ICeNewsletter_December2020

Page 1

Vol.19 / December 2020 กระตุ้นการลงทุนส่งท้ายปี 63 ผลักดันไทยเป็นศูนย์กลางด้านสุขภาพ การลงทุน และฐานการผลิตสาคัญของโลก Incoterms®2020 เป็นกฎของหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce)

บีโอไอ ปรับโครงสร้างใหม่ เตรียมเปิดตัวหน่วย (Customer Service Unit)

CSU

เพิ่มประสิทธิภาพการบริการ


“ถ้าคุณหาทางออกไม่เจอ”

Single Window for

Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 312 patchareek@ic.or.th

www.ic.or.th


04

บีโอไอปรับโครงสร้างใหม่ เตรียมเปิ ดตัว หน่วย CSU (Customer Service Unit) เพิม่ ประสิทธิภาพการบริการ

12 ภาชนะบรรจุ ที่ใช้หมุ นเวียน

07 10

กระตุ้นการลงทุนส่งท้ายปี 63 ผลักดันไทยเป็นศูนย์กลางด้านสุขภาพ การลงทุน และฐานการผลิตสาคัญของโลก

18 23

Incoterms®2020 เป็นกฎของหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce)

ที่ปรึกษา • กรองกนก มานะกิจจงกล • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพท์ : 0 2936 1429 ต่อ 201 e-mail : icn@ic.or.th

Insight ระบบฐานข้อมู ล RMTS Online (5)

27

ธุ รกิจ รู ปแบบใหม่ และ การจัดการโซ่ อุ ปทานทัน สมัย (2)

ธุ รกิจ เห็น กาไรด้ว ย บัญชี ต้น ทุน การผลิต

ในช่ วงที่ ส ถานการณ์ โควิ ด -19 แพร่ ร ะบาด ส่ ง ผลให้ อุ ตสาหกรรมด้ า นสุ ข ภาพและ อนามัยบู มขึน้ มาอย่างคึกคัก ทัง้ กิจการที่เปิ ดใหม่ และกิจการที่ดาเนินการอยู ่แล้ว ต่างมีการ ผลิตเพิ่มขึน้ เป็นหลายเท่าตัว รวมถึงการผลิตอุ ปกรณ์ด้านการแพทย์ เช่ น หน้ากากอนามัย ถุงมือ แอลกอฮอล์ทาความสะอาดมือ และอุ ปกรณ์ทาความสะอาดร่างกายอื่น ๆ ที่เติบโต ขึน้ มียอดการสัง่ ซือ้ เข้ามามากมาย นอกจากนั ้ น ยั ง มี กิ จ การที่ ค รอบคลุ ม ด้ า นสุ ข ภาพ ไม่ ว่ า จะเป็ นโรงพยาบาล สถานพยาบาลผู ้สูงอายุ ศูนย์ดูแลผู ้สูงอายุ คลินิกดูแลสุขภาพตัง้ แต่หัวจรดเท้า เป็ น ต้น ต่างก็ได้รับความสนใจในการเข้าใช้บริการมากขึน้ ส่งผลให้กิจการเติบโต มีผลประกอบการที่ดี สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ กากับดูแลด้านการส่งเสริม การลงทุ น เห็ น ความส าคั ญ และต้ อ งการผลั ก ดั น ให้ ไ ทยเป็ น ศู น ย์ ก ลางสุ ข ภาพที่ ส าคั ญ ในภูมิภาค จึงได้ออกมาตรการส่งเสริมการลงทุนในกิจการการแพทย์และสุขภาพ โดยมีการ เปิ ดประเภทกิจการที่ให้การส่งเสริมการลงทุนเพิ่ม ได้แก่ กิจการโรงพยาบาลผู ้สูงอายุ ได้รับ สิท ธิ ป ระโยชน์ ย กเว้ น ภาษี เงิ น ได้ นิ ติบุ คคล เป็ น เวลา 5 ปี กิจ การศู น ย์ ดู แ ลผู ้ สูง อายุ หรื อ ผู ้มีภาวะพึ่งพิง ได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เป็นเวลา 3 ปี และกิจการวิจัย ทางคลินิก ได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เป็นเวลา 8 ปี โดยไม่จากัดวงเงิน มาตรการนี้ ถื อ เป็ น มาตรการกระตุ้ น การลงทุ น โค้ ง สุ ด ท้ า ยก่ อ นสิ้น ปี 2563 ซึ่ ง นอกเหนือจากการส่งเสริมด้านกิจการสุขภาพแล้ว ยังมีมาตรการด้านอื่น ๆ ได้แก่ การ ส่ง เสริ ม การลงทุ น ในประเภทกิ จ การศูน ย์จั ด หาจัด ซื้อวั ต ถุดิ บ ชิ้ น ส่ วน และส่ว นประกอบ ระหว่ า งประเทศ ปรั บ ปรุ ง ขอบข่า ยและสิท ธิ ป ระโยชน์ ข องประเภทกิ จ การผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นและ อุ ปกรณ์สาหรับยานพาหนะไฟฟ้ าเพิ่มเติม ตลอดจนปรับปรุ งมาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อ ปรั บปรุ งประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต โดยจะเปลี่ย นชื่ อ เป็ น “มาตรการปรับ ปรุ ง ประสิท ธิ ภาพ” เพื่อให้ครอบคลุมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการ เป้ า หมายส าคั ญ ของมาตรการดั ง กล่ า ว เพื่ อ ผลั ก ดั น ไทยให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการค้ า การลงทุน และเป็นฐานการผลิตสาคัญของโลก กระตุ้นให้เกิดการลงทุนในประเทศเพิ่มขึน้ สมาคมสโมสรนักลงทุน พร้อมให้การสนับสนุน ทุกประเภทกิจการที่ได้รับส่งเสริม การ ลงทุน ทัง้ กิจการด้านสุขภาพ กิจการด้านฐานการผลิต ด้วยบริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ผ่านการให้บริการแบบออนไลน์ของสมาคม ฯ ตลอดจนการให้บริการด้านหลักสูตรฝึ กอบรม และสัมมนาที่หลากหลายและเหมาะสมกับทุกประเภทกิจการ ทัง้ ด้านบริหารจัดการ และการ พั ฒ นาบุ คลากร โดยผู ้ ท่ี ส นใจสามารถดู ร ายละเอี ย ดหลั ก สู ต รและเลื อ กลงทะเบี ย น เพื่อสมัครร่วมสัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ี โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่ อ 205-209 หรื อ ติ ด ตามข้ อ มู ลข่ า วสารของสมาคม ฯ ได้ ท าง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3

icn


บีโอไอ ปรับโครงสร้างใหม่ เตรียมเปิดตัวหน่วย

CSU

(Customer Service Unit) เพิ่มประสิทธิภาพการบริการ คุ ณโสมวิ ฎ า เกยุ ร าพั นธุ์ กองยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนงาน สานั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น

เมื่ อ สภาพ แว ด ล้ อ มการล งทุ น แล ะเทคโนโล ยี เปลี่ยนแปลงอยู ่เสมอ บีโอไอจึงมีการปรับโครงสร้างภายใน องค์ กรใหม่ เพื่อ ให้สอดคล้อ งกับ ภารกิจ ในการเร่งส่งเสริ ม การลงทุนในอุ ตสาหกรรมเป้ าหมาย โดยภายใต้โครงสร้างใหม่นี้ กองบริ ห ารการลงทุ น 1-5 จะปรั บ เป็ น กองส่ ง เสริ ม การ ลงทุน 1-4 ได้แก่

• กองส่งเสริม การลงทุน 1 ดูแลประเภทกิจการใน อุ ตสาหกรรมเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ และการแพทย์ เช่ น การเกษตรและแปรรู ป อาหาร การผลิ ต อาหารทางการ แพทย์ การผลิตเชื้อเพลิงจากผลผลิตการเกษตร เศษวัสดุ หรือขยะ เป็นต้น • กองส่งเสริมการลงทุน 2 ดูแลประเภทกิจการใน อุ ตสาหกรรมที่ใช้ เทคโนโลยีขัน้ สูง เช่ น การผลิตเครื่องจักร อุ ปกรณ์ อั ต โนมั ติ ท่ี มี ก ารออกแบบทางวิ ศ วกรรม การ ประกอบหุ่นยนต์หรืออุ ปกรณ์อัตโนมัติ ชิ้นส่วน การผลิต อุ ปกรณ์ ส าหรั บ รถยนต์ ไฮบริ ด ปลั ๊ก อิ น ไฮบริ ด และ แบตเตอรี่ เป็นต้น • กองส่งเสริมการลงทุน 3 ดูแลประเภทกิจการใน อุ ตสาหกรรมพื้น ฐานและอุ ตสาหกรรมสนั บสนุน เช่ น แร่ โล ห ะ แ ล ะวั ส ดุ เ ค มี ภั ณ ฑ์ แล ะ ปิ โต ร เ คมี พ ลั ง ง า น สา ธา ร ณู ป โ ภค แ ล ะ สิ่ งแ ว ด ล้ อม กา ร พั ฒ น าพื้ น ที่ อุ ตสาหกรรม เป็นต้น

• กองส่ ง เสริ ม การลงทุ น 4 ดู แ ลประเภทกิ จ การ ในอุ ตสาหกรรมดิจิทัล สร้างสรรค์และบริการที่มีมูลค่าสูง เช่ น ดิจิทัล เมืองอัจฉริยะ โลจิสติกส์ การบริการเฉพาะทาง การท่ อ งเที่ ย ว อุ ตสาหกรรมสร้ า งสรรค์ อุ ตสาหกรรม บริการอื่น ๆ icn 4

ก ร ณี โ ด ย รั บ ผิ ด ช อ บ ง า น ค า ข อ รั บ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม งานวิ เ คราะห์ โ ครงการ งานสิ ท ธิ ป ระโยชน์ (ด้ า น เครื่องจักร วัตถุดิบ ที่ดิน) ในอุ ตสาหกรรมที่แต่ละกอง ดูแล นอกจากนี้ ยั ง เพิ่ ม กองติ ด ตามและประเมิ น ผล การลงทุน 1-2 เพื่อติดตามการดาเนินงานของโครงการ ที่ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น ให้ เ ป็ น ไปตามเงื่ อ นไขการ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น รวมถึ ง ประเมิ น ผลการลงทุ น ของ โครงการที่ได้รับการส่งเสริมด้วย ซึ่ งจะสามารถอานวย ความสะดวกแก่ผู้รับบริการได้ดียิ่งขึ้น โดยกองติดตาม และประเมินผลการลงทุน 1 รับผิด ชอบงานตรวจสอบ ติ ด ตาม และประเมิ น ผลการลงทุ น ของโครงการใน อุ ตสาหกรรมที่ อ ยู ่ ใ นความดู แ ลของกองส่ ง เสริ ม การ ลงทุน 1 - 2 และกองติดตามและประเมินผลการลงทุน 2 รั บ ผิ ด ชอบงานตรวจสอบ ติ ด ตาม และประเมิ น ผล การลงทุนของโครงการในอุ ตสาหกรรมที่อยู ่ในความดูแล ของกองส่งเสริมการลงทุน 3 - 4


ส าหรั บ งานด้ า นการส่ ง เสริ ม และเพิ่ ม ความเข้ ม แข็ ง ให้ แ ก่ ผู้ ป ระกอบการไทย บี โ อไอก็ ไ ด้ จั ด ตั ้ง กองพั ฒ นา ผู ้ประกอบการไทย เพื่อดูแลด้านการสร้างเครือข่ายและเชื่อมโยงการลงทุนระหว่างผู ้ประกอบการ ไม่ว่าจะเป็นผู ้ท่ีอยู ่ใน ประเทศไทยหรือต่างประเทศ ได้แก่ งานส่งเสริมการลงทุนของนักลงทุนไทยในต่างประเทศ การกาหนดกลยุ ทธ์การพัฒนา ผู ้ประกอบการไทย การสร้า งเครื อข่า ยและเชื่ อ มโยงการลงทุ น การจั ดกิจกรรมพัฒนาผู ้ประกอบการไทย และการ สนับสนุนให้เกิดการใช้ วัตถุดิบภายในประเทศเพิ่มมากขึน้

5 icn


และเร็ ว ๆ นี้ บีโ อไอจะเปิ ดให้บริ การ CSU (Customer Service Unit) เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการให้ บ ริ ก ารและอ านวย ความสะดว กให้ แ ก่ ผู้ ป ระกอบการแล ะ นักลงทุนมากขึ้น โดยจะมีการเพิ่มบุ คลากร รองรับการติดต่อผ่านระบบโทรศัพท์ มีระบบ การนัดหมายออนไลน์เพื่อขอรับคาปรึกษา การให้บ ริการคาปรึ กษาในรู ปแบบออนไลน์ และการให้บริการจุ ดรับ-ส่งเอกสารเบ็ดเสร็จ ณ จุ ดเดียวอีกด้วย

การปรับโครงสร้างดังกล่าวนี้มีผลตัง้ แต่เดือนตุลาคม 2563 เป็นต้นไป และท่านผู ้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ของบีโอไอได้ทงั ้ ช่ องทางเว็บไซต์ www.boi.go.th เฟซบุ ๊กและไลน์ BOI News หรือสอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ีโทรศัพท์ หมายเลข 0 2553 8111 กด 1 หรือ อีเมล head@boi.go.th เพราะเมื่อโลกหมุ นไป บีโอไอเราหมุ นตาม

สนใจหลักสูตร สแกนเลย

สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ

เครื่องจักร และ อุปกรณ์ สาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ภาพจาก: https://twitter.com/ThaiPBS/status/ 976673405733777409/photo/1 icn 6

เสาร์ ที่ 12 ธั น วาคม 2563 ณ โรงแรม ไอบิ ส สไตล์ กรุ ง เทพฯ รั ช ดา


กระตุ้นการลงทุนส่งท้าย ปี

63

ผลักดันไทยเป็นศูนย์กลางด้านสุขภาพ

การลงทุน และฐานการผลิตสาคัญของโลก มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ในปี 2563 ทั่วโลกต่างต้องประสบกับการแพร่ระบาด ของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ที่สร้างความสูญเสีย ทัง้ ชีวิตที่จากไป และการใช้ ชีวิตประจาวันที่ต้องปรับตัวในการอยู ่ร่วมกันของ คนในสังคม จนเกิดเป็นวิถีชีวิตรู ปแบบใหม่ท่ีเรียกว่า New Normal แต่ในทางกลั บกันสถานการณ์นี้ได้แ สดงให้ เห็นถึ ง ความสามารถด้านการแพทย์ของแต่ละประเทศ โดยเฉพาะ ต้องให้คาชื่นชมกับบุ คลากรทางการแพทย์ของประเทศไทย ที่ เสี ย สละ ทุ่ ม เท ในการเข้ ม งวดควบคุ ม สถานการณ์ แ พร่ ระบาดได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมถึ ง ด้ า นการวิ จั ย และ พัฒนาโดยทีมบุ คลากรที่เกี่ ยวข้ องเพื่ อให้ ได้วัค ซี นป้ องกั น ไวรัสชนิดนี้ ซึ่ งจะต้องมีการประสานความร่วมมือกันระหว่าง ผู ้เชี่ยวชาญในแต่ละประเทศด้วย สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ ซึ่ งกากับดูแลด้านการส่งเสริมการลงทุนของประเทศ เล็งเห็น ความสาคัญด้านการแพทย์และสุขภาพ โดยในการประชุ ม คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ครัง้ ที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2563 ได้เห็นชอบมาตรการส่งเสริมการลงทุนที่ จะช่ วยผลักดันให้ไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพที่สาคัญ โดยมี การเปิ ดประเภทกิ จ การที่ ใ ห้ ก ารส่ ง เสริ ม การลงทุ น เพิ่ ม ประกอบด้วย 1. กิ จ การโรงพยาบาลผู ้ สู ง อายุ กิ จ การดู แ ล ผู ้สูงอายุ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการลงทุนในกิจการดูแลผู ส้ ูงอายุ แบบครบวงจร รองรับการเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบู รณ์ ใน ปี 2564 โดยอนุมัติเปิ ด 2 ประเภทกิจการใหม่ คือ 1.1 กิจการโรงพยาบาลผู ้ สูงอายุ จะได้รับสิท ธิ ประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เป็นเวลา 5 ปี 1.2 กิ จ การศู น ย์ ดู แ ลผู ้ สู ง อายุ หรื อ ผู ้ มี ภ าวะ พึ่งพิง จะได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เป็น เวลา 3 ปี

2. กิจการวิจัยทางคลินิก (Clinical Research) ส่ ง เสริ ม การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ด้ า น การแพทย์ของประเทศไทย และสนับสนุนเป้ าหมายให้ไทย เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ได้ อย่างสมบู รณ์และมีศกั ยภาพ โดยเปิ ดให้การส่งเสริม ฯ ครอบคลุ ม 2 กิ จ การย่ อ ย คื อ กิ จ การสนั บ สนุ น และ บริหารจัดการการวิจัยทางคลินิก (Contract Research Organization: CRO) และศูนย์การวิจัยทางคลินิก (Clinical Research Center: CRC) โดยได้รับสิทธิ ประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เป็นเวลา 8 ปี โดย ไม่จากัดวงเงิน ทางด้านการผลักดันไทยให้เป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุ น และเป็ น ฐานการผลิ ต ส าคั ญ ของโลก ที่ ประชุ มได้เห็นชอบให้ส่งเสริมการลงทุนในประเภทกิจการ ศู น ย์ จั ด หาจั ด ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ ชิ้ น ส่ ว น และส่ ว นประกอบ ระหว่างประเทศ โดยยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร และ ยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบหรือวัสดุจาเป็นสาหรับการ ผลิตเพื่อส่งออก ตลอดจนมีมติให้ปรับปรุ งขอบข่ายและ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ข องประเภทกิ จ การผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นและ อุ ป ก ร ณ์ ส า ห รั บ ย า น พ า ห น ะ ไ ฟ ฟ้ า เ พิ่ ม เ ติ ม อี ก 4 รายการ ประกอบด้วย 1) High Voltage Harness 2) Reduction Gear 3) Battery Cooling System และ 4) Regenerative Braking System รวมถึง ปรับปรุ งสิทธิประโยชน์ให้จูงใจมากขึ้นสาหรับกิจการผลิต แบตเตอรี่ท่ีมีการลงทุนในขัน้ ตอนที่ใช้ เทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่ งได้รับลดหย่อนอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจาเป็นที่ไม่ มีการผลิตในประเทศ ในอัตราร้อยละ 90 เป็นเวลา 2 ปี สาหรับประเภทกิจการต่อเรือหรือซ่ อมเรือ ได้มี การปรับ ปรุ งให้ ครอบคลุม ถึงการผลิต เรือ ที่ขั บเคลื่อ น ด้ ว ยพลั ง งานไฟฟ้ าด้ ว ย โดยจะได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เป็นเวลา 8 ปี 7 icn


นอกจากนี้ ได้เห็นชอบให้เปิ ดให้การส่งเสริมการลงทุน การผลิ ต ยานพาหนะไฟฟ้ า (อี วี ) รอบใหม่ ซึ่ งได้ ห มด ระยะเวลาการยื่ นคาขอรั บการส่ง เสริ ม ฯ ไปตัง้ แต่ปี 2561 โดยในรอบนี้จะเปิ ดให้การส่งเสริม ฯ ยานพาหนะไฟฟ้ าทุ ก ประเภท ทัง้ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถสามล้อ รถโดยสาร และรถบรรทุก รวมถึงเรือที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้ า โดยมีเงื่อนไขสาหรับการผลิตยานยนต์ไฟฟ้ าแบบแบตเตอรี่ ทุกประเภท ผู ้ลงทุนจะต้องเสนอแผนงานรรวม (Package) เช่ น โครงการผลิตยานยนต์ไฟฟ้ าแบบแบตเตอรี่ โครงการ ผลิตแบตเตอรี่ไฟฟ้ า แผนการนาเข้าเครื่องจักรและติดตัง้ แผนการผลิตในระยะ 1-3 ปี แผนการผลิตหรือจัดหาชิน้ ส่วน อื่น ๆ และแผนการพัฒนาผู ้ผลิตวัตถุดิบในประเทศ (ที่มีคน ไทยถือหุ้นข้างมาก) เป็นต้น

อีกหนึ่ ง มาตรการได้ รั บความเห็ นชอบให้ป รั บปรุ ง ได้ แ ก่ มาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพการผลิต โดยจะเปลี่ยนชื่อเป็น “มาตรการ ปรับปรุ งประสิ ทธิภาพ” เพื่อ ให้ค รอบคลุมทั ง้ ภาคการ ผลิตและภาคบริการ ตลอดจนขยายมาตรการปรับปรุ ง ประสิทธิภาพด้านการยกระดับไปสู่มาตรการเพื่อความ ยั่งยืนในระดับสากล (Sustainability Certification) ซึ่ ง จะครอบคลุมถึงอุ ตสาหกรรมอื่น ๆ นอกเหนือจากภาค การเกษตร สาหรับการดาเนินการให้ได้รับรองมาตรฐาน ต่าง ๆ เช่ น มาตรการระบบการจัดการความปลอดภัย ด้านอาหาร (ISO 22000) และ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุ ตสาหกร ร มร ะบ บ การจั ด การป่ าไ ม้ แ บ บ ยั่ ง ยื น (ISO 14061) เป็นต้น แม้การแพร่ระบาดของโควิด -19 จะส่งผลต่อการ ลงทุนโดยรวม แต่ยังมีบางอุ ตสาหกรรมที่มียอดขอรับ การส่งเสริมการลงทุนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอุ ตสาหกรรม การแพทย์ท่มี ียอดเพิ่มขึน้ อย่างก้าวกระโดด อันเป็นการ ตอกยา้ ศักยภาพของประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลาง ทา งก า รแ พ ทย์ ใ นภู มิ ภา ค แ ล ะ ก้ าว สู่ ระ ดั บโ ล ก ในอนาคต ข้อมู ลจาก: https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/36484 https://healthserv.net/4442 ภาพจาก: https://news1live.com/photo-gallery/9630000061548

FAQ 108 คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น www.f aq108 .co.th

แหล่งรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับงานส่งเสริมการลงทุน และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา (Webboard)

ข้ อ มู ลการติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น icn 8


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29

สมัครใช้ บริการ eMT

ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online

ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พิมพ์ใน ระบบ eMT Online

สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร

ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร

BOI Approve 30 วัน

7 วัน 30-60 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

เป็นเรื่อง ติดต่อ...

ยุงยาก

IC

สา ห รั บ คุ ณ

บริการคีย์ข้อมูล

ทธิและประโยชน์ COUNTER งานสิ ด้านเครื่องจักร

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 312 e-mail : counterservice@ic.or.th




ภาชนะบรรจุ ที่ใช้

หมุนเวียน

คุ ณศุ ท ธิ กานต์ กริ ช ไกรวรรณ วิ ท ยากรด้านศุลกากร

ปั จจุ บั น มี ก ารพั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ รู ป แบบต่ า ง ๆ ทัง้ ด้านวัสดุและรูปแบบเพื่อใช้ ในการบรรจุ สินค้า หรือขนส่ง สินค้าได้อย่างปลอดภัย และสามารถนากลับมาใช้ ต่อได้อีก หลายครัง้ เพื่อลดต้นทุน ภาชนะบรรจุ เหล่านี้อาจใช้ บรรจุ สิ น ค้ า น าเข้ า มาจากต่ า งประเทศหรื อ น าภาชนะบรรจุ ดังกล่าวเข้ามาเพื่อจะมาบรรจุ ของส่งออก หรืออาจจะเป็น ภาชนะบรรจุ ที่ ส่ ง ออกไปกั บ สิ น ค้ า และภายหลั ง น ากลั บ เข้ามา เนื่องจากความสามารถในการใช้ ซ้ าหมุ นเวียนทาให้ เกิดคาถามว่าภาชนะบรรจุ ที่นาเข้ามาจากต่างประเทศแล้ว จะส่งกลับออกไปจะต้องชาระค่าอากรขาเข้าหรือไม่ หรือ ภาชนะบรรจุ ที่ ส่ง ออกไปพร้ อ มสิน ค้ า หากน ากลับ เข้ า มา ต้องชาระค่าอากรขาเข้าหรือไม่ บทความในฉบับนี้จึงขอ น าเสนอเรื่ อ งภาชนะบรรจุ ที่ ใ ช้ ซ้ าหมุ นเวี ย นกั น มาท า ความเข้าใจกันพอสังเขป กรณีท่ี 1 การนาเข้าภาชนะบรรจุ ที่บรรจุ ของที่นาเข้า มาในราชอาณาจักร พบว่า ภาชนะบรรจุ ดังกล่าวจะเก็บ อากรขาเข้าหรือไม่ เป็นไปตามหลักเกณฑ์การตีความพิกัด อัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 ภาค 1 ข้อ 5 มีบทบัญญัติ ซึ่ ง สรุ ป ได้ ว่ า ภาชนะบรรจุ ที่ ท าขึ้น เป็ น รู ป ทรงพิ เ ศษเพื่ อ บรรจุ ของหรือชุ ดของของโดยเฉพาะ มีความคงทนนาเข้า มาพร้อมกับของและมีเจตนาใช้ ร่วมกันกับของ อีกทัง้ เป็น ภาชนะบรรจุ ที่ ป กติ ใ ช้ ส าหรั บ บรรจุ ของดั ง กล่ า วและ จ าหน่ า ยไปพร้ อ มกั บ ของ ให้ จั ด เข้ า ในพิ กั ด ศุ ล กากร เดียวกับของ เว้นแต่ภาชนะบรรจุ นัน้ เหมาะสาหรับใช้ ซ้ าได้อีก

จากหลั กการดั ง กล่ า วจะเห็ น ได้ ว่ า ภาชนะบรรจุ ที่ ปกติใช้ บรรจุ ของ แสดงว่าต้องมีรูปทรงเฉพาะนาเข้ามา พร้อมกับของ และจาหน่ายพร้อมกับของ จะจัดเข้าพิกัด ศุ ล กากรเดี ย วกั บ ของจึ ง มี อั ต ราอากรเดี ย วกั บ ของ ในการนาเข้าจะแสดงรายการของของพร้อมภาชนะบรรจุ ในพิ กัด อั ต ราศุ ล กากรของของที่ น าเข้ า แต่ ห ากภาชนะ บรรจุ นัน้ เหมาะกับการใช้ ซ้ า ต้องแยกพิกัดศุลกากรของ ภาชนะบรรจุ ออกจากพิกัดศุลกากรของของที่บรรจุ และ ใช้ อัตราอากรตามพิกัดศุลกากรของภาชนะบรรจุ icn

12

กรณี ท่ี 2 ภาชนะบรรจุ ที่ ผลิต ขึ้น ในประเทศ หรื อ ภาชนะบรรจุ ที่ น าเข้ า มาและช าระอากรขาเข้ า ไว้ แ ล้ ว ต่อมามีการส่งออกไป จะส่งออกพร้อมกับของ หรือ ส่ง เฉพาะภาชนะบรรจุ ออกไป ต่อมาภายหลังนากลับเข้ามา อี ก ครั ้ง ภาชนะบรรจุ ดั ง กล่ า วต้ อ งช าระอากรขาเข้ า หรื อ ไม่ พบว่ า ลั ก ษณะธุ รกรรมดั ง กล่ า วตรงกั บ ที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ น ประเภท 1 ภาค 4 แห่ ง พระราชกาหนด พิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ.2530 โดยบัญญัติหลักเกณฑ์ สรุ ปได้ว่า ของที่ส่งออก (หมายถึงของที่ผลิตในประเทศ) รวมทัง้ ของที่ส่งกลับออกไป (หมายถึงของที่นาเข้ามาและ ได้ ช าระอากรขาเข้ า แล้ ว) แล้ ว ภายหลั ง น ากลั บ เข้ า มา ภายใน 1 ปี นั บ แต่ ส่ ง ออก โดยไม่ เ ปลี่ ย นแปลงลั กษณะ หรื อ รู ป แต่ ป ระการใด และในเวลาส่ ง ออกได้ รั บ ใบสุ ท ธิ สาหรับนากลับเข้ามาแล้ว จะได้รับยกเว้นอากรขาเข้า และ ให้อานาจอธิบดีในการยกเว้นเรื่องใบสุทธิสาหรับนากลับ เข้ามา และเรื่องการขอขยายเวลาการนากลับ จากหลักการดังกล่าว ภาชนะบรรจุ ที่ผลิตในประเทศ ที่ส่งออกไปและนากลับ เข้ามา ตลอดจนภาชนะบรรจุ ที่ น าเข้ า มาจากต่ า งประเทศและช าระอากรขาเข้ า แล้ ว ที่ ส่งออกและนากลับเข้ามา ในการนากลับเข้ามาจะได้รับ ยกเว้นอากรขาเข้า โดยต้องปฏิบัติตามระเบียบที่อธิบดี กรมศุลกากรกาหนด ซึ่ ง กรมศุลกากรได้ ออกประกาศ กรมศุ ล กากรที่ 163/2563 ลงวั น ที่ 15 ตุ ล าคม พ.ศ. 2563 เรื่อ ง พิ ธีการศุ ลกากรส าหรั บการยกเว้น อากร ของตามประเภท 1 ภาค 4 กาหนดระเบียบปฏิบัติสาหรับ การขอยกเว้นอากรของนาเข้าที่พิสูจน์ได้ว่าเป็นของที่มี ลักษณะธุ รกรรมตรงตามบทบัญญัติของภาค 4 ประเภท 1 โดยสามารถเลือกปฏิบัติได้ใน 2 ลักษณะ คือ


1. ปฏิบัติตามข้อ 2.1 ในประกาศฯ 163/2563 ขอใบสุทธิ สาหรับนากลับเสมือนภาชนะบรรจุ เป็นของส่งออก

2. ปฏิบัติตามข้อ 3 ในประกาศฯ 163/2563 ได้รับยกเว้นเรื่อง ใบสุ ท ธิ ส าหรั บ น ากลั บ ได้ รั บ ยกเว้ น ไม่ ต้ อ งพบเจ้ า หน้ า ที่ ในขั ้น ตอนการส่ ง ออก แต่ ต้ อ งขอพบเจ้ า หน้ า ที่ ศุ ล กากร เพื่อตรวจของในขัน้ ตอนการนาเข้า

ในใบขนสิ น ค้ า ขาออก 1. แยกรายการออกจากรายการของของส่งออก 2. ในรายการของภาชนะบรรจุ ให้แสดงรายละเอียดพิกัด ศุลกากร อัตราอากร และรหัสสถิ ติ ของภาชนะบรรจุ และให้แสดงเพิม่ เติม ดังนี้ 2.1 ในช่ อง “ใช้ สิ ท ธิ พิ เ ศษ” ท าเครื่ อ งหมายเลื อ ก “สุทธินากลับ” 2.2 ในช่ อง “รหัสสิทธิพิเศษ” ระบุ “004” 2.3 ในช่ อง “พิกัดขาออก Export Tariff” ระบุ “1 Part4” จัดทาภาพถ่ายเสมือนภาชนะบรรจุ เป็นของส่งออก ต้อ งขอพบเจ้ า หน้ า ที่ ศุ ลกากรเพื่ อ ตรวจของก่อ นการ ส่งออก และเจ้าหน้าที่รับรองภาพถ่าย ในใบขนสิ น ค้ า ขาเข้ า ที่ นากลั บ เข้ า มา 1. แยกรายการออกจากรายการของของ 2. ในรายการของภาชนะบรรจุ ให้แสดงรายละเอียดพิกัด ศุลกากร อัตราอากร และรหัสสถิ ติ ของภาชนะบรรจุ และให้แสดงเพิม่ เติม ดังนี้ 2.1 ในช่ อง “ใช้ สิ ท ธิ พิ เ ศษ” ท าเครื่ อ งหมายเลื อ ก “สุทธินากลับ” 2.2 ในช่ อง “รหัสสิทธิพิเศษ” ระบุ “000” หรือ “999” 2.3 ในช่ อง “พิกัดขาเข้า Import Tariff” ระบุ “1 Part4” 2.4 ในช่ อง “ใบขนสินค้าที่อ้างถึง/รายการที่อ้างถึง” แสดง “เลขที่ใบขนสินค้าขาออกและรายการในใบขนสินค้า ขาออก” ขอพบเจ้าหน้าที่ศุลกากรในขณะนากลับเข้ามา

การขออนุ มั ติ ห ลั ก การ 1.ภาชนะบรรจุ ต้ อ งมี ลั ก ษณะตามความหมายในประกาศ ข้อ 3.1 /3.2 2.ต้องขออนุมตั หิ ลักการก่อนดาเนินการ โดยจะได้รบั ยกเว้นเรื่อง ใบสุท ธิส าหรับ น ากลับ เข้า มา และสามารถระบุ ให้บุ คคลอื่น ที่ มี ความสัมพันธ์กันเป็นผู ้นากลับเข้ามาได้ โดยปฏิบัติตามข้อ 3.3.1 /3.3.2 ในใบขนสิ น ค้ า ขาออก 1. แยกรายการออกจากรายการของของส่งออก 2. ในรายการของภาชนะบรรจุ ให้แสดงรายละเอียดพิกัดศุลกากร อัตราอากร และรหัสสถิติ ของภาชนะบรรจุ และให้แสดงเพิ่มเติม ดังนี้ 2.1 ในช่ อง “รหัสสิทธิพิเศษ” ระบุ “004” 2.2 ในช่ อง “พิกัดขาออก Export Tariff” ระบุ “1 Part4” 2.3 ในช่ อง “ใบอนุญาต” ระบุ เลขที่หนังสืออนุมัติหลักการ ของกรมศุลกากร/วันที่อนุมัติ / เลขประจาตัวผู ้เสียภาษี อากร ของกรมศุลกากร คือ 0994000163011 ในใบขนสิน ค้า ขาเข้า ที่นากลับ เข้า มา

**ผู ้ส่ง ออกและผู ้นาเข้า ต้อ งเป็ น บุ คคลเดีย วกัน **

1. แยกรายการออกจากรายการของของ 2. ในรายการของภาชนะบรรจุ ให้แสดงรายละเอียดพิกัดศุลกากร อัตราอากร และรหัสสถิติ ของภาชนะบรรจุ และให้แสดงเพิ่มเติม ดังนี้ 2.1 ในช่ อง “รหัสสิทธิพิเศษ” ระบุ “000” หรือ “999” 2.2 ในช่ อง “พิกัดขาเข้า Import Tariff” ระบุ “1 Part4” 2.3 ในช่ อง “ใบอนุญาต” ระบุ เลขที่หนังสืออนุมัติหลักการ ของกรมศุลกากร/วันที่อนุมัติ / เลขประจาตัวผู ้เสียภาษี อากร ของกรมศุลกากร คือ 0994000163011 2.4 ในช่ อง “ใบขนสินค้าที่อ้างถึง/รายการที่อ้างถึง” แสดง “เลขที่ใบขนสินค้าขาออกและรายการในใบขนสินค้าขาออก” การควบคุม ต้องทารายงานการส่งออกนาเข้าเป็นรายงวด งวดละ 6 เดือน คือ รอบมิถุนายน และ รอบธันวาคม ส่งภายในวันที่ 15 ของ เดือนถัดจากครบงวดรายงาน 13 icn


กรณีท่ี 3 ภาชนะบรรจุ ที่นาเข้ามาจากต่างประเทศ และมี วั ต ถุ ป ระสงค์ จ ะใช้ ห มุ น เวี ย นบรรจุ สิ น ค้ า ระหว่ า ง ประเทศ กรณี ดัง กล่า วพบว่า เป็น ธุ รกรรมที่มี ลั กษณะ ตรงกับบทบัญญัติ ในประเภท 19 ภาค 4 แห่งพระราช ก าหนดพิ กั ด อั ต ราศุ ล กากร พ.ศ.2530 ซึ่ ง บั ญ ญั ติ หลักเกณฑ์สรุ ปได้ว่า ภาชนะสาหรับบรรจุ ของ รวมทัง้ อุ ปกรณ์ท่ีใช้ บรรจุ ยึด รัด กันกระแทก ไม่ว่าจะทาด้วย วั ต ถุ ใ ดก็ ต าม ที่ น าเข้ า มาและจะส่ ง กลั บ ออกไป ตาม หลั ก เกณฑ์ แ ละเงื่ อ นไขที่ อ ธิ บ ดี ก าหนด จะได้ รั บ การ ยกเว้นอากรขาเข้า

จากหลักการดังกล่าว กรมศุลกากรได้ออกประกาศ กรมศุลกากรที่ 154/2561 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการ ยกเว้นอากรของตามประเภท 19 ภาค 4 และประกาศ กรมศุ ล กากรที่ 162/2563 ลงวั น ที่ 15 ตุ ล าคม พ.ศ. 2563 เรื่ อ ง แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ประกาศกรมศุ ล กากรที่ 154/2561 ส่ ง ผลให้ ภ าชนะส าหรั บ บรรจุ ของ รวมทั ้ง อุ ปกรณ์ท่ีใช้ บรรจุ ยึด รัด กันกระแทก ไม่ว่าจะทาด้วย วัตถุใ ดก็ต ามที่น าเข้ ามาและจะส่ง กลับ ออกไป ที่ ปฏิบั ติ ตามเงื่อนไขที่กรมศุลกากรกาหนดได้รับการยกเว้นอากร ขาเข้า เงื่อนไขสาคัญ คือ 1. ภาชนะบรรจุ ต้องมีคุณสมบัติและลักษณะตาม นิยามที่ปรากฏในประกาศกรมศุลกากรที่ 154/2561 2. ต้องนาเข้ามาเพื่อการขนส่งระหว่างประเทศ และ ใช้ เ ฉพาะในกิ จ การของตนเองหรื อ กิ จ การของบุ คคล ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน โดยต้องไม่มีการซื้อขายหรือโอน กรรมสิทธิ์ระหว่างกัน ขณะนาเข้าอาจจะถอดแยกกันได้ แต่ต้องนาเข้าครบทุกชิน้ ส่วนในคราวเดียวกัน 3. ต้องขออนุมัติหลักการก่อนการนาเข้าครัง้ แรก โดยต้ อ งแจ้ ง ชื่ อ บุ คคลที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น เพื่ อ ให้ สามารถเป็นผู ้ส่งออกแทนได้ และผู ้นาของเข้ามีหน้าที่ ทารายงานควบคุมการนาเข้าส่งออกเป็นรายงวด icn 14

4. หากไม่ส่งกลับภายใน 1 ปี นับจากวันนาเข้าหรือ ครบกาหนดวันที่ได้รับการขยายเวลา ต้องชาระอากร ขาเข้าตามความในมาตรา 10 แห่งพระราชกาหนดพิกัด อั ต ราศุ ล กากร คื อ ค านวณอากรตามสภาพของ ราคาของ พิ กัด อัต ราศุ ลกากรที่เ ป็น อยู ่ ใ นวั นที่ สิท ธิ ท่ี ได้รับยกเว้นอากรสิน้ สุดลง คือ วันที่ครบกาหนดเวลา หรือวันที่โอนให้ผู้ไม่มีสิทธิหรือนาไปใช้ ในกิจการอื่นที่ไม่ เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือแตกหักชารุ ดจนใช้ หมุ นเวียน อีกไม่ได้ ความแตกต่ า งระหว่ า งประกาศกรมศุ ล กากรที่ 154/2561 และประกาศกรมศุ ล กากรที่ 162/2563 คื อ ประกาศกรมศุล กากรที่ 154/2561 เป็น ประกาศหลั กใน เรื่องการได้สิทธิยกเว้นอากรภาชนะบรรจุ ที่ได้รับอนุมัติ หลักการแล้วนาออกไปจากอารักขาศุลกากร ในขณะที่ ประกาศกรมศุลกากรที่ 162/2563 เป็นประกาศกาหนด หลักเกณฑ์ วิธีการเพื่ออานวยความสะดวกให้กับผู ้นา ของเข้ า ที่ ไ ม่ ป ระสงค์ จ ะน าภาชนะบรรจุ ที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ หลักการออกไปจากอารักขา


การนาภาชนะบรรจุ ที่ขอใช้ สิทธิยกเว้นอากรตามประเภท 19 ภาค 4 โดยน าภาชนะบรรจุ ออกไปจากอารั ก ขา ศุลกากรและส่งกลับออกไป ตามประกาศกรมศุลกากรที่ 154/2561 ต้องขอพบเจ้าหน้าที่เพื่อตรวจสอบของ

การนาภาชนะบรรจุ ทีข่ อใช้ สทิ ธิยกเว้นอากรตามประเภท 19 ภาค 4 โดยการนาเข้าและการส่ง กลับ ภาชนะบรรจุ จะอยู ่ในอารักขา ศุลกากร ไม่นาออกไปพร้อมสินค้าที่บรรจุ เข้ามา ตามประกาศ กรมศุลกากรที่ 162/2563

การขออนุมัติหลักการ 1. ภาชนะบรรจุ ต้องมีลักษณะตามความหมายในประกาศ ข้อ 2 และข้อ 3 2. ต้องขออนุมัติหลักการก่อนดาเนินการ สามารถระบุ ให้บุคคลอื่นที่มีความสัมพันธ์กันเป็น ผู ้นากลับเข้ามาได้ โดยปฏิบัติตามข้อ 4 ในใบขนสิ น ค้ า ขาเข้ า ที่ น าเข้ า มา โดยได้ รั บ อนุ มั ติ หลักการแล้ว 1. แยกรายการออกจากรายการของของส่งออก 2. ในรายการของภาชนะบรรจุ ให้แสดงรายละเอียดพิกัด ศุลกากร อัตราอากร และรหัสสถิ ติ ของภาชนะบรรจุ และให้แสดงเพิม่ เติม ดังนี้ 2.1 ในช่ อง “รหัสสิทธิพิเศษ” ระบุ “000” หรือ “999” 2.2 ในช่ อง “พิกัดขาเข้า Import Tariff” ระบุ “19 Part4” 2.3 ในช่ อง “ใบอนุ ญ าต” ระบุ เลขที่ หนั งสื อ อนุ มั ติ หลักการของกรมศุลกากร/วันที่อนุมัติ / เลขประจาตัว ผู ้เสียภาษีอากรของกรมศุลกากร คือ 0994000163011 กรณียังไม่ได้รับอนุมัติหลักการต้องชาระอากรไปก่อนและ เมื่อได้รับอนุมัติหลักการ จึงมาขอคืนอากรภายใน 3 ปี นับแต่วันนาเข้า ในใบขนสิน ค้า ขาออกที่ส่ง ของกลับ ออกไป 1. แยกรายการออกจากรายการของของส่งออก 2. ในรายการของภาชนะบรรจุ ให้แสดงรายละเอียดพิกัด ศุลกากร อัตราอากร และรหัสสถิ ติ ของภาชนะบรรจุ และให้แสดงเพิม่ เติม ดังนี้ 2.1 ในช่ อง “รหัสสิทธิพิเศษ” ระบุ “004” 2.2 ในช่ อง “พิกัดขาออก Export Tariff” ระบุ “19 Part4” 2.3 ในช่ อง “ใบอนุ ญ าต” ระบุ เลขที่ หนั งสื อ อนุ มั ติ หลักการของกรมศุลกากร/วันที่อนุมัติ / เลขประจาตัว ผู ้เสียภาษีอากรของกรมศุลกากร คือ 0994000163011 2.4 ในช่ อง “ใบขนสินค้าที่อ้างถึง/รายการที่อ้างถึง” แสดง “เลขที่ใบขนสินค้าขาเข้าและรายการในใบขนสินค้า ขาเข้า”

การขออนุมัติหลักการ ยั ง คงต้ อ งขออนุ มั ติ ห ลั ก การตามประกาศกรมศุ ล กากร ที่ 154/2561 ในใบขนสิน ค้าขาออก การน าเข้ า ภาชนะบรรจุ ที่ ไ ม่ ป ระสงค์ จ ะน าออกจากอารั ก ขา ศุลกากร 1. หน้าที่ของนายเรือ หรือบริษัทตัวแทนเรือ หรือผู ้ขนส่ง หรือ ผู ้ควบคุมอากาศยาน ต้องแสดงรายการภาชนะบรรจุ ไว้ในบัญชี สินค้าแยกต่างหากจากรายการสินค้า ตามข้อ 4.5 2. หน้าที่ของผู น้ าเข้า/เจ้าของ ต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรประจาท่า / ที่ /สนามบิน ที่นาเข้า 2.1 ต้ อ งยื่ น แบบค าร้ อ งขอน าภาชนะเข้ า มาโดยไม่ ข อน า ภาชนะบรรจุ ออกไปจากอารักขาศุลกากรและส่งกลับภาชนะบรรจุ ในอารักขาศุลกากร ตามแบบ ค 2.2 ยื่นใบขนสินค้าขาเข้าพิเศษสาหรับการนาภาชนะบรรจุ เข้ า มาโดยไม่ ป ระสงค์ จ ะน าออกไปจากอารั ก ขาของศุ ล กากร ตามแบบ ง พร้อมสาเนา 2 ฉบับ การส่งกลับภาชนะบรรจุ ในอารักขาศุลกากร หน้าที่ของผู ้ส่งออก/เจ้าของ ต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรประจาสถานี ตรวจสอบ ณ ท่า / ที่ /สนามบิน ที่ส่งออก 1. ต้องยื่นแบบคาร้องขอนาภาชนะเข้ามาโดยไม่ขอนาภาชนะบรรจุ ออกไปจากอารักขาศุลกากรและส่งกลับภาชนะบรรจุ ในอารักขา ศุลกากร ตามแบบ ค 2. ยื่นใบขนสินค้าขาออกพิเศษสาหรับการส่งกลับภาชนะบรรจุ ตามแบบ จ พร้ อ มส าเนา 2 ฉบั บ ภายใน 3 วั น นั บ แต่ วั น ที่ ส่งของออกไปนอกราชอาณาจักร

ภาพจาก: https://sites.google.com/site/phawini622557/brrcu-phanth-thi-samarth-na-pichidi/khx-bangkhab-thang-kdhmay-thi-keiywkhxng-kab-brrcu-phanth

ส าหรั บ ผู ้ น าเข้ า ที่ ใ ช้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท างภาษี อ ากร เช่ น ผู ้ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น คลั ง สิ น ค้ า ทั ณ ฑ์ บ น เขต ปลอดอากร เขตประกอบการเสรี หากสิท ธิประโยชน์ทาง ภาษี อากรที่ ไ ด้ รั บ ครอบคลุ ม ไปถึ ง เรื่ อ งภาชนะบรรจุ แนะน าว่ า ให้ เ ลื อ กใช้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท างภาษี อ ากรที่ ไ ด้ รั บ จะเหมาะสมกว่า เพื่อให้การควบคุมเป็นระบบเดียวกัน แต่ถ้า ไม่ได้รับสิทธิในเรื่องภาชนะบรรจุ ก็สามารถเลือกใช้ วิธีการ ตามที่กล่าวข้างต้นได้ 15 icn


ภำชนะบรรจุของนำเข้ำ จำกต่ำงประเทศ

นำเข้ำมำเฉพำะ ภำชนะบรรจุ

นำเข้ำพร้อมของ

ลักษณะตำมหลักเกณฑ์ กำรตีควำมภำค 1 ข้อ 5 และไม่สำมำรถใช้ซำได้

เป็นภำชนะ ที่สำมำรถใช้ซำ

ชำระอำกร ในพิกัดอัตรำศุลกำกรเดียวกัน กับของนำเข้ำ

ชำระอำกร ในพิกัดอัตรำภำชนะบรรจุ

ไม่ใช้หมุนเวียน ระหว่ำงประเทศ

ชำระอำกรในพิกัดอัตรำ ของภำชนะบรรจุ

ภำชนะบรรจุของ ที่ผลิตในประเทศ มีของหรือไม่มขี องก็ได้

ใช้หมุนเวียน ระหว่ำงประเทศ

ชำระอำกรในพิกัดอัตรำ ของภำชนะบรรจุ

ใช้สิทธิยกเว้นอำกรตำมภำค 4 ประเภท 19 ประกำศกรมฯ ที่ 154/2561 และประกำศกรมฯ ที่ 162/2563

หำกส่งออกและนำกลับเข้ำมำ กำรนำเข้ำในครังต่อไป จะได้สิทธิยกเว้นอำกรตำม ภำค 4 ประเภท 1 ทำตำม ประกำศกรมฯ ที่ 163/2563 แยกรำยกำรภำชนะ ออกจำกรำยกำรของ

ตำมข้อ 2 ถือว่ำภำชนะบรรจุ เป็นของส่งออกที่จะขอใช้สิทธิ ตำมภำค 4 ประเภท 1 ขอใช้สุทธินำกลับ ผู้ส่งออก/ผู้นำเข้ำ ต้องเป็นบุคคลเดียวกัน

icn 16

เป็นภำชนะบรรจุ ที่ใช้หมุนเวียน ระหว่ำงประเทศ

เป็นสินค้ำ

นำออกนอกอำรักขำทำตำม ประกำศกรมฯที่ 154/2561

ตำมข้อ 3 ขออนุมัติหลักกำร ก่อนกำรส่งออกใบขนฯขำออก ไม่ต้องขอใบสุทธินำกลับ แจ้งเลขอนุมัติหลักกำร ในช่องใบอนุญำตต้องทำรำยงำนสรุป กำรส่งออก/นำเข้ำ เป็นรำยงวด 6 เดือน (มิ.ย./ธ.ค.) และส่งภำยในวันที่ 15 ของเดือน ถัดจำกงวด (ภำยใน 15 ก.ค. และภำยใน 15 ม.ค.) ผู้ส่งออก/ผู้นำเข้ำ ภำชนะบรรจุอำจเป็นคนละคน

ไม่นำออกนอกอำรักขำทำตำม

ประกำศกรมฯที่ 162/2563

ไม่ส่งกลับในเวลำที่กำหนด โอนไปให้บุคคลที่ไม่มีสิทธิ ไม่มีสภำพส่งออกได้อีก ชำระอำกรตำมสภำพของของ รำคำของ พิกัดอัตรำอำกร ในวันที่เกิดเหตุข้ำงต้น ตำม ม 10 พรก.พิกัดฯ


สมาคมสโมสรนักลงทุน

ช่วยแบ่งเบาภาระผู้ใช้บริการ ให้ธุรกิจฝ่าวิกฤต Covid-19 TOGETHER WE FIGHT

ขยายเวลามอบส่วนลด

10%

ค่าบริการระบบงานเครื่องจักรและวัตถุดิบ

เป็นเวลาอีก 6 เดือนเต็ม ในงวดเดือนตุลาคม 2563 – มีนาคม 2564

ขยายเวลาชาระหนี้

งวดเดือนมีนาคม – สิงหาคม 2563

ค่าบริการระบบงานเครื่องจักรและวัตถุดิบ

ออกไปอีก ค่าบริการ ค่าบริการ ค่าบริการ ค่าบริการ

เดือนมีนาคม 2563 เดือนเมษายน 2563 เดือนพฤษภาคม 2563 เดือนมิถุนายน 2563

ชาระภายใน ชาระภายใน ชาระภายใน ชาระภายใน

3 เดือน

30 กรกฎาคม 2563 30 สิงหาคม 2563 30 กันยายน 2563 30 ตุลาคม 2563

ค่าบริการ เดือนกรกฎาคม 2563 ชาระภายใน 30 พฤศจิกายน 2563 ค่าบริการ เดือนสิงหาคม 2563 ชาระภายใน 30 ธันวาคม 2563

สอบถามเพิ่ ม เติ ม โทรศั พ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 401, 403




มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

เจาะลึก การใช้งานระบบ ฐานข้อมูล RMTS Online <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนา เรื่ อ ง “เจาะลึกการใช้ งานระบบฐานข้อมู ล RMTS Online” เมื่อ วันพฤหัสบดีที่ 5 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องจู ปิเตอร์ ชัน้ 3 โรงแรม มิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชัน่ กรุ งเทพฯ เพื่อ ให้เ ข้าถึ งทุก ขัน้ ตอนกระบวนการ เข้า ใจหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการใช้ งานระบบอย่างแท้จริง การสั ม มนาครั ง้ นี้ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ าก คุ ณ ชนิ น ทร์ ขาวจั น ทร์ รองเลขาธิ ก ารคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การ ลงทุ น กล่ า วเปิ ดงานสั ม มนา โดยมี คุ ณ นิ ริ น ทร ศักดิเศรษฐ์ นักวิชาการส่งเสริมการลงทุน ระดับชานาญ การ ส านั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น และ คุณชลพัชร พวงน้อย วิทยากรจากสมาคมสโมสร นักลงทุน เป็นวิทยากรบรรยาย โดยมีหัวข้อสาคัญ อาทิ การส่ง เอกสารประกอบการพิ จารณา ประเภทกิจ การ Manufacturing และประเภทกิ จ การIPO/ITC การขอ อนุมัติบัญชี รายการและปริมาณสต็อกสูงสุด / การขอ แก้ไขบัญชีรายการและปริมาณสต็อกสูงสุด / การขอแก้ไข ชื่อรองวัตถุดิบ การขออนุมัติสูตรผลิตภัณฑ์ ขัน้ ตอนและ หลัก เกณฑ์ก ารกาหนดวันน าเข้าครัง้ แรกของโครงการ และ Group_Maximport และการขออนุ มั ติ ส่ ง ออก วัตถุดิบไปต่างประเทศ โดยระหว่างการบรรยาย วิทยากร ได้เปิ ดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้สอบถามกรณีปัญหา ต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ ให้เกิดประโยชน์กับการปฏิบัติงาน ทั ้ง นี้ ใ นภาคบ่ า ย ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาได้ เ ข้ า ร่ ว ม คลินิกไขปั ญหาและให้ คาปรึ กษาระบบงานสิทธิประโยชน์ ด้ า นวั ต ถุ ดิ บ และการใช้ ง านระบบฐานข้ อ มู ล RMTS Online ซึ่ งแยกตามกองส่งเสริมการลงทุน 1-4 โดยได้รับ เกียรติจาก สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และสมาคมสโมสรนักลงทุน เป็นวิทยากรให้คาปรึกษาและ ตอบคาถามแก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา สมาชิ ก และผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารสามารถติ ด ตามหลั ก สู ต รสั ม มนาที่ น่ า สนใจได้ ที่ http://icis.ic.or.th หรื อ www.ic.or.th หรื อ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ทางโทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 205-209 icn 20


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

คุ ณ พนิ ต า ทองอยู ่ ตาแหน่ ง Senior Supervisor บริษัท ฟู รูกาวา ยู นิค (ไทยแลนด์) จากัด “เป็นงานสัมมนาที่ได้รับคาตอบที่ชดั เจนในทุกข้อสงสัย จากเดิมเมื่อมีปัญหา ในการใช้ ระบบเกิดขึน้ บริษัทจะโทรศัพท์มาสอบถามกับสมาคม ฯ แต่ค่อนข้าง ติดขัดเรื่องข้อมู ลที่ไม่ตรงกัน ไม่เห็นเอกสารหรือไม่เห็นหน้าจอพร้อมกัน ทาให้ ความเข้าใจคลาดเคลื่อน และเมื่อนาไปแก้ไขจึงไม่ถูกต้อง การมาร่วมสัมมนา ทาให้เราได้รับความเข้าใจครบถ้วน และมีการแนะนาวิธีปฏิบัติบางประการที่ บริษัทยังไม่ทราบ ที่สาคัญคือ การมีคลินิกไขปั ญหาที่แบ่งตามกองส่งเสริม การลงทุ น ถื อ ว่ า ตรงจุ ดและเหมาะสมมาก เพราะเจ้ า หน้ า ที่ บี โ อไอที่ ม าให้ ค าปรึ ก ษานั ้น จะทราบถึ ง ข้ อ มู ล และปั ญ หาของกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ เ ป็ น อย่างดี ทาให้ได้รับคาตอบและความเข้าใจที่มีประโยชน์อย่างมาก”

คุณ เปริ น ทร์ ชมดี ตาแหน่ ง ผู ้ จั ด การแผนก บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จากัด “ รู้ สึ ก ว่ า สั ม ม น า วั น นี้ บ ริ ษั ท ไ ด้ ป ร ะ โ ย ช น์ ม า ก มี ก า ร ลงรายละเอียดมากขึ้น ทาให้เข้าใจและนาไปใช้ งานระบบได้ง่ายและ ถูกต้องยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการมีคลินิกไขปั ญหาเพื่อให้คาปรึกษา ในช่ วงบ่าย ซึ่ งบริษัทได้สอบถามปั ญหาที่ติดขัดในการใช้ งาน และ ได้รับคาตอบที่ชดั เจน ถือเป็นเรื่องที่ดีมากสาหรับบริษัทที่จะนาไปใช้ งานระบบฐานข้อมู ลแบบออนไลน์ได้สะดวกและคล่องตัวมากขึน้ ”

21 icn


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

JOIN A TRAINING ON

ข้อพึงระวังการตัดบัญชีวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น แบบไร้เอกสาร ผ่านระบบ IC Online System <<สมาคมสโมสรนั กลงทุ นจัด สัมมนาออนไลน์ฟรี สาหรับสมาชิ กเรื่อ ง “ข้ อพึง ระวั งการตัดบั ญชี วั ตถุดิ บและ วัสดุจาเป็นแบบไร้เอกสารผ่านระบบ IC Online System” ครัง้ ที่ 1 เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2563 ผ่านโปรแกรม Zoom ที่สามารถรองรับการฝึ กอบรมและสัมมนาในยุ ค New Normal โดยมีสมาชิกเข้าร่วมอบรมออนไลน์กว่า 78 ท่าน

การสัมมนาครัง้ นีไ้ ด้รับเกียรติจาก คุณชลพัชร พวงน้อย วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน เป็นวิทยากร บรรยาย โดยมีหัวข้อสาคัญ อาทิ กรณีข้อมู ลส่งออกตรงกับสูตรผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้รับอนุมัติ กรณีข้อมู ลส่งออกไม่ตรงกับ สูต รผลิต ภัณ ฑ์ท่ี ได้ รับ อนุ มัติ การตัด บัญ ชี วั ตถุ ดิบ และวัส ดุจ าเป็น ด้ว ยเอกสารการโอนสิ ทธิ์ (Report V) และการ ตัดบัญชี วัตถุดิบ และวัส ดุจาเป็ นสาหรั บผลิตภั ณฑ์ท่ีนากลับมาซ่ อมแซม ตลอดจนผู ้เ ข้าร่วมสัมมนาได้ร่วมซักถาม ประเด็นปั ญหาที่เป็นข้อสงสัย ปั ญหาที่เกิดจากการปฏิบัติงานในระบบ IC Onlline โดยวิทยากรได้โต้ตอบกับสมาชิ ก เสมือนอบรมในห้องสัมมนา เพื่อนาข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ สมาชิ ก และผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารสามารถติ ด ตามหลั ก สู ต รสั ม มนาออนไลน์ สาหรั บ สมาชิ ก ที่ น่ า สนใจได้ ที่ http://icis.ic.or.th หรื อ www.ic.or.th หรื อ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ทางโทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 202-203 icn 22


ธุรกิจรูปแบบ ใหม่ และ การจัดการ

โซ่อุปทานทันสมัย (2) จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com

เทคโนโลยี ก ารจั ด การโซ่ อุ ปทาน (Supply Chain Management Technology) เราจะมี วิ ธี ก ารจั ด การระบบจั ด ส่ ง และโซ่ อุ ปทาน (Logistics and Supply Chain Management) อย่างไร ใ ห้ Smart แ ล ะ Standard ยิ่ ง ก า ร ค้ า ผ่ า น ช่ อ ง ท า ง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ ติ บ โตมากขึ้น เท่ า ใด การส่ ง มอบยิ่ ง ต้ อ ง พัฒนาเติบโตและมีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านัน้ เพราะหนึ่ง ในความต้ อ งการที่ เหมื อ นกัน ของลู ก ค้ า คื อ การจั ด ส่ ง ที่ รวดเร็ ว จากเดิ ม ที่ เป็ น 7 วั น 14 วั น หรื อ ยาวนานเป็ น เดือน ปั จจุ บัน ตัวชี้วัด เหล่านี้สัน้ ลง เราจึง มักได้ยิ นคาว่ า next day คือสัง่ วันนี้ พรุ ่งนีไ้ ด้รับของ หรือ Same Day คือสัง่ วันนี้ ได้รับของวันนี้ การแข่งขันในการส่งมอบอย่าง รวดเร็วถูกต้อง ถูกที่ ถูกเวลานี้ มีการพัฒนาอย่างก้าว กระโดดอย่ า งมากจากเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ไม่ ว่ า จะเป็ น การ กาหนดจุ ดพิกัดสถานที่จัดส่ง การสืบค้นตาแหน่งที่แสดง ออกมาในรูปของแผนที่เพื่อระบุ จุ ดพิกัดของสถานที่จัดส่ง การคานวณเส้นทางการขนส่งไปในหลาย ๆจุ ดของรถขนส่ง แต่ ล ะคั น ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประหยั ด พลั ง งาน ตลอดจนการตรวจติ ด ตามการเคลื่ อ นที่ ข องรถขนส่ ง แต่ละคันผ่านดาวเทียมเพื่อเฝ้ าดูพฤติกรรมของผู ้ขับขี่ เป็นต้น ทั ้ง หมดนี้คื อ พั ฒ นาการของระบบโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละ โซ่ อุ ปทานแบบใหม่ ที่ทลายกรอบความคิดแบบเดิมที่มอง แบบแยกส่วน สู่มุมมองใหม่ที่เปิ ดกว้างมากขึน้ จากการมุ ่งเน้น Function (แผนกใครแผนกมั น แยกการท างานจากกั น ) เป็น Process (เน้นการบู รณาการส่งต่องานกันเป็นทอดๆ จากต้นจนถึงปลาย) จาก Profit (ที่เน้นกาไรจากสินค้าและบริการ โดยให้มีต้นทุนต่าสุด) เป็น Performance (ให้ความสาคัญ กับสมรรถนะโดยรวม และถือว่าผลประกอบการจะต้องมา จากทุ กส่ วนช่ วยกั น ) จาก Product (มุ ่ งเน้น ที่ตั วสิ นค้ า ) เป็น Customer (ตอบสนองทุกความต้องการ) จาก Inventory (ต่างฝ่ ายต่างจัดเก็บสินค้า โดยไม่รู้สถานะซึ่ งกันและกัน) เป็น Information (การแลกเปลี่ยนข้อมู ลสถานการณ์ระหว่างกัน) และจาก Transaction (ใบสั่งซื้อ) เป็น Relationship (ความสัมพันธ์ ระยะยาวระหว่างผู ้ส่งมอบและผู ้รับมอบเป็นทอด ๆ)

จากคาอธิบายที่ว่า Supply Chain Management is a set of approaches utilized to efficiently integrate suppliers, manufacturers, warehouses, and stores, so that merchandise is produced and distributed at the right quantities, right locations, and at the right time, in order to minimize systemwide costs while satisfying service level requirements.

ท า ใ ห้ ก า ร จั ด ก า ร โ ลจิ ส ติ ก ส์ แ ล ะ โ ซ่ อุ ป ท า น มี ค ว า ม ส า คั ญ แ ล ะ ต้ อ ง มี วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ น อ ก จ า ก เ ป็ น มาตรฐานสากลแล้ว ยั งต้ อ งพั ฒนาให้เป็น เลิ ศ ซึ่ ง แต่ ล ะ องค์กรสามารถเรียนรู้โมเดลต่างๆได้ อาทิ ตัวแบบ SCOR (Supply Chain Operations Reference) ที่พัฒนาขึน้ มา ตั ้ ง แต่ ปี ค.ศ. 1996 และได้ รั บ การยอมรั บ โดยสภา ซัพพลายเชน (Supply-Chain Council) ให้เป็นโมเดลที่ใ ช้ อ้ า งอิ ง เป็ น มาตรฐานหนึ่ ง ในระดั บ สากล มี อ งค์ ป ระกอบ สาคัญ 6 ส่วนคือ การวางแผน (Plan) การจัดหาวัตถุดิบ (Source) การผลิต (Make) การส่ง มอบ (Deliver) การ ส่ ง คื น (Return) และการสนั บ สนุ น แผนงานและการ ด าเนิ น งาน (Enable) โดยมี ตั ว ชี้วั ด ที่ ส าคั ญ คื อ ต้ น ทุ น ( cost) ก า ร ส่ ง ม อ บ ( delivery) ค ว า ม น่ า เ ชื่ อ ถื อ (reliability) และความยืดหยุ ่น (flexibility) 23 icn


นอกจากนัน้ ก็ยังมีการนาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านการ ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร จั ด ส่ ง ซึ่ ง พั ฒ น า ต่ อ ม า จ า ก Toyota Production System ซึ่ งเป็นรู ปแบบที่มีการประยุ กต์ใช้ งาน กันอย่างกว้างขวางในอุ ตสาหกรรมยานยนต์ และแพร่กระจาย ความรู้ดังกล่าวไปในอุ ตสาหกรรมอื่น ๆ ในชื่อ Lean ไม่ว่า จะเป็นแนวคิดแบบลีน (Lean Thinking) การพัฒนาปรับปรุ ง ระบบการผลิ ต ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ (Lean Manufacturing) จนถึ งการสร้ างสมดุล ในระบบการจั ดส่ งทั ง้ ฝั่ ง Suppliers และ Customer ที่เรียกว่า Lean Supply Chain

icn 24

ส าหรั บ อุ ตสาหกรรมต่ า ง ๆ ในประเทศไทย สามารถเรียนรู้แนวคิด วิธีปฏิบัติ และตัวชีว้ ัด ซึ่ งพัฒนา และเผยแพร่โดยกองโลจิสติกส์ กรมส่งเสริมอุ ตสาหกรรม และได้ น ากรอบการจั ด การดั ง กล่ า วมาใช้ ใ นการตรวจ ประเมินองค์กรที่สมัครเพื่อขอเข้ารับรางวัลอุ ตสาหกรรม ดีเด่น ด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่ อุปทาน ดังภาพ


ซึ่ งจะช่ วยให้องค์กรต่าง ๆ สามารถบริหารจัดการ โซ่ อุปทานได้ดี โดยคานึงถึงสิง่ ต่าง ๆ ดังนี้ 1. ความยื ด หยุ ่ น ในระบบ ได้ แ ก่ ความมุ ่ ง มั่น ของ ผู ้บริหารในการปรับปรุ ง การใช้ พนักงานชัว่ คราว การใช้ อุ ปกรณ์ ที่ ท างานได้ ห ลากหลาย การจ้ า งหน่ ว ยงาน ภายนอกทางานให้ และการปรับปรุ งกระบวนการเพื่อลด รอบเวลาซึ่ งจะส่งผลต่อการลดเวลานา (Lead Time) ในที่สุด 2. การออกแบบระบบให้เหมาะสม ได้แก่ คุณสมบัติ ของตัวสินค้า ช่ องทาง หรือตลาดที่สอดคล้องกับความ ต้องการของลูกค้า 3. การจัดแบ่งลูกค้าและสินค้า ได้แก่ การปฏิบัติต่อ ลูกค้าแต่ล ะรายตามระดับประโยชน์ที่ไ ด้รับจากลู กค้า และ การแยกประเภทลูกค้าอย่างเหมาะสม 4. การมองภาพรวมทัง้ โลก (ทัง้ ประเทศ หรือ ทั ง้ ภูมิภาค) ได้แก่ การกาหนดมาตรฐานกระบวนการ ข้อมู ล วัตถุดิบ และปั จจัยพืน้ ฐาน และการใช้ ระบบงานร่วมกันทั่ว โลก อาทิ การใช้แหล่งผลิตร่วมกัน การใช้ชิน้ ส่วนร่วมกัน 5. การบริหารการพัฒนาสินค้า ได้แก่ การบริหาร ต้นทุนเป้ าหมายของสินค้า และการบริหารต้นทุนของสินค้า ตลอดช่ วงอายุ (Life Cycle Cost)

6. การผลิตสินค้า /บริการเฉพาะลูกค้า ได้แก่ การ สร้ า งความแตกต่ า งของสิ น ค้ า /บริ ก ารใกล้ จุ ดส่ ง มอบ มากที่ สุ ด การผลั ก ภาระให้ ลู ก ค้ า ท าให้ สิ น ค้ า /บริ ก าร เหมาะสมกับความต้องการมากที่สุด และการออกแบบให้ สินค้า/บริการใช้วัสดุหรือชิน้ ส่วนร่วมกัน 7. การใช้ ข้อมู ลอย่างเหมาะสม ได้แก่ การปรับระบบ ให้ ส่ ง เสริ ม การลดต้ น ทุ น การสร้ า งความยื ด หยุ ่ น การ เชื่ อมโยงกับระบบคู่ค้า การลดรอบเวลาในการจัดหาข้อมู ล จนถึงการใช้ ประโยชน์ การปรับปรุ งคุณภาพของข้อมู ลให้ เน้ น ที่ ลู ก ค้ า การใช้ ข้ อ มู ล ลดปริ ม าณสิ น ค้ า คงคลั ง การ สร้างสมดุลระหว่างความต้องการและการตอบสนองโดย หลี ก เลี่ ย งการพยากรณ์ และการใช้ ร ะบบหน่ ว ยชี้ วั ด ที่ ครบวงจร

8. การลดความสู ญ เสี ย ได้ แก่ การใช้ ม าตรฐาน ข้ อ มู ล หรื อ รหั ส สากล การลดความซับ ซ้ อ นของสิ น ค้ า กระบวนการผลิต และการส่งมอบ การลดจานวนผู ้ส่ ง มอบ การบริหารความต้องการและการตอบสนองสินค้า ให้เกิดการหมุ นเวียนสินค้าคงคลังมากที่สุด 9. การสร้างพันธมิตร ได้แก่ การใช้ หน่วยงานอื่น ท างานแทนบางอย่ า ง การประสานงานระหว่ า งคู่ ค้ า ผู ้ ส่ ง มอบ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารและลู ก ค้ า และการพั ฒ นา ความสัมพันธ์ระหว่างกัน 10. การใช้ ประโยชน์ จาก E-Commerce ได้ แก่ การ พัฒนาเครือข่ายผู ้ส่งมอบ เพื่อร่วมจัดทาแผนการผลิตและ ส่งมอบอย่างทันเวลา 11. การพั ฒ นาบุ คลากร ได้ แ ก่ การมี มุ มมอง หลากหลายบนพื้ น ฐานของวั ฒ นธรรมที่ แ ตกต่ า งกั น การทางานหลากหลายเพื่อสร้างความเข้าใจในงานทุกระบบ การพัฒนาให้มีความสามารถหลากหลายถึงระดับปฏิบัติการ ความสามารถในการแก้ไขปั ญหา และความสามารถด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ นี่เป็นเพียงกรอบแนวคิดและวิธีปฏิบัติที่จะทาให้การ จั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละโซ่ อุ ปทานมี ม าตรฐานสากล และ ชาญฉลาดมากขึน้ ด้วยแนวคิดใหม่และเทคโนโลยีทันสมัย ขอให้องค์กรต่างๆเรียนรู้และลองปรับใช้ ซึ่ งในโอกาสหน้า จะได้มานาเสนอเทคโนโลยีท่ีมีการประดิษฐ์คิดค้นและสร้าง ออกมาเป็นนวั ตกรรมให้ใช้ งานกัน เพื่อยกระดับไปสู่การ จัดการโซ่ อุปทานในยุ ค 4.0 ต่อไป ภาพจาก: https://www.youtube.com/watch?v=yeVPZmdhfgE https://www.tmbbank.com/page/view/lean-supply-chain-040.html https://www.researchgate.net/figure/Lifecycle-Cost-Models-to-Enable-CostAssessment_fig4_315470606

25

icn


สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ติ ด ต่ อ สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น โทร. 0 2936 1429 ต่ อ 512-523

ขอแจ้งเปลี่ยนวิธีการจัดส่งใบแจ้งหนี้ทางไปรษณีย์ เป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ใน 3

ช่องทาง ดังนี้

Download ใบแจ้งหนี้ ได้ที่ http://eservice.ic.or.th/DownloadInvoice/ โดยท่านสามารถสมัคร Download ใบแจ้งหนี้ ได้ที่

http://eservice.ic.or.th/DownloadInvoice/pdf/PDF_merged.pdf รับใบแจ้งหนี้ทาง E-mail ตามที่ท่านได้ให้ข้อมูลไว้กับสมาคมสโมสรนักลงทุน ผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ (Pop up Alert) เมื่อท่านเข้าใช้บริการระบบงาน RMTS และ ระบบงาน eMT Online

สมาคม ฯ จะยกเลิกการจัดส่งใบแจ้งหนี้ทางไปรษณีย์

ตั้งแต่ รอบบิลเดือน

พฤศจิกายน 2563 เป็นต้นไป

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ แผนกการเงิ น โทรศัพท์ 02

-936-1429 ต่อ 404 (คุณปารณีย์)


ธุรกิจเห็นกำไร ด้วย

บัญชีต้นทุนกำรผลิต มยุ รี ย์ งำมวงษ์ mayureen@ic.or.th

สถานะการณ์ ก ารตลาดและการค้ า โลกในปั จ จุ บั น มีการแข่งขันที่สูงและรุ นแรง ซึ่ งส่งผลให้หลายองค์กรมีการ ดาเนินการกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ที่นับวันจะเพิ่มทวีความดุเดือดมากขึ้น ควบคู่กับจานวน คู่แข่งที่เพิ่มขึ้นด้วย โดยแต่ละองค์กรต่างก็คิดค้นกลยุ ทธ์ มาขับเคี่ยวแข่งขันกัน ที่เห็นชัดเจนที่สุดน่าจะเป็นเรื่องของ ราคาขายที่ถูกกว่า ซึ่ งจะได้รับการตอบสนองจากผู ้บริโภค ได้มากกว่าวิธีใด แต่การจะได้มาซึ่ งราคาที่ถูกกว่าคู่แข่งนัน้ กระบวนการสาคัญหลักของผู ้ผลิต คือ ต้นทุนการผลิต ที่ต้องทาให้ต่าที่สุด โดยจะต้องคงไว้ซ่ึ งคุณภาพในการใช้ งานสินค้าและบริการนัน้ ๆ ดังนัน้ หากองค์กรมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ ต้นทุนการผลิต การทาบัญชีต้นทุนการผลิต การคานวณ ต้นทุนการผลิต และการจัดการค่าใช้ จ่ายในการผลิต จะทา ให้สามารถผลิตสินค้าและบริการที่ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ในกรอบราคาที่ผู้บริโภคสามารถซื้อได้ และเกิดโอกาสในการ ซื้อซ้ ามากขึน้ อะไรคื อ ต้ น ทุ น การผลิ ต

ต้ น ทุ น (Cost) หมายถึ ง ค่ า ใช้ จ่ า ยในการด าเนิ น กิจกรรมต่าง ๆ ต้ น ทุ น ก า ร ผ ลิ ต ( Production Cost) ห ม า ย ถึ ง ค่าใช้ จ่ายในการดาเนินกิจกรรมทางการผลิตเพื่อให้ได้มาซึ่ ง ผลิตภัณฑ์ท่ดี ี มีคุณภาพ ตามความต้องการของลูกค้า ต้ น ทุ น ก า ร ผ ลิ ต มี อ ะ ไ ร บ้ า ง 1. ต้ น ทุ น ด้ า นวั สดุ / วั ต ถุ ดิ บ (Material Cost) เป็ น ค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวข้องกับวัสดุ อุ ปกรณ์ เครื่องมือ ที่ใช้ ใน การผลิตทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ได้แก่

- วัสดุทางตรง (Direct Material Cost) คือ วัสดุหรือวัตถุดิบที่ใช้ เพื่อการผลิตโดยตรง เป็น ส่วนประกอบหนึ่งของผลิตภัณฑ์ เช่ น ยางรถยนต์มี ยางเป็นวัตถุดิบทางตรง เป็นต้น จานวนในการใช้ งาน จึงแปรผันกับหน่วยในการผลิตโดยตรง - วั ส ดุ ท า ง อ้ อ ม ( Indirect Material Cost) คือ วัสดุ เครื่องมือ อุ ปกรณ์ ที่ใช้ สนับสนุนใน การผลิต เช่ น กระดาษทราย ผ้าเชด็ มือ กาว เป็นต้น จานวนในการใช้ งานจะไม่ผันแปรกับปริมาณการผลิต โดยตรง 2. ต้ น ทุ น ด้ า นแรงงาน (Labor Cost) เป็ น ค่า ใช้ จ่ ายด้ า นแรงงานในการท างานและผลิต สิ น ค้ า แบ่งเป็น 1) ต้นทุนค่าใช้ จ่ายด้านแรงงานโดยตรง เช่ น ค่ า จ้ า งรายวั น /รายเดื อ นของพนั ก งานฝ่ ายผลิ ต 2) ต้ น ทุ น ค่ า ใช้ จ่ า ยด้ า นแรงงานทางอ้ อ ม เช่ น เงิน เดือ นของพนั กงานขาย เงินเดือนของผู ้จัด การ เป็นต้น 3. ต้ น ทุ น ค่ า ใช้ จ่ า ยโรงงาน หรื อ ค่ า โสหุ้ ย ใน ก า ร ผ ลิ ต ( Overhead Cost) เ ป็ น ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ที่ นอกเหนื อ จากค่ า ใช้ จ่ า ยวั ส ดุ และค่ า ใช้ จ่ า ยด้ า น แรงงาน เช่ น ค่าสาธารณู ปโภค ค่าเช่ าโรงงาน ค่ า บารุ งรักษาเครื่องจักร ค่าสวัสดิการต่าง ๆ เป็นต้น การคานว ณต้ น ทุ น การผลิ ต เป็นส่ว นหนึ่ง ของระบบบัญ ชี และการเงิ น เป็ น การบันทึกการวัดผลและรายงานข้อมู ลเกี่ยวกับต้นทุน ของสิ น ค้ า ของกิ จ การ โดยในปั จจุ บั น มี วิ ธี ก าร คานวณต้นทุนการผลิตด้วยโปรแกรม Excel การใช้ ฟั ง ก์ ช ั่น ที่ ใ ช้ ส ร้ า งโมเดลการค านวณ และการใช้ เครื่ อ งมื อ ในการสร้ า งรายงานต่ า ง ๆ เพื่ อ อ านวย ความสะดวกนักบัญชีในการคานวณต้นทุนการผลิต ให้ได้มาตรฐานและรวดเร็วขึน้ 27 icn


ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ต้ น ทุ น ก า ร ผ ลิ ต เป็ น การรวบรวม แจกแจง วิ เ คราะห์ แ ละรายงาน ค่าใช้ จ่ ายที่เกิ ดขึ้นในส่วนของต้ นทุนต่ าง ๆ ของการผลิ ต เพื่อประโยชน์ต่อการบริหารงาน และการดาเนินนโยบายของ ฝ่ ายบริหาร โดยจุ ดประสงค์หลักคือการกาหนดหาต้นทุนการ ผลิตที่ใกล้เคียงที่สุด ซึ่ งการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตจะทาให้ ทราบถึงจุ ดที่มีต้นทุนการผลิตที่สูง-ต่า รวมถึงสาเหตุท่ีทา ให้ต้นทุนการผลิตที่สูงได้ วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต 1. ควบคุมและลดต้นทุนการผลิต เมื่อทราบสาเหตุท่ีทา ให้ต้นทุนการผลิตสูง จะสามารถหามาตรฐานแก้ไขปรับปรุ ง เพื่อให้ต้นทุนการผลิตลดลงได้ 2. เพื่ อตั ดสิ นใจและวางแผนงานต่ าง ๆ เมื่ อทราบ ปั ญหาที่เกิดต้นทุนสูงและได้มีการกาหนดมาตรฐานปรับปรุ ง ในการลดต้ นทุ น จะท าให้ ประมาณการต้ นทุ นการผลิ ตและ ราคาขายที่ ต่าลงมาได้ และช่ วยเพิ่ มความสามารถในการ แข่งขันด้านราคาได้ 3. เพื่ อกาหนดกาไรและฐานะทางการเงิ นของกิจการ เมื่อสามารถประมาณการต้นทุนการผลิตที่แม่นยา จะทาให้ ผู ้บริหารสามารถประมาณการผลประกอบการและกาไรของ กิจการได้ 4. เพื่ อเป็ นข้ อมู ล ในการประเมิ นผลและควบคุ มการ บริหารงาน องค์กรสามารถนาผลการวิเคราะห์ต้นทุ นการ ผลิตมาประเมินผลงานทัง้ ประสิทธิภาพส่วนของบุ คลากรที่ ด าเนิ น งานและผั งการบริ หารองค์ กร เพื่ อ ปรั บปรุ งให้ มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้ ก า ร บั ญ ชี ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ก า ร ผ ลิ ต ค่ า ใช้ จ่ า ยการผลิ ต (Manufacturing Overhead) เป็ น ต้น ทุ น รายการหนึ่ง ของต้ น ทุ นการผลิ ต ทัง้ หมด เป็ น ส่ ว นที่ น อกเหนื อ จากวั ต ถุ ดิ บ ทางตรงและค่ า แรงงาน ทางตรง ค่ า ใช้ จ่ า ยการผลิ ต อาจเรี ย กอี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า ค่าใช้ จ่ายโรงงาน (Factory Expenses) ค่าใช้ จ่ายการผลิต จ าแนกเป็ น 3 กลุ่ ม คื อ วั ต ถุ ดิ บ ทางอ้ อ ม (Indirect Material) แ ร ง ง า น ท า ง อ้ อ ม ( Indirect Labor) แ ล ะ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ก า ร ผ ลิ ต อื่ น ( Other Manufacturing Overhead) ค่าใช้ จ่ายการผลิตทัง้ สามรายการมีลักษณะ เป็ น ต้ น ทุ น การผลิ ต ทางอ้ อ ม (Indirect Manufacturing Costs) ต่างกับค่าวัตถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรง ซึ่ ง เป็ นต้ น ทุน การผลิ ตทางตรง (Direct Manufacturing Costs) icn 28

ในปั จจุ บันระบบการจัดทาบัญชีต้นทุนการผลิตได้มี การพั ฒนาปรั บเปลี่ ยนวิ ธี การในรู ปแบบต่ าง ๆ เพื่ อให้ สามารถด าเนิ นงานด้ านบั ญชี ต้ นทุ นการผลิ ตได้ อย่ าง สะดวก ง่ ายต่ อการวิ เคราะห์ ต้ นทุ นการผลิ ตเพื่ อการ นามาใช้ ประโยชน์ด้านอื่น ๆ โดยวิธีท่ีกาลังได้รับความนิยม และเป็นที่ยอมรับ คือ การจัดทารายงานและการวิเคราะห์ ต้ น ทุ น การผลิ ต ด้ ว ย Pivot Table ซึ่ งสามารถช่ วยให้ บุ คลากรด้ านบั ญชี ด าเนิ นงานได้ อย่ างคล่ องตั ว ช่ วย จัดการปั ญหาต่างๆ ในการบริหารจัดการข้อมู ลด้านต้นทุน ให้หมดไปอย่างง่ายดาย Pivot Table เป็ นตั วช่ วยในการจั ดรู ปแบบต่ าง ๆ ให้กับข้อมู ลได้ง่ายขึน้ โดยไม่จาเป็นต้องใช้ สูตร เพราะทุก ๆ ตั ว เลขที่ ไ ด้ ม าจาก Pivot Table มี กระบวนการในการ คานวณอยู ่แล้ว เพียงแต่หยิ บใช้ งานให้ถูกต้องเหมาะสม เท่านัน้ Pivot Table ช่ วยให้องค์กรสรุ ปข้อมู ลได้หลายด้าน เช่ น สินค้ากลุ่มใดยอดขายเท่าใด สินค้าใดขายดีท่ีสุดในแต่ ละกลุ่ม ลูกค้ารายใหญ่ของเราคือใคร รายได้หลักของเรา มาจากที่ ใ ด สิ น ค้ า แต่ ล ะรายการมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ช่ วงเวลาด้วยหรือไม่ ลูกค้าพฤติกรรมในการซื้อเกี่ยวข้อง กับเวลาหรือไม่ เพื่อนาไปคาดการณ์ยอดขายและรายได้ท่ี จะเกิดขึน้ ตลอดจนการวางแผนยุ ทธ์ขององค์กรอีกด้วย ผู ้ ส นใ จศึ กษ าข้ อ มู ล ราย ละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม สามารถสมั ค รเข้ า ร่ ว มสั ม มนาหั ว ข้ อ “บั ญ ชี ต้ น ทุ น การผลิ ต (ภาคปฏิ บั ติ ) ” จั ด โดยสมาคมสโมสรนั ก ลงทุน ในวั นพุ ธที่ 16 ธัน วาคม พ.ศ. 2563 เวลา 09.00-16.30 น. ณ โรงแรม โรงแรม โนโวเทล กรุ ง เทพ สุ ขุม วิ ท 20 (ถนนสุ ขุ ม วิ ท ซอย 20) โดย ล ง ท ะ เ บี ย น อ อ น ไ ล น์ เ พื่ อ ส า ร อ ง ที่ นั่ ง ไ ด้ ที่ http://icis.ic.or.th หากต้ อ งการสอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม กรุ ณาติ ด ต่ อ คุ ณ กาญจนา แผนก ฝึ กอบรมและบริ ก ารนั ก ลงทุ น โทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่อ 206 ที่มา: https://cutt.ly/eg5X8ZV http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.php?id=646&section= 19&issues=27 https://cutt.ly/Ag51CXc ภาพจาก: https://cutt.ly/vgE4T6a


ไม่ต้ อ ง (คน) ดี เ ต็ ม ร้ อ ย

ชี วิ ต ก็ ไ ปได้ ส วย เส้าหลิน

ภายในห้องโถงอันกว้างขวางโออ่า บรรยากาศ ภายในเย็นสบายกาลังดี มีเก้าอีน้ ุ่ม ๆ ตัง้ เรียงกันเป็นแถว ๆ พร้ อ มระบบเสี ย งเซ็น เซอร์ ร าวด์ ดั ง กระหึ่ ม รอบทิ ศ ทาง แถมมีเทคโนโลยี 3D 4D มาใช้ เพิ่มสีสัน จนสามารถดึงให้ ผู ้ชมเข้า ไปอยู ่ใ นเหตุการณ์ในบางช่ วงบางตอนได้อ ย่า ง เสมือนจริง ช่ วยเพิ่มอรรถรสในการเสพความบันเทิงจาก ภาพยนตร์ได้เป็นอย่างดี หลายท่านจึงเลือกวิธีพักผ่อน ด้ ว ยการดู ห นั ง เพื่ อ ให้ ร่ า งกายได้ มี เ วลา ผ่ อ นคลาย หยุ ดคิด หยุ ดกังวล ซึ่ งถือว่าเป็นช่ วงเวลาดี ๆ ที่มีให้กับ ตนเอง มีคนเคยกล่าวไว้ว่า…หนังดี ๆ บางเรื่อง สามารถ สะท้อนถึงความจริงของชี วิ ต ช่ วยสร้างแรงบัน ดาลใจ หรือแนวคิดในการดาเนินชีวิตแบบใหม่ ๆ และมองปั ญหา ในมุ มที่ไม่เหมือนเดิมให้แก่ผู้ชมได้เลยทีเดียว แต่ท่านเคย สังเกตหรือไม่ว่า ทุกตัวละครไม่ว่าจะเป็นพระเอก นางเอก ตัวร้าย ล้วนมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง และสุดท้ายของ เรื่อง “คนดี” ส่วนใหญ่มักพบแต่ความสุขแบบ Happy Ending แล้วคนดีมั กมีแต่ความสุข (พบแต่ความสาเร็จ ) จริงหรือ? “ ดี ” เ กิ น ไ ป ใ ช่ ว่ า จ ะ มี ค ว า ม สุ ข

คนดี หมายถึ ง คนที่ ท าตั ว เองให้ เ ป็ น ที่ นิ ย ม ชมชอบเพื่อไม่ให้ถูกเกลียด แต่หากเรายึดติดกับความ นิยมชมชอบมากจนเกินไปจะกลายเป็นการกดดันตนเอง ไม่ให้มีความสุข ส่งผลให้ขาดอิสระทัง้ ทางกายและทางใจ แต่ถ้าหากเราสามารถควบคุมให้ อยู ่ในระดับ ที่เหมาะสม ย่อมทาให้เรามีอิสระใน 2 ด้าน คือ 1. อิ ส ระทางกาย หมายถึ ง การเลื อ กสิ่ ง หนึ่ ง จากตั ว เลื อ กจ านวนมากได้ เช่ น เลื อ กบริ ษั ท คู่ ค้ า เพื่อนที่เข้ากับเราได้ดี หรือเวลาจัดตารางการทางานก็ เลือกจัดการงานในหนึ่งวันตามที่ตนเองสะดวก 2. อิสระทางใจ หมายถึง การไม่ปล่อยให้ผู้อื่นมี อิทธิพลหรือควบคุมความรู้สึกของตัวเอง ไม่ปล่อยให้ ความรู้สึกโอนเอนไปมาจนเกิดอารมณ์โกรธ กังวล เศร้า หรือสับสน เพราะตัวตน คาพู ด หรือการกระทาของคน อื่น ต้องทาให้ตัวเองมีความรู้สึกว่า ไม่ว่ามีอะไรเกิดขึ้นก็ ยังอารมณ์ดีได้อยู ่

โดยการเป็นตัวของตัวเองได้อย่างเป็นธรรมชาติ ไม่ต้องเครียดกับเรื่องที่ไม่เป็นเรื่อง เพราะสังคมของเรา มี ทั ้ง คนที่ ก ลั ว ถู ก คนอื่ น เกลี ย ดและคนที่ ม องว่ า การ ถู กเกลี ย ด ไม่ ใ ช่ เรื่ อ งใหญ่ ซึ่ ง การไม่ ต้ อ งใส่ ใ จกั บ คนที่ พู ดจาว่าร้ายคุณ นอกจากเป็นพวกไม่ประสบความสาเร็จ ในชีวิตแล้ว ยังเป็นคนที่ไม่มีความสาคัญกับคุณเลย

เธอเป็นคนดีเกินไป ฉันไม่คู่ควรกับเธอ…. แล้วเขา คนนัน้ ก็เดินจากไป ถือเป็นประโยคเด็ดที่ใช้ ในการเลิกลาทัง้ ในหนังและชีวิตจริง ฟั งแล้วอาจดูเศร้า แต่ก็งงว่า แล้ว ผิดตรงไหนที่ฉันนัน้ เป็น “คนดี” เกินไป คุณโกะโด โทคิโอะ ผู ้เขียนหนังสือ “เลิกเป็นคนดี แล้วจะมีความสุข ” ได้ให้นิยามถึง “คนดี” ในอีกมุ มมอง หนึ่งไว้ว่า 29 icn


ซึ่ งหากเปรียบเทียบแนวคิดของชาวญี่ปุ่ นกับนิทาน อีสปของไทยเรื่องหนึ่งที่เล่าว่า… ณ หนองน ้า แห่ ง หนึ่ ง มี วั ว ก าลั ง เล็ ม หญ้ า และ ดื่มนา้ ได้เผลอเหยียบลูกอึ่งอ่างตายไปหลายตัว เมื่อแม่ อึ่งอ่างกลับมา ลูกๆ จึงเล่าให้ฟังว่า ลูกอึ่งอ่าง: แม่ๆ มีตัวอะไรก็ไม่รู้ตัวใหญ่ทะมึน มา เหยียบพวกเราตายไปหลายตัว มันน่ากลัวมากเลยแม่ เมื่อแม่อ่งึ อ่างได้ยินดังนัน้ จึงสูดลมพองตัวให้ใหญ่ ขึน้ แล้วถามว่า ตัวใหญ่เท่านีไ้ หม? ลูกอึ่งอ่างบอกว่า: ใหญ่กว่านีๆ้ อีกแม่ แล้ ว แม่ อ่ึ งก็ พ องตั ว ขึ้น อี ก พร้ อมกั บถามซ้ าว่ า ใหญ่พอไหม? ลูกๆ อึ่ง อ่าง ก็ ยังคงตอบว่า: ใหญ่ยังไม่ถึงครึ่ ง เลยแม่ แม่อ่งึ เกิดอาการฉุนเฉียวจึงพองตัวขึ้นสุดแรงเกิด เพื่อให้ตัวใหญ่เท่าวัวตัวนัน้ จนในที่สุดตัวเองทนไม่ไหว ท้องแตกตาย ณ หนองนา้ แห่งนัน้ อ้างอิง : หนังสือ “เลิกเป็นคนดีแล้วจะมีความสุข”: โกะโด โทคิโอะ เขียน, อาคิรา รัตนาภิรัต แปล ภาพจาก: https://twitter.com/amarinbooks/status/1165831026762907648? lang=bg

แม้เรื่องนีจ้ ะจบลงด้วยความเศร้า แต่นิทานเรื่องนี้ ก็ ส อนให้ รู้ ว่ า ….“เมื่ อ ท าสิ่ ง ใดควรรู้ จั ก ประมาณตนให้ เหมาะสมอย่าใส่ใจความคิดเห็นของคนอื่น” จะเห็นได้ว่า อะไรที่มากเกินไปย่อมไม่เป็นผลดี ทาดี มากมายก็ใ ช่ ว่ าจะเป็ นคุ ณเสมอไป แต่ หากเราสามารถ ยับยัง้ ได้ เราย่อมไม่ทุกข์ ไม่เหนื่อย แล้วยังสามารถนา เวลาดังกล่าวมาทาการทบทวนตัวตนของตนเอง ไม่ต้อง เสียเวลาไปกับการพยายามให้คนอื่นยอมรับเราเต็มร้อย อยู ่ตลอดเวลา จนไม่เป็นตัวของตัวเองแล้วเกิดผลเสีย ทาให้เรากลายเป็นคนขาดความมัน่ ใจ ลังเล และประหม่า

ดั ง นั ้น อย่ า คิ ด ว่ า ท าไปแล้ ว คนอื่ น จะรั ง เกี ย จ/ จะชอบเราไหมมากจนไม่กล้าลงมือทา หรือวิตกกังวล กลัวคนอื่นจะไม่เห็นด้วยจนเกินพอดี เพราะตราบใดที่เรา ยังเห็นว่าตนเองมีคุณค่า พอใจในสิ่งที่ตนมี ไม่ปล่อยให้ คนอื่นมาทาให้รู้สึกแย่ ไม่ใส่ใจอะไรง่ายๆ และกลับมาให้ เวลาทาอะไรดีๆ ให้กับตนเอง ปี ใหม่นกี้ ็จะเป็นปี ท่ดี ีๆ ของท่าน ดังภาพยนตร์ท่จี บ ลงแบบ Happy Ending ตลอดกาล …สวัสดีปีใหม่…

สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ ออนไลน์ เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ หลักสูตรการใช้งานระบบ IC หลักสูตรด้านศุลกากร หลักสูตรการบริหารจัดการ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน

0 2936 1429 ต่ อ 205-209 icn 30


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ขั้ น ตอนการแจ้ ง พ้ น ช่ า งต่ า งชาติ ค นเดิ ม เพื่ อ บรรจุ ช่ า งต่ า งชาติ ค นใหม่ Q : หากบริ ษั ท ต้ อ งการเปลี่ ย นกรรมการผู ้ จั ด การบริ ษั ท (Managing Director) ซึ่ ง เป็ น ชาวต่างชาติ จากคนเดิม เป็นกรรมการผู ้จัดการคนใหม่ บริษัทควรดาเนินการอย่างไร A : ปั จจุ บัน BOI ได้ปรับปรุ งขัน้ ตอนการแจ้งช่ างต่างชาติพ้นตาแหน่ง ดังนี้ 1. กรณีท่ียื่นคาร้องแจ้งช่ างต่างชาติพ้นตาแหน่ง ระบบจะยังเก็บตาแหน่งนัน้ ไว้ต่อไป จนสิน้ สุดระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติไว้เดิม 2. หากบริษัทมีช่างต่างชาติคนใหม่ ที่จะเข้ามาปฏิบัติงานในตาแหน่งที่ว่างอยู ่นนั ้ สามารถ ยื่นขอบรรจุ ช่ างต่างชาติคนใหม่ได้ โดยไม่ต้องยื่นขออนุมัติตาแหน่งนัน้ ใหม่ 3. หากต าแหน่ ง เดิ ม ที่ ว่ า งลง มี อ ายุ เหลื อ ไม่ ถึ ง 90 วั น บริ ษั ท สามารถยื่ น ค าร้ อ ง ขอยกเลิ กตาแหน่งนัน้ เพื่อยื่นขอตาแหน่ งใหม่พ ร้อมกับการขอบรรจุ ช่ างต่างชาติ คนใหม่ก็ได้

ติ ดตาม FAQ 108 คาถามกั บงานส่ง เสริ มการลงทุน ได้ท าง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

การดาเนินธุ รกิจอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุ ดชะงัก และการสร้างการเติบโต แม้อยู ่ในสถานการณ์ท่ไี ม่ปกติ ถือเป็นเครื่องยืนยันถึงความแข็งแกร่งของโอสถสภา และประสิทธิภาพการดาเนินงานที่เน้นความรวดเร็ว และคล่องตัว ตลอดจนการรักษาคุณภาพของสินค้า มาอย่างยาวนานจนเป็นที่ไว้วางใจของผู ้บริโภค

คุณธนา ไชยประสิทธิ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษั ท โอสถสภา จากัด (มหาชน) ที่มา>> https://www.ryt9.com/s/prg/3175020 ภาพจาก>> https://cutt.ly/thovfzj

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก

www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 201 อีเมล icn@ic.or.th 31 icn


ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ ง ปลายนิ้ ว คุ ณ

@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ

Add friends

ที่ สาคั ญ ... ตอบทุ ก ข้ อ สงสั ย ของคุ ณ ในทุกงานบริการของสมาคม ด้วย LINE CHAT

IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย

ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ

อย่ า ลื ม ... บอกต่ อ และแนะนาเพื่ อ นเข้ า มาด้ ว ยกั น นะ !!




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.