ICe_Newsletter_December2018

Page 1

Vol.17 / December 2018 การส่งเสริมการลงทุนในเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน สิทธิประโยชน์ทางภาษี ศุลกากร: ข้อตกลงเขตการค้าเสรี

บริการทางการแพทย์

เสริมทัพอุ ตสาหกรรมเป้ าหมายของประเทศ


การกรอกข้อมูล เป็ นเรือ่ งยากสาหรับคุณ”

“หากคิดว่า

“ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติดว้ ยระบบ e-Expert พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมืองและกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร”

0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th

www.ic.or.th


04

การส่งเสริมการลงทุน ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน

07

บริการทางการแพทย์ เสริมทัพอุ ตสาหกรรมเป้ าหมายของประเทศ

13 17 โลกเปลี่ยน สังคมป่ วน ตลาดเปิ ด (2)

ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพ ท์ : 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร : 0 2936 1441-2 e-mail : icn@ic.or.th

19

การบริหารการผลิต ในอุ ตสาหกรรมการผลิตยุ ค 4.0

10 การชักตัวอย่างสินค้าในงานศุลกากร

22

สิทธิประโยชน์ทางภาษีศุลกากร: ข้อตกลงเขตการค้าเสรี

พลัง จิต ใต้สานึก: ของขวัญคือความสาเร็จ

เข้าสู่เดือนส่ง ท้ายปี เก่าต้อนรับปี ใหม่กันแล้ว หลายท่านคงคาดหวัง กับของขวัญก้อนโต อันเป็ นผลตอบแทนจากการทุ่มเททางานด้ วยความตัง้ ใจมาตลอดทัง้ ปี เพื่ อสร้ างผลงานและ ความสาเร็จให้แก่องค์ก ร และวางแผนที่จะนาของขวัญที่ได้รับไปใช้ ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและ ครอบครัว หรือบางท่านอาจแบ่งปั นให้ชุมชนและมนุษย์ร่วมโลกที่ขาดแคลน เพื่อสร้างบุ ญกุศลและ มงคลชีวิตให้กับตนเอง เป็นการต้อนรับปี ใหม่แห่งความสดใสและรุ ่งโรจน์ที่กาลังจะมาถึง ของขวัญปี ใหม่ที่คนส่วนใหญ่มักมอบเพื่อสร้างความสุขให้กับตนเองและครอบครัวคงจะหนี ไม่พ้นการท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อนกายใจและสมองจากความเหน็ดเหนื่อยกับหน้าที่การงานมาตลอด ทัง้ ปี และการจับจ่ายซื้อของที่ตนเองได้หมายตาไว้ แต่แนวโน้มใหม่ที่กาลัง มาแรงและนับได้ว่าเป็น เทรนด์การสร้างความสุขของคนในยุ คปั จจุ บัน คือ การซื้อบริการทางการแพทย์และการท่องเที่ยว เชิงสุขภาพเพื่อดูแลบารุ งรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงส่งผลสนับสนุนต่อการทางานของสมอง ให้สามารถคิดและทางานได้อย่างสร้างสรรค์ ธุ รกิจบริการทางการแพทย์และการท่องเที่ยวเชิ งสุขภาพจึง ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น อย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นธุ รกิจที่ตอบสนองความต้องการของผู ้บริโภคและรสนิยมการดารงชี พ (Life Style) ได้ตรงกลุ่มเป้ าหมายอย่างแท้จริง อีกทัง้ ผู ้เข้ารับบริการนัน้ นอกจากจะได้พัก ผ่อน สมดั ง ความตั ้ง ใจแล้ ว ยั ง ได้ รั บ การดู แ ลรั ก ษาตามมาตรฐานสากลภายใต้ ค วามดู แ ลของ ผู ้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านซึ่งมัน่ ใจได้ถึงความปลอดภัย จากจุ ดเด่ น นี้เ องที่ ภ าครั ฐ ของไทยเล็ ง เห็ น ถึ ง แนวโน้ ม การเติ บ โตของอุ ตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จึงได้บรรจุ ให้เป็นหนึ่งในอุ ตสาหกรรมเป้ าหมายและมุ ่งมัน่ ส่งเสริมให้ประเทศไทย เป็ น ผู ้ น าด้ า นการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ โ ดยมี ส านั ก งาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนหรือบีโอไอเป็นหน่วยงานกากับดูแลในการส่งเสริมการลงทุนด้วย การเปิ ดประเภทการส่งเสริมในกิจการศูนย์ฟื้นฟู สุขภาพ เพื่อสนับสนุนอุ ตสาหกรรมการบริการดูแล สุขภาพทัง้ ภายในและภายนอกที่เข้มแข็ง ทัง้ บริการด้านสปา การจัดการโภชนาการที่ดีต่อสุขภาพ การให้บริการทางเลือกที่สร้างความสมบู รณ์ของร่างกายและจิตใจ โดยผู ้ขอรับการส่งเสริมจะได้รับ สิทธิและประโยชน์จากบีโอไอ เช่ น การยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล การยกเว้นภาษี อากรนาเข้า เครื่องจักรและวัตถุดิบ เป็นต้น สาหรับสมาคมสโมสรนั ก ลงทุนมี ความพร้อมในการสนั บสนุนทุก กิจการที่ไ ด้รับ ส่ง เสริ ม การลงทุนด้วยระบบการให้บริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ตลอด 24 ชัว่ โมง ผ่านการให้บริการ แบบออนไลน์ และสมาคมฯกาลังพัฒนาระบบงานบริการด้านงานตัดบัญชีวัตถุดิบแบบไร้เอกสารให้ สามารถรองรั บ ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารแบบออนไลน์ เพื่ อ ก้ า วเข้ า สู่ ก ารให้ บ ริ ก ารออนไลน์ เ ต็ ม รู ป แบบ นอกจากนีย้ ังมีบริการด้านหลักสูตรฝึ กอบรมและสัมมนาที่มีการพัฒนาหลักสูตรใหม่ๆให้สอดคล้อง กับการพัฒนาศักยภาพบุ คลากรให้มีความรู้ ความสามารถ และความชานาญเฉพาะด้านเพื่อให้ สอดรับกับธุ รกิจขององค์กร โดยผู ้ที่สนใจสามารถดูรายละเอียดหลักสูตรและเลือกลงทะเบียนเพื่อ สมัครร่วมสัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 หรือติดตามข้อมูลต่างๆของสมาคมฯได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3

icn





มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

บริการทางการแพทย์

เสริมทัพอุ ตสาหกรรมเป้ าหมายของประเทศ ปั จจุ บันกระแสด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพมีอัตรา การเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รายงานของ International Travel Journal แสดงให้เห็นว่าในปี 2558 ตลาดอุ ตสาหกรรม ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพของโลกมี มู ล ค่ า ประมาณ 563.5 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ และคาดการณ์ว่าจะขยายตัวเกิน 8 แสนล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2563 ซึ่ งการใช้ จ่ายของ นักท่องเที่ยวเชิ งสุขภาพสามารถสร้างรายได้ได้มากกว่า นักท่องเที่ยวทัว่ ไปประมาณ 61%

ส าหรั บ ประเทศไทย ความโดดเด่ น ส าคั ญ ของ อุ ตสาหกรรมนี้ ท่ี ส ามารถพั ฒ นาเป็ น ศู น ย์ ก ลางการ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้คือ มีอุตสาหกรรมการบริการดูแล สุ ข ภาพทั ้ง ภายในและภายนอกที่ เ ข้ ม แข็ ง ทั ้ง ธุ รกิ จ สปา การจั ด การโภชนาการที่ ดี ต่ อ สุ ข ภาพ การให้ บ ริ ก าร ทางเลื อ กที่ ส ร้ า งความสมบู ร ณ์ ข องร่ า งกายและจิ ต ใจ อันเป็นแนวทางของการแพทย์ทางเลือกที่เน้นการสร้าง ความสมดุลเพื่อฟื้ นฟู สุขภาพ

สิ่งที่น่าจับตามองมากขึ้น คือ การท่องเที่ยวเชิ ง สุ ข ภาพถื อ เป็ น เทรนด์ ใหม่ ส าหรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วในการ ที่จะเสาะแสวงหาสถานที่ท่องเที่ยวเชิ งสุขภาพที่สามารถ ตอบสนองความต้องการได้อย่างลงตัว

กิจการศูนย์ฟื้นฟู สุขภาพที่ได้รับการส่งเสริมการ ลงทุนนัน้ จาเป็นต้องมีจุดแข็งในด้านการออกแบบโปรแกรม การบ าบั ด รั ก ษาหรื อ ฟื้ นฟู สุ ข ภาพให้ มี ก ารควบรวม ศาสตร์ ต่ า งๆเข้ า ด้ ว ยกั น เพื่ อ ให้ ผู้ เ ข้ า รั บ บริ ก ารได้ รั บ ผลลั พธ์ ท่ีดี ท่ีสุ ดอั นเป็น การสร้ างประสบการณ์เ ชิ ง บวก และสามารถน าความรู้ท่ีได้รั บจากการเข้า ร่วมโปรแกรม กลับไปใช้ ในชี วิตประจาวันได้อย่างต่อเนื่อง ตัวอย่างเช่ น โปรแกรมการบาบัดรักษาด้ านร่างกายและจิตใจที่ผสาน โปรแกรมการออกกาลังกาย การทาสมาธิ การขจัดปั ญหา ในจิตใจ ร่วมกับการรับประทานอาหารที่มี โภชนการที่ ดี เป็นต้น

จากจุ ดเด่ น นี้ เ องที่ ภ าครั ฐ ของไทยเล็ ง เห็ น ถึ ง แนวโน้ ม การเติ บ โตของอุ ตสาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุขภาพ จึงได้บรรจุ ให้เป็นหนึ่งในอุ ตสาหกรรมเป้ าหมายและ มุ ่งมัน่ ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นผู ้นาด้านการท่องเที่ยวเชิง สุขภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยมีสานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนหรือบีโอไอเป็นหน่วยงาน กากับดูแลในการส่งเสริมการลงทุนด้วยการเปิ ดประเภท การส่งเสริมในกิจการศูนย์ฟื้นฟู สุขภาพ โดยมีข้อกาหนดว่า ผู ้ขอรับการส่งเสริมจะต้องใช้ เทคโนโลยีทางการแพทย์ใน การบาบัดและฟื้ นฟู สุขภาพให้บริการด้วยรูปแบบโปรแกรม ฟื้ นฟู สุขภาพแบบต่อเนื่องในระยะเวลาพอสมควร จัดให้มี ที่พักอาศัยค้างคืน และมีบริการที่เป็นมาตรฐานสากล โดย จะได้รับสิทธิและประโยชน์จากบีโอไอ เช่ น การยกเว้นภาษี อากรนาเข้าเครื่องจักรและวัตถุดิบ เป็นต้น

7

icn


นอกจากนี้ บี โ อไอยั ง เปิ ดประเภทการส่ ง เสริ ม ในกิจการทางการแพทย์เพิ่มเติม เพื่อเสริมทัพอุ ตสาหกรรม การท่องเที่ยวเชิ งสุขภาพและการให้บริการทางการแพทย์ ของไทยบรรลุเป้ าหมายสูงสุด ดังนี้ 1. 2. 3. 4.

ส าหรั บ สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ข องกิ จ การทาง การแพทย์ ท่ีไ ด้ รับ ส่ งเสริ ม ฯจากบี โอไอ อาทิ เช่ น การ ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคล การยกเว้ น อากรขาเข้ า เครื่องจักรและวัตถุดิบ เป็นต้น

กิจการบริการสาธารณสุขด้านแพทย์แผนไทย กิจการศูนย์การแพทย์เฉพาะทาง กิจการสถานพยาบาล กิ จ การขนส่ ง ผู ้ ป่ วย แพทย์ หรื อ อุ ปกรณ์ การแพทย์ (ทางอากาศ ทางบก หรือทางเรือ)

โดยกิ จ การบริ ก ารทางการแพทย์ ส่ ว นใหญ่ จะมุ ่งเน้นการเพิ่มศักยภาพการให้บริการทางการแพทย์ ของเอกชนไทย และเสริมความน่าเชื่อถือให้กับนักท่องเที่ยว เชิ ง สุ ข ภาพว่ า จะสามารถเข้ า รั บ บริ ก ารทางการแพทย์ ได้อย่างทั่วถึงไม่ว่าจะเดินทางไปในท้องถิ่นใดก็มั่นใจได้ถึง การบริการที่มีมาตรฐานสากล มีความหลากหลายของ การให้ บ ริ ก าร และยั ง ส่ งผลกระตุ้ น ให้ เ กิ ด การสร้ า งและ พัฒ นาบุ คลากรเพื่อ รองรับ การด าเนิน งานของกิ จการ รวมถึ ง การลงทุ น ในกิ จ การต่ อ ยอดเชิ ง การแพทย์ ห รื อ สุขภาพอื่นๆต่อไปในอนาคตอีกด้วย ข้อมู ลจาก : http://www.boi.go.th/upload/ejournal2018/06 ภาพจาก: http://www.amarintv.com/page/1136/?reserve&category=20&l ocal&order=total_price&sort=asc&page=5

หัวใจสาคัญของการลงทุนในกิจการศูนย์ฟื้นฟู สุ ข ภาพและกิ จ การบริ การทางการแพทย์ ไ ม่ เ พี ย งแค่ มุ ่งเน้นการนารายได้เข้าประเทศเท่านัน้ แต่ยังเป็นการ สร้ า งคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ใ ห้ กั บ คนไทย กระตุ้ น ให้ เ กิ ด ความตระหนั ก ถึ ง ความส าคั ญ ของการดู แ ลรั ก ษา สุขภาพของตนเองและครอบครัว การสร้างงานสร้าง อาชีพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความเป็นไทย ซึ่ งคนไทย มี ค วามโดดเด่ น เป็ น เอกลั ก ษณ์ อ ยู ่ แ ล้ ว ในเรื่ อ งการ ให้บริการด้วยใจพร้อมรอยยิม้ เพื่อส่งต่อความเอือ้ อาทร ให้กับผู ้มาเยี่ยมเยือนทุกคนอย่างจริงใจ

สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ ออนไลน์

เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ หลักสูตรการใช้งานระบบ IC หลักสูตรด้านศุลกากร หลักสูตรการบริหารจัดการ

icn

8

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม Call Center 0 2936 1429 ต่อ 700


บริการงานวัตถุดบิ RMTS 1. ขธธนุมัตผบัญ ชฝ ร าฬการทัต ถุดผบ 1.1 ขธบัญชฝ ราฬการทัต ถุดผบ (BIRTMML) 1.2 ขธเอผ่ มชื่ ธ ราฬการทั ตถุ ดผบ (BIRTDESC) 1.3 ขธบัญชฝ ราฬการฯลผ ต ภั ณ ฑ์แ ละสู ต รการฯลผ ต (BIRTFRM) 1.4 ขธปรับ ฬธดฐานข้ธมู ล ทั ต ถุดผบ (BIRTADJ) 2. ขธธนุมัตผ สั่น ปล่ธ ฬทัต ถุดผบ 2.1 ขธธนุ มั ตผ สั่น ปล่ ธ ฬทั ตถุ ดผบแบบปกตผ 2.2 ขธธนุ มั ตผ สั่นปล่ ธ ฬทัต ถุดผ บแบบใื น ธากร 2.3 ขธธนุ มั ตผ สั่นปล่ ธ ฬทัต ถุดผ บแบบถธนการใช้ ธนาใารใา้ ประกั น 3. ขธธนุญ าตฯ่ธ นฯัน ใช้ ธ นาใารใา้ ประกัน ทัต ถุ ดผบ 3.1 ขธฯ่ ธ นฯั น ใช้ ธ นาใารใา้ ประกั น ทั ตถุดผ บ 4. ขธธนุญ าตตั ด บัญ ชฝ ทัต ถุ ดผบ 4.1 ขธตัด บัญ ชฝ ทัต ถุ ดผบ 4.2 ขธปรั บ ฬธดทั ตถุดผ บ

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม

0 2936 1429 ต่อ 314 - 315

e-mail : counterservice@ic.or.th www.ic.or.th


การชักตัวอย่างสินค้า ในงานศุลกากร คุณ กิจจาลั ก ษณ์ ศรีนุชศาสตร์ สานั ก พิ กัดอั ต ราศุ ล กากร กรมศุ ล กากร

สิน ค้ า ที่ กาลั ง ผ่ า นพิ ธี ก ารศุล กากรหรื อ อยู่ ใ นก ากั บ ตรวจตรา อาจถูกศุลกากรชักตัวอย่างไว้เพื่อตรวจสอบ ประเมินราคา หรือเพื่อ ประโยชน์ อ ย่ า งอื่ น ของทางราชการได้ ต ามความจ าเป็น ด้ ว ยวิ ธี ก ารที่ กาหนดไว้ ใ นประกาศกรมศุลกากรที่ ๑๗๓/๒๕๖o ทั้งนี้ การนาเข้า สิ น ค้ า ชนิ ด และประเภทเดี ย วกั บ ที่ ไ ด้ เ คยน าเข้ า มาก่ อ นหน้ า ซึ่ ง ได้ ว าง ประกั น โต้ แ ย้ ง พิ กั ด อั ต ราอากรไว้ แ ล้ ว แต่ ยั ง อยู่ ร ะหว่ า งการพิ จ ารณา จะถูกชักตัวอย่างส่งหน่วยงานวิเคราะห์สินค้าทุกครั้ง ยกเว้นของที่ได้รับ ผ่ อ นผั น โดยผู้ น าของเข้ า อาจยื่ น ค าร้ อ งขอผ่ อ นผั น การชั ก ตั ว อย่ า ง ต่อพนักงานศุลกากร ตามแบบฟอร์มดังนี้

ค าร้ อ งดั ง กล่ า วต้ อ งแสดงรายละเอี ย ดและแนบเอกสาร ดั ง นี้ (๑) แสดงเลขที่ใบขนสินค้าและรายการในใบขนสินค้าที่ประสงค์จะให้มี การผ่อนผันการชักตัวอย่าง (๒) แสดงเหตุผลและความจาเป็นในการ ขอผ่อนผันการชักตัวอย่าง (๓) แนบบัญชีรายละเอียดสินค้า (Catalog) หรือเอกสารอื่นที่แสดงรายละเอียดสินค้า icn 10

ผู้นาของเข้า/ผู้ส่งของออก หรือตัวแทน จะเป็ น ผู้ น าส่ ง ตั ว อย่ า งให้ ห น่ ว ยงานวิ เ คราะห์ สิน ค้ า และรั บ ผิ ดชอบค่ า ใช้ จ่ า ยในการส่ ง หาก ต้อ งส่ง หน่ว ยงานวิ เคราะห์ สิ นค้ า มากกว่ า หนึ่ ง หน่ ว ยงาน ให้ ส่ ง ไม่ น้ อ ยกว่ า ๑ ชุ ดตั วอย่ างต่ อ หนึ่งหน่วยงานวิเคราะห์สินค้า ทั้งนี้ ก่อนสินค้า พ้ น จากอารั ก ขาของศุ ล กากร ผู้ น าของเข้ า / ผู้ ส่ ง ของออก หรื อ ตั ว แทนอาจขอให้ มี ก าร วิเคราะห์เพิ่มเติมโดยหน่วยงานที่กรมศุลกากร ประกาศรับ รอง แต่ ต้ อ งชั ก ตัว อย่า งเพิ่ ม เติ ม ไป ในคราวเดี ย วกั น กั บ การชั ก ตั ว อย่ า งขอ ง พนั ก งานศุ ล กากร กรณี ที่ มิ ไ ด้ วิ เ คราะห์ โ ดย หน่วยงานวิเคราะห์สินค้าของกรมศุลกากร ผู้นา ของเข้ า /ผู้ ส่ ง ของออก หรื อ ตั ว แทนจะเป็ น ผู้รับผิดชอบค่าบริการวิเคราะห์นั้นๆ


ตัวอย่างวิธีการชักตัวอย่างสินค้าและปริมาณตัวอย่าง

11 icn


ตัวอย่างวิธีการชักตัวอย่างสินค้าและปริมาณตัวอย่าง (ต่อ)

ภาพจาก: https://www.asendia.com/news-blog/exporting-switzerland-insiders-guide-customs-clearance/ https://greatperformersacademy.com/entrepreneurs/top-25-most-trending-products-to-sell-online-in-2018

สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา...

การจัดเตรียมเอกสาร

เพื่อการค้าระหว่างประเทศ และ INCOTERMS®2010 icn 12

วันพฤหัสบดีที่ 13 ธันวาคม 2561 เวลา 8.30-16.00 น. ณ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ


โลกเปลี่ยน

จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com

สังคมป่วน ตลาดเปิ ด (2)

คงปฎิเสธไม่ ได้ว่า “นวัตกรรม หรือ Innovation” เป็นทัง้ ปั จจัยนาเข้า (Input) ซึ่ งในกรณีนี้หมายถึงแนวคิด ใหม่ ท่ี แ ปลกแตกต่ า งไปจากเดิ ม โดยคาดหวั ง ให้ เ กิ ด การ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ม ทิ ศ ท า ง ห รื อ แ น ว โ น้ ม ข อ ง โ ล ก ในขณะเดียวกันก็ก่อให้เกิ ดการปรับปรุ งแบบก้าวกระโดด หรือลดผลกระทบในเชิ งลบจากสินค้าและบริการเดิมๆที่มี อยู ่ในทุกวัน (Paint point) นวั ต กรรมยั ง มี ค วามหมายถึ ง กระบวนการ (Process) ภายในองค์ ก ร ซึ่ ง ผู ้ บ ริ ห ารมั ก จะสื่ อ สารและ บอกกล่าวกับพนักงานทุกคนว่า เราจะไม่หยุ ดอยู ่ท่ีการ “ทาซ้ า” ในรูปแบบเดิมๆโดยมีการปรับปรุ งเล็กๆน้อยๆอย่าง ต่ อ เนื่ อ งเพี ย งเพื่ อ ให้ ง านที่ ท ามี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลเพิ่มขึ้นกว่าเดิมเท่านัน้ หากแต่เราต้อง “ทาใหม่” เพราะโลกหมุ นเร็ว อุ ตสาหกรรมที่เรากาลังดาเนินธุ รกิจ อยู ่นัน้ เข้าสู่ยุคของการเปลี่ยนผ่านครัง้ ใหญ่ กระบวนการ และวิ ถี ก ารท างานในรู ป แบบเดิ ม แม้ ว่ า จะมี ก ารค่ อ ยๆ ปรับปรุ งเป็นลาดับแล้วก็ตาม แต่ก็ยังอาจก้าวไม่ทันกับการ ปรับโครงสร้างของอุ ตสาหกรรมที่ใครหลายคน กล่าวว่ากาลังมุ ่งหน้าสู่ยุค 4.0 ซึ่ งไม่เพียง แค่มีความเป็นอัตโนมัติในเชิงกายภาพ เท่ า นั ้ น หากแต่ มี ค วามชาญฉลาด ใ น ด้ า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ให้กลายเป็นสารสนเทศและสังเคราะห์ สารสนเทศนัน้ ให้เข้ากับสถานการณ์ และเงื่อนไขแวดล้อมจนกลายเป็น ปั ญญาอีกด้วย

นวั ต กรรมไม่ ได้ เ ป็ น แค่ เ พี ย งแนวคิ ด ใหม่ ห รื อ กระบวนการใหม่ เ ท่ า นั น้ หากแต่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลลั พ ธ์ ใ หม่ (New result) ซึ่ งไม่ ได้ให้คุณค่าแค่เพียงคุณสมบัติและ ความสามารถที่ ดี ขึ้ น ในเชิ ง Function หากแต่ ยั ง มี รูปลักษณ์และการออกแบบที่สอดคล้องกับไลฟ์ สไตล์ของ คนยุ คใหม่ ในเชิ ง Fashion ตลอดจนการสร้างประสบการณ์ ที่ แ ปลกใหม่ แ บบที่ ไ ม่ เ คยพบเห็ น หรื อ เคยประสบพบเจอ มาก่อน เป็นความก้าวลา้ นาหน้าในเชิ ง Future ดังนัน้ นวัต กรรมจึง มีมิ ติท่ีหลากหลายและกาเนิด เกิ ดขึ้นมาได้ จากหลายวิธีการ ในอดีตเราอาจจะคุ้นเคยหรือคิดว่านวัตกรรมต้อง มาจากห้องปฏิบัติการ (Research Lab) โดยนักวิจัย นักค้นคว้า นักประดิษฐ์ ที่ต้องมีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อย่ า งลึ กซึ้ ง หรื อ มี ค วามเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า น แต่ ใน ความเป็นจริงแล้ว นวัตกรรมเกิดขึ้นได้ทั่วไปเพียงแค่เรามี ความคิดริเริ่มใหม่ๆโดยปฏิเสธสิ่งเดิมที่คุ้นชินแล้วแสวงหา สิ่ ง ใหม่ ท่ี ต อบโจทย์ ต รงใจลู ก ค้ า และตลาดในเชิ ง ธุ รกิ จ หรื อ แก้ ไขปั ญหาชุ มชน ความยากไร้ ความไม่ เ ท่ า เที ย มกั น ในเชิ ง สั ง คม ดั ง นั ้น น วั ต ก ร ร ม ไ ม่ จ า เ ป็ น ต้ อ ง คิ ด ค้ น เทคโนโลยี ใ หม่ แ ค่ ท าความเข้ า ใจและ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว มาผสมผสานกั บ แนวคิ ด ที่ ก้ า ว กระโดดก็ได้เช่ นเดียวกัน

13

icn


ยกตัวอย่างเช่ น เราคงทราบดีอยู ่แล้วว่า คอมพิวเตอร์ ที่ ใ ช้ ง านกั น อยู ่ นั ้น ก็ มี วิ วั ฒ นาการของการเปลี่ ย นแปลง มาเป็นลาดับ จากเครื่องขนาดใหญ่เท่าห้องจนเหลือเครื่อง ขนาดตัง้ โต๊ะ และกลายเป็นเครื่องขนาดเล็กที่สามารถวาง บนตักและพกพาไปไหนต่อไหนได้ จนทุกวันนีไ้ ด้ผนวกอยู ่ใน โทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ แ บบ Smart phone ที่ ใ ช้ กั น อย่ า ง แพร่หลายในปั จจุ บัน คอมพิวเตอร์มีแผงวงจรที่เป็นสมองกล ทาหน้าที่เป็นหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit – CPU) ซึ่ งคงไม่มีประโยชน์อะไรเลย ถ้าไม่มีอุปกรณ์ ต่ อ เชื่ อมที่ ท าหน้ า ที่ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ โลกภายนอก โดยเฉพาะมนุ ษ ย์ อุ ปกรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ดั ง กล่ า วใช้ สัญญาณไฟในการส่งถ่ายข้อมู ลระหว่างกัน คอมพิวเตอร์ ขนาด 8 บิตในยุ คแรกสื่อสารด้วยสายไฟ 8 เส้น ซึ่ งแต่ละ เส้นจะมีอยู ่สองสถานะ คือ มีไฟ (เป็น 1 หรือ High) และ ไม่มีไฟ (เป็น 0 หรือ Low) ในการส่งข้อมู ลพร้อมกันใน หนึ่ งจั งหวะ สถานะของสายไฟแต่ล ะเส้น จะมีความหมาย ที่แตกต่างกัน เช่ น (01001000) (10011000) (11000010) (10110111) เมื่ อ น าหลั ก การดั ง กล่ า วไปประยุ กต์ ใ ช้ เ ป็ น คี ย์ บ อร์ ด เพื่อให้ผู้ใช้ (User) สามารถสื่อสารภาษามนุษย์ให้ CPU รับรู้ได้ จึงนารหัส 8 ตัวตามตัวอย่างข้างต้นมากาหนดแทนตัวอักษร ที่แตกต่างกัน เรียกว่า แอสกี้โค้ด (ASCII) เพื่อให้จอภาพ สามารถแสดงผลได้ ต รงกั บ สิ่ ง ที่ ผู้ ใ ช้ คี ย์ เ ข้ า มา CPU จะประมวลผลและส่ ง ไปยั ง จอภาพตามรหั ส ที่ ไ ด้ รั บ ซึ่ งลั ก ษณะการท างานเป็ นเช่ นนี้ เ รื่ อ ยมา จนกระทั่ ง คอมพิวเตอร์รุ่นหลังมีขีดความสามารถมากกว่าเดิมเป็น เครื่อง 16 บิต 32 บิต หรือ 64 บิต ที่สามารถทางานได้ รวดเร็วและมีประสิทธิผลมากขึน้ จากแนวคิ ด ดั ง กล่ า วเมื่ อ ผนวกเข้ า กั บ เทคโนโลยี ท่ี ทันสมัยในยุ คหลัง เช่ น การสื่อสารไร้สาย ทาให้คียบอร์ด คอมพิ ว เตอร์ ใ นปั จจุ บั น ไม่ ต้ อ งเสี ย บสายเข้ า กั บ CPU ก็สามารถพิมพ์งานได้ ทาให้เครื่องพิมพ์รุ่นใหม่สามารถ พิมพ์เอกสารได้โดยไม่ต้องเชื่ อมต่อสายกับคอมพิวเตอร์ ท าให้ เ ครื่ อ งฉาย ภาพข้ า มศรี ษ ะหรื อ โปรเจคเตอร์ (Projector) ที่ ใ ช้ ใ นการน าเสนองาน การบรรยายของ วิ ท ยากร การประชุ มขององค์ ก รต่ า งๆ ไม่ จ าเป็ น ต้ อ ง เชื่ อ มต่ อ สายให้ วุ่ น วาย ผู ้ ใ ช้ ง านสามารถน าภาพจาก คอมพิ ว เตอร์ ข องตั ว เองขึ้ น แสดงผลบนจอใหญ่ ได้ โ ดย ไม่ต้องสลับสายต่อเชื่อมกับโปรเจคเตอร์ ไปมา icn 14

นอกจากนัน้ ยังมีอุปกรณ์อีกมากมายในชีวิตประจาวัน ที่เ ป็ น แบบไร้ สาย ไม่ ว่ า จะเป็น หู ฟั ง ไมโครโฟน ล าโพง และอีกสารพัดอุ ปกรณ์ท่ีกาลังจะเข้าสู่ยุคที่เรียกว่า IoT (Internet of Things) นั่นคือ การเชื่อมต่อผ่านโครงข่าย อินเทอร์เน็ตซึ่ งสามารถสื่อสารได้ไกลมากกว่าการสื่อสาร ไร้ ส ายดั ง ที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น ไม่ ว่ า เราจะอยู ่ ท่ี ไ หนก็ ยั ง สามารถตรวจติดตามและสัง่ การสิ่งต่างๆได้

นี่ คื อ การรู้ จั ก น าแนวคิ ด ใหม่ ม าผสมผสานกั บ เทคโนโลยีท่ีมีอยู ่แล้วในปั จจุ บัน เพื่อแก้ไขปั ญหาหรือสร้าง คุณค่าใหม่ แม้แต่ ในเชิงสังคมก็มีนักพัฒนาสร้างคียบอร์ด อักษรเบลล์เพื่อให้ผู้พิการทางสายตาสามารถสื่อสารแบบ ไร้สายโดยทางานร่วมกับ Smart phone เราอาจไม่รู้เลย ว่ า คนที่ เ ราก าลั ง สนทนาออนไลน์ ผ่ า นโปรแกรม Line WhatsApp หรื อ Messenger นั ้น เป็ นผู ้ พิ การทางสายตา ดังนัน้ นวัตกรรมไม่ใช่ เรื่องยาก ขอแค่เพียงคิดแล้วลงมือ ทาให้สาเร็จเท่านัน้ นอกจากนี้ นวัตกรรมไม่ ใช่ แค่เพียงการทาอะไรใหม่ๆ ของแต่ละคนหรือแต่ละองค์กรที่แตกต่างไปจากเดิมเท่านัน้ หากแต่สงิ่ ใหม่นนั ้ มีระดับของการเปลี่ยนแปลง ตัง้ แต่แนวคิด ใหม่ท่ีผสานใช้ กับเทคโนโลยีท่ีหาได้ทัว่ ไป เรียกว่า Creative Based Innovation ซึ่ งเหมาะสมกับทุกองค์กรที่เพิ่งเริ่มต้น สนใจสร้างสรรค์ผลงานเชิ งนวัตกรรมแต่ ไม่มีฐานความรู้ และความสามารถในการประดิ ษ ฐ์คิ ด ค้ น สิ่ ง ใหม่ ม าก่ อ น โดยเฉพาะบริษัทผู ้รับจ้างผลิต ธุ รกิจบริการ หรือแม้แต่ ธุ รกิ จ การค้ า ทั ้ ง ค้ า ปลี ก และค้ า ส่ ง สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ต้ อ งท า ความเข้า ใจไว้คื อ ผลงานนวั ต กรรมในลั กษณะดั ง กล่ า ว มีจุดที่ต้องรักษาไว้ให้ได้ คือ (1) คิดเร็ว (2) ทาเร็ว และ (3) ต้องไม่หยุ ดคิดและหยุ ดทา เพราะว่าจุ ดที่ต้องระวังของ นวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากแนวทางข้างต้น คือ ลอกเลียนแบบ ได้ง่ายและทาซ้ าได้ไม่ยาก คู่แข่งหรือคนอื่นเห็นก็สามารถ ทาตามได้ ความสามารถด้านการแข่งขันจึงอยู ่ท่ีความสามารถ ในการทาให้นวัตกรรมนัน้ แพร่หลายไปยังกลุ่มเป้ าหมายได้ แรงและเร็ ว ผ่ า นกลยุ ทธ์ ท างการตลาดและการสร้ า ง ความน่าเชื่อถือผ่านแบรนด์เป็นสาคัญ


ในขณะที่นวัตกรรมระดับที่เกิดจากเทคโนโลยีท่ีมีการ วิจัย พัฒนา และประดิษฐ์คิดค้นขึ้นด้วยตัวเอง หรือร่วม คิดกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเทคโนโลยีหรือวิธีการนัน้ ๆ มี ก ารยื่ น จดสิ ท ธิ บั ต รจนได้ รั บ ความคุ้ ม ครองว่ า เป็ น ทรัพ ย์สิ นทางปั ญญา ถื อได้ว่า ผลงานนวั ตกรรมนี้ไม่ ได้ พึ่ ง พิ ง หรื อ ซื้ อ หาเทคโนโลยี ม าจากภายนอก เรี ย กว่ า Technology Based Innovation เป็นนวัตกรรมที่มักเห็นได้ ในองค์ กรนวั ต กรรมชัน้ น าของโลก ซึ่ ง บริ ษั ท เหล่ า นี้จ ะมี หน่วยวิจัยและพัฒนา อีกทัง้ ยังทาวิจัยร่วมกับศูนย์วิจัย ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นภายนอกอี ก มากมาย หลายแห่งในรู ปแบบของการร่วมวิจัยหรือจ้างวิจัยก็ตาม ผลงานนวัตกรรมในลักษณะดังกล่าวมีจุดที่ต้องรักษาไว้ ให้ได้ คือ (1) ใช้ เวลาให้สัน้ (2) คิดค้นให้ทันกับยุ คสมัยและ การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางธุ รกิจ และ (3) จัดสรร เงิ น ลงทุ น วิ จั ย และพั ฒ นาให้ ส อดคล้ อ งกั บ ผลตอบแทน ในอนาคตและความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น อย่ า งไรก็ ต าม ผลงานนวัตกรรมที่เกิดขึ้นด้วยวิธีนี้ลอกเลียนแบบได้ยาก อี กทั ง้ คู่ แ ข่ ง หรื อ คนอื่ น ก็ ไ ม่ ส ามารถจะท าซ้ าด้ ว ยเทคนิ ค และวิธีการที่ได้ยื่นจดสิทธิบัตรไปแล้ว แต่มีข้อที่ต้องระวัง คื อ การก าหนดขอบเขตของงานวิ จั ย ที่ ต้ อ งมี จุ ดโฟกั ส ไม่ ล งทุ น แบบเหวี่ ย งแห เพราะนอกจากจะไม่ ได้ ผ ลงาน ที่กว้า งพอแล้วยัง ได้ผลงานที่ ไม่ลึ กพอ อันเนื่องมาจาก งบลงทุนที่จากัดอีกด้วย

ดังนัน้ สิ่งสาคัญสาหรับองค์กรที่เริ่มสนใจและคิดว่า จะลงทุนกับการสร้างสิ่งใหม่โดยคาดหวังว่านวัตกรรมจะเข้า มาส่งเสริมสนับสนุนให้มีความสามารถในการแข่งขันที่สูง มากขึน้ กว่าเดิมและนาพาองค์กรออกจากสนามการแข่งขัน สีเลือด (Red ocean) ที่เป็นสงครามราคา ไปสู่สนามการ แข่งขันใหม่สีคราม (Blue ocean) ที่แข่งขันกันด้วยการสร้าง คุณค่า (Value proposition) สิ่งสาคัญนัน้ คือ การปรับเปลี่ยน วิสัยทัศน์และกลยุ ทธ์ธุรกิจให้มีความใหม่ ความแตกต่าง และท้ า ทายไปจากเดิ ม ต้ อ งสลั ด ทิ้ง บริ บ ทและความเชื่ อ แบบเดิ ม ๆออกไปให้ ไ ด้ เพราะถ้ า ยั ง ยึ ด ติ ด กั บ รู ป แบบ โครงสร้ า ง และวิ ถีการทางานแบบเดิ ม ก็ ย ากที่ จ ะน าพา ตัวเองไปสู่สิ่งใหม่ได้

ตัวอย่างแนวคิดขององค์กรนวัตกรรมชัน้ นาที่สร้าง การเปลี่ยนแปลงและทาให้ตัวเองมาอยู ่ในจุ ดใหม่ท่ีได้เปรียบ และยังสามารถไปได้อีกไกลในยุ คดิจิทัลนี้ แนวคิดทางธุ รกิจ ของ Apple Computer Inc. “ผู ้ ผ ลิ ต คอมพิ ว เตอร์ แ ละ อุ ปกรณ์เชื่อมต่อ” มีโมเดลทางธุ รกิจ คือ “ผลิตแพลตฟอร์ม ที่ทงั ้ ฮาร์ดแวร์และระบบปฏิบัติการ Mac OS เป็นหนึ่งเดียว” เพื่อให้แน่ ใจว่าทัง้ สองสิง่ นีจ้ ะมีความเข้ากันได้และทางานได้ อย่ างมี ประสิท ธิ ภาพสูง สุ ด โดยเปิ ดให้เ ฉพาะซอฟต์แ วร์ เพื่ อ การประยุ กต์ ใ ช้ ง านเท่ า นั ้ น ที่ บ ริ ษั ท อื่ น ๆสามารถ พัฒนาขึ้นมาใช้ งานร่วมกัน ด้วยการออกแบบรู ปลักษณ์ ที่สวยงาม มีระบบปฏิบัติการและซอฟต์แวร์ท่ีดูดี สวยงาม ใช้ ง านได้ ง่ า ย แต่ บ ริ ษั ท ไม่ ส ามารถแข่ ง ขั น กั บ คู่ แ ข่ ง และ แย่งชิงส่วนแบ่งทางการตลาดได้ ในขณะที่คู่แข่งรายใหญ่ด้านระบบปฏิบัติการอย่าง Microsoft ใช้ โ มเดลแบบ “ความร่ ว มมื อ ” คื อ ไม่ ผ ลิ ต ฮ า ร์ ด แ ว ร์ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ต่ พ ร้ อ ม ใ ห้ บ ริ ก า ร “ระบบปฏิบัติการ Windows” แก่ผู้ผลิตฮาร์ดแวร์ย่ีห้อใด ก็ ไ ด้ ใ นโลกสามารถน าไปใช้ เ ป็ น แพลตฟอร์ ม หลั ก เพื่ อ ให้ ซอฟต์แวร์ประยุ กต์ใช้ งานต่างๆสามารถทางานร่วมกันได้ โมเดลการสร้างพันธมิตรทางธุ รกิจที่มีความหลากหลาย และเปิ ดกว้างเช่ นนีท้ าให้การแข่งขันไปอยู ่ท่ีผู้ผลิตฮาร์ดแวร์ แทน ดั ง นั ้น ไม่ ว่ า องค์ ก รใดจะเลื อ กซื้ อ คอมพิ ว เตอร์ ส่วนบุ คคลยี่ห้อใดก็ตามต่างล้วนแล้วต้องใช้ ระบบปฏิบัติการ Windows ของ Microsoft ซึ่ งยั ง ไม่ นั บ รวมซอฟต์ แ วร์ พื้น ฐานส าหรั บ การท างานทั่ ว ไปที่ เ รี ย กว่ า MS Office ที่แทบทุกสานักงานทัว่ โลกต้องมีไว้สาหรับใช้ งาน เมื่ อ Apple Computer Inc. ตั ดสิ นใจกระโดดเข้า สู่ อุ ตสาหกรรมโทรคมนาคมและเปลี่ยนชื่ อเป็น Apple Inc. พร้ อ มฉี กกฎเกณฑ์ แ ละค านิ ย ามของโทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ แบบพกพาประกอบกับความก้าวลา้ นาสมัยของเทคโนโลยี ดิจิทัล ผลลัพธ์ท่ไี ด้คือ iPhone ซึ่ งกลายเป็น Smart phone ที่ ล้ ม ล้ า งและปฏิ วั ติ ว งการโทรศัพ ท์ แ บบเดิ ม (Standard phone) และถือเป็นหนึ่งในผู ้นาที่สร้างการเปลี่ยนแปลงใหม่ ในทศวรรษที่ผ่านมา ไม่ว่า จะเป็น การปฏิวัติ กล้องฟิ ล์ ม สู่กล้องดิจิทัล การเปลี่ยนยุ คพลังงานฟอสซิ ลสู่พลังงาน ทดแทน การเปลี่ยนจากหลอดฟลูออเรสเซนต์สู่หลอดไฟ LED การเปลี่ยนจากยานพาหนะใช้ นา้ มันสู่ยานยนต์ ไฟฟ้ า และยังมีอีกหลายสิ่งที่กาลังเข้าคิวเปลี่ยนแปลง เรากาลังอยู ่ ในยุ คที่น่าตื่นเต้นและท้าทาย แต่ ในขณะเดียวกันอาจน่าเสียใจ ส า ห รั บ ค น ที่ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ป รั บ ตั ว ใ ห้ ทั น กั บ ยุ ค ข อ ง ความเปลี่ยนแปลงที่กาลังเผชิญอยู ่ หลักสาคัญ คือ เพียง แ ค่ เ ป ลี่ ย น แ น ว คิ ด ธุ ร กิ จ ที่ ท า อ ยู ่ ก็ อ า จ ส ร้ า ง ความเปลี่ยนแปลงจนเกิดเป็นนวัตกรรมได้

ภาพจาก : http://www.monmai.net/, https://bics.com/services/iot/

15

icn


eMT Online 1. ขธธนุมัตผบัญชฝราฬการเใรื่ธนจักร 2. ขธแก้โขการขธธนุมัตผบัญชฝราฬการเใรื่ธนจักร 3. ขธธนุมัตผสนั่ ปล่ธฬเใรื่ธนจักรแบบปกตผ * ขธใืนธากร * ขธถธนการใช้ ธนาใารใา้ ประกัน * สัน่ ปล่ธฬนากลับจากส่นซ่ ธม * ใืนธากรจากส่นซ่ ธม 4. ขธธนุญาตฯ่ธนฯันใช้ ธนาใารใา้ ประกันเใรื่ธนจักร 5. ขธธนุญาตขฬาฬระฬะเทลาใา้ ประกันเใรื่ธนจักร 6. ขธธนุญาตส่นใืน – ส่นซ่ ธมเใรื่ธนจักรธธกโปต่านประเทถ 7. ขธธนุมัตผขฬาฬระฬะเทลาต่านๆ ขฬาฬเทลานาเข้าเใรื่ธนจักรปกตผ ขฬาฬเทลานาเข้าเใรื่ธนจักรฬ้ธนหลัน ขฬาฬเทลานาเข้าเใรื่ธนจักรธผเล็กทรธนผกส์และเใรื่ธนใช้ โฮฮ้ า * ทผจัฬและอัฒนา * สผน่ แทดล้ธม 8. ขธธนุญาตตัดบัญชฝเใรื่ธนจักร 9. ขธธนุญาตทาลาฬเใรื่ธนจักร 10. ขธธนุญาตบรผจาใเใรื่ธนจักร 11. ขธธนุญาตชาระภาษฝธากรเใรื่ธนจักร 12. ขธธนุญาตจาหน่าฬเใรื่ธนจักร 13. ขธธนุญาตจานธนเใรื่ธนจักร 14. ขธธนุญาตเช่ าซื้ธ * ลฝสซผ่นเใรื่ธนจักร 15. ขธธนุญาตใช้ เใรื่ธนจักรเอื่ธการธื่น 16. ขธธนุญาตนาเใรื่ธนจักรโปให้บุใใลธื่นใช้ 17. ขธธนุมัตผฬกเลผก (ตามประเภทนาน)

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม

0 2936 1429 ต่อ 314 - 315

e-mail : counterservice@ic.or.th www.ic.or.th


การบริหารการผลิต ใน อุตสาหกรรมการผลิต ยุค

4.0

ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th

เมื่อประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่ยุคอุ ตสาหกรรม 4.0 ภาคอุ ตสาหกรรมการผลิตต่างก็มุ่งพัฒนากระบวนการ ท างานของตนเองให้ ร องรั บ การเปลี่ ย นแปลงต่ า งๆใน ยุ ค 4.0 โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีและความต้องการของ ผู ้ บ ริ โ ภค ในส่ ว นของเทคโนโลยี นั ้น มี ก ารประยุ กต์ ใ ช้ เทคโนโลยี IT ล ้า ยุ คผสมผสานกั บ กระบวนการผลิ ต ที่ ทันสมัยในกระบวนการออกแบบ การผลิต การควบคุม และการติ ด ตามการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เพื่ อ ตอบสนอง การใช้ ชีวิตประจาวันในรูปแบบ Internet of Things (IoT) ที่เ น้ น ความสะดวกรวดเร็ ว ซึ่ ง เป็ น ผลสื บ เนื่ อ งมาจาก การปรับเปลี่ยนรสนิยมการดารงชีพ (Life Style) ของ ผู ้บริโภคที่มีเพิ่มขึ้นไม่ว่าจะเป็นความต้องการสินค้าที่มี ลั ก ษณะตรงตามรสนิ ย มของแต่ ล ะบุ คคลและสิ น ค้ า ดังกล่าวต้องเป็นของที่ดีและมีคุณภาพ ปั จจัยสาคัญ 6 ประการที่อุตสาหกรรมการผลิต ต้องตระหนักและนามาประยุ กต์ใช้ ในการบริหารงานเพื่อ ปรั บตั วให้ ธุรกิจ สามารถอยู ่ รอดและเติบ โตได้ ใ นยุ คการ ปฏิวัติอุตสาหกรรมครัง้ ที่ 4 (Industrial 4.0) มีดังนี้ ประการที่ 1 ความรวดเร็ ว (Faster) เนื่ อ งจาก Lead time ของความต้องการบริโภคของลูกค้านัน้ สัน้ ลง และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ผู ้ท่สี ามารถตอบสนอง ได้ก่อน คือ ผู ้อยู ่รอด

ประการที่ 2 ความยืดหยุ ่นในการผลิตและส่งมอบ (Flexibility) เนื่องจากความต้องการสินค้าของผู ้บริโภค มี ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ต า ม ร ส นิ ย ม ข อ ง แ ต่ ล ะ บุ ค ค ล ความต้ อ งการสิ น ค้ า ที่ ห ลากหลายจึ ง มี สู ง มากขึ้ น แนวคิดในการผลิตจะเปลี่ยนจาก Mass Production เป็น Mass Customization ดังนัน้ กระบวนการตัง้ แต่การ ออกแบบผลิตภัณฑ์ การผลิต และการส่งมอบ ต้องมี ความยืดหยุ ่น ปรับเปลี่ยนได้ คล่องตัว และรวดเร็ว ประการที่ 3 คุ ณ ภาพของสิ น ค้ า และบริ ก ารสู ง (High Quality) ตรงตามความต้องการของลูกค้า เพื่อให้ ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ ส่งผลให้ธุรกิจสามารถรักษา ฐานลูกค้าเดิมและขยายฐานลูกค้าใหม่ ดังนัน้ กระบวนการ ควบคุมวัตถุดิบและกระบวนการผลิตตลอดจนการบรรจุ ผลิตภัณฑ์ต้องได้รับการใส่ใจในรายละเอียดเป็นอย่างมาก ประการที่ 4 ความน่าเชื่ อถือของสินค้า (Reliability) รวมถึงวัตถุดิบ ตลอดจนกระบวนการผลิตต้องปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีท่ีมาที่ไปตามกฎหมายข้อบังคับ และข้อตกลงทุกประการ ประการที่ 5 มีความโปร่งใสและติดตามได้ (Transparent & Tracking) ทุกระบบคุณภาพต้องสามารถถูกตรวจสอบ มีการบันทึกประวัติทุกขัน้ ตอน เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อการ บริหารการผลิตและการติดตามของลูกค้า สินค้าทุกชิ้น ต้องถูกกาหนด Identity ไว้อย่างชัดเจน เพื่อสะดวกต่อ การติดตามและการสอบย่อย ประการที่ 6 การให้ความสาคัญต่อต้ นทุน (Cost Conscious) ทุ ก ขั ้ น ตอนของกระบวนการผลิ ต ต้ อ ง สามารถบอกปริ ม าณวั ต ถุ ดิ บ ระยะเวลาการผลิ ต ปริมาณพลังงานที่ใช้ และวิธีการขนส่ง เพื่อการควบคุม ต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 17 icn


การปรับตัวของอุ ตสาหกรรมการผลิตเพื่อให้ตอบ โจทย์ตามคุณลักษณะ 6 ประการที่กล่าวมาข้างต้นองค์กร ต้องดาเนินการปรับเปลี่ยนใน 4 ประเด็นสาคัญ คือ ประเด็นที่ 1 พัฒนากระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์ ให้ทันสมัยโดยให้ลูกค้ามีส่วนร่วมโดยตรง ประเด็นที่ 2 พัฒนากระบวนการผลิต ประเด็ น ที่ 3 ใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศในการสร้ า ง เครือข่ายการสื่อสารระหว่างพนักงานในองค์กรตัง้ แต่ระดับ ล่ า งสุ ด ไปจนถึ ง ระดั บ บนสุด รวมไปถึ งกลุ่ ม ลู ก ค้า ได้ อ ย่ า ง รวดเร็วและแม่นยา ประเด็น ที่ 4 พั ฒนาบุ คลากรให้สอดคล้ องกับ วิ ธี ปฏิบัติงานที่เปลี่ยนแปลงไปรวมถึงเทคโนโลยีท่ใี ช้ เพื่อก่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด

ดังนัน้ ทีมผู ้บริหารขององค์กรต้องดาเนินการ วางแผนจั ด สรรทรั พ ยากร และพนั ก งานทุ ก คนใน องค์กรต้องร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ ลงมือทาอย่าง จริงจัง ซึ่ งเป็นกุญแจสาคัญที่จะทาให้การปรับเปลี่ยน บรรลุเป้ าหมายและประสบความสาเร็จตามที่ตงั ้ ไว้ สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จะจั ด สั ม มนาหั ว ข้ อ “เทคนิ ค การบริ ห ารการผลิ ต ส าหรั บ หั ว หน้ า งาน ” ในวันศุกร์ท่ี 14 ธันวาคม พ.ศ. 2561 เวลา 09.00-16.00 น. ณ โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุ งเทพฯ ผู ้สนใจสมัคร เข้าร่วมอบรมสามารถลงทะเบียนออนไลน์เพื่อสารอง ที่ นั่ ง ได้ ท่ี http://icis.ic.or.th หากต้ อ งการสอบถาม ข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม กรุ ณ าติ ด ต่ อ Call Center โทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่อ 700

ที่ม า: www.tgi.or.th/upload/files/อุ ตสาหกรรมการผลิตยุ ค%204_0_วรินทร์.pdf

สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

เทคนิค การบริหารการผลิต

สาหรับ

หัวหน้างาน วันศุกร์ท่ี 14 ธันวาคม 2561 เวลา 8.30-16.00 น. ณ โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุ งเทพฯ icn 18

สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม Call Center โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700


สิทธิประโยชน์

ทางภาษีศลุ กากร

ข้อตกลงเขตการค้าเสรี คุณวัชระ ปิ ยะพงษ์ ที่ปรึกษาองค์กรเอกชนชัน้ นาด้านการนาเข้าและส่งออก

ในปั จจุ บัน ประเทศไทยเป็นสมาชิกของกลุ่มประเทศ ระบบการค้ า เสรี ท่ีมี ข้ อ ตกลงเรื่ อ งสิท ธิ พิ เ ศษทางภาษี ศุ ล กากร ผู ้ น าเข้ า ได้ รั บ การยกเว้ น หรื อ ลดหย่ อ นภาษี นาเข้าของประเทศ ตามข้อตกลงประเทศผู ้ส่งออกต้อง ออกหนังสือรับรองแหล่งกาเนิดสินค้า (Certificate of Origin) ที่ แ สดงว่ า สิ น ค้ า นั ้น ๆมี แ หล่ ง ก าเนิ ด สิ น ค้ า ใน ประเทศผู ้ ส่ ง ออก และผลิ ต ถู ก ต้ อ งตามกฏว่ า ด้ ว ย แหล่งกาเนิดสินค้า (Rules of Origin) เช่ น ข้อตกลง FTA (Free Trade Area/Agreement) ประเทศไทยได้ มี ก ารเจรจาข้ อ ตกลงและลงนาม ร่วมกันกับอีกประเทศคู่ค้าหรือกับกลุ่มประเทศคู่ค้า เช่ น FTA ไทย-เปรู คือ การเจรจาจนเกิดข้อตกลงระหว่างประเทศไทย และประเทศเปรูว่า สินค้าไทยประเภทใดบ้างที่สามารถส่งไป ขายที่ประเทศเปรูและประเภทใดบ้างที่เปรูไม่ต้องการนาเข้า ไปขายในประเทศ ในทางกลับกัน สินค้าเปรูประเภทใดบ้าง ที่สามารถส่งมาขายที่ประเทศไทยและประเภทใดบ้างที่ไทย ไม่ต้องการนาเข้ามาขายในประเทศ “แนวคิดของการมีนโยบายการค้าเสรี คือ ประเทศ จะเลื อ กผลิ ต สิ นค้ า ที่ ต นเองถนัด และมีต้ น ทุ น การผลิ ต ต่าที่สุด นั่นคือจะผลิตสินค้าที่คิดว่าประเทศตนได้เปรียบ เชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) มากที่สุด แล้วนาสินค้าที่ผลิตได้นีไ้ ปแลกเปลี่ยนกับสินค้าที่ประเทศตน ไม่ถนัดหรือเสียเปรียบ ในการผลิตโดยแลกเปลี่ยนสินค้า กั บ ประเทศอื่ น ที่ มี ค วามได้ เ ปรี ย บในการผลิ ต สิ น ค้ า นั ้น ดั ง นั ้ น ประเทศทั ้ ง สองก็ จ ะท าการค้ า ต่ อ กั น ได้ โ ดย ต่างฝ่ ายต่างสมประโยชน์กัน (Win-Win Situation)”

ตามข้อตกลง FTA ผู ้ส่งออกต้องออก Certificate of Origin Form E (C/O Form E) ให้กับผู ้นาเข้า เพื่อนาไป แสดงต่อศุลกากรขาเข้าในการลดหย่อนหรือยกเว้นอากร ข้อ ตกลง AFTA (ASEAN Free Trade Area) เขตการค้ า เสรี อ าเซี ย น หมายถึ ง การรวมกลุ่ ม เศรษฐกิจของประเทศสมาชิ กอาเซี ยนโดยมีเป้ าหมายเพื่อ ลดภาษี ศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่ม ซึ่ งประกอบด้วย 10 ประเทศ ได้ แ ก่ ไทย มาเลเซี ย อิ น โดนี เ ซี ย สิ ง คโปร์ ฟิ ลิ ป ปิ นส์ บรู ไน เวี ยตนาม ลาว เมี ย นมาร์ และกั ม พู ชา ได้ทาข้อตกลงให้ลดภาษี เหลือน้อยที่สุดหรือเป็น 0% และใช้ อั ต ราภาษี ป กติ ท่ี สู ง กว่ า กั บ ประเทศนอกกลุ่ ม การท า เขตการค้าเสรีอาเซียนนัน้ มีวัตถุประสงค์หลักมุ ่งในด้านการ เปิ ดเสรีด้านสินค้าโดยการลดภาษี และอุ ปสรรคที่ไม่ใช่ ภาษี ให้กันละกัน ซึ่ งในปั จจุ บัน มู ลค่าทางการค้าของไทยมีมูลค่า สูงใน เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ตามข้อตกลง AFTA ผู ้ส่งออกต้องออก Certificate of Origin Form D (C/O Form D) ให้กับผู ้นาเข้า เพื่อนาไป แสดงต่อศุลกากรขาเข้าในการลดหย่อนหรือยกเว้นอากร

19 icn


ข้ อ ตกลงเขตการค้ า เสรี อ าเซี ย น + ประเทศจี น ญี่ ปุ่ น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย (ASEAN + 6) ประเทศไทยอยู ่ในกลุ่ม ASEAN โดยผู ้ส่งออกและ ผู ้นาเข้าควรศึ กษารายละเอียดข้อตกลงเพื่อ • ลดอุ ปสรรคทางการค้าทัง้ ที่เป็นอุ ปสรรคทาง ภาษี และที่มิใช่ ภาษี • เพิ่มมู ลค่าในทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิก • เพิม่ โอกาสการส่งออก ได้ตลาดใหม่ และขยาย ตลาดเดิม • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • สร้างอานาจต่อรองทางเศรษฐกิจ การเมือง • ให้ความร่วมมือทางด้านศุลกากร การแลกเปลี่ยน ความรู้ ข้อมู ลการลักลอบ หลีกเลี่ยง และสินค้า อันตราย สินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ • พั ฒ นาศัก ยภาพทางเศรษฐกิ จ และดึ ง ดู ด การลงทุนจากต่างประเทศ • ให้ ค วามร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ อื่ น ๆและ เทคโนโลยีการผลิต • สร้างความสัมพันธ์ให้ใกล้ชิดยิ่งขึน้

ภาพจาก : http://www.granma.cu/mundo/2018-02-27/asean-la-sextaeconomia-mundial-27-02-2018-21-02-48 http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4091&filename=aseanknowledge

ผู ้ ส่ ง ออกและผู ้ น าเข้ า สามารถหาข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ท่กี รมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ว่าสินค้าที่ จะส่งออกหรือนาเข้านัน้ อยู ่ในข้อตกลงใดกับประเทศคู่ค้า หรื อ ไม่ หากเป็ น ข้ อ ตกลง FTA ประเทศไทยมี ก ารเจรจา ข้อตกลงไว้กับประเทศใดและกลุ่มประเทศไหนบ้าง และสินค้า นัน้ สามารถออก C/O Form E ได้หรือไม่ ถ้าออกเอกสาร ดังกล่าวไม่ ได้ก็ไม่มีหลักฐานนาไปแสดงต่อศุลกากรนาเข้า เพื่อขอลดหย่อนภาษี ได้ โดยรวมถึงประเทศในกลุ่ม ASEAN บวก 6 ประเทศด้วย

ดังนัน้ เมื่อคิดจะทาการค้าซื้อขายระหว่างประเทศ ควรเลือกคู่ค้าที่อยู ่ใประเทศหรือกลุ่มประเทศที่มีข้อตกลง การค้ า เสรี กั บ ประเทศไทย ซึ่ งผู ้ ค้ า ไทยควรศึ ก ษาและ ตรวจสอบข้อมู ลว่าประเทศไทยได้ทาข้อตกลงไว้กับประเทศ ไหนหรือกลุ่มประเทศใดบ้าง เพื่อเป็นการลดต้นทุนในเรื่อง ภาษี และขยายธุ รกิจได้อย่างมีประสิทธิผล

สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit)

การอุ ทธรณ์การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศุลกากร วันเสาร์ท่ี 15 ธันวาคม 2561 เวลา 8.30-16.00 น. ณ โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุ งเทพฯ icn

20


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

In-house Training: บริษัท ยู แทคไทย จากัด “วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ สาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน” <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด ฝึ กอบรม In-house Training ในหั ว ข้ อ “วิ ธี ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ เครื่ อ งจั ก รและอุ ปกรณ์ ส าหรั บ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน” ให้กับ บริษัท ยู แทคไทย จากัด เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2561 โดยได้รับเกียรติจาก คุณภาคภูมิ บู รณบุ ณย์ นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนชานาญ การพิเศษ และ คุณธิดาพันธ์ ซื่อสัตยาวงศ์ นักวิชาการส่งเสริม การลงทุ น ช านาญการ ส านั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น เป็น วิทยากรบรรยายให้ ความรู้เ กี่ย วกับ วิธีป ฏิบั ติ เกี่ ยวกับ การใช้ สิท ธิแ ละประโยชน์ ด้า นเครื่ องจั กรและอุ ปกรณ์ ตามมาตรา 28, 29 อีกทัง้ เปิ ดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมอบรมซักถาม ประเด็นปั ญหาต่างๆด้วย

สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

เกณฑ์การคานวณกาไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษี อากร

พร้อมการจัดทางบการเงินสาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

วั น พุ ธที่ 19 ธั น วาคม 2561 เวลา 8.30-16.30 น. ณ โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุ งเทพฯ

FAQ 108

คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น www.faq108.co.th แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น

2 1 icn


พลัง จิตใต้สานึก

ของขวัญคือความสาเร็จ เส้าหลิน

ใกล้หยุ ดยาวปี ใหม่แล้วจะไปเที่ยวไหนดีนะ? ...จะไปต่างประเทศดี มัย้ อย่างเช่ น เกาหลี ญี่ปุ่ น มาเก๊า ฯลฯ หรือจะเที่ยวในไทย สังสรรค์ในค่าคืนเคานต์ดาวน์ สัก 3 วัน 3 คืน วันเวลาผ่านไปกับ 365 วันในปี เก่า ย่างเข้าสู่ปีใหม่ 2562 หลายท่านคงเลือกที่จะพักผ่อนสักนิด มอบของขวัญให้ตนเอง สั กหน่ อ ย หลั งจากเหน็ ด เหนื่ อ ยมาตลอดทั ้ง ปี รวมถึ ง วางแผนชี วิ ต ที่จ ะเริ่ ม ต้น ท าสิ่ ง ใหม่ ๆให้ ปีใหม่นี้ดี กว่ า ปี เก่ า ซึ่ งผู ้ท่ีประสบความสาเร็จในหน้าที่การงานหรือการดารงชีวิต ส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นนักธุ รกิจ นักกวี นักประพันธ์ มักจะ รังสรรค์ผลงานดีๆได้ในช่ วงเวลาแห่งการพักผ่อนเสมอ แล้วมันเกิดขึน้ ได้อย่างไร? ความสาเร็ จ ที่ สั่ ง ได้ ด้ ว ยจิ ต ใต้ สานึ ก หลายท่านคงคุ้นเคยกับภาพภูเขานา้ แข็งที่อธิบาย ถึงทฤษฎของซิกมันด์ ฟรอยด์ บิดาแห่งจิตวิเคราะห์ ซึ่ งได้ แบ่ ง จิ ต ของคนเราออกเป็ น สามระดั บ คื อ จิ ต ส านึ ก (Conscious) จิตกึ่งสานึก (Preconscious) และจิตใต้สานึก (Unconscious) โดยจิตใต้สานึก (Unconscious ) เป็นส่วน ที่ อ ยู ่ ลึ ก กว่ า จิ ต ส านึ ก แต่ อ าจจะแสดงออกมาชัด เจน ในบางครัง้ เป็นจิตที่ว่างจากอารมณ์และความคิด ดังนัน้ จิ ต ใต้ ส านึ ก จึ ง มี อ านาจสร้ า งสรรค์ ส่ ว นจิ ต ส านึ ก ไม่ มี อานาจการสร้างสรรค์ มีหน้าที่เพียงส่งความคิดเรื่องราว ต่างๆที่ประทับใจผ่านไปให้จิตใต้สานึกเท่านัน้ หากจิตสานึก มิได้พิจารณาเหตุผลหาข้อมู ล ที่ถูกต้อง จิตใต้สานึกก็จ ะ ได้ รั บ ข้ อ มู ล ไม่ ถู กต้ อ ง อ านาจการสร้ า งสรรค์ ก็ พ ลอย ผิดพลาดไปด้วย icn

22

การสั่ง สมพลั ง แห่ ง ความเชื่ อ มั่น ความศรั ท ธา ความรู้ ความสามารถ และการนับ ถื อตนเอง เป็ น ดั่ง เข็มทิศที่ชี้นาให้เกิดการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆ ในชีวิตให้ดีขึ้น เช่ น คนมีจิตใต้สานึกด้านบวกจะเป็นคนที่ มี เ ป้ าหมายและมี แ ผนที่ ชี วิ ต สามารถกระตุ้ น ตนเองให้ ลงมือ ทางานตามแผนต่างๆด้ว ยความเพี ยรพยายาม สามารถโน้ ม น้ า วตนเองให้ ฟั นฝ่ าอุ ปสรรคปั ญหา เพื่ อ ไปสู่ จุ ดมุ ่ งหมายจนประสบความส าเร็ จ ได้ ซึ่ ง ต้ อ ง อาศัย 4 การกระทาที่ต้องทาซ้ าบ่อยๆ คือ 1) การคิด เป็นการคิดบวกมากกว่าคิดลบ เพราะ จะช่ วยเสริมพลังมากกว่าการบัน่ ทอนจิตใจตนเอง


2) การพู ด โบราณท่ า นว่ า พู ดดี เ ป็ น ศรี แ ก่ ตั ว เพราะคนที่ ไ ด้ รั บ ฟั ง จะเกิ ด ความเข้ า ใจและศรั ท ธา มากกว่าความอึดอัด 3) การรู้สึก แสดงออกถึงความจริงใจ เอาใจเขา มาใส่ใจเรา ย่อมได้รับความไว้วางใจ ทาให้เป็นคนน่าคบหา 4) การเคลื่ อ นไหว แสดงกิ ริ ย าท่ า ทางอย่ า ง เหมาะสม อ่อนน้อม โดยมีประเด็นที่ต้องใช้ ในการทบทวน และถามตนเองว่ า สิ่ ง ที่ ท าอยู ่ ปั จจุ บั น นั ้น ปรั บ เปลี่ ย น ได้หรือไม่ ดังนี้ • ก า จั ด (Eliminate) อ อ ก ไ ป บ้ า ง ไ ด้ ไ ห ม ? หมายถึง การตัดขัน้ ตอนที่ไม่จาเป็นออกไป • รวมกั น (Combine) ได้ ห รื อ เปล่ า ? หมายถึ ง การรวมขัน้ ตอนเข้าด้วยกัน เพื่อประหยัดเวลา หรือแรงงานในการทางาน • จัดใหม่ (Rearrange) ดีกว่าหรือไม่ ? หมายถึง การจัดลาดับงานใหม่ให้เหมาะสม • ทาให้ง่าย (Simplify) ก็ดีนะ! หมายถึง ปรับปรุ ง วิ ธี ก ารท างาน หรื อ สร้ า งอุ ปกรณ์ ช่ วยให้ ทางานได้ง่ายขึน้ Keep it simple…

อ้างอิง: https://www.novabizz.com/NovaAce/Subconscious.htm ภาพจาก: https://manuelmartinezcano.org/2015/10/30/pensar-es-sano-25/ http://deconstructingdiabetes.com.au/news/2017/3/17/simply-simplify

จะเห็นได้ว่าการสร้างพลังให้จิตใต้สานึกทาให้เกิด สิ่ ง ที่ ส ร้ า งสรรค์ ข้ า งต้ น ผู ้ ท่ี ป ระสบความส าเร็ จ ยั ง มี แนวทางปฏิบัติท่สี าคัญ 10 แนวทาง ในการกระตุ้นให้เกิด การปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง คือ 1. ต้องชอบเรียนรู้ อ่านหนังสือ และแลกเปลี่ย น ทัศนคติกับผู ้อื่น 2. ต้องชอบฝั น หรือที่เรียกว่าวิสัยทัศน์ แต่ไม่ควร ฝั นมากจนเกินไป 3. ต้องอดทนและมีความพยายาม 4. ต้ อ งมี ทั ศ นคติ ท่ี เ ป็ น ผู ้ ช นะ คื อ มองโอกาส ทุกครัง้ ที่มีปัญหา อย่ามองเห็นปั ญหาในทุกโอกาส 5. ยึดคุณธรรมและเมตตาธรรม 6. ต้องคิดก่อนและเริ่มต้นก่อน 7. รู้ จั ก แบ่ ง เวล า เพราะการได้ เ ปรี ย บหรื อ เสียเปรียบอยู ่ท่กี ารบริหารเวลา 8. ต้องเอาใจใส่ครอบครัว 9. ต้ อ ง ป รั บ ตั ว อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม ไ ด้ ใ น ทุ ก สถานการณ์ 10. ต้องเปิ ดใจกว้าง ไม่ ใจแคบเห็นแก่ตัว ที่สาคัญ ต้องยอมเสียเปรียบบ้าง ดังนัน้ หลังจากหยุ ดพักผ่อนส่งท้ายปี เก่าต้อนรับ ปี ใหม่ กั น มาแล้ ว ท่ า นลองเสริ ม พลั ง ให้ แ ก่ จิ ต ใต้ ส านึ ก จนกลายเป็นการกระทาแบบอัตโนมัติ ย่อมเป็นการมอบ ของขวัญที่ไม่สามารถหาซื้อได้ให้กับตนเอง แล้วชีวิตท่าน ก็จะสามารถฟันฝ่ าได้ทุกสถานการณ์ และบรรลุเป้ าหมาย ที่ตงั ้ ไว้ได้เร็วขึน้ ขอให้ ทุ ก ท่ า นมี จิ ต ใจสดใสตลอดปี และตลอดไป สาเร็จทุกสิ่งในปี ใหม่ด้วยเทอญ..

อีกหนึ่งช่ องทางชาระค่าบริการผ่านระบบ

QR Code

**สาหรั บ การชาระเงิ น สดที่ ส มาคมเท่ า นั ้น ** สมาคมสโมสรนักลงทุนได้ เ พิ่มช่ องทางการชาระค่าบริการผ่านระบบ QR Code โดยสามารถชาระผ่าน Mobile Banking ได้ทุกธนาคาร สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย ไม่มียอดขัน้ ตา่ ในการชาระ

เปิ ดให้ บ ริ ก ารแล้ ว วั น นี้ ณ เคาน์ เ ตอร์ ชาระค่ า บริ ก าร 23 icn


การตัดบัญชี แบบไร้เอกสาร

มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

Q : หากบริ ษั ท ได้ ท าการขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ กั บ ลู ก ค้ า ที่ มี ก ารส่ ง ออก อยากทราบว่ า ทางบริ ษั ท จะน าใบขนสิ น ค้ า ขาออกที่ ลู ก ค้ า ท าการส่ ง ออกมาตั ด บั ญ ชี ไ ด้ ห รื อ ไม่ และต้ อ งด าเนิ น การ อย่างไร (บริษัทเป็นการส่งออกทางอ้อม ขายสินค้าให้เฉพาะลูกค้าในเครือ) A : กรณี บริษัท A ผลิตสินค้าจาหน่ายให้ บริษัท B จากนัน้ บริษัท B นาไปส่งออก 1. กรณี บ ริษัท B เป็ นบริษั ทที่ไ ด้รับส่ ง เสริ มและได้รับ สิทธิต ามมาตรา 36 บริษั ท B สามารถยื่ น ตัดบัญชีวัตถุดิบ และโอนสิทธิตัดบัญชีวัตถุดิบ (report-V) ให้บริษัท A นาไปตัดบัญชีบัญชีต่อไป 2. กรณี บริษัท B เป็น Trader ที่ไ ม่ ได้รับ ส่ง เสริมจาก BOI บริษัท B ต้องระบุ การใช้ สิทธิ BOI ในใบขนสินค้าขาออก และระบุ เลขนิติบุคคล 13 หลักของบริษัทที่จะโอนสิทธิตัดบัญชีในช่ อง remark ของ สินค้าแต่ละรายการในใบขนสินค้าขาออก และระบุ ชื่ อสินค้าและโมเดลให้ตรงกับสูตรการผลิตของบริษัท ที่จะโอนสิทธิตัดบัญชีให้ 3. กรณีบริษัท B เป็นโรงงานผลิตที่ไม่ได้รับส่งเสริมจาก BOI ไม่สามารถโอนสิทธิใบขนสินค้าขาออก ให้กับบริษัท A ได้ ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ดมามีลักษณะนิสัย ความถนัด  คนเราเกิ และความชอบส่วนตัวที่แตกต่างกัน

ควรเรียนรู้ตัวเองว่า อะไรเป็นจุ ดแข็ง อะไรเป็นจุ ดอ่อน ควรเลือกวิธีการลงทุน ที่มีความสอดคล้องกับจุ ดแข็งของตัวเอง

คุณวิชยั ศรีวัฒนประภา อดีตประธานกรรมการกลุ่ม บริษัท คิง เพาเวอร์ ที่มา>> https://www.springnews.co.th/column/online-report/373040 ภาพจาก>> https://pantip.com/topic/35983161

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก

www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร 0 2936 1529

icn 24


ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ

@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ

Add friends

IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย

ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !


สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น บริ ก ารจั ด หลั ก สู ต ร

IN-HOUSE TRAINING  ประหยัดค่าใช้ จ่าย  ออกแบบเนือ้ หาเฉพาะองค์กร แนะนาหลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน ชื่อหลักสูตร

จานวน (วัน)

ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท)

25 ท่าน

35 ท่าน

1 ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

2 วิธีการขอเปิ ดดาเนินการ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

3 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

4 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1/2 วัน

23,000

25,000

5 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

หมายเหตุ : • อัตราค่าธรรมเนียมรวมค่าวิทยากร เอกสารการฝึ กอบรม ค่าเดินทาง และค่าดาเนินการ • ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิม่ 7% และค่าที่พัก (ถ้ามี) • อัตราค่าธรรมเนียมที่ระบุ ในเอกสาร เป็นอัตราประมาณการ ซึ่ ง อาจมีก ารเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ขึ้นอยู ่กับ รูปแบบการฝึ กอบรม จานวนผู ้เข้าอบรม ประเภทวันที่จัดงาน จานวนวัน พืน้ ที่จัดงาน รายละเอียดเพิ่มเติมของเนือ้ หา และอื่นๆ • สมาคมขอสงวนสิทธิห้ามบันทึกภาพและ/หรือเสียงในการอบรมทุกหลักสูตรทุกกรณี • ค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200%

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม  0 2936 1429 ต่อ 207 โทรสาร 0 2936 1441-2

website : www.ic.or.th

e-mail : is_inhouse@ic.or.th


แนะนาหลักสูตรด้านศุลกากร และอืน่ ๆ ชื่อหลักสูตร

จานวน (วัน)

ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท) 25 ท่าน

35 ท่าน

1

เกณฑ์การคานวณกาไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดทางบการเงินสาหรับ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

1

40,000

43,000

2

กฎหมายศุลกากรและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร

1

40,000

43,000

3

สิทธิประโยชน์ศุลกากรภายใต้ AEC

1

40,000

43,000

4

สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอด อากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone)

1

40,000

43,000

5

กฎว่าด้วยถิน่ กาเนิดสินค้า (Rules of Origin)

1

40,000

43,000

6

พิธีการทางศุลกากรระบบใหม่และสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากรระบบอิเล็กทรอนิกส์

2

78,000

85,000

7

การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุ ทรณ์การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศุลกากร

1

47,000

50,000

8

การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ และ Incoterm®2010

1

45,000

48,000

9

ระบบการวางแผนจัดซื้อ

1

51,000

54,000

10

การบริหารการจัดซื้อ จัดเก็บ และจัดส่ง

1

45,000

48,000

11

เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า

1

45,000

48,000

และอีกหลากหลายหลักสูตร เพือ่ พัฒนาองค์กร และบุ คลากร • • • • • • • • •

หลักสูตรด้านบริหารการผลิต อาทิ 5ส TPM TQM Kaizen หลักสูตรด้านบัญชีและภาษี หลักสูตรด้านการนาเข้า-ส่งออก หลักสูตรด้านกฎหมาย อาทิ กฎหมายเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ หลักสูตรด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน หลักสูตรด้านบริหารจัดการองค์กร (Management) หลักสูตรด้านการบริหารทรัพยากรบุ คคล (Manpower) หลักสูตรด้านการตลาด (Marketing) ฯลฯ


ตารางสัมมนาประจ�ำเดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561 วันสัมมนา

ชื่อหลักสูตร

สถานที่จัด

วิทยากร

วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 3/2561 การใช้สทิ ธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 3/2561 วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 5/2561 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ ได้รับการส่ง เสริมการลงทุน ครั้งที่ 9/2561 วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 6/2561 (รับวุฒิบัตร) วิ ธี ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ กิ จ การที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 9/2561 ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบ และแนวทางปฏิบัติส�ำหรับผู้จัดท�ำบัญชีของกิจการที่ได้รับส่งเสริมการ ลงทุน ครั้งที่ 5/2561 (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) วิ ธี ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ วั ต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ กิ จ การที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 10/2561 วิ ธี ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ กิ จ การที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 10/2561

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)

วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน

โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)

อัตราค่าสัมมนา สมาชิก

บุคคลทั่วไป

หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน 3 พ.ย. 2561 (09.00-12.00 น.) 4 พ.ย. 2561 (09.00-12.00 น.) 10 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 10 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 16-18 พ.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 24 พ.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 24-25 พ.ย. 2561 (09.00-17.30 น.) 15 ธ.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 22 ธ.ค. 2561 (09.00-17.00 น.)

โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)

วิทยากรจาก BOI

1,605

1,926

วิทยากรจาก BOI

1,605

1,926

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

5,350

6,420

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี

4,280

5,350

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน

2,675

3,745

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

คุณธเนศ เครือโสภณ

3,745

4,815

วิทยากรจากกรมศุลกากร

5,350

6,206

ดร.อิทธิกร ข�ำเดช อาจารย์สมพร ไพสิน

5,029

5,885

คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี

3,210

4,280

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณเมธี แสงมณี

2,996

3,852

คุณก�ำพล กิจชระภูมิ

3,745

4,280

วิทยากรจากกรมศุลกากร

2,996

3,852

วิทยากรจากกรมศุลกากร

2,996

3,852

หลักสูตรการบริหารจัดการ 3 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 6 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 8 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 10-11 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 13-14 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 16 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 17 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 20 พ.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 23 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 24 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 25 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 28 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 29 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 30 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 13 ธ.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 14 ธ.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 15 ธ.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 19 ธ.ค. 2561 (09.00-16.30 น.)

กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ

โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)

การตีความกฎข้อบังคับเกีย่ วกับเลตเตอร์ออฟเครดิตเพือ่ การค�ำ้ ประกัน ในการค้าระหว่างประเทศ (INTERNATIONAL STANDBY PRACTICES 1998 (ISP 98))

โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)

พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน ฉบับปี 2017 INCOTERMS®2010 ข้อบังคับทางการค้าระหว่างประเทศ ทักษะส�ำคัญส�ำหรับผู้จัดการยุคใหม่ การน�ำเข้า-ส่งออกและสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรภายใต้กฎหมาย ศุลกากรฉบับใหม่ (e-Import-e-Export & e-Tax Incentive)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับความผิดทางศุลกากรตามกฎหมายใหม่ 2560 ข้อผิดพลาดทางด้านบัญชีของกิจการที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) การสร้างวัฒนธรรม Kaizen DNA กฎว่าด้วยถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Rule of Origin) สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอดอากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) ร่าง พ.ร.บ. “Transfer Pricing” การเตรียมความพร้อมและการป้องกัน กรณีถูกตรวจสอบ (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA) ขั้นตอนการขออนุญาตท�ำงานของชาวต่างชาติในประเทศไทย เจาะลึกการตีความ ISBP No.745E (INTERNATIONAL STANDARD BANKING PRACTICE) ส�ำหรับการตรวจเอกสารส่งออกและน�ำเข้า ภายใต้เลตเตอร์ออฟเครดิต การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศและ INCOTERMS®2010 เทคนิคการบริหารการผลิตส�ำหรับหัวหน้างาน การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การ อุทธรณ์ การประเมินอากร ความผิด และโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศลุ กากร เกณฑ์การค�ำนวณก�ำไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดท�ำ งบการเงินส�ำหรับกิจการที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่าง การขออนุมัติ CPD&CPA)

โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)

คุณเมธี แสงมณี

3,424

4,280

คุณวิรดา ยูวะเวส พ.ต.อ. หญิง นัฐวินุศ หัสดินทร ณ อยุธยา

2,996

3,852

โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)

ดร.อิทธิกร ข�ำเดช

3,210

4,280

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

วิทยากรจากกรมศุลกากร

4,280

5,136

คุณวิชัย มากวัฒนสุข

2,996

3,852

โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)

คุณเมธี แสงมณี

2,996

3,852

วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน

1,605

2,675

วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน

1,605

2,675

วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน

1,070

1,070

วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน

1,605

2,675

วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน

1,605

2,675

วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน

1,070

1,070

หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT Online 25 พ.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 11 พ.ย. 2560 (09.00-17.00 น.) 12 พ.ย. 2560 (09.00-16.00 น.) 23 ธ.ค. 2561 (09.00 -17.00 น.) 16 ธ.ค. 2561 (09.00-17.00 น.) 17 ธ.ค. 25661 (09.00-16.00 น.)

วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักรด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (eMT Online) ครั้งที่ 9/2561 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (RMTS) ครั้งที่ 9/2561 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ IC Online System ครั้งที่ 9/2561 วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักรด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (eMT Online) ครั้งที่ 10/25661 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (RMTS) ครั้งที่ 10/2561 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ IC Online System ครั้งที่ 10/2561

ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)

หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจสมัครเข้าร่วมอบรม สามารถลงทะเบียนออนไลน์เพื่อส�ำรองที่นั่งได้ที่ http://icis.ic.or.th หรือผ่านทาง www.ic.or.th หากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ Call Center โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 โทรสาร 0 2936 1441-2


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.