ICe_Newsletter_July2020

Page 1

Vol.19 / July 2020 วิถีชีวิตหลัง COVID-19 ปกติใหม่ แบบไม่ประมาท (1) ใครว่าลูกเป็ด (ความสาเร็จของเรา) “ขีเ้ หร่”

มาตรการบีโอไอใน

อีอีซี 2563

กระตุ้นเศรษฐกิจไทย

ภาพจาก: shorturl.at/aknC4


“มีปญ ั หาไม่รู้จะโทรปรึกษาใคร”

Single Window for

Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429

หรือ 065 205 6009

คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th

www.ic.or.th


04

มาตรการบี โอไอในอี อีซี 2563 กระตุ้น เศรษฐกิจไทย

07 วิถีชีวิตหลัง COVID-19 ปกติใหม่แบบไม่ประมาท (1)

หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และขัน้ ตอน การใช้สกุลเงินต่างประเทศในการ ดาเนินงาน (Functional Currency: FC) สาหรับคานวณภาษีเงินได้

ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพท์ : 0 2936 1429 ต่อ 201 e-mail : icn@ic.or.th

15

17

ใครว่าลูกเป็ด (ความสาเร็จของเรา) “ขีเ้ หร่”

หลายๆประเทศทั่วโลกต่างต้องเผชิ ญกับสถานการณ์โควิด -19 ที่ส่งผลกระทบร้ายแรง ต่อการค้าการลงทุน และสภาพเศรษฐกิจโดยรวม และผลกระทบที่เกิดขึ้นขยายความรุ นแรง จากภายในประเทศต่างๆสู่เศรษฐกิจทัว่ โลก จากเหตุการณ์ดังกล่าวทาให้หน่วยงานภาครัฐของ แต่ละประเทศซึ่ งเป็นกลไกสาคัญในการแก้ไขปั ญหา ให้ความช่ วยเหลือ และบรรเทาเยียวยา ความเดื อ ดร้ อ น ต่ า งเร่ ง ท างานด้ ว ยการออกมาตรการและนโยบายต่ า งๆเพื่ อ ผ่ อ นปรน ความลาบากในการดาเนินชีวิต การหาเลีย้ งชีพ และการดาเนินธุ รกิจ ของประชาชนทัง้ ในระดับ รากหญ้าไปจนถึงระดับอุ ตสาหกรรม สาหรับประเทศไทย นอกจากมาตรการเยียวยาของหน่วยงานต่างๆในช่ วงสถานการณ์ โควิด-19 แล้ว หน่วยงานด้านส่งเสริมการลงทุนอย่างสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน หรื อ บี โอไอ ได้ ออกมาตรการปรั บ ปรุ งใหม่ตั ง้ แต่ ช่วงต้ น ปี 2563 ได้ แ ก่ มาตรการ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ในพื้น ที่ อี อี ซี ป รั บ ปรุ ง ใหม่ ปี 2563 เพื่ อ ช่ วยสนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด การลงทุ น ภายในประเทศมากขึน้ อันจะช่ วยเสริมสภาพคล่องและเร่งการฟื้ นฟู เศรษฐกิจให้เติบโต มาตรการนีม้ ีจุดเด่นคือ การให้สิทธิประโยชน์ด้านการยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม เพื่อให้เกิดการลงทุนในกลุ่มกิจการเป้ าหมาย และกระตุ้นการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการ พัฒนาทักษะแรงงานในพื้นที่อีอีซีให้มากขึ้น โดยยังคงเป็นพืน้ ที่ใน 3 จังหวัด คือ ฉะเชิ งเทรา ชลบุ รี และระยอง ซึ่ ง มีกลุ่มกิจการเป้ าหมายในมาตรการปรับปรุ งใหม่ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ ม กิจการ A1, A2 และ A3 กลุ่มกิจการพัฒนาเทคโนโลยีเป้ าหมาย (กิจการหมวด 8) และกลุ่ม กิจการที่มีการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีเป้ าหมายในหมวด 8 โดยกาหนดการให้สิทธิและประโยชน์ตามกรณี 2 กรณี คือ 1) กรณีพัฒนาทรัพยากร มนุ ษย์ จะได้รั บลดหย่อ นภาษี เ งิน ได้ นิติ บุคคลเพิ่มเติม 50% สูง สุด 3 ปี แตกต่า งกั นตาม ประเภทกิจการ 2) กรณีที่ตั ้ง แบ่ง เป็น การดาเนินกิจการในเขตส่งเสริมเพื่ อกิจการพิเศษ (EEC-a, EECi, EECd, EECmd) ซึ่งจะได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม 50% สูงสุด 2 ปี แตกต่างกันตามประเภทกิจการ และการดาเนินกิจการในนิคม/เขตอุ ตสาหกรรมที่ได้รับการ ส่งเสริม การลงทุนในพื้นที่ 3 จั งหวัด จะได้รั บยกเว้น ภาษี เงิ นได้นิติ บุคคลเพิ่มเติม 1 ปี ซึ่ ง มาตรการนีส้ าหรับคาขอรับการส่งเสริมที่ยื่นตัง้ แต่วันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2563 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น พร้ อ มสนั บ สนุ น ผู ้ ป ระกอบการและนั ก ลงทุ น ที่ ไ ด้ รั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุนทัง้ ในพื้นที่อี อีซีและเขตนิ คมอุ ตสาหกรรมต่างๆ เพื่อ ให้สามารถดาเนินกิจ การได้ อย่างราบรื่น ด้วยบริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ผ่านการให้บริการแบบออนไลน์ของสมาคมฯ ตลอดจนการให้บริการด้านหลักสูตรฝึ กอบรมและสัมมนาที่หลากหลายและเหมาะสมกับการ บริ ห ารจั ด การองค์ ก ร โดยผู ้ ที่ ส นใจสามารถดู ร ายละเอี ย ดหลั ก สู ต รและเลื อ กลงทะเบี ย น เพื่อสมัครร่วมสัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 099 107 4633 หรือติดตามข้อมู ลข่าวสารของสมาคมฯได้ทาง www.ic.or.th

บรรณาธิการ 3

icn


มาตรการบี โ อไอ ใ น อี อี ซี 2563 กระตุ้น

เศรษฐกิจไทย มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ใ น ช่ ว ง ห ล า ย เดื อ นที่ ผ่ า นม า ต้ อ งย อ มรั บ ว่ า สถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศไทยรวมไปถึงทั่วโลกต่าง ได้รับผลกระทบจากวิกฤตโควิด-19 อย่างรุ นแรงกันถ้วนหน้า ส่งผลให้ภาวะเศรษฐกิจผันผวน สั่นคลอน ในบางประเทศ ถึ ง กั บ หยุ ดนิ่ ง ซึ่ ง นั บ ได้ ว่ า เป็ น เหตุ ก ารณ์ ป ระวั ติ ศ าสตร์ สาคัญที่โลกต้องจดจาและบันทึกไว้ โดยเฉพาะเรื่องของการ เกิ ด พฤติ กรรมการใช้ ชีวิ ต ของมนุ ษ ย์ใ นรู ป แบบใหม่ หรื อ ที่ เรียกว่า New Normal สาหรับประเทศไทย สถานการณ์ โควิด -19 ส่งผลต่ อ การดาเนินธุ รกิจของผู ้ประกอบการและผู ้ประกอบอาชีพอื่นๆ อีกมากมาย ตลอดจนสร้ างความเสีย หายทั ้ง ต่อ รายได้ ท่ี หดหาย สูญเสียอาชีพหลัก และขาดแคลนสิ่งอุ ปโภคบริโภค ทั ้ง หมดที่ ก ล่ า วมานี้ ล้ ว นส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ เศรษฐกิจ โดยรวมของประเทศ แม้ภาครัฐจะมีนโยบายและ ออกมาตรการต่างๆเพื่อช่ วยเหลือเยียวยาภาคธุ รกิจ ภาค สังคม และภาคประชาชน ให้สามารถประคับประคองตนเองให้ รอดพ้นและผ่านวิกฤตการณ์ท่เี กิดขึน้ ไปได้ก็ตาม แม้ภาพโดยรวมของประเทศกาลังตกอยู ่ ในสภาวะของ การหยุ ดชะงัก แต่ สานั ก งานคณะกรรมการส่ งเสริ ม การ ลงทุน หรือ บีโอไอ กลับเร่งออกมาตรการต่างๆมากมาย หลากหลายเพื่อช่ วยสนับสนุนและกระตุ้นให้ผู้ประกอบการ ยังคงสามารถดาเนินธุ รกิจต่อไปได้ภายใต้สถานการณ์ท่ีไม่ เอือ้ อานวยในปั จจุ บัน หนึ่งในนัน้ คือ มาตรการส่งเสริมการ ลงทุนในพื้นที่อีอีซี หรือ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก Eastern Economic Corridor (EEC) ที่ได้มีการปรับปรุ งใหม่ ในปี 2563 เพื่อจู งใจให้นักลงทุนเกิดความเชื่อมั่นและเข้ามา ลงทุนในประเทศไทยให้มากขึน้ ด้วยการให้สิทธิประโยชน์ด้าน การยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม เพื่อให้เกิดการลงทุน ในกลุ่มกิจการเป้ าหมาย และกระตุ้นให้ภาคเอกชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการพัฒนาทักษะแรงงานในพืน้ ที่อีอีซีให้มากขึ้น รวมทั ้ง ยกระดั บ พื้น ที่ อี อี ซี ใ ห้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางของภู มิ ภ าค อาเซียนในทุกๆด้าน icn

4

รายละเอียดมาตรการส่งเสริมการลงทุนในพืน้ ที่ อีอีซีปรับปรุ งใหม่ปี 2563 ประกอบด้วย พื้น ที่ แ ละกิ จ การเป้ าหมายในอี อี ซี - ด้านพืน้ ที่เป้ าหมายในอีอีซี ยังคงเป็นพืน้ ที่ใน 3 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุ รี และระยอง - กลุ่มกิจการเป้ าหมายในมาตรการปรับปรุ ง ใหม่ มี 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มกิจการ A1, A2 และ A3 (กลุ่มที่ได้รับ ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 5-8 ปี ) กลุ่ ม กิ จ การพั ฒ นาเทคโนโลยี เ ป้ าหมาย (กิจการหมวด 8) ได้แก่ การพัฒ นาไบโอเทคโนโลยี การพั ฒ นานาโนเทคโนโลยี การพั ฒ นาแอดวานซ์ แมทีเรียลเทคโนโลยี และการพัฒนาดิจิทัลเทคโนโลยี กลุ่ ม กิ จ การที่ มี ก ารสนั บ สนุ น การพั ฒ นา เทคโนโลยีเป้ าหมายในหมวด 8 ได้แก่ กิจการออกแบบ ทางอิเล็กทรอนิกส์ กิจการวิจัยและพัฒนา กิจการ บริ ก ารออกแบบทางวิ ศ วกรรม กิ จ การบริ ก าร ทดสอบทางวิทยาศาสตร์ กิ จการบริการสอบเทีย บ มาตรฐาน และกิจการสถานฝึ กฝนวิชาชีพ ยกเว้นประเภทกิจการที่มีนโยบายเฉพาะที่จะไม่ ให้ ได้ รั บ สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ต ามมาตรการนี้ ต ามที่ สานักงานฯกาหนด เช่ น กิจการที่ไม่มีท่ีตัง้ สถานประกอบการ ชัดเจน กิจการที่มีเงื่อนไขบังคับเรื่องที่ตงั ้ สถานประกอบการ ซึ่ ง ไม่ อ ยู ่ ใ นจั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา จั ง หวั ด ชลบุ รี และ จังหวัดระยอง เป็นต้น


2 กรณี ก ารลงทุ น ในอี อี ซี กาหนดการให้สิทธิและประโยชน์ และเงื่อนไขสาหรับ การลงทุน 2 กรณี ดังนี้

1. กรณีพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • ลงทุนในกิจการเป้ าหมาย • อยู ่ในพืน้ ที่ 3 จังหวัด • มี ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ ด้ า น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เงื่อนไข ต้องมีความร่วมมือกับสถาบันการศึ กษา ตามรู ป แบบที่ ก าหนด ได้ แ ก่ ความร่ ว มมื อ ในโครงการ Work-integrated Learning (WiL) สหกิจศึ กษาและทวิภาคี หรื อ ความร่ ว มมื อ เพื่ อ พั ฒ นาบุ คลากรไทยในด้ า น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอื่นๆตามที่ได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ จะได้ รั บ ลดหย่ อ นภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคลเพิ่ ม เติ ม 50% สูงสุด 3 ปี แตกต่ า งกั น ตาม ประเภทกิจการ 2. กรณีท่ตี งั ้ • ลงทุนในกิจการเป้ าหมาย • ต้องตัง้ อยู ่ในพืน้ ที่ท่กี าหนด เงื่ อ นไข กรณี นี้ ไ ม่ มี เ งื่ อ นไขด้ า นการพั ฒ นา ทรัพยากรมนุษย์ แต่ต้องตัง้ อยู ่ในพืน้ ที่ท่ีกาหนดซึ่ งมีทัง้ ที่ อยู ่ ใน 3 จังหวัด และนอกพืน้ ที่ 3 จังหวัด ประกอบด้วย

- การด าเนิ น กิ จ การในเขตส่ ง เสริ ม เพื่ อ กิ จ การ พิเศษ (EEC-a, EECi, EECd, EECmd) สิทธิและประโยชน์ ได้รับลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคล เพิ่มเติม 50% สูงสุด 2 ปี แตกต่างกันตามประเภทกิจการ - การด าเนิ น กิ จ การในนิ ค ม/เขตอุ ตสาหกรรม ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนในพืน้ ที่ 3 จังหวัด สิทธิและประโยชน์ ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เพิ่มเติม 1 ปี มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพืน้ ที่อีอีซีนี้สาหรับ คาขอรับการส่งเสริมที่ยื่นตัง้ แต่วันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2563 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ยกเว้นสิทธิ และประโยชน์ตามที่ตัง้ ในเขตส่งเสริมเพื่อกิจการพิเศษ 4 แห่ง ได้แก่ EECi, EECd, EECa และ EECmd สามารถยื่น คาขอรับการส่งเสริมการลงทุนตามมาตรการนี้ได้โดยไม่ กาหนดระยะเวลาสิน้ สุดในการยื่นคาขอ แน่นอนว่ามาตรการส่งเสริมการลงทุนนีจ้ ะสามารถ ช่ วยกระตุ้นและดึงดูดนักลงทุนทัง้ ไทยและต่างประเทศให้ เข้ามาลงทุนในพืน้ ที่อีอีซีตามกลุ่มกิจการเป้ าหมายได้เพิ่ม มากขึน้ โดยนักลงทุนที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียด เพิ่ ม เติ ม ได้ ท่ี ศู น ย์ บ ริ ก ารลงทุ น โทร 0 2553-8111 และติ ด ตามข่ า วสารการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ได้ ท าง https://www.facebook.com/BOI -News, https://www.boi.go.th ข้อมู ลจาก: https://www.boi.go.th/upload/ejournal/2020/04/index.html#p=8 https://www.boi.go.th/upload/content/2_2563_5e3bb5e55f561.pdf ภาพจาก: https://www.hoonsmart.com/archives/28038 shorturl.at/jGLP6

5 icn


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29

สมัครใช้ บริการ eMT

ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online

ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พมิ พ์ใน ระบบ eMT Online

สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร

ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร

BOI Approve 30 วัน 7 วัน

30-60 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

เป็นเรื่อง ติดต่อ...

ยุงยาก

IC

สา ห รั บ คุ ณ

บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านเครื่องจักร

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 314-315


วิถีชีวิตหลัง COVID-19

ปกติใหม่ แบบไม่ประมาท (1) จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com

ไม่ ว่ า จะเป็ นงานเดิ ม หรื อ งานใหม่ ท้ า ยที่ สุ ด ของ ตัวชีว้ ัดความสามารถในการแข่งขันทัง้ ระยะสัน้ ระยะกลาง หรือระยะยาว ผลิตภาพหรือ Productivity ยังเป็นตัวชีว้ ัด หลักของทุกธุ รกิจ องค์กรใดที่การด าเนินงานภายในไม่ มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลย่อมไม่สามารถแข่งขันกับใคร ได้ และต้องล้มหายตายจากไปในที่สุด ในขณะที่องค์กรที่มี ผลิตภาพสูง มีระบบที่ดีมีมาตรฐาน กระบวนการภายในใช้ ทรั พ ยากรต่ า งๆให้ เ กิ ด ประโยชน์ โ ดยไม่ มี ค วามสู ญ เปล่ า สิน้ เปลือง และผลผลิตที่ได้มีประสิทธิผลตรงตามสเปกหรือ สิ่งที่ลูกค้าต้องการ เมื่อเจอวิกฤตก็จะสามารถหยุ ดยัง้ และ รับมือกับผลกระทบที่เกิดขึน้ ได้โดยสามารถผ่อนจากหนักให้ เป็นเบา และเมื่อถึงวันที่สภาพเศรษฐกิจและธุ รกิจกลับฟื้ น คืนมาใหม่อีกครัง้ องค์กรนัน้ ก็จะสามารถก้าวเดินได้ในทันที เรียกว่าฟื้ นตัวได้เร็วกว่าคนอื่นๆ การปรับปรุ งผลิตภาพที่ เคยคิ ด แต่ยั ง ไม่ มี โ อกาสได้ ท าในช่ วงเวลาปกติ ในช่ วงนี้ที่ บุ คลากรในองค์ กรเริ่ม ว่า งและมีเวลา หากช่ วยกั น หาวิ ธี อุ ดช่ องว่าง ลดช่ องโหว่ เสริมเติมสิ่งที่ขาด และปรับเปลี่ยน สิ่งใหม่ๆที่ดีกว่าเดิมเข้าไปในกระบวนการทางานได้ก็จะเป็น การใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ที่ดีที่สุด แม้ ว่ า คนส่ ว นใหญ่ อ าจจะคุ้ น เคยกั บ การท่ อ งโลก อินเทอร์เน็ตอย่างเมามันวันละหลายชัว่ โมง ไม่ว่าจะเป็นการ ติด ตามข้ อ มู ล ข่า วสารผ่ า นสื่อ สั ง คมออนไลน์ การพิ ม พ์ ข้อความโต้ตอบในช่ องสนทนา การเล่นเกมส์สนุกสนานเพื่อ ผ่อนคลาย และการหาความสาราญจากช่ องความบันเทิงที่ หลากหลาย แต่ในทางกลับกันสาหรับเทคโนโลยีดิจิทัลที่ใช้ ใน การทางาน ความก้าวลา้ นาหน้าของเทคโนโลยีที่สามารถทา อะไรหลายอย่างได้ดี ในปริมาณมาก อย่างรวดเร็ว และมี ข้อผิดพลาดน้อยกว่าที่คนทา กลับสร้างความกังวลใจจน ก่ อ ให้ เ กิ ด “ความกลั ว ” และกลายเป็ น แรงต่ อ ต้ า นการ เปลี่ยนแปลงในหลายองค์กรตัง้ แต่ก่อนการเกิดวิกฤตการณ์ โรคเชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19 ระบาดในปั จจุ บั น ไม่ ว่ า จะเป็ น ความกลัวการสูญเสียงาน กลัวสูญเสียความสาคัญ หรือ เลยไปจนถึงการสูญเสียธุ รกิจที่ทาอยู ่ก็ตาม

ในขณะนี้ที่ ทุ ก คนต้ อ งเผชิ ญ กั บ วิ ก ฤตโรคระบาด COVID-19 จะเห็นได้ว่าสิ่งหนึ่งซึ่ งทุกคนเปลี่ยนแปลงไปในทันที คื อ ทั ศนคติ ที่ มี ต่ อเทคโนโลยี ก่ อนหน้ านี้คนส่ วนใหญ่ ยั ง ปฏิเสธถึงความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้องใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล ไม่ ว่ า จะเป็ นส าหรั บ การใช้ ชี วิ ต การเรี ย นการสอน การทางาน การประกอบกิจการ การทาธุ รกิจ แต่ตอนนี้ ทุ ก คนรู้ แ ล้ ว ว่ า อยู ่ ที่ ไ หนไม่ ส าคั ญ ตราบใดที่ เ รายั ง มี สมาร์ทโฟนหรือคอมพิวเตอร์ และสัญญาณอินเทอร์เน็ต เราก็สามารถทาอะไรหลายๆอย่างได้ บางคนค้นพบว่า มัน สะดวกกว่าตอนที่ไม่ใช้ เสียอีก แต่อย่างไรก็ตาม มนุษย์เป็น สัตว์สังคมที่ยังคงต้องการพบเจอและรวมกลุ่มกัน การ สื่อสารทางไกลในโลกไซเบอร์จึงไม่ใช่ การแทนที่แต่เป็นการ เติมเต็มทางสังคมของมนุษย์มากกว่า ตัวอย่างที่มองเห็นได้อย่างชัดเจนคือ ความร่วมไม้ ร่ว มมื อ ร่ว มคิ ดร่ ว มสร้า ง ร่ว มแบ่ง ปั นของคนในสัง คม โดยเฉพาะในประเทศไทย เกิดแนวคิดใหม่ๆในการประยุ กต์ใช้ เทคโนโลยีที่มีอยู ่ทั่วไปมาพัฒนาให้เป็นนวัตกรรมต้นทุนต่า (Low cost innovation) สิง่ ที่ไม่เคยเห็นและดูเหมือนเป็นไป ไม่ ได้ในอดีต ก็สามารถทามันขึ้นมาได้ในช่ วงเวลาอันสัน้ ที่ ต้องแข่งกับเวลาและการแพร่ระบาดที่อาจจะรุ นแรงขึน้ Process Innovation ยกระดับปรับกระบวนการ สิง่ ที่เกิดขึน้ ในประเทศไทยทันทีหลังพบผู ้ติดเชื้อโคโรนา ไวรัสสายพันธุ ์ใหม่ซ่ึ งมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า COVID-19 คือ การที่สาธารณชนได้รับทราบว่า มีสถานพยาบาลเพียง แห่ ง เดี ย วที่ ก่ อ ตั ้ง ขึ้ น มาเพื่ อ รั บ มื อ กั บ ผู ้ ป่ วยลั ก ษณะนี้ โดยเฉพาะ สถาบั น บ าราศนราดู ล (Bamrasnaradura Infectious Diseases Institute) สังกัดกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข กลายเป็นโรงพยาบาลที่ถูกพู ดถึงมาก ที่ สุ ดและได้ ยิ นบ่ อยที่ สุ ดในทุ กสื่ อ เนื่ องจากกระบวนการ วินิจฉัยและรักษาโรคติดเชือ้ ไวรัส COVID-19ของโรงพยาบาล ทัว่ ไปยังไม่เหมาะสมกับผู ้ป่วยที่มีอาการติดเชื้อไวรัสดังกล่าว ด้วยสาเหตุที่ว่าการติดต่อเกิดขึน้ ได้ง่ายจากสารคัดหลัง่ ของ การไอและจาม ทาให้ต้องแยกพืน้ ที่เฉพาะสาหรับการตรวจหา เชือ้ ดูแล และรักษา ออกจากการให้บริการผู ้ป่วยทัว่ ไป 7

icn


ถ้าเราพิจารณากระบวนการให้บริการของโรงพยาบาล อาจแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การบริการผู ้ป่วยนอก (OPD) การบริการผู ้ป่วยใน (IPD) และการบริการผู ้ป่วยฉุกเฉิน (Emergency) ซึ่ งแตกต่างกันในรายละเอียด คนทัว่ ไปมักจะคุ้นชิน กับการบริการผู ้ป่วยนอก เมื่อเกิดอาการไม่สบายก็จะเข้าโรงพยาบาลเพื่อตรวจเชค็ อาการ รับการวินิจฉัยโรคเบือ้ งต้น และ รับยากลับไปรับประทานเพื่อดูแลรักษาตัวเองต่อที่บ้าน สาหรับคนไข้ที่มีอาการหนักถึงขัน้ ทรุ ดและต้องอยู ่ภายใต้การดูแล รักษาของแพทย์อย่างต่อเนื่องใกล้ชิด ก็จะต้องเข้ารับการรักษาตัว (admit) หรือนอนต่อในโรงพยาบาล เป็นการเข้าสู่การ บริการผู ้ป่วยใน ส่วนกรณีผู้ป่วยที่ประสบอุ บัติเหตุร้ายแรงหรือเจ็บป่ วยอย่างหนักก็จะเข้าสู่การบริการผู ้ป่วยฉุกเฉิน กรณีของโรคติดเชือ้ ไวรัส COVID-19 การบริการทัง้ 3 ส่วนที่กล่าวมาข้างต้นจะถูกดาเนินการควบรวมกันเป็นบริการเดียว และต้องแยกพื้นที่ควบคุมเชื้อเป็นการเฉพาะออกจากผู ้ป่วยโรคอื่น ดังนัน้ โรงพยาบาลขนาดใหญ่อื่นๆที่มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ บุ คลากรทางการแพทย์ และสถานที่พร้อม จาเป็นต้องยกระดับปรับปรุ งกระบวนการใหม่พร้อมกับแก้ไขวิธีการตรวจวินิจฉัยที่ต้อง มีความระมัดระวังเป็นพิเศษ ที่สาคัญจะต้องเว้นระยะห่างหรือกันพืน้ ที่แยกระหว่างผู ้ป่วย กลุ่มเสี่ยง และผู ้ที่สงสัยว่าตัวเองจะติดเชื้อ กับเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ การป้ องกันไม่ใช่ แค่สวมใส่หน้ากากอนามัยเท่านัน้ หากแต่ต้องสวมชุ ดป้ องกัน มีผนังกัน้ ควบคุม ความดัน และพัฒนาชุ ดตรวจวินิจฉัยให้มคี วามแม่นยาและสามารถรูผ ้ ลการตรวจได้อย่างรวดเร็ว ซึ่ งก่อนที่จะกล่าวถึงเทคโนโลยีที่ ใช้และนวัตกรรมต้นทุนตา่ ที่เกิดขึน้ มาใหม่ เรามาพิจารณากระบวนการวินิจฉัยรักษาที่ออกแบบขึน้ มาใหม่เพื่อการนีต้ ามแผนภาพที่ 1

แผนภาพที่ 1

จากแผนภาพที่ 1 กระบวนการวินิจฉัยรักษาผู ้ป่วยจากไวรัส COVID-19 ที่ผมเขียนขึน้ มาคงพอทาให้ผู้อ่านได้มองเห็น แผนภูมิของกระบวนการใหญ่ๆ เริม่ ต้นตัง้ แต่ผู้ที่สงสัยว่าตัวเองจะป่ วยหรือคิดว่าตัวเองอยู ่ในกลุ่มเสี่ยงซึ่ งอาจไปเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กับคนป่ วยที่ติดเชือ้ ไวรัสโควิด-19 มา ไม่ว่าท่านจะมีอาการไข้หรือยังไม่มีก็ตาม แต่เชื่อว่าหลายคนที่อยู ่ในสภาวะแบบนัน้ ก็ อาจจะร้อนใจจนอาจคิดเลยไปไกลกระทัง่ ว่า “ติดหรือยัง?” ผู ้ป่วยที่เข้ารับการรักษาจะต้องผ่านกระบวนการหลายขัน้ ตอนตัง้ แต่ คัดกรอง วินิจฉัย รักษา และต้องอยู ่ในโรงพยาบาลจนกว่าจะหายดี ถึงจะได้รับอนุญาตให้กลับไปพักฟื้ นต่อที่บ้านได้ ถ้าทุกคนได้ ติดตามอ่านข่าวทุกวันจะเห็นการรายงานตัวเลขเกี่ยวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโควิด-19 อยู ่ 2 ส่วน ส่ วนแรก คื อ ตั วเลขเกี่ ยวกั บการระบาดของโรค ซึ่ งจะ น าเสนอตั ว เลขหลั ก ๆอยู ่ 3 ตั ว ตั ว แรกคื อ จ านวนผู ้ ติ ด เชื้ อ (รายวันและตัวเลขสะสม) ตัวที่สองคือจานวนผู ้เข้ารับการรักษาหรือ อยู ่ระหว่างการรักษา (ตัวเลขรายวันและตัวเลขสะสม) และตัวเลข ผู ้เสียชีวิต (ตัวเลขรายวันและตัวเลขสะสม) โดยมีการแสดงออกมา เป็นกราฟเส้น และแพทย์ผู้เชี่ ยวชาญด้านระบาดวิทยาจะอธิบาย ให้ เราเห็ นว่ า มี ทางเลื อกในการควบคุ มอยู ่ 3 ลั กษณะด้ วยกั น คือ 1. หอไอเฟล (เป็ นกราฟจ านวนผู ้ ติ ดเชื้อที่ ขึ้นสู งอย่างรวดเร็วในเวลาไม่ กี่ วั น ซึ่ งในทางการแพทย์ อธิ บายว่ า เมื่ อขึ้น ทุกจุ ดสูงสุดจะลดลงมาเองอย่างรวดเร็ว) 2. จอมปลวก (เป็นกราฟจานวนผู ้ติดเชือ้ ที่ขนึ้ ในอัตราหนึ่งซึ่ งสูงปานกลางและจะลงมา ช้ ากว่าไอเฟลแต่เร็วกว่าหลังเต่า) และ 3. หลังเต่า (เป็นกราฟจานวนผู ้ติดเชื้อขึ้นสูงทีละช้ าๆและจะอยู ่นิ่งในระดับหนึ่งซึ่ งไม่สูง มากนัก แต่จะค่อยๆลงทีละช้าๆเช่ นกัน) icn 8


การประมวลผลข้อมู ลตัวเลขรายวันและการวิเคราะห์ แนวโน้มของกราฟดังกล่าว ถือได้ว่าเป็นการนาเทคโนโลยี ที่เราเรียกว่า Data Analytics and Visualization ซึ่ งต้องมี ระบบการจัดการฐานข้อมู ลและการดึ งข้อมู ลมาจากแหล่ ง ต่ า งๆเพื่ อ น ามาประมวลผลแบบเรี ย ลไทม์ (realtime) และสรุ ปผลอย่างรวดเร็วทุกวัน ส่วนที่สอง คือ ตัวเลขเกี่ยวกับกระบวนการวินิจฉัย รักษา ซึ่ งจะสะท้อนถึงกาลังความสามารถในการดูแลผู ้ป่วย โดยหมายถึงทรัพยากรทัง้ หมดที่ต้องใช้ อาทิ จานวนแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ด้านการแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือ อุ ปกรณ์ ในการวิ นิ จ ฉั ย รั ก ษา จ านวนเตี ย งและพื้น ที่ ห้ อ งควบคุ ม เชื้ อ รวมถึ ง ระยะเวลาที่ ต้ อ งใช้ ใ นแต่ ล ะ ขัน้ ตอน ซึ่ งจากข้อมู ลการให้สัมภาษณ์ของผู ้ป่วยที่หายดี จากการรักษามาแล้ว พบว่าระยะเวลาตัง้ แต่ตรวจพบเชื้อ จนถึงรักษาหาย (ในแผนภาพที่ 1 คือ t2 + t3 + t4) ใช้เวลา ประมาณ 1 เดื อน อาจเร็ วหรื อช้ ากว่ านี้ขึ้นอยู ่ กั บสภาพ ร่างกายของผู ้ป่วยและโรคประจาตัว ซึ่ งเวลาการรักษา คงไม่อาจลดลงได้ สิ่งที่สามารถลดลงได้ คือ ระยะเวลา ตรวจคัดกรองขัน้ ต้นและเวลาตรวจยืนยันการติดเชื้อผ่าน ห้ องแล็ บ เมื่ อรวมทรั พยากรจากทุ กสถานพยาบาลที่ มี ความสามารถในการดูแลผู ้ป่วยติดเชือ้ ไวรัสโควิด-19 จะบอก ได้ว่าระบบสาธารณสุขของประเทศนัน้ จะสามารถดู แลและ ควบคุ มสถานการณ์ ที่ เกิ ดขึ้นได้ ดี เพี ยงใด รวมไปถึ งการ เลือกที่จะใช้แนวทางใดในการจัดการกับโรคระบาดดังกล่าว หลายประเทศในทวีปยุ โรปและชาติตะวันตกเลือกใช้ วิธี การควบคุม แบบหอไอเฟล คื อ ปล่ อ ยให้ ผู้ติ ด เชื้อ ที่ ไม่มีอาการรุ นแรงกักตัวเองที่บ้านและดูแลรักษาตัวเอง โรงพยาบาลจะรั บ รั ก ษาเฉพาะผู ้ ป่ วยหนั ก เท่ า นั ้ น

เพราะทรั พ ยากรและบุ คลากรทางการแพทย์ ที่ มี อ ยู ่ ไ ม่ สามารถรักษาผู ้ป่วยได้หมดทุกคน หลายประเทศโดยเฉพาะ ในทวีปเอเชียเลือกที่จะใช้ วิธีการควบคุมการเคลื่อนย้ายของ คนในประเทศ และป้ อ งกั น ในทุ ก วิ ถี ท าง โดยเฉพาะการให้ ความรู้ อ ย่ า งเข้ ม ข้ น แก่ ป ระชาชนในการดู แ ลรั ก ษาตั ว เอง เหมือนที่ประเทศไทยใช้ การรณรงค์ “กินร้อน ช้ อนเรา เว้น ระยะห่ า ง 2 เมตร สวมหน้ า กากอนามั ย ทุ ก ครั ้ง ที่ ไ ปในที่ ชุ มชน หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรือจับสิ่งของต่างๆ และล้างมือ อยู ่ เสมอ” ตลอดจนการขอความร่ ว มมื อ จากหน่ วยงาน ต่ า งๆทั ง้ ภาคราชการ รั ฐ วิ ส าหกิ จ และบริ ษั ท เอกชน ให้ พนั ก งานที่ ไ ม่ มี ค วามจ าเป็ นต้ อ งเดิ น ทางไปท างานที่ สานักงานเปลี่ยนมาทางานที่บ้านแทน (work from home) โดยดาเนินการเรื่องต่างๆผ่านช่ องทางออนไลน์ ให้มากที่สุด จะเห็ น ได้ ว่ า ตั ว เลขส่ ว นที่ ส อง (ตั ว เลขเกี่ ย วกั บ กระบวนการวินิจฉัยรักษา) มีความสัมพันธ์กับตัวเลขส่วนที่ หนึ่ง (ตั วเลขเกี่ยวกับการระบาดของโรค) กรณีประเทศไทยที่ ประชาชนและองค์กรต่างๆทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือเป็นอย่าง ดี ทุกคนมีวินัยและปฏิบัติได้ตามที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้แนวทางไว้ คือ Physical Distancing และสวมหน้ากาก อนามัยอย่างถูกต้อง ถูกสถานที่ และถูกเวลา ความพยายามที่ จะให้จานวนผู ้ติดเชือ้ มีอัตราเพิม่ ขึน้ น้อยลงเรื่อยๆจากหลักร้อย ต่อวันเป็นหลักสิบต่อวัน และดีที่สุดคือเป็นหลักหน่วยต่อวัน จนถึ ง ปั จจุ บั น ประเทศไทยไม่ มี ตั ว เลขผู ้ ติ ด เชื้ อ เพิ่ ม ขึ้ น ภายในประเทศแล้ ว คงมี เ ฉพาะบุ คคลที่ เ ดิ น ทางมาจาก ต่างประเทศ และถูกกักตัวทันที (State Quarantine) ถือได้ว่า นโยบายด้านสาธารณสุขและมาตรการควบคุมต่างๆของไทย เป็นไปได้ด้วยดี

ร่วมคิด ร่วมสร้างนวัตกรรมต้นทุนตา่

แผนภาพที่ 2

9

icn


จากแผนภาพที่ 2 ถ้ าเราได้ ติ ดตามอ่ านข่ าวการ ตื่นตัวในแวดวงการวิจัย พัฒนา และการสร้างเครื่องมือ อุ ปกรณ์ ต่างๆขึ้นมาใช้ เองด้ วยต้นทุ นที่ ต่า และไม่ ต้ องรอ พึ่งพาการนาเข้าจากต่างประเทศซึ่ งนอกจากมีราคาที่สูงแล้ว ในช่ วงเวลานี้ก็ ขาดแคลนไม่ สามารถหาได้ ง่ าย เพราะทุ ก ประเทศต่างประสบกับปั ญหาการแพร่ระบาดและการติดเชื้อ แนวทางที่ดีที่สุดภายใต้สถานการณ์ปัจจุ บันคือการพึ่งพา ตัวเอง ดังนัน้ วัสดุอุปกรณ์อะไรที่ไม่เพียงพอหรือขาดแคลน แต่ละประเทศต่างก็ต้องระดมสรรพกาลังจากทุกภาคส่วน เข้ ามาร่ วมด้ วยช่ วยกั นในการสนั บสนุ นโรงพยาบาลเพื่ อ ช่ วยเหลื อ และรั ก ษาผู ้ ป่ วยจากโควิ ด -19 ไม่ เ ว้ น แม้ แ ต่ ประเทศไทยเอง นวัตกรรมหรือสิ่งใหม่ที่ร่วมด้วยช่ วยกัน พัฒนาขึ้นมานั น้ แบ่ งได้ ตามลั กษณะการใช้ งานในขั น้ ตอน ต่างๆของกระบวนการตัง้ แต่เลข 1 ถึงเลข 10 ทัง้ นี้ นอกจาก เป็นการเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการรองรับผู ้ป่วย ในจานวนที่มากขึ้นในเวลาเดียวกั นแล้ว ยั งลดเวลาในการ ให้ บริ การในขัน้ ตอนต่างๆลง ซึ่ งสาคั ญที่ สุด คื อ การลด เวลาที่เป็นคอขวด (t0 และ t1) อันได้แก่ การสอบประวัติและ การคัดกรองขัน้ ต้น เพื่อแยกแยะหาผู ้ติดเชือ้ จริง ดังนี้ จุ ดที่ 0 มีการพัฒนา Web App หรือ Mobile App เพื่อให้คนทัว่ ไปที่มีอาการหนาวๆร้อนๆ มีไข้ ไอจาม และสงสัยว่าตัวเองจะติดเชื้อไวรัสโควิด-19 หรืออยู ่ ในข่าย กลุ่มเสี่ยงหรือไม่ เข้าไปตอบแบบสอบถามเพื่อนาคาตอบ ที่ได้รับมาใช้ เป็นแนวทางในการปฏิบัติตัวต่อไป โดยไม่ต้อง ตื่นตกใจจนต้องเข้ามารับการรักษาที่โรงพยาบาล จุ ดที่ 1 จุ ดที่ 2 เป็ น กระบวนการตรวจวิ นิ จ ฉั ย ขัน้ ต้น นอกจากการซักประวัติแล้ว ปั จจุ บันก็มีชุดตรวจที่ ได้รับการพัฒนาขึน้ มาให้สามารถรู้ผลการตรวจได้อย่าง รวดเร็ว (Rapid test) อาทิ Chula COVID-19 Strip Test ในชื่อผลงาน “จุ ฬาฯ พารอด” ที่ผู้รับการตรวจ สามารถรู้ผลการตรวจได้อย่างรวดเร็วภายในเวลาเพียง 10 นาที ใน 4 ขัน้ ตอน หรือ Rapid Test Kit ที่ใช้ หลักการ Immunochromatography (ICT) ที่พัฒนาขึน้ มาโดย มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริน ทร์ และจุ ดที่ 3 เป็ น การตรวจละเอียดเพื่อยืนยันซ้ าในห้องแล็บ (Lab)

icn 10

จุ ดที่ 4 เป็นการวินิจฉัยและรักษาโดยแพทย์ พยาบาล และผู ้ เชี่ ย วชาญด้ านการแพทย์ อื่ นๆ นวั ต กรรมที่ มี อาทิ ห้องควบคุมเชื้อความดันลบ (สาหรับผู ้ป่วย) ห้องปลอดเชื้อ ความดันบวก (สาหรับบุ คลากรการแพทย์) แคปซู ลเคลื่อนย้าย ผู ้ ป่ วยความดั น ลบ ที่ มี น ้า หนั ก เบา ควบคุ ม เชื้ อ และเข้ า เครื่องเอกซเรย์ (X-Ray) ได้ ซึ่ งพัฒนาโดย มู ลนิธิ SCG เครือ ซิเมนต์ ไทย จุ ดที่ 5 และจุ ดที่ 6 สาหรับผู ้ป่วยที่นอนรับการรักษาใน โรงพยาบาลภายในห้องควบคุมเชื้อ นวัตกรรมที่เกิดขึ้น อาทิ หุ่นยนต์ Pinto ที่ใช้ในการแจกจ่ายอาหารและยา ซึ่ งควบคุมจาก ระยะไกล ทาให้เจ้ าหน้ าที่ ไม่ต้ องเข้าไปใกล้ชิ ดผู ้ป่ วย อุ ปกรณ์ ครอบศรีษะผู ้ป่วยในช่ วงที่แพทย์ทาการรักษา จุ ดที่ 7 และจุ ดที่ 8 เป็นกระบวนการสร้างความร่วมมือ ในการพั ฒนานวั ตกรรมใหม่ๆ จะเห็นได้ว่ า มีทัง้ วิศวกรจาก บริษัทเอกชน นักวิจัยและพัฒนาจากมหาวิทยาลัย และทีมแพทย์ จากโรงพยาบาลต่างมาร่วมด้วยช่ วยกัน อีกทัง้ ยังมีการระดมทุน จากภายนอกเพื่อนามาใช้ในการผลิตวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ

จุ ดที่ 9 เกิ ดแนวคิ ดใหม่ ในการน าโรงแรม สถานที่ ที่ เหมาะสม มาทาโรงพยาบาลสนามหรือสถานที่กักตัว รวมถึง App ในการ Track and Trace ในชื่อ “ไทยชนะ” เพื่อช่ วยในการ ติดตามผู ้ติดเชือ้ และกลุ่มเสี่ยงได้ง่ายขึน้ จุ ดที่ 10 แนวคิดในการนาพลาสมาจากผู ้ป่วยมาใช้ ใน การพัฒนายาจากภูมิคุ้มกันของผู ้ที่หายป่ วย ตัวอย่างนวัตกรรมทีค่ ดิ ค้นขึน้ มาช่ วงโควิด-19


เชื่อว่าเมื่อสถานการณ์โรคระบาดจากไวรัส COVID-19 คลี่คลายและควบคุมได้แล้ว การระบาดจะเข้าสู่ภาวะปกติก็ ต่อเมื่อมีวัคซีนป้ องกันเหมือนกับโรคอื่นๆก่อนหน้านีท้ ี่กลายเป็นโรคประจาถิ่นซึ่ งคนมีภูมิคุ้มกัน เมื่อติดเชื้อ ป่ วย ก็สามารถ รักษาให้หายได้ไม่ต่างจากไข้หวัด แต่สงิ่ ที่น่าจะเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้างแน่นอนคือ การปรับตัวของคนในการดารงชีวิต การ ทางาน การท าธุ รกิจการค้า การผลิ ตในอุ ตสาหกรรมโรงงาน และการบริการต่างๆ ที่ จะมี การนาเทคโนโลยี เข้า มาใช้ อย่างมาก เพราะต่างเห็นผลแล้วว่า หากเกิดวิกฤตในลักษณะใกล้เคียงกันนี้ขึ้นอีกในอนาคต เศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศจะได้รับผลกระทบน้อยกว่าที่เป็นอยู ่ในปั จจุ บัน เนื่องจากหน่วยงานทุกภาคส่วนต่างมีแผนสารองและแผนฉุกเฉิน เพื่อรับมือกับเหตุการณ์ได้ดีขนึ้ จากบทเรียน COVID-19 ภาพจาก: https://www.freepik.com/free-vector/social-distancing-publictransportation_8135143.htm#page=1&query=Social%20distancing&position=5 https://www.it24hrs.com/2020/app-thaichana-platform-thaiwin/ https://www.chula.ac.th/news/28743/, http://www.securitysystems.in.th/2020/06/psu-covid-19-rapid-test-manual/ https://www.facebook.com/SCGofficialpage/posts/3522748084408293/ https://www.sdperspectives.com/csr/scg-modular-screening-swab-unitcovid-19/

https://cutt.ly/cie7nfr https://www.greennetworkthailand.com/%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%AC%E0%B8%B2% E0%B8%AF%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0% B8%95%E0%B9%8C-cu-robocovid/ https://bangkok-today.com/web/%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%99% E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8% 8B%E0%B8%B5%E0%B8%88%E0%B8%B5-%E0%B8%A1%E0%B8% AD%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%81/ 11 icn


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

สัมมนาออนไลน์ JOIN A TRAINING ON

<<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนาออนไลน์ เรื่ อ ง “วิ ธี ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ ส่ ว นสู ญ เสี ย วั ต ถุ ดิ บ สาหรั บ กิ จ การ ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน” เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2563 ผ่านโปรแกรม Zoom ที่สามารถรองรับการฝึ กอบรมและ สัม มนาในยุ ค Social Distancing ท่า มกลางสถานการณ์ โควิด -19 ที่ทุ ก คนต้อ ง Work form Home หยุ ดเชื้ อ เพื่ อชาติ แต่การเรียนรู้ก็ต้องไม่หยุ ดนิ่ง การสัมมนาครัง้ นีไ้ ด้รับเกียรติจาก คุณชนกพร หนูหอม นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนชานาญการพิเศษ สานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นวิทยากรบรรยาย เพื่อ ให้สมาชิ ก และผู ้ใช้ บริการได้รับความรู้และความเข้าใจข้อมู ล เกี่ย วกับส่วนสูญเสีย ของวัตถุดิบที่เกิด จากการผลิตสินค้าด้วยวัตถุดิบและวัสดุจาเป็นที่นาเข้ามาผลิตเพื่อการส่งออก ผู ้ ไ ด้ รั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ที่ จ ะใช้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ด้ า นวั ต ถุ ดิ บ จึ ง มี ค วามจ าเป็ นอย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งท าความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ความหมายของส่วนสูญเสียวัตถุดิบ เพื่อที่จะสามารถคานวณปริมาณวัตถุดิบและวัสดุจาเป็นที่จะขออนุมัติสาหรับใช้ ใน โครงการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนได้อย่างถูกต้องตามประกาศสานักงานฯที่ ป.4/2543 และ ที่ ป.5/2543 เรื่อง เงื่อนไขและ วิธีการสาหรับส่วนสูญเสียและเศษซากของวัตถุดิบตามมาตรา 30, 36 โดยมีหวั ข้อบรรยาย อาทิ บทสรุ ปเงื่อนไขและวิธีการ สาหรับส่วนสูญเสียและเศษซากของวัตถุดิบ ตามมาตรา 30 และ มาตรา 36 (1) (2) วิธีปฏิบัติสาหรับส่วนสูญเสียตาม ประกาศสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ ป.4/2543 และ ป.5/2543 การส่งออก จาหน่าย และตัดบัญชี ส่วนสูญเสีย ของวัตถุดิบ หลักฐานและเอกสารที่ใช้ ในการส่งออก จาหน่าย และตัดบัญชี ส่วนสูญเสียของวัตถุดิบ ทัง้ นี้ วิทยากรได้เปิ ดโอกาสให้ ผู ้เข้าร่วมสัมมนาได้ซกั ถามประเด็นปั ญหาที่เป็นข้อสงสัย ซึ่ งสามารถโต้ตอบกับวิทยากรได้เสมือนอบรมในห้องสัมมนา เพื่อ นาข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่บีโอไอกาหนดไว้ สมาชิกและผู ้ใช้บริการสามารถติดตามหลักสูตรสัมมนาออนไลน์ท่นี า่ สนใจ ได้ท่ี http://icis.ic.or.th หรือ www.ic.or.th หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมทางโทรศัพท์ 099 107 4633 icn 12


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

สัมมนาออนไลน์ JOIN A TRAINING ON

ข้อควรรู้ เกี่ยวกับการขออนุญาตเปิดดาเนินการ สาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

<<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดสัมมนาออนไลน์ เรื่อง “ข้อควรรู้เกี่ยวกับการขออนุญาตเปิ ดดาเนินการสาหรับ กิจ การที่ ได้ รับ การส่ ง เสริม การลงทุ น ” เมื่ อ วัน ที่ 2 มิ ถุน ายน 2563 ผ่า นโปรแกรม Zoom ที่ สามารถรองรั บการ ฝึ กอบรมและสัมมนาในยุ ค Social Distancing ท่ามกลางสถานการณ์โควิด-19 ที่ทุกคนต้อง Work form Home หยุ ดเชื้อเพื่อชาติ แต่การเรียนรู้ก็ต้องไม่หยุ ดนิง่ การสัมมนาครัง้ นีไ้ ด้รับเกียรติจาก คุณวันทนา ทาตาล นัก วิช าการส่ง เสริม การลงทุน ชานาญการพิเ ศษ สานัก งานคณะกรรมการส่ง เสริ มการลงทุน เป็นวิทยากรบรรยาย เพื่ อให้ สมาชิ ก และผู ้ ใช้ บ ริการได้ รับความรู้และ ความเข้าใจข้อมู ลเกี่ยวกับการขอเปิ ดดาเนินการซึ่ งเป็นเงื่อนไขสาคัญที่กาหนดไว้ในบัตรส่งเสริม และผู ้ได้รับส่งเสริมการ ลงทุนมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทาความเข้าใจและเรียนรู้วิธีการและขัน้ ตอนการปฏิบัติตามเงื่อนไขสิทธิประโยชน์ ในบั ต รส่ ง เสริ ม เพื่ อ ให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยมี หั ว ข้ อ การบรรยาย อาทิ สิทธิประโยชน์และเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการเปิ ดดาเนินการ การกาหนดเวลาการนาเข้าเครื่องจักรและเปิ ดดาเนินการ ตามประกาศที่ ป.1/2548 และวิธีปฏิบัติการตรวจสอบการเปิ ดดาเนินการและการกาหนดความหมายรายการเงินลงทุน ตามประกาศที่ ป.1/2545 ทั ง้ นี้ วิ ท ยากรได้ เ ปิ ดโอกาสให้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาได้ ซ ัก ถามประเด็ น ปั ญ หาที่ เ ป็ นข้ อ สงสั ย ซึ่งสามารถโต้ตอบกับวิทยากรได้เสมือนอบรมในห้องสัมมนา เพื่อนาข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่บีโอไอกาหนดไว้ สมาชิ ก และผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารสามารถติ ด ตามหลั ก สู ต รสั ม มนาออนไลน์ ที่ น่ า สนใจ ได้ ที่ http://icis.ic.or.th หรื อ www.ic.or.th หรื อ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ม เติ ม ทางโทรศัพ ท์ 099 107 4633 13 icn


ประกาศ ด้วยสถานการณ์การแพร่กระจายของเชื้อโรค Covid-19

สมาคมขอให้ผู้ใช้บริการใช้ช่องทางการส่งคาร้องผ่านทางอีเมล โดยขอความร่วมมือในการส่งไฟล์ข้อมูล และเอกสาร ประกอบการพิจารณาทุกประเภท

เป็นการส่งข้อมูลผ่านทาง e-mail เท่านั้น

ซึ่งบริษัทจะเป็นผู้เก็บเอกสารต้นฉบับไว้สาหรับการตรวจสอบในภายหลัง ทั้งนี้ สมาคมจะไม่คิดค่าบริการรับส่งข้อมูลและเอกสารทางอีเมล * หมายเหตุ : ยกเว้น งานบริการรับไฟล์ข้อมูลทาง e-mail ประเภทงานสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบผ่านช่องทาง Counter Service ยังคงมีค่าบริการเช่นเดิม

มีผลตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม 2563 เป็นต้นไป สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ งาน Customer Support โทร. 065 205 6010 ถึง 15


หลั ก เกณฑ์ เงื่ อ นไข และขั้ น ตอน

การใช้ ส กุ ล เงิ น ต่ า งประเทศ ในการดาเนิ น งาน (Functional Currency: FC) สาหรั บ คานวณภาษี เ งิ น ได้ ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th

สืบเนื่องมาจากความจาเป็นในการลดค่าใช้ จ่ายการ ดาเนินกิจการของบริษัทในการบันทึกบัญชีและงบการเงิน ให้สอดคล้องกับผลดาเนินงานที่แท้จริง อีกทัง้ ยังเป็นการ ช่ วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน และก่อให้เกิด ความเป็นธรรมแก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทีไ่ ม่ ได้ใช้ เงินตราไทยเป็นสกุลเงินหลักในการดาเนินการ (Functional Currency: FC) บริ ษั ท หรื อ ห้ า งหุ้ น ส่ ว นนิ ติ บุ คคลที่ มี ความประสงค์ จะใช้ สกุ ลเงิ นต่างประเทศนอกจากเงิ นตราไทย เป็นสกุลเงินหลัก (Functional Currency: FC) ในการ ด าเนิ น งาน เพื่ อ จั ด ท าบั ญ ชี หลั ก ฐาน และเอกสาร ประกอบการลงบัญชี รวมถึงการคานวณรายได้ รายจ่าย และก าไรสุ ท ธิ เ พื่ อ เสี ย ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคล โดยไม่ ต้ อ ง ค านวณค่ า หรื อ ราคาเป็ น เงิ น สกุ ล บาทก่ อ น สามารถ ดาเนินการได้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข รายละเอียดดังนี้ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขสาหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลที่มีความประสงค์จะใช้ เงินตราสกุล อื่นนอกจาก เงินตราไทย 1. จัดทาบัญชีและมีผู้ตรวจสอบ และรับรองบัญชีให้ การรับรอง 2. สกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงาน (Functional Currency: FC)ต้องเป็นสกุลเงินตามประกาศกระทรวงการคลังเกี่ยวกับ ภาษี เ งิ น ได้ (ฉบั บ ที่ 2) เรื่ อ ง ก าหนดเงิ น ตราสกุ ล อื่ น นอกจากเงินตราไทยเป็นสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงาน เพื่อ การปฏิ บั ติ ก ารเกี่ ย วกั บ ภาษี เ งิ น ได้ ส าหรั บ บริ ษั ท หรื อ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร ที่ได้กาหนดให้ เงินตราสกุลดังต่อไปนี้ จานวน 23 สกุลเงิน เป็นเงินตรา สกุ ล อื่ น นอกจากเงิ น ตราไทยที่ ใ ช้ ในการด าเนิ น งาน ซึ่ งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลอาจแจ้งหรือขออนุมัติ ต่อ อธิ บ ดีแ ล้ ว แต่กรณี เพื่ อ ใช้ ใ นการปฏิบั ติ การเกี่ ย วกั บ ภาษี เ งิ น ได้ ส าหรั บ บริ ษั ท หรื อ ห้ า งหุ้ น ส่ ว นนิ ติ บุ คคลตาม ประมวลรัษฎากร ได้แก่ เครดิต: https://www.rd.go.th/publish/rdslide2/images/080663_info_23fc.jpg https://www.rd.go.th/publish/27695.0.html http://www.rd.go.th/fileadmin/user_upload/kormor/newlaw/mfpit2.pdf

(1) ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (USD) (2) ปอนด์สเตอลิง (GBP) (3) ยู โร (EUR) (4) เยน (JPY) (5) ดอลลาร์ฮ่องกง (HKD) (6) ริงกิต มาเลเซีย (MYR) (7) ดอลลาร์ สิงคโปร์ (SGD) (8) ดอลลาร์บรูไนดารุ สซาลาม (BND) (9) เปโซ ฟิ ลิ ป ปิ นส์ (PHP) (10) รู เ ปี ย (IDR) (11) รู ปี อิ น เดี ย (INR) (12) ฟรั ง ก์ ส วิ ส (CHF) (13) ดอลลาร์ อ อสเตรเลี ย (AUD) (14) ดอลลาร์ นิว ซี แ ลนด์ (NZD) (15) ดอลลาร์แ คนาดา (CAD) (16) โครนา สวีเดน (SEK) (17) โครน เดนมาร์ก (DKK) (18) โครน นอร์เวย์ (NOK) (19) หยวนเหรินหมินบี้ (CNY) (20) ดอง เวียดนาม (VND) (21) วอน เกาหลีใต้ (KRW) (22) ดอลลาร์ไต้หวัน (TWD) (23) ดีแรห์ม สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (AED) 3. ยื่ น ค าขออนุ มั ติ ต่ อ อธิ บ ดี ก รมสรรพากร ภายใน 6 เดือน นับแต่วันแรกของรอบบัญชี 4. เป็นสมาชิ กยื่นแบบฯทางอินเทอร์เน็ต หรือ ระบบ Tax Single Sign On 5. ยื่นแบบแจ้งฯ ส.ง.1, 2 หรือ แบบขออนุมัติ ส.ง.ป.1, 2 แล้วแต่กรณี ทางเว็บไซต์ www.rd.go.th หรือ http://etax.mof.go.th 6. สแกน (Scan)หนังสือรับรองการจัดทาบัญชี ใช้ เ งิน ตราสกุล อื่ น นอกจากเงิ น ตราไทยเป็น สกุล เงิ น ที่ ใ ช้ ใ นการด าเนิ น งาน และ Upload ทางเว็ บ ไซต์ www.rd.go.th หรือ http://etax.mof.go.th ขั ้น ตอนและช่ องทางส าหรั บ การแจ้ ง และขอ อนุมัติ 1. เข้าเว็บไซต์ www.rd.go.th 2. เลือกเมนู e-SERVICE 3. เลือกหัวข้อภาษี เงินได้นิติบุคคล 4 เลื อ กระบบขออนุ มั ติ ใ ช้ เงิ น ตราสกุ ล อื่ น นอกจากเงินตราไทยเป็นสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงาน 5. เข้าสู่ระบบ โดยใช้ รหัส Username และ Password เดียวกับการยื่นแบบฯทางอินเทอร์เน็ต (e-Filing) 15 icn


สมาคมสโมสรนักลงทุน

ช่วยแบ่งเบาภาระผู้ใช้บริการ ให้ธุรกิจฝ่าวิกฤต Covid-19 TOGETHER WE FIGHT

มอบส่วนลด

10%

ค่าบริการระบบงานเครื่องจักรและวัตถุดิบ

เป็นเวลา 6 เดือน ในงวดเดือนเมษายน – กันยายน 2563

ขยายเวลาชาระหนี้

งวดเดือนมีนาคม – สิงหาคม 2563

ค่าบริการระบบงานเครื่องจักรและวัตถุดิบ

ออกไปอีก

3 เดือน

ค่าบริการ เดือนมีนาคม 2563

ชาระภายใน 30 กรกฎาคม 2563

ค่าบริการ เดือนเมษายน 2563

ชาระภายใน 30 สิงหาคม 2563

ค่าบริการ เดือนพฤษภาคม 2563 ชาระภายใน 30 กันยายน 2563 ค่าบริการ เดือนมิถุนายน 2563

ชาระภายใน 30 ตุลาคม 2563

ค่าบริการ เดือนกรกฎาคม 2563 ชาระภายใน 30 พฤศจิกายน 2563 ค่าบริการ เดือนสิงหาคม 2563

ชาระภายใน 30 ธันวาคม 2563

สอบถามเพิ่ ม เติ ม โทรศั พ ท์ 065 205 6007 หรื อ 0 2936 1429 ต่ อ 401, 403


ใครว่าลูกเป็ด (ความสาเร็จของเรา) “ขี้เหร่”

เส้าหลิน

ท่านผู ้อ่านเคยหรือไม่? ตัง้ เป้ าหมายไว้ว่า …จะวิง่ ให้ได้ 10 กิโล ...จะลดนา้ หนักสัก 5 กิโลภายใน 1 เดือน …จะเก็บเงินไปเที่ยวประเทศในฝั น แล้วคุณทาได้จริงๆ เมื่ อ คุ ณ สามารถท าได้ ส าเร็ จ ตามเป้ าหมาย อารมณ์ แ ละความรู้ สึ ก ของคุ ณคงเต็ม ไปด้ว ยความสุ ข ความกระตือรือร้นและกระปรีก้ ระเปร่า แต่หากมีใครสักคน มาฉุ ด รั ้ ง ความสุ ข ของคุ ณ เอาไว้ ด้ ว ยค าพู ดที่ ว่ า … “ก็แค่นเี้ อง” คนที่ ส ามารถฟั น ฝ่ าทุ ก อุ ปสรรคโดยส่ ว นใหญ่ จะไม่หยุ ดสะดุดกับคาพู ดที่ไม่สร้างสรรค์ของผู ้อื่นโดยการ นามาบัน่ ทอนจิตใจตนเอง ในทางกลับกันการถูกดูถูกและ เหยียดหยามกลับส่งผลดีให้กับคนบางคนที่สามารถพลิก จุ ดด้ อ ยให้ ก ลายเป็ น โดดเด่ น ในกรณี ว งการนางแบบ จะเห็น ตัว อย่ างได้ อย่ างเด่ นชัด จากคนที่ใ ครๆก็ ว่า เป็ น ลูกเป็ดขีเ้ หร่กลับเจิดจรัสได้บนแคตวอล์ก (Catwalk) กลั บ จุ ดด้ อ ยให้ ก ลายเป็ นจุ ดเด่ น อย่ า !!! ติ ว่ า ตั ว เองเป็ น คนขี้เ หร่ ไม่ ส วย ไม่ เ ก่ ง ไม่ มี โ อกาส เพราะความส าเร็ จ ไม่ ไ ด้ เ ลื อ กที่ ห น้ า ตา ผิวพรรณ หรือฐานะ แต่คนที่จะประสบความสาเร็จได้นัน้ ต้ อ งอาศัย ความพยายามและไม่ ห ยุ ดแม้ พ บอุ ปสรรค ไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก Lu Yan นางแบบสาวชาวจีนวัย 36 ปี ที่ถูก คนเอเชี ย ด้ ว ยกั น ส่ว นใหญ่ ม องว่ า เธอไม่ มี ความงาม เพราะมีด วงตาที่ เล็ กยาว จมู กแบน และริม ฝี ปากหนา ตัง้ แต่เด็กจนโต เธอมักถูกเพื่อนๆล้อเรื่องหน้าตาของเธอ แต่เธอกลับไม่ ได้รู้สึกอย่างที่คนอื่นคิด และมุ ่งมัน่ เข้าประกวด ทัง้ ๆที่มีแต่คนห้ามจนได้เป็นนางแบบระดับโลกในที่สุดโดยมี ตาแหน่งรองชนะเลิศ World Model Contest 2000 เป็นรางวัลการันตี

การเว้นระยะไม่ ใส่ใจในบางเรื่องจึงเป็นสิ่งสาคัญ ในยุ ค Social Distancing ซึ่ งจะทาให้ธรรมชาติทางจิตใจ ของเร าไ ด้ ฟื้ นฟู แล ะสงบนิ่ ง อย่ า งจริ ง จั ง แต่ ใ น ขณะเดียวกันก็ยังคงพัฒนาความคิดเพื่อนาพาตนเองสู่ เป้ าหมายของชีวิต เปรียบเปรยเหมือนเป็ดที่ลอยอยู ่เหนือ ผืนนา้ ซึ่ งดูนิ่งๆเชิดๆ แต่ภายใต้ผิวนา้ นัน้ เป็ดก็ต้องตีเท้า ตลอดเวลาเพื่อ ไม่ใ ห้ตั ว เองจมลงเช่ นเดี ยวกั บมนุษ ย์ ท่ี ไม่ยอมจมอยู ่กับคาสบประมาท เทคนิคการกลับจุ ดด้อยให้กลายเป็นจุ ดเด่นต้อง อาศัยหลัก 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ควบคุ ม อารมณ์ : อารมณ์ ถื อ เป็ น พลั ง ที่ ทรงอานาจเพราะอาจเป็นต้นเหตุของความขัดแย้ง หรือ ในทางตรงกันข้าม อารมณ์ก็เป็นดัง่ นา้ ทิพย์ท่ีทาให้ทุกสิ่ง ทุกอย่างในชีวิตงดงามและน่าอภิรมย์ ทาให้ชีวิตมีคุณค่า และมีความหมาย 2. อดทนเข้าไว้ : การอดทนต่อการถูกยั่วยุ และ ดูถูกสอนให้เราได้รู้ว่า เป้ าหมายสาคัญมากกว่าอารมณ์ หากหลงไปกับอารมณ์โกรธ ทิฐิ 3. วิ ริ ย ะจนเกิ ด ผล: เพี ย รพยายาม กล้ า ที่ จ ะ ลงมือทาจนกว่าจะบรรลุเป้ าหมายที่ตงั ้ ไว้ เพราะเพียงคิด แต่ ไม่ทาย่อมไม่เกิดผลสาเร็จ Lu Yan

17 icn


เมื่ อ เปลี่ ย นจุ ดด้ อ ยดั ง ข้ า งต้ น แล้ ว จะกลายเป็ น จุ ดเด่ น ที่ มั่ น คงได้ ต้ อ งมี ก ารประเมิ น สถานการณ์ (Situation Appraisal) เข้ามาช่ วยให้เราสามารถรับมือกับ สถานการณ์ท่เี กิดขึน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเริ่มจาก • ระบุ สถานการณ์ท่กี าลังเกิดขึ้น ซึ่ งเป็นการระบุ เหตุ การณ์ ท่ี ส่ งผลกระทบกั บเราและต้องการ การจัดการ เพื่อให้เห็นภาพของสถานการณ์ เดียวกัน • ระบุ เรื่องที่เป็นกังวลในสถานการณ์นัน้ ๆอย่าง ชัดเจน การระบุ ความกังวลทัง้ หมดที่เกิดขึ้นใน สถานการณ์อย่างละเอียดและชัดเจนจะช่ วยให้ สามารถหาวิธีการจัดการได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม • จัด ลาดับความสาคัญ ของเรื่องที่เป็นกังวล การระบุ เรื่องที่เป็นกังวลตามระดับผลกระทบ และความเร่ ง ด่ ว นที่ ต้ อ งจั ด การ เพื่ อ ให้ สามารถจั ด สรรทรั พ ยากรในการจั ด การ ได้อย่างเหมาะสม

อ้างอิง:

https://www.mreport.co.th/experts/business-andmanagement/054-Complex-Problem-Solving

• วางแผนจั ดการ การก าหนดทรั พยากรและ วิธีการจัดการข้อกังวลตามลาดับความสาคัญ เพื่ อให้ การด าเนิ นงานมี ประสิ ทธิ ภาพและเกิ ด ประสิทธิผลสูงสุด

ขอเพี ย งท่ า นมุ ่ ง มั่ น และมี การเรี ย นรู้ ต ลอดชี วิ ต มีค วามคิ ดริ เริ่ มสร้า งสรรค์บ นทั กษะการแก้ ปัญ หาและ ตัดสินใจ และการบริหารเวลา ความสาเร็จย่อมมาเยือน ท่านด้วยผลลัพธ์ท่ไี ม่ขเี้ หร่แน่นอน ภาพจาก: https://www.newtv.co.th/news/15131 https://www.slideteam.net/kepner-tregoe-methodpowerpoint-presentation-slides.html

สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ออนไลน์

ผ่านระบบ เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ หลักสูตรการใช้งานระบบ IC หลักสูตรด้านศุลกากร หลักสูตรการบริหารจัดการ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน icn 18

099 107 4633


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

การขอสั่งปล่อยเพื่อขอคืนอากรวัตถุดิบ Q : บริษัทได้รับการส่งเสริมการลงทุนจานวน 2 โครงการ ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเป็นชนิดเดียวกัน บริษัทมีการสงวนสิทธิ์ ในการน าเข้ า วัต ถุ ดิบ ไว้ ใ นโครงการที่ 2 ซึ่ ง ยั ง ไม่ ได้ขอคื นอากรวั ตถุดิ บ ต่ อมาบริ ษัทได้ท าการรวมบั ญชี ปริมาณสต็อกของทัง้ 2 โครงการเข้าด้วยกัน และได้รับอนุมัติจากสานักงานฯแล้ว หลังจากนัน้ บริษัทได้ ทาการยื่น เรื่องเพื่อขอคืน อากร แต่ไ ด้รับแจ้งว่าระยะเวลาไม่ครอบคลุม ทาให้ไม่สามารถขอคืน อากรได้ ขอสอบถามว่า บริษัทจะต้องดาเนินการอย่างไร เพื่อขอคืนอากรในส่วนนีไ้ ด้ A : ในการรวมสต็อกวัตถุดิบของ 2 โครงการ สานักงานฯจะปรับแก้ไขระยะเวลานาเข้าให้เป็นระยะเวลาที่สัน้ ที่สุด ของโครงการก่อนรวมสต็อก (สัน้ หน้า สัน้ หลัง) ดังนัน้ ก่อนการขอรวมสต็อก บริษัทควรตรวจสอบว่า มีวัตถุดิบที่นาเข้ามาโดยสงวนสิทธิ์ที่ต้องการ ขอคืน ภาษี ค้างคงเหลือหรือไม่ และดาเนิน การสั่งปล่อยเพื่อขอคืนอากรให้เ สร็จ สิ้น ก่อน จึงค่อยท าการ รวมสต็อก กรณีที่บริษัทสอบถามนัน้ เนื่องจากสานักงานฯอนุมัติรวมสต็อกเรียบร้อยแล้ว จึงขอให้บริษัทติดต่อ กองบริหารการลงทุนที่รับผิดชอบโครงการของบริษัท ซึ่ งหากเจ้าหน้าที่ BOI เห็นว่า วัตถุดิบที่สงวนสิทธิ์ ดังกล่าวนาเข้ามาในระยะเวลาที่ได้รับสิทธิมาตรา 36 ของโครงการนัน้ จะดาเนินการแจ้งไปยังสมาคมสโมสรนักลงทุน (IC) เพื่อดาเนินการปลดล็อคเงื่อนไขวันที่เริ่มใช้ สิทธิของโครงการรวมสต็อกเป็นการชัว่ คราว เพื่อให้บริษัท สามารถสัง่ ปล่อยเพื่อขอคืนอากรวัตถุดิบดังกล่าวได้

ติ ดตาม FAQ 108 คาถามกั บงานส่ง เสริ มการลงทุน ได้ท าง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

การทาธุ รกิจจะต้องมีการวางแผนที่เป็นระบบ เพื่อพัฒนาธุ รกิจให้เป็นไปตามต้องการ ทัง้ ในระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว ให้ชดั เจน แล้วลงมือทาตามแผนงาน อย่างเคร่งครัด

คุณวิกรม กรมดิษฐ์ ผู้ก่ อ ตั้ ง และประธานกรรมการบริห าร (CEO) บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชั่น จากั ด (มหาชน) ที่มา>> shorturl.at/fvNS7 ภาพจาก>> shorturl.at/sO167

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก

www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 201 อีเมล icn@ic.or.th 19 icn


ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ

@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ

Add friends

IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย

ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.