ICeNewsletter_July2019

Page 1

Vol.18 / July 2019 หกปั จจัยสาคัญ สร้างนวัตกรรม ให้เป็นจริง (1) 7 สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ค วรรู้ กฎหมายแรงงาน 2562

มาตรการเพิม่ ขีดความสามารถ เพื่อ

สนับสนุน

SMEs ไทย


“มีปญ ั หาไม่รู้จะโทรปรึกษาใคร”

Single Window for

Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th

www.ic.or.th


04 7 สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ค วรรู้ กฎหมายแรงงาน 2562

11

ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพ ท์ : 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร : 0 2936 1441-2 e-mail : icn@ic.or.th

มาตรการเพิม่ ขีดความสามารถ เพื่อสนับสนุน SMEs ไทย

07

หกปั จจัยสาคัญ สร้างนวัตกรรมให้เป็นจริง (1)

15

ภูมิคุ้มกันดี มีชยั (สาเร็จ) ไปกว่าครึ่ง

การพัฒนาเศรษฐกิจในปั จจุ บันของนานาประเทศต่างให้ความสาคัญกับการผลักดัน และสนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด ธุ รกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม หรื อ SMEs ตลอดจนกลุ่ ม ธุ รกิ จ สตาร์ ท อั พ ซึ่ งก าลั ง ได้ รั บ ความนิ ย มอั น เป็ นผลสื บ เนื่ อ งมาจากลั ก ษณะของธุ รกิ จ ที่ มี จุ ดเริ่ ม ต้ น จากนั ก ธุ รกิ จ รุ ่ น ใหม่ ท่ี มี แ นวความคิ ด และทั ศ นคติ ส ร้ า งสรรค์ ท่ี ต่ า งออกไป จากนักธุ รกิจรุ ่นเดิม สาหรับประเทศไทย การสนับสนุนผู ้ประกอบการในกลุ่มธุ รกิจที่กล่าวมาข้างต้นก็ได้รับ การมุ ่งเน้นเช่ นเดียวกัน โดยเฉพาะธุ รกิจ SMEs ที่หน่วยงานภาครัฐซึ่ งมีหน้าที่รับผิดชอบด้าน การส่ ง เสริ ม การลงทุ น อย่ า งส านั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การ ลงทุ น หรื อ บี โ อไอ ได้ อ อกมาตรการเพิ่ ม ขี ด ความสามารถของผู ้ ป ระกอบการวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SMEs) โดยเฉพาะในกลุ่มกิจการด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ซึ่ งนักธุ รกิจ รุ ่น ใหม่ มีความสามารถในการสร้างสรรค์ผ ลงาน ผลิต ภั ณฑ์ หรือบริก ารที่แ ปลกใหม่และ ตอบสนองความต้องการผู ้บริโภคที่นับวันจะมีความหลากหลายเพิ่มมากขึน้ ได้อย่างลงตัว โดยมาตรการนีจ้ ะมุ ่งเน้นสนับสนุนธุ รกิจ SMEs ไทย เนื่องจากมีเงื่อนไขสาคัญ คือ ผู ้ ข อรั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น จะต้ อ งมี บุ คคลธรรมดาสั ญ ชาติ ไ ทยถื อ หุ้ น ไม่ น้ อ ยกว่ า ร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน และยังอนุญาตให้สามารถนาเครื่องจักรใช้ แล้วในประเทศมาใช้ ในโครงการที่ขอรับการส่งเสริมการลงทุนได้ โดยเครื่องจักรที่นามาใช้ นัน้ ต้องมีมูลค่าไม่เกิน 10 ล้านบาท ซึ่ งสามารถคานวณราคาเครื่องจักรใช้ แล้วในประเทศโดยใช้ มู ลค่าตามบัญชี ได้อีกด้วย สาหรับสิท ธิประโยชน์ท่ีผู้ขอรับการส่งเสริมการลงทุนภายใต้มาตรการนี้จ ะได้รับ คือ หากเป็นผู ้ประกอบการประเภทกิจการในกลุ่ม A จะได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติ บุคคลเป็นสัดส่วน ร้อยละ 200 ของเงินลงทุน (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุ นเวียน) และได้รับยกเว้นอากรขาเข้า สาหรับเครื่องจัก ร ทัง้ นี้ ผู ้ท่ีสนใจสามารถอ่านข้อมู ลเพื่อศึ กษารายละเอียดอื่น ๆที่สาคั ญ เพิ่มเติมได้ ในคอลัมน์ Highlight Issues ประจา IC e-Newsletter ฉบับเดือนกรกฎาคมนี้ สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะสนั บ สนุ น การด าเนิ น กิ จ การของธุ รกิ จ ทัง้ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดย่อม รวมถึงธุ รกิจสตาร์ทอัพ ด้วยระบบการให้บริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ ว ตลอด 24 ชั่ว โมง ผ่ า นการให้ บ ริ ก ารแบบออนไลน์ และบริ ก าร ด้ า นหลั ก สู ต รฝึ กอบรมและสั ม มนาที่ มี ก ารพั ฒ นาหลั ก สู ต รใหม่ ๆ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การ ดาเนิ น ธุ รกิจ ทุ ก ขนาดการลงทุ น ไม่ ว่ า จะขนาดเล็ ก หรือ ใหญ่ มี ก ระบวนการท างานมาก หรื อ น้ อ ย สมาคมฯสามารถปรั บ หลั ก สู ต รให้ ส อดรั บ กั บ ทุ ก องค์ ก รได้ อ ย่ า งมี คุ ณ ภาพ โดยผู ้ ท่ี ส นใจสามารถดู ร ายละเอี ย ดหลั ก สู ต รและเลื อ กลงทะเบี ย นเพื่ อ สมั ค รร่ ว มสั ม มนา ได้ท าง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่ม เติม ได้ท่ี โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-209 หรือติดตามข้อมู ลต่างๆของสมาคมฯได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3

icn


มาตรการเพิ่มขีดความสามารถ เพื่อ

สนับสนุน

SMEs ไทย มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ปั จจุ บันกลุ่มผู ้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่ อ ม (SMEs) ถื อ เป็ น แรงขั บ เคลื่ อ นส าคั ญ ของ เศรษฐกิ จ ไทยที่ จ ะช่ วยขยายฐานความเข้ ม แข็ ง ในการ แข่ ง ขั น ทั ้ง ด้ า นนวั ต กรรมและเทคโนโลยี ใ หม่ เนื่ อ งจาก บุ คลากรรุ ่นใหม่ท่ีมีหัวคิดในยุ คดิจิทัลและมีศกั ยภาพด้าน ความสามารถในการนาความรู้และความคิดสร้างสรรค์ ในมุ มมองที่ แ ตกต่ า งมาพั ฒ นากระบวนการท างาน การผลิต และการตลาด ให้สามารถต่อกรกับบริษัทยักษ์ ใหญ่ ในตลาดระดับประเทศและระดับโลกได้ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ในนามของภาครัฐเล็งเห็นความสาคัญของผู ้ประกอบการ SMEs จึงให้การสนับสนุนทุกด้านเพื่อช่ วยเพิ่มศักยภาพ และสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ กับ ผู ้ ป ระกอบการให้ ส ามารถ เติบโตทางธุ รกิจได้อย่างยัง่ ยืน ด้วยการออก “มาตรการ เพิ่มขีดความสามารถของผู ้ประกอบการวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (SMEs)” คุณสมบัติของ SMEs ที่ขอรับการส่งเสริมการลงทุน

ผู ้ขอรับการส่งเสริมการลงทุนต้องเป็น SMEs ไทย โดยมีคุณสมบัติดังนี้ 1. ต้ อ งมี บุ คคลธรรมดาสั ญ ชาติ ไ ทยถื อ หุ้ น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 2. เมื่อ รวมกิจการทั ้งหมดทั ้งที่ไ ด้รับ การส่งเสริ ม การลงทุนและไม่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุนแล้ว ผู ้ขอรับการส่งเสริมการลงทุนต้องมีสินทรัพย์ ถ า ว ร ห รื อ เ งิ น ล ง ทุ น ไ ม่ ร ว ม ค่ า ที่ ดิ น แ ล ะ ทุนหมุ นเวียนไม่เกิน 200 ล้านบาท icn

4

เงื่ อ นไขสาหรั บ SMEs ที่ขอรับการส่งเสริมการลงทุน 1. ต้องมีเงินลงทุนขัน้ ต่าของแต่ละโครงการไม่น้อยกว่า 500,000 บาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุ นเวียน) 2.ต้องมีอัตราส่วนหนีส้ ินต่อทุนไม่เกิน 3 ต่อ 1 3.อนุญาตให้นาเครื่องจักรใช้ แล้วในประเทศมาใช้ ใน โครงการที่ขอรับการส่งเสริมการลงทุนได้มีมูลค่า ไม่เกิน 10 ล้านบาท โดยจะคานวณราคาเครื่องจักร ใช้ แล้วในประเทศโดยใช้ มูลค่าตามบัญชี และต้อง ลงทุ น ใหม่ ในเครื่ อ งจั กรเป็ นสั ด ส่ ว นไม่ น้ อ ยกว่ า ร้อยละ 50 ของมู ลค่าเครื่องจักรที่ใช้ ในโครงการ 4.กิ จ การที่ ข อรั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น ต้ อ งเป็ น ประเภทกิจการในกลุ่ม A และ B1 (สามารถดูข้อมู ล ประเภทกิจการได้ท่ี www.boi.go.th) 5. มีผลบัง คับใช้ กับคาขอรับการส่งเสริมการลงทุ น ที่ยื่นตัง้ แต่วันที่ 1 มกราคม 2561 จนถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2562


สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ 1. ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลสาหรับประเภทกิจการ ในกลุ่ม A เป็นสัดส่วนร้อยละ 200 ของเงินลงทุน (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุ นเวียน) 2. ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับเครื่องจักร 3. สิทธิและประโยชน์อื่นให้ ได้รับตามหลักเกณฑ์ประกาศ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 2/2557 ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2557 นอกจากนี้ เพื่ อ เป็ น การจู ง ใจผู ้ ป ระกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และกระตุ้นให้ มีการลงทุนหรือการใช้ จ่ายในกิจกรรมที่จะเป็นประโยชน์ ต่ อ ประเทศหรื อ อุ ตสาหกรรมโดยรวมมากขึ้ น จึ ง ได้ ก า ห น ด สิ ท ธิ แ ล ะ ป ร ะ โ ย ช น์ เ พิ่ ม เ ติ ม ต า ม คุ ณ ค่ า ของโครงการ โดยแบ่งเป็น 1. สิ ท ธิ แ ล ะป ร ะโ ย ชน์ เ พิ่ มเติ ม ก าร พั ฒ น า ความสามารถในการแข่งขัน ได้แก่ การวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรม ทัง้ ดาเนินการเองหรือการว่าจ้าง ผู ้อื่นในประเทศ การสนับสนุนกองทุนพัฒนาเทคโนโลยี และบุ คลากร สถาบันการศึ กษา ศูนย์ฝึกอบรมเฉพาะทาง สถาบั น วิ จั ย การฝึ กอบรมด้ า นเทคโนโลยี ขั ้ น สู ง และการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุ ภัณฑ์

2. สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ เ พิ่ ม เติ ม การกระจาย สู่ภูมิภาค หากตัง้ สถานประกอบการในพืน้ ที่ 20 จังหวัด ได้ แ ก่ กาฬสิ น ธุ ์ ชั ย ภู มิ นครพนม น่ า น บึ ง กาฬ บุ รี รั ม ย์ แพร่ มหาสารคาม มุ กดาหาร แม่ ฮ่ องสอน ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สกลนคร สระแก้ว สุโขทัย สุรินทร์ หนองบัวลาภู อุ บลราชธานี และอานาจเจริญ จะได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติมอีก 3 ปี ทัง้ นี้ หากเป็นกิจการกลุ่ม A1 และ A2 จะได้รับการลดหย่อน ภาษี เงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เพิ่มเติมอีก 5 ปี นับจาก วั น ที่ ก าหนดระยะเวลายกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคล สิน้ สุดลง บี โ อ ไ อ ค า ด ก า ร ณ์ ว่ า ม า ต ร ก า ร เ พิ่ ม ขี ด ความสามารถของผู ้ ป ระกอบการ SMEs จะสามารถ ช่ วยผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การลงทุ น เพิ่ ม ขึ้ น อี ก ทั ้ง สร้ า ง แรงจู งใจให้ ผู้ ป ระกอบการ SMEs ขยายการลงทุ น กระจายไปสู่ภูมิภาค และเพิ่มมู ลค่าการลงทุนทางด้าน การวิ จั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมมากขึ้ น ผ่านการให้สิทธิและประโยชน์เพิม่ เติม โดยผู ้ประกอบการ SMEs ที่สนใจสามารถเข้าไปศึ กษารายละเอียดเพิ่มเติม ได้ท่ี https://www.boi.go.th/un/SME_policies ข้อมู ลจาก: https://www.boi.go.th ภาพจาก: https://www.cpall.co.th/sustain/economicdimension/innovation-management/ https://www.tasme.or.th/about/

สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา...

วิธี

ขอเปิ ดดาเนินการ

สาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

วั น เสาร์ ท่ี 20 กรกฎาคม 2562 เวลา 09.00-16.00 น. ณ โรงแรม บู เลอวาร์ ด กรุ งเทพฯ

5

icn


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29

สมัครใช้ บริการ eMT

ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online

ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พมิ พ์ใน ระบบ eMT Online

สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร

ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร

BOI Approve 30 วัน 7 วัน

30-60 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

เป็นเรื่อง ติดต่อ...

ยุงยาก

IC

สา ห รั บ คุ ณ

บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านเครื่องจักร

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 314-315


หก ปัจจัยสาคัญ สร้างนวัตกรรม ให้เป็นจริง (1) จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com

นับตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2001 Langdon Morris ได้กลายเป็น ผู ้ น าในการให้ ค าปรึ ก ษาแนะน าด้ า นนวั ต กรรมของ InnovationLabs LLC ที่นี่เขามีตาแหน่งเป็นผู ้ร่วมก่อตัง้ และ พันธมิตรทางธุ รกิจอาวุ โส นอกจากนัน้ เขายังร่วมกับบริษัท FutureLab Consulting ในการให้บริการคาปรึกษาแนะนา กับบริษัทอื่นๆมากมาย ทาให้เขาได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่ง ในนักคิดและที่ปรึกษาด้านนวัตกรรมชัน้ นาของโลก ผลงานที่ เขาคิดค้นขึน้ ได้รับการยอมรับและนาไปปรับใช้ ในองค์กรและ มหาวิท ยาลั ย ต่ า งๆมากมายในการยกระดั บ กระบวนการ นวั ต กรรมเพื่ อ บรรลุ ผ ลตามที่ อ งค์ ก รต่ า งๆก าหนด เป้ าหมายไว้ หนังสือ 3 เล่มที่เป็นผลงานล่าสุดของเขาในชื่อ Agile Innovation, The Innovation Master Plan และ Permanent Innovation ได้ รับ การยกย่อ งให้เป็ นหนัง สื อ ชัน้ นาด้านนวัตกรรมในทศวรรษที่ผ่านมา ปี ที่ แ ล้ ว เขาได้ รั บ เชิ ญ บรรยายในหั ว ข้ อ “Be the Innovation Champion Transforming Food and Retail with Innovation” เพื่อจุ ดประกายและปรับแนวคิดให้กับ ผู ้ ป ระกอบการและผู ้ บ ริ ห ารองค์ ก รธุ รกิ จ ของสิ ง คโปร์ ให้เห็นถึงความสาคัญในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงใหญ่ ของโลกธุ รกิ จ ในยุ คนี้ และการแสวงหาโอกาสใหม่ ๆ จาก ความคิดที่ก้าวกระโดด การบรรยายดังกล่าวจัดขึน้ สามวัน โดยวันแรกเป็นการพู ดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Group Session) กั บ กลุ่ม ผู ้ ป ระกอบการ SMEs และโน้ม น้ า วให้ ตระหนั ก และเห็ น ความส าคั ญ ของรู ป แบบธุ รกิ จ ใหม่ (Business Model Innovation) ที่ แ ตกต่ า งไปจากเดิ ม การระบุ ถึงสภาพปั ญหาและแรงผลักดันสาคัญที่ก่อให้เกิด การเปลี่ ย นแปลงต่ อ ธุ รกิ จ และอุ ตสาหกรรมโดยรวม ส่วนวันที่สองเป็นการลงมือปฏิบัติ (Field Work) เพื่อค้นหา แนวคิด ใหม่ที่ยิ่งใหญ่แ ละก้าวกระโดด โดยนาผลลั พธ์ที่ไ ด้ จากวันแรกมาใช้ ในการระดมสมองเพื่อคิดหาแนวทางที่ดี กว่าเดิม และวันสุดท้ายพู ดถึงโอกาสและการสร้างประโยชน์ จากมันโดยคัดเลือกแนวทางที่จะทาให้ ได้โอกาสใหม่ ในธุ รกิจ ที่ดีที่สุด

ความจริ ง แล้ ว นวั ต กรรมมี ค วามส าคั ญ ส าหรั บ ธุ รกิ จ ขนาดเล็ ก ไม่ ต่ า งจากธุ รกิ จ ขนาดใหญ่ แต่ ห นั ง สื อ และบทความต่ า งๆส่ ว นใหญ่ มั ก มุ ่ ง เน้ น ไปที่ น วั ต กรรม สาหรับองค์กรขนาดใหญ่ ในหนังสือ The Innovation Formula ของ Langdon Morris ได้นาเสนอมุ มมอง เชิ ง ลึ ก แก่ ผู้ ป ระกอบการและผู ้ บ ริ ห ารธุ รกิ จ ขนาดเล็ ก ถึ ง วิ ธี ก ารสร้ า งนวั ต กรรมให้ ป ระสบความส าเร็ จ แม้ ว่ า จะมีเวลาจากัดและเงินลงทุนไม่มากก็ตาม เขากล่าวว่า “มีหนังสือดีๆมากมายที่เขียนเกี่ยวกับ นวัตกรรม แต่ส่วนใหญ่จะเขียนสาหรับธุ รกิจขนาดใหญ่ บริษัทชัน้ นา และองค์กรข้ามชาติ และเนือ้ หายังมุ ่งเน้นไปที่ การช่ วยองค์กรใหญ่เหล่านัน้ จัดการหรือรับมือกับปั ญหา และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงครัง้ ใหญ่ของโลก อีกทัง้ ยังมี หนัง สือดี อีก มากที่เขี ยนเกี่ย วกับ นวั ตกรรมส าหรับธุ รกิ จ เริ่มต้นใหม่ โดยเฉพาะหนังสือแนวแนะนาวิธีปฏิบัติ แต่ยัง ไม่ ค่ อ ยมี ห นั ง สื อ ที่ เ ขี ย นเกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมและกลยุ ทธ์ สาหรับธุ รกิจขนาดเล็ก” และนี่คือเหตุผลว่าทาไมเขาจึงเขียน หนังสือเล่มนีข้ นึ้ และหวังว่าจะมีคนสนใจอ่าน พวกเราทุกคนรู้ดีว่าไม่มีธุรกิจใดจะสามารถคงอยู ่ ในสภาพที่ซบเซา และคาดหวังว่าจะอยู ่รอดได้เป็นเวลานาน ท่ า มกลางสภาพการแข่ ง ขั น ในทุ ก วั น นี้ซ่ึ ง ประกอบด้ ว ย เทคโนโลยี ห ลากหลายมากมาย โครงสร้ า งตลาด และ ความชื่นชอบของลูกค้าที่กาลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จนเกิ ด เป็ น แนวโน้ ม ใหม่ ผู ้ น าองค์ ก รต่ า งรู้ ว่ า ทุ ก ธุ รกิ จ จะต้องตอบสนองสิ่งที่กล่าวมาข้างต้นโดยการปรับตัวและ เปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ด้วยนวัตกรรม

7

icn


แต่ น วั ต กรรมเป็ นเรื่ อ งยากมากที่ จ ะท าให้ ส าเร็ จ บางครั ง้ ดูมั น จะเป็น เรื่อ งของศิ ล ปะมากกว่ าวิ ท ยาศาสตร์ เสียด้วยซ้ า สิง่ หนึ่งที่สนับสนุนความคิดข้างต้นคือมันเต็มไป ด้ วยความไม่ แ น่ น อน (Uncertainty) มากมายหลายเท่ า ทวีคูณ ความไม่แน่นอนประการแรก คือ แรงผลักดันจาก ภายนอกที่มีความไม่แน่นอนโดยตัวมันเองอยู ่แล้ว สิง่ ต่างๆ กาลังเปลี่ยนแปลง แต่ไม่มีหนทางใดเลยที่จะทาให้เราสามารถ คาดการณ์ สิ่ง ที่ ก าลั ง เกิ ด ขึ้น ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และแม่ น ย า ด้วยเหตุนที้ ุกคนจึงต้องเตรียมการสาหรับอนาคตที่ไม่มีใครรู้ หรือคาดเดาได้ โดยการศึ กษาทางเลือกต่างๆที่หลากหลาย ในอนาคตไว้ก่ อน ไม่ใช่ รอจนมารู้ นาที สุดท้ ายที่เราจะต้อ ง ตั ด สิ น ใจกระท าการอะไรบางอย่ า ง หรื อ หยุ ดด าเนิ น การ สิง่ นัน้ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงที่แผ่ขยาย ออกไปและส่ ง ผลกระทบมาถึ ง ในที่ สุ ด สิ่ ง ที่ ส องของ ความไม่แน่นอน คือ มันอยู ่ในกระบวนการสร้างนวัตกรรม อยู ่ แ ล้ ว โดยธรรมชาติ เมื่ อ ใดที่ ก ระบวนการนี้ เ ริ่ ม ต้ น นัน่ หมายความว่าเรากาลังทาอะไรบางอย่างที่ไม่เคยทามา ก่อนเพื่อสร้างบางสิง่ ที่ไม่เคยมีอยู ่มาก่อน ซึ่ ง Langdon Morris เขียนไว้ในหนังสือของเขาว่า ผู ้ น าทางธุ รกิ จ มากมายไม่ ช อบความไม่ แ น่ น อนจนถึ ง ขั ้น เกลียดมันด้วยซ้ าไป พวกเขาต่างรู้ดีว่าเมื่อจะนาองค์กรเข้า สู่นวัตกรรม พวกเขาจะต้องเจอมัน ซึ่ งมีน้อยคนที่จะกล้า เสี่ ย งกั บ ความไม่ แ น่ น อนที่ อ งค์ ก รต้ อ งเผชิ ญ ดั ง นั น้ จึ ง มี ไม่กี่องค์กรที่สามารถเป็นองค์กรนวัตกรรมได้ หนังสือของ Langdon Morris มีเนือ้ หาน่าสนใจ ผู ้เขียนจึงอยากนาเนือ้ หาบางส่วนมาแบ่งปั นเพื่อเป็นแง่คิด และแนวทางให้กับหลากหลายธุ รกิจในประเทศเราได้เรียนรู้ และนาไปปรับใช้ ให้สอดรับกับบริบทขององค์กร หรืออาจจะ น าไปใช้ เ ตรี ย มการเพื่ อ ขยั บ ขยายแนวทางการพั ฒ นา องค์ก รจากเดิ มที่ด าเนิน การเพีย งแค่ ปรับปรุ งเล็กๆน้อยๆ อย่า งต่ อเนื่องมาเป็ นการปรับ ครั ง้ ใหญ่แ บบคิดใหม่ ทาใหม่ อย่ า งก้ า วกระโดดเช่ นเดี ย วกั บ บริ ษั ท ชั ้น น าของโลก ที่เรื่องราวถูกนาเสนอเป็นกรณีศึกษาปรากฏอยู ่ในข่าวสาร ตามสื่อต่างๆ

icn 8

ผู ้บริหารองค์กรทุกคนไม่ว่าจะขนาดเล็กหรือใหญ่ เป็นองค์กรเอกชนหรือของรัฐก็ตาม ไม่ควรจะนิ่งนอนใจกับ สภาวการณ์ที่เป็นอยู ่ในปั จจุ บัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของสภาพ เศ รษฐกิ จที่ ซ บเซา ก าร ค้ าก าร แข่ งขั น ที่ รุ นแ รง ขึ้ น เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงแบบหน้ามือเป็นหลังมือจากในอดีต เมื่อสิบปี ก่อน โครงสร้างตลาดที่เปลี่ยนไป และการค้าแบบ ไร้พรมแดนอย่างแท้จริง นอกจากนีก้ ารติดตามสถานการณ์ อย่ า งใกล้ ชิ ด การคาดการณ์ ถึ ง การเปลี่ ย นแปลงใหม่ ที่ กาลังจะเกิดขึน้ และการเตรียมการรับมือเพื่อช่ วงชิงโอกาส ใหม่ๆเป็นสิง่ ที่ทุกคนในองค์กรต้องร่วมด้วยช่ วยกัน ไม่ผลักภาระ ให้ เ ป็ นความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ บ ริ ห ารแต่ เ พี ย งเท่ า นั ้ น หากแต่ ต้ อ งสร้ า งความตระหนั ก ให้ เ กิ ด ขึ้ น แก่ พ นั ก งาน ทุกคนทุกระดับชัน้ นี่คือยุ คแห่งการเรียนรู้ที่ไม่สิน้ สุด เรียนรู้ ตลอดเวลา เรี ย นรู้ จ ากสิ่ง รอบข้ า ง และกล้ า ท าในสิ่ง ที่ ไม่คุ้นเคย

บริ ษั ท นวั ต กรรมชัน้ น าของโลกล้ ว นแล้ ว แต่ เ คย ผิ ด พลาดและต้ อ งสู ญ เสี ย เงิ น ลงทุ น ไปโดย ไม่ ได้ รั บ ผลตอบแทนกลับมาดังที่คาดหวัง ตัวอย่างเมื่อย้อนกลับไป ในอดีต ที่เทคโนโลยีบั นทึ กภาพและเสี ยงยัง ใช้ แถบแม่เหล็ ก เคลือบบางๆบนผิววัสดุต่างๆไม่ว่าจะเป็นเส้นเทป (Cassette tape หรือ VDO tape) หรือบนแผ่นจานวงกลม (CD, DVD, MD, LD) แต่ ล ะบริ ษั ท ต่ างคิ ด ถึ ง นวั ต กรรมใหม่ ด้ ว ยการ ลากเส้นต่อจุ ด โดยยังมีความคิดว่าจะทาอย่างไรให้สามารถ บีบอัดข้อมู ลลงไปในวัสดุใหม่ ให้มีความจุ ที่มากขึ้นในขนาด ที่เล็กลง สามารถใช้ งาน พกพา และจัดเก็บได้ง่าย Blue-ray disc หรื อ BD จึ ง ถู ก คิ ด ค้ น ขึ้ น มาเพื่ อ ทดแทนสิ่ ง เดิ ม แต่นวัตกรรมกลับไปไกลกว่านัน้ เมื่อ Ecosystem กลายเป็น Digital on-Line อย่างสมบู รณ์แบบพร้อมๆกับความก้าวหน้า ด้ า นโทรคมนาคม (4G) การดาวน์ โ หลดแบบสตรี ม มิ่ ง จึงเกิดขึ้น ความต้องการใช้ วัสดุที่เป็นตัวกลาง (Media) จึ ง หายไป การถ่ า ยทอดสั ญ ญาณในรู ป แบบดิ จิ ทั ล ท าได้ สมบู รณ์แบบไร้ที่ติ ทาให้แม้แต่ Blue-ray ที่สามารถแสดง ภาพและเสียงได้อย่างละเอียดก็กลายเป็นนวัตกรรมที่ตกยุ ค ไปในทั น ที ทั ้ง ๆที่ ธุ รกิ จ ยั ง ไม่ ทั น เบ่ ง บานและการคื น ทุ น ยังไม่เกิดขึน้ ด้วยซ้ าไป


ในบทแรกของหนังสือ The Innovation Formula for Small Business Leaders and Entrepreneurs เขียนโดย Langdon Morris ได้อธิบายให้เห็นถึงความสาคัญ ของการตัง้ คาถามและเขียนแผนที่ซ่ึ งอธิบายเกี่ยวกับการ แข่งขัน การเปลี่ยนแปลง อนาคต นวัตกรรม และกลยุ ทธ์ เป็ นความตั ้ ง ใจของผู ้ เ ขี ย นที่ จ ะช่ วยให้ ผู้ อ่ า นได้ ท า ความเข้าใจถึงแรงผลักดันสาคัญในการปรับรู ปแบบธุ รกิจ วั น นี้แ ละแปลงร่ า งสู่ ธุ รกิ จ ใหม่ ในวั น พรุ ่ ง นี้ผ่ า นสมการ ความส าเร็ จ ในการสร้ า งนวั ต กรรมที่ เ ขาค้ น พบมานาน หลายปี แล้ ว ว่ า ไม่ ว่ า คุ ณ ก าลั ง ท าธุ รกิ จ อู ่ ซ่ อมรถยนต์ ร้านขายแซนด์วิช หรือเป็นบริษัทผู ้ผลิตรถยนต์ข้ามชาติ ความสาเร็จในแต่ละกรณีล้วนตัง้ อยู ่บนสมรรถนะ 5 ด้าน ที่เหมือนกัน ถึงแม้สิ่งที่คุณทาจะแตกต่างกันไปตามขนาด ของธุ รกิจ แต่อย่างไรก็ตามองค์ประกอบที่แท้จริงดูเหมือน จะสอดคล้องกันในทุกธุ รกิจ เพราะไม่ว่าคุณจะเป็น CEO, GM หัวหน้าเชฟ หรือคนล้างจาน คุณต้องคิดถึงปั ญหา ศึ กษา เรียนรู้ วิจัย ทดลอง เกี่ยวพันกับความเสี่ยง และ จัดการมันอย่างใกล้ชิดเหมือนกัน สมการความส าเร็ จ ในการสร้ า งนวั ต กรรมนั ้ น ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ ความซับซ้ อนและการ เปลี่ ย นแปลง (Complexity and Change) ความเสี่ ย ง (Risk) ความเร็ว (Speed) ความผู กพัน (Engagement) ภาวะผู ้นา (Leadership) และหลากหลายเครื่องมือ (Tools) ซึ่ งถูกเขียนขึน้ ให้เหมือนสมการทางคณิตศาสตร์ ดังนี้

FAQ 108

(Complexity and Change) > Innovation Innovation = f(Risk) (Speed) (Engagement) (Leadership) + (Tools)

อธิบายสมการดังกล่าวได้ว่า ความซับซ้ อนและการ เปลี่ ย นแปลงเป็ นจุ ดเริ่ ม ต้ น ที่ น าเราไปสู่ น วั ต กรรมเป็ น ความจ าเป็ น เพื่ อ ความอยู ่ ร อด นวั ต กรรมเป็ น ผลจาก ปฏิ สั ม พั น ธ์ เ ชิ ง ฟั ง ก์ ช ั่น ของตั ว แปรต่ า งๆที่ มี ต่ อ กั น คื อ ความเสี่ ย ง คู ณ ด้ ว ยความเร็ ว คู ณ ด้ ว ยความผู กพั น คูณด้วยภาวะผู ้นา และบวกด้วยเครื่องมือต่างๆที่ใช้

ในหนั ง สื อ เล่ ม ก่ อ นหน้ า นี้ Langdon Morris และ ผู ้เขียนร่วมได้ทาการทดสอบสมการของเขาในหลายแง่มุม อย่างละเอียด และในงานให้คาปรึกษาแนะนาที่เขาทาให้กับ อ ง ค์ ก ร ใ ห ญ่ แ ล ะ เ ล็ ก ทั่ ว โ ลก ผ่ า น ก า ร ลง มื อ ป ฏิ บั ติ สร้ า งนวั ต กรรมที่ แ ท้ จ ริ ง โดยมุ ่ ง เน้ น ประเด็ น ที่ ส าคั ญ และ มีประสิทธิผลต่อองค์กร ทาให้เขาเชื่ อว่าสมการนวัตกรรม เดี ย วกั น นี้ส ามารถใช้ ไ ด้ ดี กั บ GM และ Toyota เท่ า ๆกั บ ที่ใ ช้ ได้ ดี กั บร้ า นอาหารท้ อ งถิ่น และอู ่ ซ่ อมรถยนต์ และมั น ทางานได้ดีกับธุ รกิจขนาดเล็ก

สาหรับความหมายและความสาคัญของ 6 ปั จจัย สาคัญที่ก่อตัวเป็นสมการความสาเร็จนีจ้ ะเป็นอย่างไรบ้าง มาติดตามกันใน ICN ฉบับหน้านะครับ ภาพจาก : https://www.youtube.com/watch?v=K80pyt-mE4I https://www.slideshare.net/geniusworks/the-10-best-ideas-aboutinnovation-for-business-leaders https://www.smeleader.com/การสร้างนวัตกรรม http://www.komchadluek.net/news/lifestyle/195560

คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น 9

icn


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

Public Training>> กลยุทธ์การดาเนินธุรกิจส่งออกอย่างมืออาชีพ สาหรับผู้บริหาร <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนา Public Training หลักสูตร “กลยุ ทธ์การดาเนินธุ รกิจส่งออกอย่างมืออาชี พ สาหรั บผู ้บ ริหาร” เมื่อ วันที่ 5 มิถุน ายน 2562 ณ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก ดร.อิทธิกร ขาเดช ผู ้เชี่ยวชาญการค้าระหว่างประเทศ และผู ้พิพากษา สมทบศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศ เป็นวิทยากร โดยหัวข้อการบรรยายประกอบด้วย ภาพรวม ธุ รกิจส่งออกและนาเข้า หลักการทาสัญญาไม่ให้เสียเปรียบ การตัง้ ราคาส่งออกโดยใช้ ราคา Incoterm ®2010 เงื่อนไข การใช้ Bill of Lading ที่ต้องรู้ การใช้ สิทธิประโยชน์การค้า FTA และกรณี ศึ ก ษาคดี ท่ี เ กี่ ย วกั บ การค้ า ระหว่ า งประเทศ ทั ้ง นี้ ยั ง เปิ ดโอกาสให้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาได้ ซัก ถามประเด็ น ปั ญ หา อย่างเป็นกันเอง

สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา…

การนาเข้า-ส่งออก และสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร

ภายใต้กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ (e-Import – e-Export & e-Tax Incentive) วั นเสาร์ ที่ 20 และ อาทิตย์ ที่ 21 กรกฎาคม 2562 โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ

สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา...

ความเสี่ยง

และการป้ องกั น

ในการทา

(L/C Fraud & Protection)

วันอังคารที่ 23 กรกฎาคม 2562 โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ icn 10





สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

Update

กฎหมายแรงงาน ฉบับใหม่

ปี 2562

ภาคปฏิบตั ิจริง!! คุณเตรียมรับมือไว้รัดกุมแล้วหรือยัง วันพฤหัสบดีท่ี 25 กรกฎาคม 2562 เวลา 09.00-16.00 น. ณ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

หัวข้อการสัมมนา • • • •

แต่ละมาตรา หมายถึงอะไรบ้าง วิธีทาจริง ๆ แต่ละกรณี จะทาอย่างไร เงินค่าอะไรบ้างที่ต้องนามารวมค่าชดเชย..สาคัญมาก จะป้ องกัน แก้ไขปั ญหาเกี่ยวกับในอนาคตได้อย่างไร 1. เงินที่นายจ้างต้องจ่ายตามกฎหมาย ถ้าไม่จ่ายจะส่งผลเสียหาย ต่อนายจ้างอย่างไร 2. การควบ รวม ขาย โอน ยกมรดก ลูกจ้างมีสิทธิไม่ยอม นายจ้าง จะทาอย่าไร 3. ลาไปตรวจครรภ์ กับ ลาคลอด รวมกันได้ 98 วัน วิธีนบั วิธีจ่ายเงิน ทาอย่างไร 4. ถ้าลูกจ้างไปตรวจครรภ์ช่วงเย็น หรือ ไปวันหยุ ดจะตัดออกเหลือ 90 วัน เหมือนเดิมได้หรือไม่ 5. ถ้าเลิกจ้างต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า + ค่าชดเชย ต้องจ่ายวันไหน 6. เงินอื่นที่นายจ้างต้องจ่ายตาม พรบ.นี้ ตามมาตรา 70 คือค่าอะไรบ้าง 7. ลากิจที่ได้ค่าจ้างกับไม่ได้ค่าจ้าง ต่างกันตรงไหน มีสิทธิลาตัง้ แต่วันไหน 8. เงินที่จ่าย 75% คืออะไร ต้องนาค่าตาแหน่ง ค่ารถ ค่าเช่ าบ้าน มารวมคานวณจ่ายด้วยหรือไม่ 9. การย้ายสถานประกอบการ/การย้ายตาแหน่ง/ย้ายสาขา เหมือนกันหรือ ต่างกันตรงไหน วิธีทาแต่ละอย่างต้องทาอย่างไร 10. การเกษียณกฎหมายกาหนดว่าอย่างไร ไม่กาหนดได้ไหม 11. การจ้างงานต่อหลังเกษียณอีก 2 ปี บอกแต่แรกชัดเจนแล้ว ต้องจ่าย ค่าชดเชยอีกไหม 12. ทางานไม่ดี ไม่อยากรอเกษียณ จะทาอย่างไรจึงจะเลิกจ้างได้ ไม่ผิดกฎหมาย 13. ข้อบังคับการทางานใช้ มานาน + กฎหมายออกมาเพิ่ม จะแก้ไขอย่างไร จึงจะไม่ผิดกฎหมาย 14. ค่าชดเชย ต้องนาเงินอะไรมาบ้างมารวมคานวณด้วย ไม่รวมต้องจ่าย เพิม่ เป็นล้าน ดูตรงไหน 15. ตัวอย่างการจ่ายสวัสดิการ ไม่ให้เป็นค่าจ้าง ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย ทาอย่างไร

อาจารย์สิทธิศกั ดิ์ ศรีธรรมวัฒนา วิทยากรผู ้ทรงคุณวุ ฒิด้านกฎหมายแรงงาน

เหมาะสาหรับ เจ้าของกิจการ ผู ้บริหาร ผู ้จัดการ ฝ่ ายทรัพยากรบุ คคล และผู ้สนใจทัว่ ไป

อัตราค่าสัมมนา ประเภท

อัตรา ค่าสัมมนา

สมาชิก

3,745

บุ คคลทัว่ ไป

4,815

อัตรานีร้ วมค่าเอกสาร อาหารว่าง อาหารกลางวัน และภาษีมูลค่าเพิ่ม

ค่ า ใช้ จ่ า ยในการฝึ กอบรมสามารถหัก ลดหย่อ นภาษี ไ ด้ 200%

ลงทะเบียนออนไลน์เพื่ อสารองที่นั่งได้ทาง http://icis.ic.or.th

สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม  แผนกฝึ กอบรมและบริ ก ารนั ก ลงทุ น โทรศั พ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 205-209 โทรสาร 0 2936 1441-2 ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ทาง www.ic.or.th


ภูมิคุ้มกันดี มีชยั (สาเร็จ)

ไปกว่ า ครึ่ ง

เส้าหลิน

อะไรเอ่ย สมมติ ว่ า คุ ณ เป็ นเจ้ า ของร้ า นอาหารร้ า นหนึ่ ง

ทัง้ ร้านมีโต๊ะอาหาร 4 โต๊ะ โต๊ะหนึ่งกับโต๊ะสองเพิ่งสั่งอาหาร โต๊ ะ สามจ่ า ยเงิ น เเล้ ว เเต่ โ ต๊ ะ สี่ เ บี้ย วคุ ณ จะท าอย่ า งไร… ให้เวลาตอบ 10 วินาที เริ่ม>> หมดเวลา!!! ยอมหรือไม่ยอม เฉลยล่ะนะ…ก็จัดโต๊ะ ให้ตรง มันก็ไม่เบีย้ วแล้ว ถ้าให้ท่า นผู ้อ่ านย้ อนเวลากลั บไปสมัย เด็ก ๆคงเคย เล่ น เกมท านองนี้ อ ยู ่ ไ ม่ น้ อ ย ซึ่ งทายถู ก บ้ า งผิ ด บ้ า ง สลับกันไปเป็นที่สนุกสนาน หากให้เปรียบช่ วงชีวิตของเรา สักเหตุการณ์ก็เหมือนดั่งเกมเช่ นกัน ทุกครัง้ ที่เจอปั ญหา จนทาให้รู้สึกสิน้ หวังในชีวิต เพราะหวังไว้สูงว่าทุกสิ่งต้อง เป็นไปตามที่คาดหมาย กอปรกับอะไรๆก็ดูเร่งรีบไปซะทุกสิ่ง ส่งผลให้บางครัง้ ทางออกของทุกปั ญหาที่ อยู ่ใกล้ ๆง่ายๆ แต่เรากลับจินตนาการไปไกลโพ้น คนที่สามารถผ่านทุกอุ ปสรรคแล้วกลับมายืนหยัดได้ อีกครัง้ ต้องอาศัยภูมิคุ้มกั นที่ดีในตนเอง ซึ่ ง จะทาให้เกิ ด ความเข้มแข็ง มั่นคง ไม่โอนอ่อนไปกับกระแส และพร้อม รับมือในทุกสถานการณ์ เทคนิ ค เติ ม พลั ง ภู มิ คุ้ ม กั น ให้ แ กร่ ง ถ้า…มีคนมาพู ดให้คุณรู้สึกยา่ แย่ ได้รับมอบหมายงานที่แทบเป็นไปไม่ ได้ มีบางคนยุ ยงให้มองคุณแย่ ในชี วิ ต การท างานคงต้ อ งมี สั ก เหตุ การณ์ ข้ า งต้ น ที่เ กิ ด ขึ้นจริ ง จนท าให้ รู้สึ ก เหนื่อ ยล้ า จิ ต ใจเศร้ า หมอง ซึ่ งล้วนเป็นปั จจัยภายในตัวเราเอง นอกจากนีย้ ังมีมรสุม จากภายนอกเข้ามารุ มเร้าเพื่อทดสอบ ยิ่งสังคมปั จจุ บั น มีการกลัน่ แกล้งแบบ Cyber bullying ถ้าใครไม่เข้มแข็งจริง คงลาบากไม่น้อย

จากผลส ารวจของ Workplace Bullying Institute ระบุ ว่าคนทางานกว่า 40% ที่ถูกกลั่นแกล้ง จนเกิด ปั ญหาสุ ขภาพจากความเครีย ด และ 39% ในจานวนนี้กลายเป็นผู ้ป่วยโรคซึ มเศร้า โดย ผศ.ดร. วิ ม ลทิ พ ย์ มุ สิ ก พั น ธ์ นั ก วิ ช าการสถาบั น แห่ ง ชาติ เพื่ อการพั ฒนาเด็ กและครอบครั วมหาวิ ทยาลั ยมหิ ดล ระบุ ว่า ญี่ปุ่ นค้นพบวิธีแก้ไขปั ญหาจากการถูก Bullying ที่เรียกว่า “Victim is not a Victim” คือ ต้องทาให้ เหยื่อหรือคนที่ถูกกลั่นแกล้งแข็งแกร่งพอที่จะผ่านเรื่อง เหล่านีไ้ ปให้ได้ แม้ในวันข้างหน้าโลกจะเปลี่ยนไป แต่การมี ภูมิคุ้มกันที่เข้มแข็งจะเป็นเกราะคุ้มกันภัยชัน้ ยอด ถ้ า อย่ า งนั ้ น อย่ า ช้ า ๆมาลองเพิ่ ม ภู มิ คุ้ ม กั น กันเลย... ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ ผลกระทบและการเปลี่ ย นแปลงด้ า นต่ า งๆที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น โดยค านึ ง ถึ ง ความเป็ น ไปได้ ข องสถานการณ์ ต่ า งๆที่ คาดว่ า จะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต โดยการท าให้ ภู มิ คุ้ ม กั น เข้มแข็งได้ต้องอาศัยการพัฒนาความสุขควบคู่กันไป ซึ่ งมีเทคนิคดังนี้  ก า ร รู้ จั ก ต น เ อ ง (Self-Knowledge) เป็นการเรียนรู้ท่ีจะเข้าใจความต้องการและ เป้ าหมายของชีวิตทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว ตลอดจนการเข้าใจจุ ดแข็งและจุ ดบกพร่อง ของตนเอง เทคนิ ค ง่ า ยๆที่ ท าให้ เ รารู้ จั ก ตนเองมากขึ้น คือ ทบทวนตนเองอยู ่เสมอ ว่ามีความสนใจและต้องการสิ่งใดซึ่ งจะทาให้ เราตัง้ เป้ าหมายของชีวิตได้อย่างเหมาะสม 15 icn


 การมองโลกในแง่ ดี (Optimism) เชื่ อ มั่น ในสิ่ ง ที่ ท า มี ค วามพยายามมุ ่ ง มั่ น ต่ อ สู้ เ พื่ อ ความสาเร็จ สาหรั บเทคนิคในการสร้ างการ มองโลกในแง่ดี คือ การฝึ กมองหาสิ่งดีๆที่อยู ่ รอบตัว หรืออาจจะเป็นการบันทึกเหตุการณ์ หรือนึกถึงเหตุการณ์ท่ดี ี  การให้อ ภัย (Forgiveness) เป็น ความคิ ด และความเต็ ม ใจที่ จ ะละทิ้ง สิ่ ง ที่ ท าให้ ไ ม่ พ อใจ ส าหรั บ เทคนิ ค ในการให้ อ ภั ย คื อ การปรั บ มุ ม มองของการพิ จ ารณาปั ญหาที่ เ กิ ด ขึ้น ให้ หลากหลายมุ มมอง  ความหวัง (Hope) เป็นแรงจู งใจภายในของ บุ คคลอันก่อให้เกิดความเชื่อและความรู้สึกว่า ตนจะประสบความสาเร็จ สาหรับเทคนิคในการ สร้ า งความหวั ง คื อ การตั ้ง เป้ า หมายและ วางแผนเพื่อก้าวเดินไปทีละขัน้ ด้วยความมานะ พยายามพร้ อ มกั บ ประเมิ น ผลความส าเร็ จ แต่ละขัน้ ไปจนประสบความสาเร็จ

จะเห็นได้ว่า…การพัฒนาความสุขให้อยู ่กับตัวเรา ในทุ ก ๆนาที ดู เ หมื อ นไม่ ใช่ เรื่ อ งยาก แต่ เ มื่ อ มี สิ่ ง ต่ า งๆ รอบตัวมากระทบทาให้เกิดความหงุ ดหงิดเบื่อหน่ายแล้ว เราเลือกที่จะจมอยู ่กับความรู้สึกเหล่านัน้ เท่ากับเรากาลัง ทาร้ายภูมิคุ้มกันตัวเองให้บกพร่อง

อ้ า งอิ ง : จิ ต วิ ท ยาเชิ ง บวก ; สุ ด ารั ต น์ ตั น ติ วิ วั ท น์ , สถาบั น วิ จั ย พ ฤติ ก รรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ

ดั ง นั ้น แทนที่ ท่ า นจะทุ ก ข์ ควรเลื อ กกลั บ มา มีความสุขที่จะทา สุขที่จะแก้ไขมันให้ดียิ่งขึ้นดีกว่า เพราะ การมุ ่งสู่ความสาเร็จไม่ควรมีสงิ่ ใดมากีดขวาง

 ความกตัญ ญู (Gratitude) รู้ สึกขอบคุณ กั บ บุ คคลที่ ท าให้ ป ระสบการณ์ เ ชิ ง บวกเกิ ด ขึ้ น แสดงความรู้ สึ ก ขอบคุ ณ ต่ อ คนที่ มี บุ ญคุ ณ ต่ อ เรา โดยการเขี ย นบอกความในใจแสดง ความขอบคุ ณ ซึ่ ง การแสดงความขอบคุ ณ จะทาให้ทงั ้ ผู ้ให้และผู ้รับคาขอบคุณมีความสุข

สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ ออนไลน์

เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ หลักสูตรการใช้งานระบบ IC หลักสูตรด้านศุลกากร หลักสูตรการบริหารจัดการ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน icn 16

0 2 9 3 6 1 4 2 9 ต่ อ 2 0 5 - 2 0 9


การขอรวม Max Stock ของโครงการ จานวน 2 โครงการ เข้ า ด้ ว ยกั น

มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

Q : บริษัทผู ้ได้รับส่งเสริมการลงทุนต้องการรวม Max Stock ของโครงการจานวน 2 โครงการ ที่ได้รับการส่งเสริมเข้าด้วยกัน โดยทัง้ 2 โครงการผลิตสินค้าชนิดเดียวกัน บริษัทสามารถ ดาเนินการได้หรือไม่ และมีวิธีการอย่างไร A : กรณีที่ 2 โครงการ ไม่ว่าจะผลิตสินค้าชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันก็ตาม โดยมีรายการ วัตถุดิบที่ซ้ ากัน (ไม่จาเป็นต้องซ้ ากันทุกรายการ) สามารถขอรวมบัญชี สต็อกวัตถุดิบ ของทัง้ 2 โครงการได้ แต่ระยะเวลาน าเข้า จะถู กปรับ ลดเหลือเท่ากั บโครงการที่สัน้ ที่สุด และการขยายเวลา นาเข้าในแต่ละครัง้ จะต้องยื่นขอขยายระยะเวลาพร้อมๆกันทัง้ 2 โครงการ สาหรับเอกสารที่จะยื่นต่อ BOI เพื่อขอดาเนินการ บริษัทจะต้องเตรียมหนังสือขอรวม บัญชีปริมาณสต็อกวัตถุดิบ โดยแนบ MML ของทุกโครงการ และใบสรุ ปการรวมปริมาณ สต็อกวัตถุดิบ ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

การเรียนรูค้ นเป็นสิง่ สาคัญที่สดุ ในสังคม เพราะรอบตัวเราเต็มไปด้วยผู ค้ นมากมาย ที่สามารถให้ทงั ้ คุณและให้โทษเราได้ ต่างจากสิง่ ของ อาคาร บ้านเรือน ที่ไม่สามารถทาร้ายเรา

คุณเสถียร เศรษฐสิทธิ์ ประธานกรรมการ บริษัท คาราบาวกรุ ๊ป จากัด (มหาชน) ที่มา>> https://www.smmagonline.com/2017/08/19/ ภาพจาก>> https://mgronline.com/stockmarket/detail/9570000123864

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก

www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมู ลเพิม่ เติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร 0 2936 1529 17 icn


All Executives

BOI

Need to Know about [ Japanese Version ]

Conference Date Thursday, 1 August 2019 09:00-15:30 At Centara Grand at Central Plaza Ladprao Bangkok (Phaholyothin Road)

Presentation :

Speaker :

Japanese executives, managers and everyone who are interested in.

The presentation will be in Japanese.

Who should attend :

Thailand Board of Investment (BOI)

Registration fee :

Topics : 1. 2. 3. 4. 5. 6.

How to get BOI promotion Current investment incentives policies Post-approval procedures Use of tax incentives Use of non-tax incentives BOI Consultation Clinic

Member 6,420 THB/person (VAT included)

Non-member 8,560 THB/person

(you can choose to attend more than one)

(VAT included)

6.1 6.2 6.3 6.4 6.5

(Fee for one delegate including presentation material, lunch, refreshment and VAT 7%)

Raw Materials Desk Machinery Desk Visas and Work Permits Desk Project Analysis Desk Project Monitoring & Accounting Desk

Remark : Investor Club Association is exempt from corporate income tax; therefore the 3% withholding tax is not deducted.

Online registration and Reservation : Please register at http://icis.ic.or.th For further information Contact : Ms.Wilasinee, Training & Investor Service Section, Phone: 02 936-1429 ext. 205 e-mail: wilasinees@ic.or.th Visit us at www.ic.or.th.


ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ

@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ

Add friends

IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย

ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !


สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น บริ ก ารจั ด หลั ก สู ต ร

IN-HOUSE TRAINING  ประหยัดค่าใช้ จ่าย  ออกแบบเนือ้ หาเฉพาะองค์กร แนะนาหลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน ชื่อหลักสูตร

จานวน (วัน)

ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท)

25 ท่าน

35 ท่าน

1 ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

2 วิธีการขอเปิ ดดาเนินการ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

3 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

4 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1/2 วัน

23,000

25,000

5 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

หมายเหตุ : • อัตราค่าธรรมเนียมรวมค่าวิทยากร เอกสารการฝึ กอบรม ค่าเดินทาง และค่าดาเนินการ • ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิม่ 7% และค่าที่พัก (ถ้ามี) • อัตราค่าธรรมเนียมที่ระบุ ในเอกสาร เป็นอัตราประมาณการ ซึ่ ง อาจมีก ารเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ขึ้นอยู ่กับ รูปแบบการฝึ กอบรม จานวนผู ้เข้าอบรม ประเภทวันที่จัดงาน จานวนวัน พืน้ ที่จัดงาน รายละเอียดเพิ่มเติมของเนือ้ หา และอื่นๆ • สมาคมขอสงวนสิทธิห้ามบันทึกภาพและ/หรือเสียงในการอบรมทุกหลักสูตรทุกกรณี • ค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200%

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม  0 2936 1429 ต่อ 207 โทรสาร 0 2936 1441-2

website : www.ic.or.th

e-mail : is_inhouse@ic.or.th


แนะนาหลักสูตรด้านศุลกากร และอืน่ ๆ ชื่อหลักสูตร

จานวน (วัน)

ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท) 25 ท่าน

35 ท่าน

1

เกณฑ์การคานวณกาไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดทางบการเงินสาหรับ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

1

40,000

43,000

2

กฎหมายศุลกากรและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร

1

40,000

43,000

3

สิทธิประโยชน์ศุลกากรภายใต้ AEC

1

40,000

43,000

4

สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอด อากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone)

1

40,000

43,000

5

กฎว่าด้วยถิน่ กาเนิดสินค้า (Rules of Origin)

1

40,000

43,000

6

พิธีการทางศุลกากรระบบใหม่และสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากรระบบอิเล็กทรอนิกส์

2

78,000

85,000

7

การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุ ทรณ์การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศุลกากร

1

47,000

50,000

8

การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ และ Incoterm®2010

1

45,000

48,000

9

ระบบการวางแผนจัดซื้อ

1

51,000

54,000

10

การบริหารการจัดซื้อ จัดเก็บ และจัดส่ง

1

45,000

48,000

11

เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า

1

45,000

48,000

และอีกหลากหลายหลักสูตร เพือ่ พัฒนาองค์กร และบุ คลากร • • • • • • • • •

หลักสูตรด้านบริหารการผลิต อาทิ 5ส TPM TQM Kaizen หลักสูตรด้านบัญชีและภาษี หลักสูตรด้านการนาเข้า-ส่งออก หลักสูตรด้านกฎหมาย อาทิ กฎหมายเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ หลักสูตรด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน หลักสูตรด้านบริหารจัดการองค์กร (Management) หลักสูตรด้านการบริหารทรัพยากรบุ คคล (Manpower) หลักสูตรด้านการตลาด (Marketing) ฯลฯ


ตารางสัมมนาประจ�ำเดือน กรกฎาคม – สิงหาคม 2562 วันสัมมนา

ชื่อหลักสูตร

สถานที่จัด

วิทยากร

โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)

อัตราค่าสัมมนา สมาชิก

บุคคลทั่วไป

วิทยากรจาก BOI

2,140

2,354

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน

5,350

6,420

วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี

3,745

4,815

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

วิทยากรจาก BOI

6,420

8,560

วิทยากรจาก BOI

1,605

1,926

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

1,605

1,926

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6)

วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี

4,280

5,350

โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

โรงแรม อไรซ์ โฮเต็ล ศรีราชา จังหวัดชลบุรี

วิทยากรจาก BOI

3,531

4,066

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี

3,210

4,280

คุณวิชัย มากวัฒนสุข

5,350

6,206

คุณบุญเลิศ สุภาผา

2,996

3,852

คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

4,815

3,745

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

วิทยากรจากกรมศุลกากร

2,996

3,852

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

ดร. ชัยนรินท์ ธีรไชยพัฒน์

3,745

4,815

วิทยากรจากกรมศุลกากร

2,996

3,852

คุณเมธี แสงมณี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

1,712

2,033

คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี

3,210

4,280

วิทยากรจากกรมการค้าต่างประเทศ

3,745

4,815

ดร.อิทธิกร ข�ำเดช

3,210

4,280

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

2,140

3,210

2,675

3,745

2,140

3,210

หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน กรุงเทพ 6 ก.ค.2562 (09.00-12.00 น.) 6 ก.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 12-14 ก.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 20 ก.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 20 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 20 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 1 ส.ค. 2562 (09.00-15.30 น.) 17 ส.ค. 2562 (09.00-12.00 น.) 17 ส.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 18 ส.ค. 2562 (09.00-12.00 น.) 24-25 ส.ค. 2562 (09.00-17.30 น.) 31 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)

แนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับการใช้สทิ ธิและประโยชน์ยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับ ของทีน่ ำ� เข้ามาเพือ่ ใช้ ในการวิจยั และพัฒนา รวมทัง้ การทดสอบทีเ่ กีย่ วข้อง ตามมาตรา 30/1 ครั้งที่ 1/2562 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 4/2562 วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 4/2561 (รับวุฒิบัตร) รวมเทคนิคการวางระบบบัญชีสำ� หรับธุรกิจที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน และการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการตรวจสอบอย่างมืออาชีพ ครั้งที่ 1/2562 (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 3/2562 วิธีปฎิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุนครั้งที่ 5/2562 All Executives Need to Know about BOI (Japanese Version) ครั้งที่ 1/2562 วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับส่วนสูญเสียวัตถุดบิ ส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 2/2562 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 5/2562 การใช้สทิ ธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562 ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบ และแนวทางปฏิบัติส�ำหรับผู้จัดท�ำบัญชีของกิจการที่ได้รับส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 4/2562 (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 4/2562

โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) เซ็นทารา แกรนด์ แอ็ท เซ็นทรัล พลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน ชลบุรี 3 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)

วิธีปฎิบัติเกี่ยวกับวัคถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุนครั้งที่ 1/2562 (จังหวัดชลบุรี)

หลักสูตรการบริหารจัดการ 9 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 10 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 20-21 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 23 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 25 ก.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 1 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 3 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 6 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 16 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 17 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 20 ส.ค. 2562 (13.00-16.30 น.) 21 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 25 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 27 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 30 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 31 ส.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)

ความรู้การน�ำเข้าและส่งออกทั้งระบบเพื่อให้ ได้ประโยชน์สูงสุด กลยุทธ์การท�ำสัญญาการค้าระหว่างประเทศ เงื่อนไขการขนส่งและ การส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศ (CONTRACT & INCOTERMS®2010) การน�ำเข้า-ส่งออกและสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรภายใต้กฎหมาย ศุลกากรฉบับใหม่ (e-Import - e-Export & Tax Incentive) ความเสี่ยงในการท�ำ L/C และการป้องกัน (L/C Fraud & Protection) Update กฎหมายแรงงานฉบับใหม่ ปี 2562 การจัดท�ำและตรวจเอกสารทางการค้าระหว่างประเทศภายใต้เงือ่ นไข L/C ตามกติกา UCP 600 สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอดอากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) ®

INCOTERMS 2010 ข้อบังคับทางการค้าระหว่างประเทศ กลยุทธ์การจัดการความเสี่ยงส�ำหรับผู้ประกอบการยุค 4.0 การส่งเสริมการใช้สิทธิประโยชน์ FTA อาเซียน - จีน การยื่นแบบและการค�ำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) ส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน (อยูร่ ะหว่างการขออนุมตั ิ CPD & CPA) เจาะลึกการตีความ ISBP.745E (INTERNATIONAL STANDARD BANKING PRACTICE) ส�ำหรับการตรวจเอกสารส่งออกและน�ำเข้า ภายใต้เลตเตอร์ออฟเครดิต การเตรียมความพร้อมกับกฎหมายการควบคุมสินค้าที่ใช้ ได้สองทาง (Dual-Use Items : DUI) กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความตกลงการค้าเสรีอาเซียน - เกาหลี (AKFTA) ข้อควรรู้เกี่ยวกับความผิดทางศุลกากรตามกฎหมายใหม่ 2560

หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT online 7 ก.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 21 ก.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 18 ส.ค. 2562 (09.00-17.00 น.)

วิ ธี เ ตรี ย มข้ อ มู ล งานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ส� ำ หรั บ เครื่ อ งจั ก รด้ ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (eMT Online) ครั้งที่ 4/2562 วิ ธี เ ตรี ย มข้ อ มู ล งานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ส� ำ หรั บ วั ต ถุ ดิ บ ด้ ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) ครั้งที่ 4/2562 วิ ธี เ ตรี ย มข้ อ มู ล งานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ส� ำ หรั บ เครื่ อ งจั ก รด้ ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (eMT online) ครั้งที่ 5/2562

โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม รอแยล เบญจา (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม รอแยล เบญจา (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)

วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน

หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจส�ำรองที่นั่งเข้าร่วมสัมมนาได้ที่ คุณวิลาสินี, คุณกาญจนา, คุณศิริรัตน์ หรือ คุณชาตรี แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205-209 โทรสาร 0-2936-1441-2 E-mail : is-investor@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.