30 วัน 7 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
ทาให้คุณ ติดต่อ...
IC
สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์
COUNTER ด้านวัตถุดิบ
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 310, 313
ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน
ความตกลง
การค้าเสรี ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th
การทาการค้าเสรีถือเป็นอีกหนึ่งยุ ทธศาสตร์สาคัญ ที่ ห ล า ย ๆ ป ร ะ เ ท ศ น า ม า ใ ช้ เ ป็ น ก ล ยุ ท ธ์ ใ น ก า ร เ พิ่ ม ขีดความสามารถการแข่งขันในตลาดต่างประเทศ เพราะเชื่อ ในหลักการว่าการค้าเสรีจะส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนสินค้า ระหว่ า งกั น มากขึ้ น เนื่ อ งจากแต่ ล ะประเทศจะผลิ ต เฉพาะ สินค้าที่ตัวเองมีความได้เปรียบเท่านัน้ ทัง้ นี้ การลด/ยกเลิก ภาษี ร ะหว่ า งกั น จะส่ ง ผลให้ เ กิ ด มู ล ค่ า การค้ า เพิ่ ม มากขึ้ น นอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มความสามารถการแข่งขันให้กับ ผู ้ประกอบการไทยอีกทางหนึ่ง วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการท าความตกลงการค้ า เสรี อาเซียน-เกาหลี (ASEAN – Korea Free Trade Area: AKFTA) เพื่ อ ขยายความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ระหว่ า ง ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไนดารุ ซซาลาม กัมพู ชา อินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซี ย เมี ย นมา สาธารณรั ฐ ฟิ ลิ ป ปิ นส์ สาธารณรั ฐ สิ ง คโปร์ ราชอาณาจั ก รไทย และสาธารณรั ฐ เกาหลี โดยการเจรจาจะครอบคลุมการเปิ ดเสรีการค้าสินค้า การค้า บริการการลงทุน และความร่วมมื อทางเศรษฐกิจภายใน ภูมิภาคอาเซียน-เกาหลี เพื่อมุ ่งขยายการค้าและการลงทุน ระหว่ า งกั น อั น จะน าไปสู่ ก ารลดความเหลื่ อ มล ้า ในการ พั ฒ นาให้ น้ อ ยลง ส าหรั บ ประเทศไทยนั ้ น ข้ อ ตกลงฯ ดังกล่าวจะช่ วยขยายโอกาสให้แก่ผู้ผลิตและผู ้ส่งออกของ ไทยโดยตรงทัง้ ในด้านการลงทุน การขยายตลาด และการ บริการ โดยอาศัยความร่วมมือระหว่างกันจากกลไกการ เปิ ดเสรีทางการค้า และการอานวยความสะดวกทางการค้า และการลงทุนระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี
อาเซียน-เกาหลี ทั ้ ง นี้ ประเทศไทยและสาธารณรั ฐ เกาหลี มีความสัมพันธ์ท่ีดีและยาวนานในทุกระดับมาตลอด ระยะเวลา 60 ปี และด้วยความสัมพันธ์อันแนบแน่น ทาให้สาธารณรัฐเกาหลีเป็นคู่ค้าอันดับ 10 ของไทย ซึ่ งทัง้ สองประเทศได้ตงั ้ เป้ าหมายร่วมกันที่จะเพิ่มมู ลค่า การค้าให้บรรลุ 21,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ภายในปี 2563 โดยสาธารณรัฐเกาหลีมีนโยบาย New Southern Policy ซึ่ งให้ความสาคัญกับภูมิภาคอาเซียนอย่างมาก และเล็งเห็นว่า ประเทศไทยเป็นศู นย์กลางของภู มิภาค อาเซียนที่สามารถเป็นประตูของสาธารณรัฐเกาหลี ได้ รู ปแบบการลดภาษี (Modailty) ภายใต้ค วามตกลงการค้า เสรี อ าเซี ย น-เกาหลี (ASEAN – Korea Free Trade Area: AKFTA) 1. สินค้าลดภาษี ปกติ (Normal Track) จะทยอย ลดอัตราภาษี จากอัตราภาษี ฐานปี 2548 (Base Rate) ให้เป็น 0 ภายในระยะเวลาที่ได้ตกลงไว้ โดยประเทศไทย จะลดอัต ราภาษี ข องสิ นค้า จานวนร้ อยละ 90 หรื อ มากกว่าของรายการสินค้าและมู ลค่าการนาเข้าจาก สาธารณรัฐเกาหลีในปี 2547 เป็น 0 ภายในวันที่ 1 มกราคม 2553 โดยมีสินค้าจานวนร้อยละ 5 ของรายการสินค้า ในกลุ่มนีล้ ดอัตราภาษี เป็น 0 ภายในวันที่ 1 มกราคม 2555 เช่ นเดี ย วกั บ สมาชิ ก อาเซี ย นเดิ ม 5 ประเทศ (บรู ไน ฟิ ลิปปิ นส์ มาเลเซี ย สิงคโปร์ และอินโดนีเซี ย) และได้รับการยืดหยุ ่นให้ขยายเวลาการลด/เลิกอัตรา ภาษี ในสินค้าจานวน 128 รายการ ออกไปจากเดิม ที่ต้องยกเลิกอัตราภายในปี 2553/2555 เป็น ภายใน วันที่ 1 เมษายน 2559/วันที่ 1 มกราคม 2560 13 icn
2. สิ น ค้ า อ่ อ นไหว (Sensitive Track : ST) กลุ่มสินค้าอ่อนไหวสาหรับไทย อาเซียน 5 และสาธารณรัฐ เกาหลี จะมีจานวนไม่เกินร้อยละ 10 ของจานวนรายการ สิ น ค้ า และมู ล ค่ า การน าเข้ า จากอาเซี ย น/สาธารณรั ฐ เกาหลี โดยเวียดนามจะมีจานวนไม่เกินร้อยละ 10 ของ จานวนรายการสินค้า และไม่ เ กิ น ร้ อยละ 25 ของมู ล ค่ า การนาเข้าจากสาธารณรัฐเกาหลี และกัมพู ชา พม่า และ ลาว จะมีจานวนไม่เกินร้อยละ 10 ของจานวนรายการ สิ น ค้ า ทั ้ ง นี้ กลุ่ ม สิ น ค้ า อ่ อ นไหวจะแบ่ ง ออกเป็ น อี ก 2 กลุ่มย่อย ได้แก่ 2.1 รายการสินค้าอ่อนไหว (Sensitive List: SL) สาธารณรัฐเกาหลี ไทย และอาเซียน 5 จะต้องลดอัตรา ภาษี ข องสิน ค้า กลุ่ ม นี้ล งเหลื อ ร้ อ ยละ 0-5 ภายในวั น ที่ 1 มกราคม 2559 โดยเวี ย ดนามจะต้ อ งลดอั ต ราภาษี ลงภายในวันที่ 1 มกราคม 2564 และกัมพู ชา พม่า ลาว จะต้องลดอัตราภาษี ลงภายในวันที่ 1 มกราคม 2567 2.2 รายการสิ น ค้ า อ่ อ นไหวสู ง (Highly Sensitive List: HSL) สาธารณรัฐเกาหลีและอาเซียน 5 จะมีสินค้ากลุ่มนี้ ได้ ไม่เกินร้อยละ 3 ของจานวนรายการ สิ น ค้ า ทั ้ ง หมด และมู ลค่ า การน าเข้ า จากอาเซี ย น/ สาธารณรัฐเกาหลี โดยประเทศไทยจะมีได้ ไม่เกินร้อยละ 3 ของรายการสิ น ค้ า และไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 4 ของมู ล ค่ า การ นาเข้าจากสาธารณรัฐเกาหลี โดยรายการสินค้าอ่อนไหว สูงแบ่งออกเป็น กลุ่ม A: ลดอัตราภาษี ลงเหลือไม่เกินร้อยละ 50 เช่ น กุ้งแช่ เย็น ชีส ส้ม แอปเปิ้ ล และลูกแพร์ กลุ่ม B: ลดภาษี จากอัตราภาษี ฐานลงร้อยละ 20 เช่ น มันสาปะหลังอัดเม็ด โมดิโฟด์สตาร์ซ ผลไม้กระป๋ อง ผลไม้แช่ แข็ง นา้ ตาลทราย กลุ่ม C: ลดภาษี จากอัตราภาษี ฐานลงร้อยละ 50 เช่ น ข้าวโพด สตาร์ซอื่นๆ แตงอื่นๆ เบียร์ กาว ทัง้ นี้ การด าเนิ น การลดอั ต ราภาษี ข องสิ น ค้ า กลุ่ม A, B และ C ภายในวันที่ 1 มกราคม 2559 กลุ่ม D: กลุ่มสินค้าโควตาภาษี เช่ น กุ้งแช่ แข็ง กุ้ ง แช่ เย็ น แป้ งมั น ส าปะหลั ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มั น ส าปะหลั ง ปลาหมึก กุ้งแปรรูป กลุ่ม E: กลุ่มสินค้าที่ไม่ลด/ยกเลิกอัตราภาษี เช่ น ข้าว ไฟเบอร์บอร์ด ไก่สดแช่ เย็น ไก่สดแช่ เข็ง และ ไก่สดแปรรูป ปลาทูน่ากระป๋ อง ผลไม้สด icn 14
การเปิ ดตลาดสิ น ค้ า ของประเทศไทย และสาธารณรั ฐ เกาหลี การเปิ ดตลาดสินค้าของสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐเกาหลีเปิ ดตลาดให้แก่อาเซี ยนโดยจะ ลดอัตราภาษี ของสิน ค้าจานวนมากกว่า ร้อยละ 90 ของรายการสิ น ค้ า และมู ล ค่ า การน าเข้ า จากอาเซี ย น ให้ เ หลื อ ร้ อ ยละ 0 ไม่ ช้า กว่ า วั น ที่ 1 มกราคม 2553 ซึ่ ง เป็ น การเปิ ดตลาดที่ เ ร็ ว เที ย บเท่ า กั บ การเปิ ดตลาด ในเขตการค้ า เสรี อ าเซี ย น-จี น ส่ ว นรายการสิ น ค้ า ร้อยละ 10 ที่เหลือ จะมีการลดภาษี ในหลายลักษณะตาม รู ปแบบการลดภาษี ท่ีตกลงกัน โดยสาธารณรัฐเกาหลี เปิ ดตลาดให้แก่สินค้าส่งออกของไทย ดังนี้
ตัวอย่างสินค้าที่ยกเลิกภาษี สินค้า
อัตราภาษี นาเข้าปกติ (MFN Rate)
ปี ที่ยกเลิกภาษี
คอมเพรสเซอร์
8%
2553
แผ่นชิน้ ไม้อัด
8%
2551
มอเตอร์ไฟฟ้ า
8%
2550
กากนา้ ตาล
3%
2550
เส้นด้าย
8%
2553
เครื่องใช้ไฟฟ้ า และอุ ปกรณ์
8%
2551
ยางรถยนต์
8%
2551
ปลาแช่ แข็ง
10%
2553
แผ่นเหล็กม้วน เจือทองแดง
8%
2550
เครื่องจักรและ อุ ปกรณ์อนื่ ๆ
8%
2551
การเปิ ดตลาดสินค้าของไทย ไทยจะลดภาษี สิ น ค้ า ร้ อ ยละ 90 หรื อ มากกว่ า รายการสินค้าและมู ลค่าการนาเข้าจากอาเซี ยนในปี 2547 เป็น 0 การเปิ ดตลาดของไทยมีความยืดหยุ ่นและระยะเวลา การลดภาษี จะมากกว่าประเทศอาเซี ยนอื่น โดยรายละเอียด การเปิ ดตลาด มีดังนี้ • สินค้าร้อยละ 81.45 ของมู ลค่าการนาเข้า จะลด ภาษี เป็น 0 ไม่ช้ากว่าวันที่ 1 มกราคม 2553 • สิน ค้า ร้ อยละ 1.67 ของมู ลค่ าการน าเข้ า จะลด ภาษี เป็น 0 ไม่ช้ากว่าวันที่ 1 มกราคม 2555 • สิ น ค้ า ร้ อ ยละ 7.94 ของมู ล ค่ า การน าเข้ า หรื อ จานวน 128 รายการ จะลดภาษี เป็น 0 ไม่ช้ากว่า วั น ที่ 1 เ ม ษ า ย น 2559 แ ล ะ ไ ม่ ช้ า ก ว่ า วั น ที่ 1 มกราคม 2560 สิ น ค้ า น าเข้ า ส าคั ญ จากเกาหลี ท่ี ไ ทยจะเปิ ดตลาด ดังนี้ ตัวอย่างสินค้าที่ยกเลิกภาษี สินค้า
อัตราภาษี นาเข้าปกติ (MFN Rate)
ปี ที่ยกเลิกภาษี
เครื่องกรอง ของเหลวอื่นๆ
5%
2553
จอวิดีโอสี
20%
2553
ปุ๋ ยเคมี
5%
2553
แผ่นเหล็กชุ บดีบุก
9%
2560
พลาสติกและ ทาด้วยพลาสติก
5 – 30%
2553/2555
ทองแดงและ ผลิตภัณฑ์
1 – 20%
แผ่นเหล็กรีดร้อน
5%
หนังดิบ หนังฟอก และเครื่องหนัง
5 – 40%
ไดรเออร์ปรุ งแต่ง และสีอื่น
5 – 20%
ยกเลิกภาษี ปี 2553 บางรายการยกเลิกภาษี ปี 2555 หรือ ลดภาษี เหลือ 0 – 5% ปี 2559 ลดภาษี เหลือ 0 – 5% ปี 2559 ส่วนใหญ่ยกเลิกภาษี ปี 2560 บางรายการ จะลดภาษี เหลือ 0 – 5% ปี 2560 ลดภาษี เหลือร้อยละ 0 ปี 2560
คุ ณ สมบัติข องสิน ค้า ที่ส ามารถใช้ สิ ท ธิพิเ ศษ ทางภาษี ศุล กากรภายใต้ค วามตกลง AKFTA สิน ค้า นาเข้ า ที่จ ะได้สิ ท ธิพิ เศษทางภาษี ศุล กากร ภายใต้ความตกลง AKFTA จะต้องเป็นสินค้าที่ผลิตได้ตาม กฎว่าด้วยถิ่นกาเนิดสินค้า ดังนี้ • เป็นสินค้าที่ผลิตหรือใช้ วัตถุดิบทัง้ หมดในประเทศ ผู ้ ส่ ง อ อ ก (Wholly Obtained or Produced Goods: WO) หรือ • หากเป็นสินค้าที่ไม่ ได้ผลิตหรือใช้ วัตถุดิบทัง้ หมด ในประเทศผู ้ส่ง ออก จะต้องเป็ นสินค้าที่ผลิตได้ ต า ม ก ฎ ทั่ ว ไ ป (General Rules) ซึ่ ง เ ป็ น ก ฎ ทางเลือกระหว่าง • สิ น ค้ า ที่ ผ ลิ ต ต้ อ งใช้ วั ต ถุ ดิ บ จากประเทศภาคี (Regional Value Content : RVC) ในสัดส่วน มู ลค่าไม่ตา่ กว่าร้อยละ 40 ของราคาสินค้าตาม ราคา Free on board (F.O.B) • เป็ น สิ น ค้ า ที่ ผ่ า นกระบวนการผลิ ต และสิ น ค้ า ดั ง กล่ า วมี ก ารเปลี่ ย นพิ กั ด อั ต ราศุ ล กากร ในระดับ 4 หลัก (Change of Tariff Heading: CTH)
• กฎการได้ ถิ่ น ก าเนิ ด เฉพาะสิ น ค้ า (Product Specific Rules : PSR) ใช้ สาหรับสินค้าในรายการ ที่ ไ ม่ ส ามารถท าการผลิ ต เพื่ อ ให้ ไ ด้ ถิ่ น ก าเนิ ด ตามกฎทั่ว ไปได้ จึง มีค วามจ าเป็ นต้ องกาหนด เกณฑ์การได้ถิ่นกาเนิดเฉพาะสินค้านี้ เช่ น กลุ่ม สิ น ค้ า เกษตร (บางรายการ) สิ น ค้ า สิ่ ง ทอและ เ ค รื่ อ ง นุ่ ง ห่ ม แ ล ะ สิ น ค้ า เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ไ ฟ ฟ้ า (บางรายการ) เป็นต้น 15 icn
แนวทางในการขอใช้ สิท ธิพิเ ศษทางภาษี ศุล กากร สาหรับ สิ น ค้า ที่ จ ะส่ ง ออกไปสาธารณรัฐเกาหลี
4. ยื่นขอหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้า 4.1 การขอหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าต้อง ใช้ เอกสารดังต่อไปนี้ 4.1.1 กรณี สิ น ค้ า เกษตร/เกษตรแปรรู ป (พิ กั ด 01-24) ต้ อ งแนบเอกสาร “แบบขอรั บ การ ตรวจสอบคุ ณ สมบั ติ ข องสิ น ค้ า ทางด้ า นถิ่ น ก าเนิ ด เพื่อขอใช้ สิทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากร” 4.1.2 กรณี สิ น ค้ า อุ ตสาหกรรม (พิ กั ด 25-97) ต้องแนบเอกสาร “ผลการตรวจสอบคุณสมบัติ ทางด้านถิ่นกาเนิดของสินค้า” 4.1.3 ต้ น ฉบั บ ใบก ากั บ สิ น ค้ า หรื อ ส าเนา คู่ฉบับ 4.1.4 เอกสารการขนสินค้าไปต่างประเทศ หรื อ ส าเนาคู่ ฉ บั บ เอกสารดั ง กล่ า ว (Bill of Lading, Airway Bill) และอื่นๆ
1. ตรวจสอบข้อมู ลก่อนขอใช้ สิทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากร โดยผู ้ส่งออกต้องทราบข้อมู ล ดังนี้ 1.1 พิ กั ด อั ต ราศุ ล กากรสิ น ค้ า ของประเทศ ปลายทาง 1.2 สินค้าอยู ่ในรายการที่ได้รับสิทธิหรือไม่ 1.3 กฎถิ่นกาเนิดสินค้ากาหนดไว้ว่าอย่างไร 2. ทาบัตรประจาตัวผู ้ส่งออก-นาเข้าสินค้าทัว่ ไป 3. ตรวจและรับรองคุณสมบัติถนิ่ กาเนิดสินค้า
ที่ ม า:
http://www.dft.go.th/th-th/DFT-Service/ServiceData-Information/dft-service-data-privilege/Detaildft-service-data-privilege/ArticleId/5064/Project-TH-KOR-AEC http://ebook.dft.go.th/wp-content/uploads/2018/08/คู่มือความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลีASEAN---Korea-Free-Trade-Area-AKFTA.pdf https://www.prachachat.net/economy/news-159414 ภาพจาก: https://www.slideserve.com/barny/overview-rules-of-origin-roo https://th.readingontheweb.com/ryba/6427-mozhno-li-varit-zamorozhennuyu-rybu-bezrazmorozki.html http://thai.stainlesssteelmetalsheet.com/sale-9623356-alloy-steel-coil-strip-galvanized-steelsheet-ss400-q235-q345-hot-rolled-steel-plate.html https://slideplayer.in.th/slide/2695916/
ผู ้ ส นใ จศึ กษาข้ อ มู ลร าย ล ะเอี ย ด เพิ่ ม เติ ม สามารถสมั ครเข้ าร่วมสัมมนาหัวข้ อ “สิ ท ธิพิเ ศษทาง ศุลกากรตามความตกลงการค้าเสรีอาเซี ย น-เกาหลี ” จั ด โดย สมาคมสโมสรนั ก ล งทุ น ในวั น ศุ ก ร์ ท่ี 3 0 สิ ง ห า ค ม พ . ศ . 2562 เ ว ล า 0 9 .0 0 -16.0 0 น . ณ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ โดยลงทะเบียน อ อ น ไ ล น์ เ พื่ อ ส า ร อ ง ที่ นั่ ง ไ ด้ ที่ http://icis.ic.or.th หากต้ อ งการสอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม กรุ ณ าติ ด ต่ อ คุ ณ กาญจนา แผนกฝึ กอบรมและบริ ก ารนั ก ลงทุ น โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 206
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
สิ ท ธิพิเศษทางศุลกากร ตามความตกลงการค้าเสรี
อาเซียน – เกาหลี
AKFTA
วันศุกร์ท่ี 30 สิงหาคม 2562 ณ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ icn 16
ลงทะเบี ย นออนไลน์ ได้ ท าง http://icis.ic.or.th หรื อ สแกน QR Code
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
กลยุ ทธ์ การจัดการความเสี่ยง สาหรับ
ผู ้ประกอบการ ยุค
หัวข้อการสัมมนา • ความสาคัญ และกระบวนทัศน์การจัดการ ความเสี่ยงในยุ ค 4.0 สาหรับผู ้ประกอบการ • วงจรความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลง ความเสี่ยง ภาวะวิกฤติ • ความหมาย วัตถุประสงค์ และเป้ าหมายในการ บริหารจัดการเปลี่ยนแปลง ความเสี่ยง และภาวะวิกฤติ • นิยาม และความหมายของการเปลี่ยนแปลง ความเสี่ยง และภาวะวิกฤติ • องค์ประกอบและประเภทความเสี่ยง และผู ้มีหน้าที่ รับผิดชอบโดยตรงในความเสี่ยง (Risk owner) • รูปแบบพัฒนาการและความสัมพันธ์ของ สภาวะแวดล้อมต่อการเปลี่ยนแปลง ความเสี่ยง ภาวะวิกฤติ ในบริบทและมิติต่างๆ • รูปแบบของการจัดการความเสี่ยง • ทักษะที่จาเป็นสาหรับการจัดการความเสี่ยง • คุณสมบัติสาคัญของผู ้จัดการการความเสี่ยง • การวิเคราะห์เพื่อหารากเหง้าหรือต้นเหตุ (Root cause) ของปั จจัยสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกิดขึน้ และหรือมีการเปลี่ยนแปลงไปในยุ ค 4.0 • การวิเคราะห์เพื่อบ่งชี้ประเด็นความเสี่ยง ประเมินระดับความเสี่ยง • กาหนดกลยุ ทธ์และยุ ทธวิธี และแนวทางการ จัดการความเสี่ยง • การสร้างเครื่องมือ แบบฟอร์มที่นามาใช้ ในการบริหารจัดการความเสี่ยง
4.0
วันศุกร์ท่ี 16 สิงหาคม 2562 เวลา 09.00-17.00 น. โรงแรม บู เลอวาร์ด กรุ งเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5)
ดร.ชัยนรินท์ ธีรไชยพัฒน์ อดีตที่ปรึกษาด้านการจัดการยุ ทธศาสตร์ และวางแผนธุ รกิจบริษัทเอกชน
เหมาะสาหรับ ผู ้ บ ริ ห าร ผู ้ จั ด การฝ่ ายบริ ห ารทรั พ ยากรบุ คคล หัวหน้างาน ผู ้รับผิดชอบฝ่ ายการทรัพยากรบุ คคล และผู ้สนใจทัว่ ไป
อัตราค่าสัมมนา ประเภท
อัตรา ค่าสัมมนา
สมาชิ ก
3,745 บาท/คน
บุ คคลทั่วไป
4,815 บาท/คน
อัตรานีร้ วมค่าเอกสาร อาหารกลางวัน อาหารว่าง และภาษี มูลค่าเพิม่ ค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200%
ลงทะเบี ยนสารองที่นั่ง ออนไลน์ ได้ท าง http://icis.ic.or.th สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม แผนกฝึ กอบรมและบริ ก ารนั ก ลงทุ น โทรศั พ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 205-209 โทรสาร 0 2936 1441 ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ทาง www.ic.or.th
สูด (หายใจ) ให้สุด! หยุดที่ ความสาเร็จ
เส้าหลิน
ถ้ า ให้ ท่ า นเลื อ กเล่ น กี ฬ าที่ ท้ า ทายสั ก หนึ่ ง อย่ า ง ท่านจะเลือกเล่นกีฬาอะไร? BUNGY JUMP (บันจีจัมพ์) คงเป็นกีฬาท้าทาย อย่างหนึ่งที่หลายๆท่านนึกถึงและอยากลอง ได้ยืนอยู ่ ริมหน้าผาอันสูงชัน มองลงไปเบือ้ งล่างเห็นพืน้ นา้ สีฟ้าใส เกลียวคลื่นสะท้อนแสงแดดวิบวับ หรือบางท่านอาจจะ เลื อ กเล่ น TANDEM SKYDIVING (การกระโดดร่ ม แบบมี ค รู ฝึ กเกาะอยู ่ ด้ า นหลั ง คอยท าหน้ า ที่ ค วบคุ ม ) เวลายื น อยู ่ บ นเฮลิ ค อปเตอร์ แ ล้ ว มองลงไปด้ า นล่ า ง ก็จะเห็นท้องทุ่งเขียวขจีอันกว้างใหญ่ ร่างกายได้สัมผัสกับ แรงลมและก้อนเมฆ แต่กว่าที่จะได้เห็นภาพสวยงามเหล่านัน้ ท่านต้อง ผ่านอาการ…. มือไม้สั่น เหงื่อแตก แขนขาไม่มีแรง หน้ามืด ตาลาย ยิ่ ง ใกล้ เ วลาที่ ต้ อ งทิ้ง ตั ว ลงไป หั ว ใจแทบจะหยุ ดเต้ น ลืมหายใจกันเลยทีเดียว หา กเป รี ย บ ชี วิ ต เป็ น เหมื อ น กี ฬ า เอ็ ก ซ์ ต รี ม (Extreme Sport) ข้างต้น ก็ไม่ต่างกับในช่ วงที่เราต้อง ตั ด สิ น ใจท าอะไรสั ก อย่ า งที่ ไ ม่ เ คยท า แถมเต็ ม ไปด้ ว ย ความท้ า ทายและแรงกดดั น จากคนรอบข้ า ง บวกกั บ ความกั ง วลของตั ว เอง แต่ มี สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ส ามารถบ าบั ด อาการเหล่านีไ้ ด้คือ “การหายใจ”
หายใจถู ก วิ ธี มี ชั ย ไปกว่ า ครึ่ ง แน่นอนว่าทุกคนล้วนหายใจเป็น! แต่ถูกวิธีหรือไม่? ร่ า งกายของมนุ ษ ย์ นั ้น ต้ อ งการออกซิ เ จนไป หล่อเลี้ยงหัวใจ ซึ่ งหัวใจจะทาหน้าที่ในการสูบฉีดโลหิต ไปสู่เซลล์ต่างๆของร่างกาย ซึ่ งการหายใจที่ถูกต้องและ ถู ก วิ ธี นั ้ น นอกจากจะช่ วยให้ มี สุ ข ภาพกายและมี สุขภาพจิตที่ดีแล้ว ยังช่ วยผ่อนคลายความตึงเครียด และลดความอ่อนเพลียได้อีกด้วย การหายใจแบบลึ ก จะช่ วยให้ ร่ า งกายได้ รั บ ออกซิเจนได้มากเพียงพอที่จะขับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และของเสียออกจากร่างกายได้ โดยมีเทคนิค คือ หายใจ ให้ช้า ลึก และเบา โดยสูดลมหายใจเข้าจนสุดปอดให้หน้าท้อง และหน้ า อกพองตั ว จนไม่ ส ามารถพองต่ อ ไปได้ อี ก แล้วค่อยๆปล่อยลมหายใจออกยาวๆจนหมดทัง้ ปอด
ศาสตร์ ท างโยคะ เรี ย กว่ า การฝึ กลมปราณ (Pranayama) ซึ่ งมีด้วยกัน 3 เทคนิค คือ icn 18
เ ท ค นิ ค แ ร ก เ รี ย ก ว ่ า “ อ นุ โ ล ม า ว ิ โ ล ม า ” (Anuloma Viloma) เป็ น การหายใจสลั บ ข้ า งจมู ก โดยเอานิ้ว โป้ ง ปิ ดจมู กไว้ข้างหนึ่ง จากนัน้ สูดหายใจลึกๆยาวๆ นับ 1-5 แล้วเปลี่ยนเอานิว้ มาปิ ดจมู กอีกข้างหนึ่งและหายใจออก นับ 1-10 ขณะฝึ กหายใจควรหลับตาและทาช้ าๆไม่ต้อง รีบนับ ซึ่ งแพทย์ทางเลือกหลายท่านแนะนาให้ใช้ เทคนิค การหายใจวิธีนใี้ นการรักษาโรคไมเกรน เพราะการหายใจ แบบนีจ้ ะช่ วยลดอาการปวดหัวได้อย่างดีเยี่ยม เท คนิ ค ที่ สอ งเ รี ย กว่ า “ อ ค นี ป ร า ณ ” (Agni Pran) เป็ น ภาษาฮิ น ดู แ ปลว่ า “ลมหายใจแห่ ง ไฟ” (Breath of Fire) โดยเทคนิคนีอ้ าศัยการหายใจให้สนั ้ ที่สุด ลึกที่สุด และถี่ท่ีสุดติดต่อกัน 20 ครัง้ โดยให้หน้าท้อง ของเราพองและยุ บอย่ า งเต็ ม ที่ ทุ ก ครั ้ง ที่ ห ายใจเข้ า และออก เมื่ อ ท าครบทั ้ง 20 ครั ้ง จะรู้ สึกมี พ ลั ง ชี วิ ต เพิ่ ม ขึ้ น ไม่ ง่ ว งซึ ม ไม่ เ หนื่ อ ยหน่ า ย จึ ง ไม่ แ ปลกที่ “ลมหายใจแห่ ง ไฟ” สามารถใช้ แ ก้ ค วามขี้ เ กี ย จและ ความเหนื่อยอ่อนได้เป็นอย่างดี เ ท ค นิ ค สุ ด ท้ า ย เ รี ย ก ว่ า " กุ ม ภ ก ะ " (Kumbhaka) เป็ น การหายใจเพื่ อ น าจิ ต เข้ า สู่ ส มาธิ แ ละปี ติ เ ริ่ ม ด้ ว ย ก า ร สู ด ล ม ห า ย ใ จ เ ข้ า แล้วนับ 1-4 อย่างช้ าๆ จากนัน้ ให้กลัน้ หายใจพร้อมกับนับ 1-3 และเมื่อหายใจออกก็นับ 1-4 อย่างช้ าๆอีกครัง้
เมื่อเสร็จจากวิธีการหายใจข้างต้น ให้กลัน้ หายใจ แล้วนับ 1-3 และเริ่มหายใจเข้าอีกครัง้ ทาอย่างนีส้ ลับกันไป โดยเพิ่ ม ความยาวของการนั บ ลมหายใจครั ้ง ที่ ส อง จาก 1-4 เป็น 1-5 นับครัง้ ที่สามเป็น 1-6 นับครัง้ ที่ส่ีเป็น 1-7 และนับครัง้ ที่ห้าเป็น 1-8 ทาอย่างนีจ้ นสามารถนับได้ ครบถึง 8 จะรู้สึกว่าตัวเบา โปร่งโล่ง สบาย โดยนักวิจัย พบว่า "กุมภกะ” เป็นเทคนิคการหายใจที่ช่วยลดความดัน ของเลือดและชะลออัตราการเต้นของหัวใจได้ดีท่สี ุด
จะเห็ น ได้ ว่ า เรื่ อ งเล็ กๆแค่ เ พี ย งสู ด ลมหายใจให้ เต็มปอดนัน้ ช่ วยเสริมทั ้งพลังกายและพลังใจในภาวะ จิ ต ใจว้ า วุ ่ น ได้ เ ป็ น อย่ า งดี แถมยั ง ช่ วยให้ เ ราห่ า งไกล โรคภั ย ไข้ เ จ็ บ อั น เกิ ด จากการหายใจสั ้น และเร็ ว ดั ง นั ้น หากการวิ่ ง ตามเป้ า หมายอย่ า งเร่ ง รี บ กระหื ด กระหอบ จนเกิดอาการท้อแท้เหน็ดเหนื่อย ขอให้ลองกลับมาทา ตามเทคนิคการฝึ กลมปราณ ไม่ว่าท่านจะพบอีกกี่ปัญหา ก็ย่อมผ่านไปได้แบบสบายๆ อย่ารอช้ า เรามาลองฝึ กไปพร้อมๆกัน เอาๆๆๆ เริ่ม... อ้างอิง : “ปราณายามะ ขัน้ พืน้ ฐาน” สถาบันโยคะวิชาการ, มู ลนิธิหมอชาวบ้าน ภาพจาก : https://yogapriority.com/pranayama/ https://www.indianetzone.com/7/kumbhaka.htm http://design.drr.go.th/th/node/733 http://seranggapeloncatpat.annauniv.pw/indian-floor-mat
สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ ออนไลน์
เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ
หลักสูตรด้านศุลกากร
หลักสูตรการใช้งานระบบ IC
หลักสูตรการบริหารจัดการ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน
0 2 9 3 6 1 4 2 9 ต่ อ 2 0 5 - 2 0 9
19 icn
การนาเข้าวัตถุดิบผ่านบริษัทเทรดดิ้งที่ไม่ ได้รับ สิทธิประโยชน์ส่งเสริมการลงทุน
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
Q : บริ ษั ท สามารถน าเข้ า วั ต ถุ ดิ บ ผ่ า นบริ ษั ท เทรดดิ้ ง ที่ ไ ม่ ได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ส่ ง เสริ ม การลงทุ นโดยใช้ สิทธิ ยกเว้นอากรขาเข้าส าหรับวั ตถุดิ บตามมาตรา 36 ได้ หรือ ไม่ และ หากสามารถทาได้จะต้องดาเนินการอย่างไรบ้าง A : การใช้ สิทธิยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบตามมาตรา 36 ผู ้นาเข้าจะต้องเป็นบริษัท ที่ได้รับสิทธิประโยชน์ตามมาตรา 36 เท่านัน้ หากบริษัทเทรดดิง้ ที่ไม่ ได้รับสิทธิประโยชน์ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น (Non-BOI) เป็ น ผู ้ น าเข้ า แล้ ว น ามาจ าหน่ า ยให้ กั บ บริ ษั ท ที่ ไ ด้ รั บ สิทธิประโยชน์ส่งเสริมการลงทุน (BOI) จะใช้ สิทธิยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบ ไม่ ได้ แต่หากบริษัทเทรดดิง้ เป็นผู ้สัง่ ซื้อวัตถุดิบ โดยระบุ เป็นการ SOLD TO A (บริษัทเทรดดิง้ ) SHIP TO B (บริษัทที่ได้รับสิทธิประโยชน์ส่งเสริมการลงทุน (BOI)) และบริษัทเทรดดิง้ โอน สิทธิ์ให้ บริษัทที่เป็น BOI เป็นผู ้นาเข้า กรณีนี้จะสามารถใช้ สิทธิยกเว้นอากรขาเข้าสาหรั บ วัตถุดิบได้ ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
เราไม่ ได้มองว่า เรามีเทคโนโลยีอะไร แต่ตัง้ ต้นจากปั ญหาหรือความไม่สะดวก (Pain Point) ของลูกค้าคืออะไร และเราต้องใช้ เทคโนโลยีอะไร ตอบโจทย์หรือแก้ปัญหานัน้
ดร.สุทธาภา อมรวิวัฒน์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เอสซีบี อบาคัส จากัด ทีม่ า>> https://forbesthailand.com/news/other/power-women-5-%E0%B8%82%E0%B8%AD.html / ภาพจาก>> https://thaipublica.org/2012/06/aec-thai-opportunity/suthapha1_05-2012/
สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก
www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมู ลเพิม่ เติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร 0 2936 1529
icn 20
ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ
@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ
Add friends
IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย
ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !
สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น บริ ก ารจั ด หลั ก สู ต ร
IN-HOUSE TRAINING ประหยัดค่าใช้ จ่าย ออกแบบเนือ้ หาเฉพาะองค์กร แนะนาหลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน ชื่อหลักสูตร
จานวน (วัน)
ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท)
25 ท่าน
35 ท่าน
1 ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
32,000
35,000
2 วิธีการขอเปิ ดดาเนินการ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
32,000
35,000
3 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
32,000
35,000
4 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1/2 วัน
23,000
25,000
5 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
32,000
35,000
หมายเหตุ : • อัตราค่าธรรมเนียมรวมค่าวิทยากร เอกสารการฝึ กอบรม ค่าเดินทาง และค่าดาเนินการ • ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิม่ 7% และค่าที่พัก (ถ้ามี) • อัตราค่าธรรมเนียมที่ระบุ ในเอกสาร เป็นอัตราประมาณการ ซึ่ ง อาจมีก ารเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ขึ้นอยู ่กับ รูปแบบการฝึ กอบรม จานวนผู ้เข้าอบรม ประเภทวันที่จัดงาน จานวนวัน พืน้ ที่จัดงาน รายละเอียดเพิ่มเติมของเนือ้ หา และอื่นๆ • สมาคมขอสงวนสิทธิห้ามบันทึกภาพและ/หรือเสียงในการอบรมทุกหลักสูตรทุกกรณี • ค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200%
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม 0 2936 1429 ต่อ 207 โทรสาร 0 2936 1441-2
website : www.ic.or.th
e-mail : is_inhouse@ic.or.th
แนะนาหลักสูตรด้านศุลกากร และอืน่ ๆ ชื่อหลักสูตร
จานวน (วัน)
ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท) 25 ท่าน
35 ท่าน
1
เกณฑ์การคานวณกาไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดทางบการเงินสาหรับ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
1
40,000
43,000
2
กฎหมายศุลกากรและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร
1
40,000
43,000
3
สิทธิประโยชน์ศุลกากรภายใต้ AEC
1
40,000
43,000
4
สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอด อากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone)
1
40,000
43,000
5
กฎว่าด้วยถิน่ กาเนิดสินค้า (Rules of Origin)
1
40,000
43,000
6
พิธีการทางศุลกากรระบบใหม่และสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากรระบบอิเล็กทรอนิกส์
2
78,000
85,000
7
การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุ ทรณ์การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศุลกากร
1
47,000
50,000
8
การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ และ Incoterm®2010
1
45,000
48,000
9
ระบบการวางแผนจัดซื้อ
1
51,000
54,000
10
การบริหารการจัดซื้อ จัดเก็บ และจัดส่ง
1
45,000
48,000
11
เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า
1
45,000
48,000
และอีกหลากหลายหลักสูตร เพือ่ พัฒนาองค์กร และบุ คลากร • • • • • • • • •
หลักสูตรด้านบริหารการผลิต อาทิ 5ส TPM TQM Kaizen หลักสูตรด้านบัญชีและภาษี หลักสูตรด้านการนาเข้า-ส่งออก หลักสูตรด้านกฎหมาย อาทิ กฎหมายเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ หลักสูตรด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน หลักสูตรด้านบริหารจัดการองค์กร (Management) หลักสูตรด้านการบริหารทรัพยากรบุ คคล (Manpower) หลักสูตรด้านการตลาด (Marketing) ฯลฯ
ตารางสัมมนาประจ�ำเดือน กรกฎาคม – สิงหาคม 2562 วันสัมมนา
ชื่อหลักสูตร
สถานที่จัด
วิทยากร
โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)
อัตราค่าสัมมนา สมาชิก
บุคคลทั่วไป
วิทยากรจาก BOI
2,140
2,354
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน
5,350
6,420
วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี
3,745
4,815
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
3,210
3,745
วิทยากรจาก BOI
6,420
8,560
วิทยากรจาก BOI
1,605
1,926
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
1,605
1,926
โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6)
วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี
4,280
5,350
โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
โรงแรม อไรซ์ โฮเต็ล ศรีราชา จังหวัดชลบุรี
วิทยากรจาก BOI
3,531
4,066
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
2,996
3,852
คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี
3,210
4,280
คุณวิชัย มากวัฒนสุข
5,350
6,206
คุณบุญเลิศ สุภาผา
2,996
3,852
คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา
4,815
3,745
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
2,996
3,852
วิทยากรจากกรมศุลกากร
2,996
3,852
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
2,996
3,852
ดร. ชัยนรินท์ ธีรไชยพัฒน์
3,745
4,815
วิทยากรจากกรมศุลกากร
2,996
3,852
คุณเมธี แสงมณี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
1,712
2,033
คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี
3,210
4,280
วิทยากรจากกรมการค้าต่างประเทศ
3,745
4,815
ดร.อิทธิกร ข�ำเดช
3,210
4,280
วิทยากรจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
วิทยากรจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
2,140
3,210
2,675
3,745
2,140
3,210
หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน กรุงเทพ 6 ก.ค.2562 (09.00-12.00 น.) 6 ก.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 12-14 ก.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 20 ก.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 20 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 20 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 1 ส.ค. 2562 (09.00-15.30 น.) 17 ส.ค. 2562 (09.00-12.00 น.) 17 ส.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 18 ส.ค. 2562 (09.00-12.00 น.) 24-25 ส.ค. 2562 (09.00-17.30 น.) 31 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)
แนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับการใช้สทิ ธิและประโยชน์ยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับ ของทีน่ ำ� เข้ามาเพือ่ ใช้ ในการวิจยั และพัฒนา รวมทัง้ การทดสอบทีเ่ กีย่ วข้อง ตามมาตรา 30/1 ครั้งที่ 1/2562 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 4/2562 วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 4/2561 (รับวุฒิบัตร) รวมเทคนิคการวางระบบบัญชีสำ� หรับธุรกิจที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน และการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการตรวจสอบอย่างมืออาชีพ ครั้งที่ 1/2562 (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 3/2562 วิธีปฎิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุนครั้งที่ 5/2562 All Executives Need to Know about BOI (Japanese Version) ครั้งที่ 1/2562 วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับส่วนสูญเสียวัตถุดบิ ส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 2/2562 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 5/2562 การใช้สทิ ธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562 ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบ และแนวทางปฏิบัติส�ำหรับผู้จัดท�ำบัญชีของกิจการที่ได้รับส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 4/2562 (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 4/2562
โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) เซ็นทารา แกรนด์ แอ็ท เซ็นทรัล พลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)
หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน ชลบุรี 3 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)
วิธีปฎิบัติเกี่ยวกับวัคถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุนครั้งที่ 1/2562 (จังหวัดชลบุรี)
หลักสูตรการบริหารจัดการ 9 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 10 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 20-21 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 23 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 25 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 1 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 3 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 6 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 16 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 17 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 20 ส.ค. 2562 (13.00-16.30 น.) 21 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 25 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 27 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 30 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 31 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)
ความรู้การน�ำเข้าและส่งออกทั้งระบบเพื่อให้ ได้ประโยชน์สูงสุด กลยุทธ์การท�ำสัญญาการค้าระหว่างประเทศ เงื่อนไขการขนส่งและ การส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศ (CONTRACT & INCOTERMS®2010) การน�ำเข้า-ส่งออกและสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรภายใต้กฎหมาย ศุลกากรฉบับใหม่ (e-Import - e-Export & Tax Incentive) ความเสี่ยงในการท�ำ L/C และการป้องกัน (L/C Fraud & Protection) Update กฎหมายแรงงานฉบับใหม่ ปี 2562 การจัดท�ำและตรวจเอกสารทางการค้าระหว่างประเทศภายใต้เงือ่ นไข L/C ตามกติกา UCP 600 สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอดอากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) ®
INCOTERMS 2010 ข้อบังคับทางการค้าระหว่างประเทศ กลยุทธ์การจัดการความเสี่ยงส�ำหรับผู้ประกอบการยุค 4.0 การส่งเสริมการใช้สิทธิประโยชน์ FTA อาเซียน - จีน การยื่นแบบและการค�ำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) ส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน (อยูร่ ะหว่างการขออนุมตั ิ CPD & CPA) เจาะลึกการตีความ ISBP.745E (INTERNATIONAL STANDARD BANKING PRACTICE) ส�ำหรับการตรวจเอกสารส่งออกและน�ำเข้า ภายใต้เลตเตอร์ออฟเครดิต การเตรียมความพร้อมกับกฎหมายการควบคุมสินค้าที่ใช้ ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความตกลงการค้าเสรีอาเซียน - เกาหลี (AKFTA) ข้อควรรู้เกี่ยวกับความผิดทางศุลกากรตามกฎหมายใหม่ 2560
หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT online 7 ก.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 21 ก.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 18 ส.ค. 2562 (09.00-17.00 น.)
วิ ธี เ ตรี ย มข้ อ มู ล งานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ส� ำ หรั บ เครื่ อ งจั ก รด้ ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (eMT Online) ครั้งที่ 4/2562 วิ ธี เ ตรี ย มข้ อ มู ล งานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ส� ำ หรั บ วั ต ถุ ดิ บ ด้ ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) ครั้งที่ 4/2562 วิ ธี เ ตรี ย มข้ อ มู ล งานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ส� ำ หรั บ เครื่ อ งจั ก รด้ ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (eMT online) ครั้งที่ 5/2562
โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม รอแยล เบญจา (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม รอแยล เบญจา (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)
วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน
หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจส�ำรองที่นั่งเข้าร่วมสัมมนาได้ที่ คุณวิลาสินี, คุณกาญจนา, คุณศิริรัตน์ หรือ คุณชาตรี แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205-209 โทรสาร 0-2936-1441-2 E-mail : is-investor@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th