Vol.18 / March 2019 2562 ปี แห่งการลงทุน และมาตรการพิเศษกระตุ้นการลงทุน ช่ องทางการชาระเงิ นค่ าภาษี ของกรมศุลกากร
การส่งเสริมการลงทุน
กิจการพัฒนาพืน ้ ที่เมืองอัจฉริยะ
Smart City
“หากคุณจับต้นชนปลายไม่ถูก”
Single Window for
Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th
www.ic.or.th
การส่งเสริมการลงทุนกิจการพัฒนา พืน้ ที่เมืองอัจฉริยะ (Smart City)
04
ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพ ท์ : 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร : 0 2936 1441-2 e-mail : icn@ic.or.th
ช่ องทางการชาระ เงินค่าภาษี ของกรมศุลกากร
2562 ปี แห่งการลงทุน และมาตรการพิเศษกระตุ้นการลงทุน
14 18
ผลิตภาพ นวัตกรรม และอุ ตสาหกรรม 4.0 (1)
09 12
22
23
สินค้าที่ใช้ ได้สองทาง (Dual-Use Items) UCP 600 คืออะไร สาคัญอย่างไร กับผู ้ประกอบการส่งออกไทย เกี่ยวข้องกับการนาเข้าส่งออกอย่างไร
เมื่อ (เรา) 'เข้มแข็ง' อะไรๆ ก็ไม่ใช่ ปัญหา
หล าย คน ยัง คงมุ ่ง มั ่น ตั ง้ เป้ า ห ม าย ใ ห้ปี 2562 เป ็ น อีก หนึ ่ ง ปี ท อ ง ข อ ง การประสบความสาเร็จทัง้ ในเรื่องการเรียน การงาน และความรัก ไม่เว้นแม้กระทั่งบริษัท ห้างร้านต่างๆที่ตัง้ เป้ าหมายในการทาธุ รกิจให้ ได้รับผลกาไรเป็นกอบเป็นกาเพื่อให้บริษัท สามารถดาเนินกิจการต่อไปได้และจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานได้อย่างยัง่ ยืน ส าหรั บ ภาคเศรษฐกิ จ ในส่ ว นอุ ตสาหกรรม การตั ้ง เป้ าหมายเป็ น ผลก าไรและ การเติบโตของบริษัทนัน้ เป็นปั จจัยสาคัญอย่างยิ่งต่อการวางแผนกลยุ ทธ์ ในการดาเนิน ธุ รกิจเพื่อกระตุ้นให้พนักงานทุกระดับชัน้ ในองค์กรมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน อันจะนาไปสู่ความสาเร็จในการบรรลุเป้ าหมายที่วางไว้ร่วมกัน ปั จ จั ย ส าคั ญ ประการหนึ่ ง ที่ มี ส่ ว นช่ วยสนั บ สนุ น ให้ ภ าคอุ ตสาหกรรมเติ บ โตคื อ หน่วยงานภาครัฐที่กากับดูแลด้านการส่งเสริมลงทุนอย่างสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุ น หรื อ บี โอไอ ซึ่ ง มี ม าตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ต่ า งๆออกมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่อกระตุ้นให้เกิดการลงทุนในประเทศและชักจู งให้นักลงทุนต่างชาติตัดสินใจเข้ามาลงทุน ในประเทศไทยให้ ได้มากที่สุด ล่าสุด บีโอไอได้ออกมาตรการพิเศษเพื่อกระตุ้นการลงทุนในปี แห่งการลงทุน 2562 หรือ “Gold Package” เพื่อดึงดูดนักลงทุนทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติเข้ามาร่วมลงทุน ในโครงการต่างๆตามกลุ่มอุ ตสาหกรรมเป้ าหมาย ได้แก่ อุ ตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ อุ ตสาหกรรมอิเ ล็กทรอนิ กส์ อัจฉริยะ อุ ตสาหกรรมการท่องเที่ ยวกลุ่มรายได้ดี และการ ท่องเที่ยวเชิ งสุขภาพ อุ ตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ อุ ตสาหกรรมการ แปรรู ป อาหาร อุ ตสาหกรรมเครื่อ งจั กรอั ตโนมัติ แ ละหุ่ น ยนต์ อุ ตสาหกรรมการบิน และ โลจิ ส ติ ก ส์ อุ ตสาหกรรมเชื้ อ เพลิ ง ชี ว ภาพและเคมี ชี ว ภาพ อุ ตสาหกรรมดิ จิ ทั ล และ อุ ตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจรโดยผู ้ขอรับส่งเสริมการลงทุนจะได้รับสิทธิและประโยชน์ ลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม ร้อยละ 50 เป็นระยะเวลา 3 ปี นับแต่วันที่กาหนด ระยะเวลาการยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลสิน้ สุดลง ซึ่ งสามารถยื่นคาขอรับการส่งเสริมการ ลงทุนได้ตงั ้ แต่วันที่ 19 พฤศจิกายน 2561 ถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2562 เท่านัน้ สาหรับสมาคมสโมสรนักลงทุนพร้อมสนับสนุนทุกโครงการที่ยื่นขอรับการส่งเสริม การลงทุน ด้วยระบบการให้บริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ตลอด 24 ชัว่ โมง ผ่านการ ให้ บ ริ ก ารแบบออนไลน์ และบริ ก ารด้ า นหลั ก สู ต รฝึ กอบรมและสั ม มนาที่ มี ก ารพั ฒ นา หลักสูตรใหม่ๆให้สอดคล้องกับการพัฒนาศักยภาพบุ คลากรให้มีความรู้ ความสามารถ และความชานาญเฉพาะด้านเพื่ อให้สอดรับกับธุ รกิจขององค์ก ร โดยผู ้ ที่สนใจสามารถ ดูรายละเอียดหลักสูตรและเลือกลงทะเบียนเพื่อสมัครร่วมสัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-208 หรือติดตาม ข้อมู ลต่างๆของสมาคมฯได้ทาง www.ic.or.th
บรรณาธิการ 3
icn
Smart City การส่งเสริมการลงทุน กิจการพัฒนาพื้นที่เมืองอัจฉริยะ คุณอิสริยา เฉลิมศิริ สานักยุ ทธศาสตร์และนโยบายการลงทุน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
แนวคิดการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ปั จ จุ บั น กระแสการพั ฒ นาพื้น ที่ ภ ายใต้ แ นวคิ ด เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City กาลังได้รับความนิยม อย่างกว้างขวางจากนานาประเทศทั่วโลก ดังจะเห็นได้จาก รายงาน Smart City Tracker 1Q17 ของสถาบันวิจัย ที่มีชื่อเสียงระดับโลก ชื่อว่า Navigant Research ซึ่ งได้ ระบุ ว่า ปั จจุ บันมีโครงการ Smart City มากกว่า 250 แห่ง ใน 178 เมืองทัว่ โลก เนื่องจากรัฐบาลในหลายประเทศเชื่อว่า การพัฒนาเมืองให้เป็น Smart City นอกจากจะเป็นการ ยกระดั บคุ ณ ภาพชี วิ ตที่ ดี ให้ กับ ผู ้ อยู ่ อ าศัยในเมื อ งแล้ ว ยังเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่จะช่ วยดึงดูดการค้าการลงทุน เพื่อสร้างความเจริญและสร้างรายได้อันมหาศาลให้กับ ประเทศอีกด้วย
1. Smart Economy ตัวอย่างที่โดดเด่นของการ ใช้ ระบบเศรษฐกิจอัจฉริยะสาหรับประชาชนที่อาศัยอยู ่ใน เขตเมืองในฮ่ องกง ได้แก่ การใช้ จ่ายผ่านการทาธุ รกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ E-commerce คือ ระบบบัตรใช้ จ่ า ยเงิ น แบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ห รื อ บั ต ร Octopus ที่ ไ ด้ รวบรวมการใช้ จ่ายต่างๆไว้ในบัตรเดียว เป็นบัตรที่ช่วย เพิ่ ม อ านวยความสะดวกในการจั บ จ่ า ยสิ น ค้ า ภายใน จานวนเงินที่ผู้ใช้ เติมเข้าไปในบัตร โดยสามารถใช้ เพื่อชาระ ค่ า โดยสารระบบขนส่ ง มวลชนสาธารณะ ซื้ อ ของใน ร้านสะดวกซื้ อ ชาระค่าอาหารในร้านอาหาร ชาระค่าที่ จอดรถ หรือแม้แต่ ใช้ ชาระค่าธรรมเนียมในโรงพยาบาล และโรงเรียนได้อีกด้วย โดยในปั จจุ บันมีจานวนบัตรเติมเงิน Octopus ประมาณ 28 ล้ า นใบ มี ป ริ ม าณการใช้ จ่ า ย ผ่านบัตรดังกล่าวกว่า 13 ล้านครัง้ ต่อวัน คิดเป็นมู ลค่า กว่า 150 ล้านดอลลาร์ฮ่องกง
ตัวอย่างของการพัฒนา Smart City ในต่างประเทศ Hong Kong Smart City ฮ่ องกงถื อ เป็ นหนึ่ ง ในเมื อ งที่ มี พั ฒ นาการด้ า นเครื อ ข่ า ยโครงสร้ า ง พื้น ฐานและด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร (Information and Communication Technology: ICT) ที่ดี แห่งหนึ่งของโลก และยังสามารถเกาะกระแส กา ร พั ฒ น าข อ งเ ท ค โน โ ล ยี ใ หม่ ๆ ม า โดยตลอด สาหรับกรอบแนวคิดของการ พัฒนา Hong Kong Smart City สามารถ <ตัวอย่างบัตรใช้ จ่ายเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ของฮ่ องกง หรือบัตร Octopus แบ่งออกเป็นหัวข้อสาคัญได้ดังนี้ icn 4
2. Smart Mobility ฮ่ องกงได้พัฒนาระบบควบคุม จราจรอัจฉริยะ เช่ น Area Traffic Control Systems ที่สามารถควบคุ มไฟสัญ ญาณจราจรต่างๆผ่ านระบบ เครือข่ายกล้องวงจรปิ ดได้ในทันที รวมทัง้ ระบบ Hong Kong e-Routing และ Hong Kong e-Transport ที่สามารถ ให้ คาแนะน าเกี่ ย วกั บ เส้ น ทางจราจรสาหรั บ ผู ้ ใ ช้ ร ถและ ถนนได้ 3. Smart Environment รัฐบาลฮ่ องกงได้ประกาศใช้ แผนแม่ บ ทส าหรั บ การบริ ห ารจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม (Greening Master Plan) เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการ วางแผน ออกแบบสิ่ ง แวดล้ อ ม แล ะการใช้ งาน สิ่งแวดล้อมสาหรับการพัฒนา Smart City ในเขตต่างๆ ของฮ่ องกง โดยเขต Kowloon East ได้นาแผนนีไ้ ปใช้ พัฒนาสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆภายในเมือง 4. Smart Citizen ฮ่ องกงเป็นเมืองที่มีโครงข่าย ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง แ ล ะ ค ร อ บ ค ลุ ม พื้ น ที่ ม า ก ที่ สุ ด แห่งหนึ่งของโลก และมีป ริมาณการเข้า ถึงอิน เตอร์เน็ ต ในครัวเรือน และ Smartphone เป็นร้อยละ 80 และ 70 ตามลาดับ รัฐบาลฮ่ องกงได้ผลักดันและส่งเสริมความรู้ ทางด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารผ่ า น กิจกรรมต่างๆ เช่ น Student IT Corner และเพิ่มความเข้มข้น ในการศึ ก ษาวิ ช าเทคโนโลยี ใ ห้ กั บ นั ก เรี ย นชั ้น มั ธ ยม เพื่อเสริมสร้างความรู้ความสามารถทางด้านเทคโนโลยี ให้มีมากยิ่งขึน้ 5. Smart Living รัฐบาลฮ่ องกงได้นาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารเข้ า มาใช้ ง านอย่ า งจริ ง จั ง เพื่อพัฒนาความเป็นอยู ่ในชี วิตประจาวันของประชาชน และเพื่อช่ วยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้พิการและคนชรา รวมถึง ชุ มชนต่า งชาติ ให้ ส ามารถเข้า ถึ งข้ อ มู ล ที่ สาคั ญ ต่างๆ เช่ น ระบบการบอกเส้นทางออนไลน์สาหรับผู ้พิการ ทางสายตาผ่าน Application ที่มีชื่อว่า Text4U และ บ้านอัจฉริยะสาหรับผู ้พิการทางกายภาพ
6. Smart Government รัฐบาลฮ่ องกงได้เปิ ดใช้ แพลตฟอร์มที่มีชื่อว่า GovHK เพื่องานบริการสาธารณะ แก่ประชาชนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ อาทิ การให้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ กิ จ กรรมและงานบริ การ การนั ด หมาย ติ ด ต่ อ งานราชการต่ า งๆ เช่ น การขอรั บ เอกสารทาง ราชการ การยื่นใบสมัครเพื่อขอใบอนุญาตต่างๆ การหางาน และสมั ค รงาน รวมไปถึ ง การช าระค่ า บริ ก ารจากรั ฐ เป็นต้น และมี Application ใน Smartphone เช่ น EventHK, GovHK Notification และ GovHK เพื่ออานวยความสะดวก ในการเข้าถึงข้อมู ลจากหน่วยงานของรัฐ
<แพลตฟอร์มด้าน งานบริการ สาธารณะ ของรัฐบาลฮ่ องกง (GovHK)
Amsterdam Smart City ก รุ ง อั ม ส เ ต อ ร์ ดั ม ซึ่ ง เ ป็ น เ มื อ ง ห ล ว ง ข อ ง เนเธอร์แลนด์นนั ้ นอกจากจะเป็นที่รู้จักของนานาประเทศ ในเรื่องของวัฒนธรรมการขี่จักรยาน โครงข่ายคูคลอง ที่ซบั ซ้ อน และร้านกาแฟน่านั่งแล้ว กรุ งอัมสเตอร์ยังเป็น ที่เลื่องลือในด้านการเป็นเมืองตัวอย่างของแนวการสร้าง เมืองใหม่ท่ีใช้ เทคโนโลยีและข้อมู ลมาพัฒนาการให้บริการ และการจัดการเมืองให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น หรือ Smart City อีกด้วย อั ม ส เ ต อ ร์ ดั ม ไ ด้ ริ เ ริ่ ม โ ค ร ง ก า ร Smart City Amsterdam ขึ้นเมื่อ ปี ค.ศ. 2009 จากความร่วมมื อ ของภาคเอกชน เทศบาล และประชาชน โดยมีการแต่งตัง้ คณะกรรมการพัฒ นาเศรษฐกิ จเมือ งอั มสเตอร์ ดัม ขึ้น เพื่อมุ ่งสร้างเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและการมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมี ก ารริ เ ริ่ ม โครงการย่ อ ยต่ า งๆที่ พั ฒ นาร่ ว มกั น เกือบ 200 โครงการ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาด้านการจราจร การใช้ พลังงาน และความปลอดภัยของประชาชน ส าหรั บ แนวคิ ด ของการพั ฒ นา Smart City Amsterdam สามารถแบ่งออกเป็น 6 หัวข้อสาคัญ ได้แก่ Smart Economy, Smart Living, Smart People, Smart Environment, Smart Mobility และ Smart Governance โครงการในสาขาต่างๆเหล่านีม้ ีผู้มีส่วนร่วมจานวนมากจาก ภาคเอกชนหลายภาคส่วน เช่ น กรุ งอัมสเตอร์ดัมได้เริ่ม ใช้ ข้ อ มู ล GPS จากบริ ษั ท เทคโนโลยี ท่ี ตั ้ง อยู ่ ในเมื อ ง สาหรับการจัดการจราจรแบบ real time 5 icn
บริ ษั ท เอกชนเหล่ า นี้ มี เ ทคนิ ค และ เทคโนโลยีท่ีนามาช่ วยพัฒนารู ปแบบ การจัดการจราจรให้ทันสมัยมากขึ้น และพัฒนาฐานข้อมู ลจากข้อมู ลเก่า ให้ ต รงกั บ สถานการณ์ ใ นปั จจุ บั น มากขึ้น การเปิ ดโอกาสให้ภาคเอกชน เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการด าเนิ น การ จะช่ วยสร้ า งพลวั ต ที่น่ า สนใจในการ พัฒนาแนวคิด Smart City แนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนา Smart City ในประเทศไทย ส าหรั บ ประเทศไทยนั ้น การพั ฒ นาเมื อ งตามแนวคิ ด Smart City จะเรียกว่า “เมืองอัจฉริยะ” โดยรัฐบาลชุ ดปั จจุ บัน ภายใต้ ก ารน าของพลเอกประยุ ทธ์ จั น ทร์ โ อชา ได้ ใ ห้ ความส าคั ญ กั บ การพั ฒ นาเมื อ งอั จ ฉริ ย ะและถื อ เป็ น วาระ แห่งชาติท่ตี ้องดาเนินการโดยเร่งด่วน โดยนายกรัฐมนตรีได้มี ค าสั่ ง ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ท่ี 267/2560 และ 361/2560 แต่ ง ตัง้ คณะกรรมการขับ เคลื่อ นการพั ฒนาเมือ งอั จฉริ ย ะ อันมีรองนายกรัฐมนตรี พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง เป็น ประธานกรรมการ โดยคณะกรรมการดังกล่าวมีอานาจหน้าที่ ในการเสนอร่างยุ ทธศาสตร์และแผนแม่บทการพัฒนาเมือง อั จ ฉริ ย ะให้ ส อดคล้ อ งกั บ ทิ ศ ทางการพั ฒ นาประเทศตาม แนวทางการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 และยุ ทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี พร้อมบู รณาการติดตามประเมินผลการดาเนินงานและให้ ข้อเสนอแนะในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะทัง้ ประเทศให้เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ <กรอบการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ 7 ด้าน
icn 6
ร ว มทั ้ ง ป ร ะ สา นส่ ว น ร าช กา ร แ ล ะ ภา คเ อก ช น ทั ้ง ในประเทศและต่ า งประเทศ เพื่ อ ประโยชน์ ในการ พัฒนาเมืองอัจฉริยะให้เป็นไปอย่างคล่องตัว โดยลด ข้อจากัดที่เป็นอุ ปสรรคต่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น คณะกรรมการดั ง กล่ า วได้ ก าหนดพื้น ที่ เป้ าหมาย 7 จังหวัด (กรุ งเทพมหานคร เชียงใหม่ ภูเก็ต ขอนแก่น ชลบุ รี ระยอง และฉะเชิ งเทรา) และกาหนด อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ พื้ น ฐ า น ข อ ง เ มื อ ง อั จ ฉ ริ ย ะ ไ ว้ 7 ด้าน คือ ด้านคมนาคมขนส่ง (Smart Mobility) ด้านการศึ กษาและความเท่าเทียมกันในสังคม (Smart People) ด้ า นความปลอดภั ย (Smart Living) ด้ า น ความสะดวกในการท าธุ รกิ จ (Smart Economy) ด้านบริการจากภาครัฐ (Smart Governance) ด้าน พลั ง งาน (Smart Energy) และด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม (Smart Environment) โดยมีแนวทางการดาเนินการ ในแต่ละด้าน ดังนี้
1. เศรษฐกิ จ อั จ ฉริ ย ะ (Smart Economy) หมายความว่ า เมื อ งที่ มุ่ ง เน้ น เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ ความคล่ อ งตั ว ในการด าเนิ น ธุ รกิ จ สร้ า งให้ เ กิ ด ความเชื่ อมโยงและความร่วมมือทางธุ รกิจ และประยุ กต์ ใช้ นวั ต กรรมในการพัฒ นาเพื่ อปรั บ เปลี่ย นธุ รกิ จ โดยจะ ผลั ก ดั น เมื อ งเป้ าหมายเป็ น ศู น ย์ ก ลางธุ รกิ จ ด้ า นใด ด้า นหนึ่ง บนฐานนวัต กรรม เช่ น เมือ งเกษตรอัจ ฉริ ย ะ เมืองท่องเที่ยวอัจฉริยะ เป็นต้น
2. ระบบขนส่ งและการสื่ อสารอัจ ฉริ ย ะ (Smart Mobility) หมายความว่า เมืองที่มุ่งเน้นการเพิ่มความสะดวก ในการเข้ า ถึ ง ระบบขนส่ ง มวลชน การเดิ น ทางสะดวก ปลอดภั ย เพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการจั ดการระบบโลจิ สติ กส์ และการใช้ ยานพาหนะประหยัดพลังงาน เช่ น Smart Traffic, Transit Oriented Development หรือ TOD ตัวอย่างเช่ น การพัฒนาพืน้ ที่รอบสถานีบางซื่อ เป็นต้น
3. พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) หมายความว่า เมื อ งที่ มุ่ ง เน้ น การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภาพในการใช้ พ ลั ง งาน ของเมื อ งหรื อ ใช้ พ ลั ง งานทางเลื อ กอั น เป็ น พลั ง งาน สะอาด (Renewable Energy) เช่ น เชื้อเพลิงชีวมวล ไฟฟ้ าจากขยะและของเสีย ไฟฟ้ าจากพลังงานหมุ นเวียน และไฟฟ้ าจากพลังงานอื่นๆ เป็นต้น 4. สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) หมายความว่ า เมื อ งที่ มุ่ ง เน้ น ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพและ เพิ่มประสิทธิภาพรวมถึงประสิทธิผลการบริหารจัดการ และติ ด ตามเฝ้ า ระวั ง สิ่ ง แวดล้ อ มและสภาวะแวดล้ อ ม อย่ า งเป็ น ระบบ เช่ น การจั ด การน ้า การดู แ ลสภาพ อากาศ การบริ ห ารจั ด การของเสี ย และการเฝ้ า ระวั ง ภั ย ภิ บั ติ ตลอดจนเพิ่ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน ในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ
5. ร ะ บ บ บ ริ ห า ร ภ า ค รั ฐ อั จ ฉ ริ ย ะ (Smart Governance) หมายความว่า เมืองที่มุ่งเน้นการพัฒนา ระบบบริการเพื่ อให้ป ระชาชนเข้าถึ งบริการภาครัฐ เช่ น Smart Portal เพิ่มช่ องทางการมีส่วนร่วมของประชาชน รวมถึงการเปิ ดให้ ประชาชนเข้าถึงข้ อมู ลของหน่วยงาน ภาครัฐ ทาให้เกิดความโปร่งใสและตรวจสอบได้
6. พ ล เ มื อ ง อั จ ฉ ริ ย ะ (Smart People) หมายความว่า เมืองที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู ้บริหารเมือง หรือผู ้ นาท้ องถิ่น ที่สามารถประยุ กต์ ใช้ เ ทคโนโลยี ดิจิทั ล ในการพั ฒ นาเมื อ ง สร้ า งพลเมื อ งที่ มี ค วามรู้ แ ละ ความสามารถในการประยุ กต์ ใช้ เทคโนโลยี สร้ า ง สภาพแวดล้ อมที่ส่งเสริ มความคิ ดสร้า งสรรค์แ ละการ เรียนรู้นอกระบบ รวมถึงการส่งเสริมการอยู ่ร่วมกันด้วย ความหลากหลายทางสังคม 7. การดารงชี วิ ต อั จ ฉริ ย ะ (Smart Living) หมายความว่ า เมื อ งที่ มุ่ ง เน้ น การสนั บ สนุ น ให้ มี ร ะบบ บริ ก ารที่ อ านวยความสะดวกต่ อ การด ารงชี วิ ต เช่ น บริการด้านสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพและสุขภาวะ ที่ ดี การเพิ่ ม ความปลอดภั ย ของประชาชนด้ ว ยการ เฝ้ าระวังภัยจากอาชญากรรม ไปจนถึงการส่งเสริมให้เกิด สิ่งอานวยความสะดวกสาหรับการดารงชีวิตที่เหมาะสม
7 icn
มาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น สาหรั บ การพั ฒ นาเมื อ งอั จ ฉริ ย ะ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาพืน้ ที่เมืองอัจฉริยะในประเทศไทย คณะกรรมการ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น (กกท.) จึ ง ได้ อ อกประกาศ กกท. ที่ ส.7/2561 ลงวั น ที่ 28 ธั น วาคม 2561 เรื ่ อ ง การให้ ส ่ ง เสริ ม กิ จ การพั ฒ นาเมื อ งอั จ ฉริ ย ะ อันประกอบด้วย 3 ประเภทกิจการ ได้แก่ กิจการพัฒนาพืน้ ที่เมืองอัจฉริยะ กิจการ พัฒ นาระบบเมื อ งอั จฉริ ยะ และกิจ การนิคมหรื อ เขตอุ ตสาหกรรมอั จฉริ ยะ โดยมี รายละเอียดเงื่อนไขและสิทธิประโยชน์ ดังนี้ 1. กิจการพัฒนาพืน้ ที่เมืองอัจฉริยะ
2. กิจการพัฒนาระบบเมืองอัจฉริยะ
3. กิจการนิคมหรือเขตอุ ตสาหกรรมอัจฉริยะ
icn 8
ภาพจาก : https://www.a2a.eu/index.php/it/node/6491, https://www.imagenesmy.com/imagenes/smart-energy-0c.html https://medium.com/@hatuaprojectmedia/open-data-for-smart-cities-and-smart-governance-3eaacfa95c30 https://www.youtube.com/watch?v=D1iTUcc_-1o
2562 ปีแห่งการลงทุน และมาตรการพิ เ ศษ กระตุ้ น การลงทุ น มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
เริ่มต้นปี 2562 แวดวงภาคอุ ตสาหกรรมกลับมา คึกคักกันอีกครัง้ นั่นเป็นเพราะหน่วยงานภาครัฐที่ดูแล การส่ ง เสริ ม การลงทุ น อย่ า งส านั ก งานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ ได้ออก “มาตรการพิเศษ เพื่ อ กระตุ้ น การลงทุ น ในปี แห่ ง การลงทุ น ” หรื อ “Gold Package” ซึ่ งประกาศใช้ ตัง้ แต่เดือนธันวาคม 2561 เพื่อ กระตุ้นและดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามาร่วมลงทุนในโครงการ ต่างๆตามกลุ่มอุ ตสาหกรรมเป้ าหมายที่ประเทศต้องการ มาตรการพิเ ศษเพื่ อ กระตุ้น การลงทุ น ในปี แห่ ง การลงทุน 2562 เป็นมาตรการที่มีวัตถุประสงค์ ในการกระตุ้นให้เกิด การลงทุ น ในอุ ตสาหกรรมเป้ า หมายของประเทศ ได้ แ ก่ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ย า น ย น ต์ ส มั ย ใ ห ม่ อุ ต ส า ห ก ร ร ม อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ อุ ตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่ม รายได้ ดี แ ละการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพ อุ ตสาหกรรม การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ อุ ตสาหกรรมการแปรรูป อาหาร อุ ตสาหกรรมเครื่ อ งจั ก รอั ต โนมั ติ แ ละหุ่ น ยนต์ อุ ตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ อุ ตสาหกรรมเชือ้ เพลิง ชี ว ภาพและเคมี ชี ว ภาพ อุ ตสาหกรรมดิ จิ ทั ล และ อุ ตสาหกรรมการแพทย์ค รบวงจร โดยเฉพาะอย่ างยิ่ ง อุ ตสาหกรรมที่ มี โ ครงการขนาดใหญ่ ซ่ึ ง ส่ ง ผลกระทบ เชิ ง บวกต่ อ เศรษฐกิ จ โดยรวม โดยมาตรการพิ เ ศษนี้ กาหนดให้ทุกพืน้ ที่จังหวัดยกเว้นกรุ งเทพมหานครเป็นเขต ส่งเสริมการลงทุน มีรายละเอียดดังนี้
1. ต้องเป็นกิจการในกลุ่ม A1, A2 และ A3 ยกเว้น กิจการที่ไม่มีท่ีตัง้ สถานประกอบการ เช่ น กิจการ ขนส่งทางอากาศ และกิจการขนส่งทางเรือ เป็นต้น 2. สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ท่ี จ ะได้ รั บ ลดหย่ อ นภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคลเพิ่มเติม ร้อยละ 50 เป็นระยะเวลา 3 ปี นับแต่วันที่กาหนดระยะเวลาการยกเว้นภาษี เงินได้ นิติบุคคลสิน้ สุดลง 3. เงื่อนไขการได้รับสิทธิและประโยชน์ 3.1 ต้องเป็นโครงการที่ได้รับสิทธิยกเว้นภาษี เงินได้ นิ ติ บุ คคลตามมาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ต่างๆรวมกันแล้วไม่เกิน 8 ปี 3.2 ต้องมีเงินลงทุนไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุ นเวียน ตัง้ แต่ 1,000 ล้านบาทขึน้ ไป 3.3 ต้องยื่นขอสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมพร้อมขอ เปิ ดดาเนินการต่อสานักงานฯภายในกาหนดเวลา ครบเปิ ดดาเนินการ ทัง้ นี้ ต้องก่อนสิน้ สุดสิทธิ และประโยชน์ การยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคล ตามมาตรา 31 ไม่ว่าจะเป็นระยะเวลาหรือวงเงิน ที่ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล โดยจะได้รับ สิ ท ธิ แ ล ะ ป ร ะ โ ย ช น์ ต า ม ม า ต ร ก า ร นี้ เ มื่ อ ดาเนินการตามเงื่อนไขครบถ้วน 3.4 ไม่ อ นุ ญ าตให้ ข ยายเวลาการด าเนิ น การ ในทุ ก ขั ้ น ตอนตั ้ง แต่ ก ารตอบรั บ มติ ถึ ง การ เปิ ดด าเนิ น การ เพื่ อเป็นการกระตุ้นและเร่ งรั ด การลงทุน 9
icn
ที่สาคัญคือ มาตรการนีม้ ีผลบังคับใช้ สาหรับคาขอรับการส่งเสริมฯที่ยื่นตัง้ แต่วันที่ 19 พฤศจิกายน 2561 ถึง วันที่ 30 ธันวาคม 2562 เท่านัน้ ขั ้น ตอนการดาเนิ น การหลั ง จากได้ รั บ มติ อ นุ มั ติ ใ ห้ การส่ ง เสริ ม จากบี โ อไอ
โดยมาตรการพิ เ ศษนี้ มี ข้ อ ดี อ ยู ่ ท่ี ก ารเพิ่ ม สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ให้ ใ กล้ เ คี ย งกั บ โครงการที่ ข อรั บ การ ส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่ EEC ซึ่ งจะเป็นตัวช่ วยเร่งการลงทุนให้เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดอื่นๆ อันจะช่ วยให้การลงทุน กระจายไปยั ง พื้น ที่ ต่ า งๆทั่ ว ประเทศ โดยนั ก ลงทุ น และผู ้ ป ระกอบการที่ ส นใจสามารถดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ ท่ี www.boi.go.th ข้อมู ลจาก : www.boi.go.th, https://www.prachachat.net/economy/news255657
สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
หลักเกณฑ์ และ ปั ญหา
การใช้ สิทธิ์และประโยชน์ ที่ได้รับตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุน
วันเสาร์ท่ี 23 มีนาคม 2562 เวลา 09.00-16.00 น. โรงแรม บู เลอวาร์ด กรุ งเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) icn
10
บริการงานวัตถุดบิ RMTS 1. ขธธนุมัตผบัญ ชฝ ร าฬการทัต ถุดผบ 1.1 ขธบัญชฝ ราฬการทัต ถุดผบ (BIRTMML) 1.2 ขธเอผ่ มชื่ ธ ราฬการทั ตถุ ดผบ (BIRTDESC) 1.3 ขธบัญชฝ ราฬการฯลผ ต ภั ณ ฑ์แ ละสู ต รการฯลผ ต (BIRTFRM) 1.4 ขธปรับ ฬธดฐานข้ธมู ล ทั ต ถุดผบ (BIRTADJ) 2. ขธธนุมัตผ สั่น ปล่ธ ฬทัต ถุดผบ 2.1 ขธธนุ มั ตผ สั่น ปล่ ธ ฬทั ตถุ ดผบแบบปกตผ 2.2 ขธธนุ มั ตผ สั่นปล่ ธ ฬทัต ถุดผ บแบบใื น ธากร 2.3 ขธธนุ มั ตผ สั่นปล่ ธ ฬทัต ถุดผ บแบบถธนการใช้ ธนาใารใา้ ประกั น 3. ขธธนุญ าตฯ่ธ นฯัน ใช้ ธ นาใารใา้ ประกัน ทัต ถุ ดผบ 3.1 ขธฯ่ ธ นฯั น ใช้ ธ นาใารใา้ ประกั น ทั ตถุดผ บ 4. ขธธนุญ าตตั ด บัญ ชฝ ทัต ถุ ดผบ 4.1 ขธตัด บัญ ชฝ ทัต ถุ ดผบ 4.2 ขธปรั บ ฬธดทั ตถุดผ บ
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม
0 2936 1429 ต่อ 314 - 315
e-mail : counterservice@ic.or.th www.ic.or.th
ช่องทางการชาระเงิน
ค่าภาษีของกรมศุลกากร คุณกิจ จาลั ก ษณ์ ศรีนุชศาสตร์ สานั กพิ กัดอัต ราศุลกากร กรมศุลกากร
เ พื่ อ อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ ห้ แ ก่ ผู ้ประกอบการในการชาระเงินค่าภาษี อากร ค่าธรรมเนียมศุลกากร รายได้อื่น และ/หรือ เงินประกัน รวมถึงการพิมพ์ใบเสร็จรับเงิน (กศก. 123) กรมศุลกากรได้ออกประกาศที่ 9/2562 ใช้ บังคับตัง้ แต่วันที่ 14 มกราคม พ.ศ.2562 โดยผู ้มีหน้าที่ชาระค่าภาษี อากร ค่าธรรมเนียมศุลกากร รายได้อื่น และ/หรือ เงินประกัน สามารถชาระผ่านระบบ Internet Banking เคาน์เตอร์ธนาคาร เครื่องรับจ่ายเงิน อัตโนมัติของธนาคาร (ATM) Mobile Banking หรือช่ องทางการชาระเงินอื่นๆของธนาคาร และชาระผ่านตัวแทนรับชาระ (Bill Payment) ที่ทาความตกลงไว้กับกรมศุลกากรแล้ว ในการชาระเงินดังกล่าว ให้ใช้ เอกสาร ใบขนสิ น ค้ า ใบสั่ ง เก็ บ เงิ น ใบแจ้ ง หนี้ ค่ า ธรรมเนี ย มการด าเนิ น พิ ธีการศุ ล กากร หรือเอกสารอื่น ที่มีคิวอาร์โค้ด บาร์โค้ด และ เลขอ้างอิง 1 (Reference 1) และเลขอ้างอิง 2 (Reference 2) ที่รองรับการชาระผ่านช่ องทาง การให้ บ ริ ก ารของธนาคารหรื อ ตั ว แทน รับชาระ (Bill Payment) ของกรมศุลกากร เท่ านั ้น ทั ้งนี้ รายชื่ อธนาคารและตั วแทน รั บ ช า ร ะ ที่ ท า ค ว า ม ต ก ล ง ไ ว้ กั บ กร มศุ ล กากรสามาร ถตรว จสอบ ไ ด้ ท่ี www.customs.go.th
icn 12
การชาระเงินค่ าภาษี อ ากร ค่ าธรรมเนี ยมศุ ลกากร รายได้อื่ น และ/หรื อ เงิ น ประกั น ในระบบศุ ล กากรอิ เ ล็ ก ทรอนิ กส์ โ ดยวิ ธีตั ด บั ญ ชี ผู ้ประกอบการ และวิธีชาระผ่านช่ องทางการให้บริการของธนาคารหรือ ตัวแทนรับชาระ (Bill Payment) ให้ใช้ ใบเสร็จรับเงิน กศก. 123 ตามแบบ ข้างล่างนี้
เมื่อผู ้ประกอบการชาระค่าภาษี อากรและได้เลขรับชาระแล้ว ผู ้ประกอบการสามารถพิมพ์ใบเสร็จรับเงินจากระบบ อิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบการติดตามสถานการณ์ผ่านพิธีการศุลกากร (e-Tracking) ซึ่ งจะต้องลงทะเบียนการใช้ ระบบ e-Tracking ไว้ก่อน
ทั ้ง นี้ ผู ้ ป ระกอบการสามารถ พิ ม พ์ ใ บเสร็ จ รั บ เงิ น ต้ น ฉบั บ ได้ เ พี ย ง ครัง้ เดียว หากใบเสร็จรับเงินต้นฉบับ สู ญ หายหรื อ เหตุ อื่ น ใด จะสามารถ พิ ม พ์ ส าเนาใบเสร็ จ รั บ เงิ น จากระบบ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข องกรมศุ ล กากรได้ โดยใบเสร็จรับเงินฉบับสาเนาจะมีช่อง หมายเหตุระบุ ว่าเป็นการพิมพ์สาเนา ครั ้ง ที่ เ ท่ า ใด โดยใคร และวั น เวลา ที่ พิ ม พ์ ซึ่ ง สามารถพิ ม พ์ ไ ด้ ภ ายใน ระยะเวลา 5 ปี หากเกินกว่านัน้ ต้อง ยื่ น ค าร้ อ งที่ ห น่ ว ยงานรั บ ช าระเงิ น ของกรมศุ ล กากรเพื่ อ ให้ ด าเนิ น การ จัดพิมพ์ให้ ภาพจาก : http://e-tracking.customs.go.th http://ladkrabang.customs.go.th/cont_strc_ simple_with_date.php?lang=th&top_menu= menu_homepage&ini_menu=&left_menu=menu_ office_news&current_id=14232832414a505f4b 13 icn
ผลิตภาพ นวัตกรรม และอุตสาหกรรม
4.0 (1)
จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com
ในช่ วงที่การเปลี่ยนผ่านทางเศรษฐกิจ สังคม และ การเมืองของโลก กาลังอยู ่ในภาวะที่วุ่นวาย สับสน และ ดู เ หมื อ นว่ า ก าลั ง เคลื่ อ นตั ว ย้ า ยฝั่ ง มาสู่ ภู มิ ภ าคเอเชี ย ปรากฏการณ์ ดั ง กล่ า วเป็ น อี ก ครั ้ ง ที่ ห ลายคนเชื่ อ ว่ า ทัง้ 3 การเปลี่ยนผ่านเกิดการย้ายขัว้ แบ่งข้าง และจะเกิด การเปลี่ ย นแปลงขนานใหญ่ จ ากผลของความก้ า วหน้ า ทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี โครงสร้ า งทาง เศรษฐกิ จ สัง คม และดุ ล อ านาจทางการเมื อ งของโลก กาลังเป็นที่จับตามองว่าจะจบหรือเกิดดุลยภาพใหม่ท่ีจุดใด ในสภาวะไหน เป็นการเปลี่ยนแปลงอีกครัง้ ที่ท้าทายนักคิด นักวิชาการ นักอนาคตศาสตร์ และนักพัฒนาทัง้ หลาย ส าหรั บ ประเทศไทย ค าว่ า ผลิ ต ภาพ หรื อ Productivity มี ก ารกล่ า วถึ ง หล าย ครั ้ ง หล าย คร า โดยนั กวิ ชาการด้ า นเศรษฐศาสตร์ แ ละนักอุ ตสาหกรรม ชัน้ แนวหน้ า ที่ เ ชื่ อ ในเรื่ อ งความได้ เ ปรี ย บในการแข่ ง ขั น แม้ แ ต่ ในแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ หลายฉบับที่ผ่านมาจนถึงฉบับล่าสุดต่างแสดงให้เห็นถึง ความสาคัญของ “ผลิตภาพ” ในฐานะที่เป็นทัง้ ตัวชี้วัด (Measure) และเป็นทัง้ หนทางในการพัฒนา (Mean) แต่ ไม่ รู้ ด้ วยสาเหตุ ใ ดที่ท าให้ ประเทศไทยยัง ไปไม่ ถึง ไหนเสี ย ที ทั ้ง ๆที่ ผ ลการจั ด อั น ดั บ ความสามารถในการแข่ ง ขั น ไม่ ว่ า จะเป็ น IMD หรื อ WEF ก็ ล้ ว นแต่ มี ปั จจั ย ด้ า น ประสิ ท ธิ ภ าพและผลิ ต ภาพเป็ น หั ว ข้ อ ใหญ่ จนกระทั่ ง ทุกวันนี้ท่ีเรากาลังหันไปให้ความสาคัญกับ Innovation Driven Growth ในขณะที่ Productivity Driven Growth ยังไม่ไปถึงไหน กลายเป็นว่าเรามีโจทย์ ใหญ่ 2 ข้อที่ต้อง ผลักดัน icn 14
ในแง่ของความเป็นจริงแล้ว ถ้าไม่มี Productivity เป็นพืน้ ฐาน Innovation ก็คงไม่ยงั่ ยืน จากการที่ผมได้มี โอกาสอ่านบทความที่เรียบเรียงเนื้อหาจากแหล่งข้อมู ล ต่างๆที่เชื่อถือได้และนามาสรุ ปใหม่ ให้กระชับ ในชื่อ “ผลิตภาพ การผลิ ต ของไทยกั บ จุ ดอ่ อ นในการขั บ เคลื่ อ น” ของ คุณพัชรศรี แดงทองดี นักวิจัยจากสถาบันเพิ่มผลผลิต แห่งชาติ ที่ได้ฉายให้เห็น ข้อมู ลสาคัญซึ่ งบ่งบอก อดีต อธิบายปั จจุ บัน และยังสามารถทานาย อนาคตได้อีกด้วย ผมขอนาข้อสรุ ปที่น่าสนใจ มาถ่ายทอดโดยขอข้ามเนือ้ หา ด้านเทคนิคตลอดจนวิธีการวัด ดังนี้ โดยทั่วไปเวลาเราพบเจอคาว่า ผลิตภาพ หรือ การแสดงผลของผลิตภาพในแต่ละประเทศนัน้ มักจะอ้างถึง ผลิ ต ภาพแรงงาน (Labor Productivity) โดยอาจ ประมาณการมาจาก GDP ต่อกาลังแรงงานในประเทศ แต่มีการวัดอีกแบบหนึ่งซึ่ งเป็นผลของการวัดผลิตภาพ การผลิ ต รวม (จากทุ ก ปั จจั ย ) หรื อ Total Factor Productivity (TFP) ซึ่ งไม่ ได้มุ่งเน้นเฉพาะความสัมพันธ์ ระหว่างผลผลิตกับปั จจัยการผลิตที่ใช้ (ในเชิ งปริมาณ) อาทิ ที่ ดิ น ทุ น แรงงาน เท่ า นั น้ หากแต่ ยั ง ให้ ส ะท้ อ น คุณภาพของการใช้ ทรัพยากรด้วยการให้คุณค่ากับการ จัดการตลอดจนเทคโนโลยีท่ีใช้ จากงานศึ กษาที่ผ่านมา พบว่าปั จจัยที่จะส่งผลให้ผลิตภาพการผลิตรวมสูงขึ้นได้ มี 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่
กลุ่ ม ที่ ห นึ่ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของปั จจั ย การผลิ ต ซึ่ ง หมายถึ ง ความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี ท่ี น ามาใช้ ใ น กระบวนการผลิ ต การพั ฒ นาทั ก ษะแรงงานคน การ บริ ห ารจั ด การที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ การพั ฒ นาระบบ โครงสร้า งพื้นฐานและการให้บ ริการ รวมถึ งการบริ หาร จัดการภาครัฐ กลุ่ ม ที่ ส อง การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ แ ก่ สิ น ค้ า และ บริการ ซึ่ งมาจากการใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม การศึ กษา และวิ เ คราะห์ ต ลาด และการวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ สร้ า ง มู ลค่าเพิ่มให้แก่สินค้า เป็นต้น จากการค านวณขององค์ ก ารเพิ่ ม ผลผลิ ต แห่ ง เอเซีย (Asian Productivity Organization : APO) โดยใช้ ข้ อ มู ลจากบั ญ ชี ป ระชาชาติ ท่ี จั ด ท าโดยส านั ก งาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม (NESDB) เป็นข้อมู ลพืน้ ฐานในการคานวณ ภาพรวมเศรษฐกิจไทย ในช่ วง 30 กว่ าปี ที่ ผ่า นมาเป็น ผลมาจากปั จจั ยทุน เกิ น ครึ่งหนึ่งหรือประมาณร้อยละ 2.81 หรือ (ร้อยละ 54.0) ของการขยายตั ว ของเศรษฐกิ จ ไทยโดยรวม ในขณะที่ ปั จจัยแรงงานมีส่วนเพียงร้อยละ 0.61 หรือ (ร้อยละ 11.8) และจาก TFP อีกประมาณร้อยละ 1.76 หรือ (ร้อยละ 33.9) ซึ่ งสอดคล้องกับวิกฤตการณ์ขาดแคลนแรงงานทัง้ ในเชิ ง ปริมาณและเชิ งคุณภาพ โดยหากพิจารณาในแต่ละช่ วงเวลา จะพบว่าการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจไทยนัน้ ปั จจัย หลักมาจากปั จจัยทุนเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นเพียงช่ วง 5 ปี ที่ ผ่านมาเท่านัน้ ที่ปัจจัยหลักของการขยายตัวของเศรษฐกิจ มาจากค่า TFP จึงอาจกล่าวได้ว่าปั จจัยทุนเป็นปั จจัยหลัก ในการเพิ่มอัตราการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจไทย ปั จจัยที่ท าให้อันดั บการแข่งขันของไทยไม่ สามารถ ไปสู่ ร ะดั บ ต้ น ๆได้ คื อ ปั จจั ย ด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐาน (Infrastructure) ซึ่ งปั จจัยนีป้ ระกอบด้วยปั จจัยย่อย 5 ด้าน ได้แก่ 1) โครงสร้างพืน้ ฐานจาเป็น 2) โครงสร้างพืน้ ฐาน ด้านเทคโนโลยี 3) โครงสร้างพืน้ ฐานด้านวิทยาศาสตร์ 4) การศึ กษาและสาธารณสุข และ 5) สิง่ แวดล้อม แทบไม่ต้องการ การอธิบายเพิ่มเติม ทุกคนก็คงสามารถเข้าใจได้ตรงกันว่า ทิศทาง นโยบาย และเป้ าหมายของประเทศไทยควรจะเป็นเช่ นไร และพวกเราทุกคนคงต้องเพิ่มการเข้าไปมีส่วนร่วมให้มากขึน้
เมื่อมองออกไปในอนาคตสู่นโยบาย 4.0 เทคโนโลยี ทัง้ ส่วนที่เป็นฮาร์ดแวร์ อันได้แก่ หุ่นยนต์ แขนกล ระบบ อัตโนมัติ เซนเซอร์ Internet of Things (IoT) หรือแม้แต่ เทคโนโลยี 5G และส่วนที่เป็นซอฟต์แวร์ อันได้แก่ AI, Machine learning, Deep learning และ Data analytics ซึ่ งมีคน และโครงสร้างพืน้ ฐานเป็นกลไกสาคัญ แต่ ในเมื่อโครงสร้าง พื้ น ฐานไม่ พ ร้ อ มและคนไม่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถ เพี ย ง พ อ ท้ า ย ที่ สุ ด ถ้ า ป ร ะเ ท ศ จ ะข ยั บ ขั บ เ ค ลื่ อ น อุ ตสาหกรรมต่างๆไปสู่ 4.0 ก็ต้องนาเข้าทุกสิ่งทุกอย่าง จากประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยเฉพาะฮาร์ดแวร์ท่ีเราต้อง นาเข้าแทบจะเกือบทัง้ หมด ปั จจุ บันผู ้ ให้บริการเทคโนโลยีรายใหญ่ของโลกไม่ว่า จะเป็ น เยอรมนี ญี่ ปุ่ น สหรั ฐ อเมริ ก า เกาหลี และจี น ต่ า งหลั่ ง ไหลเข้ า มาสร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ หน่ ว ยงาน ระดั บ ชัน้ น าของประเทศไม่ ว่ า จะเป็ น ภาครั ฐ หรื อ เอกชน บริษัทชัน้ นาในประเทศไทยเริ่มลงทุนให้บริษัทต่างชาติซ่ึ งเป็น ผู ้ ให้ บ ริ ก ารเทคโนโลยี ร ายใหญ่ ข องโลกมายกระดั บ (Upgrade) ระบบการผลิตของตนเอง แต่สิ่งที่น่าเป็นห่วง ก็คือเม็ดเงินจานวนมากที่จะต้องไหลออกจากการนาเข้า เทคโนโลยีดังกล่าว ทุกวันนีใ้ นระดับภาคการศึ กษาและการ ฝึ กอบรมที่ เ กี่ ย วกั บ IoT มี ก ารน าเข้ า บอร์ ด ควบคุ ม แผงวงจร และอุ ปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทัง้ ในรูปแบบชุ ดคิท ชิ้นส่วน และสาเร็ จรู ป ซึ่ งในแง่นักพั ฒนาในประเทศแล้ ว คงได้สร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆจากอุ ปกรณ์นาเข้าดังกล่าว แต่ ในแง่ผู้ใช้ งานทั่วไปตามบ้าน สิ่งที่จะได้เห็นคือยอดการ นาเข้าอุ ปกรณ์สาเร็จรูปที่เรียกว่า Smart Home อย่าง มากมายจากการสัง่ ซื้อผ่านช่ องทาง E-Commerce ช่ วงวันหยุ ดที่ผ่านมา ผมได้มีโอกาสใช้ เวลานั่งอ่าน อะไรยาวๆมากขึ้น ต่างจากช่ วงเวลาที่มีภารกิจยุ ่งเหยิง ทาให้ ต้ องใช้ ชีวิต อย่า งเร่ งรี บ เมื่อ ต้ องการเสพข่ า วสาร ความเคลื่ อ นไหวต่ า งๆที่ เ กิ ด ขึ้ น บนโลกใบนี้ จึ ง ต้ อ งพึ่ ง สื่อสังคมออนไลน์และอ่านสรุ ปข่าวผ่านหน้าเฟซบุ ๊กที่พอ เชื่ อถื อ ได้ ซึ่ งมี ห ล าย คนนั่ ง พู ด คุ ย แลกเป ลี่ ยน ถึ ง แนวทางการเสพข่าวออนไลน์ การคัดสรรหรือ เลือกสรร ที่จะติ ดตามอ่า นข่า วจากแหล่งต่ างๆซึ่ งโดยส่ วนตั วแล้ ว ผมก็ยังให้ความสาคัญกับสานักข่าวที่มีทีมงานภาคสนาม หรื อ เข้ า ไปสั ม ภาษณ์ แ บบเชิ ง ลึ ก ถึ ง ต้ น ตอข่ า วโดยตรง โดยให้ความสาคัญหรือนา้ หนักกับเนือ้ หาที่สะท้อนคาถาม Why และ How มากกว่า What Where When และ Who เพราะคาถาม Why ช่ วยทาให้เราคิดแบบเป็นเหตุเป็นผล คิดถึงที่มาที่ไปของเหตุการณ์นนั ้ ๆ ส่วนคาถาม How บ่งบอกถึง แนวทางหรือวิธีการที่ใช้ ซึ่ งทัง้ สองคาถามนัน้ ช่ วยสร้าง ปั ญ ญาให้ กั บ ผู ้ อ่ า นถ้ า น ามาคิ ด พิ จ ารณาต่ อ และจะดี ยิ่งกว่านัน้ ไปอีกเมื่อผลของการคิดวิเคราะห์ ได้ถูกนามาสู่ การประยุ กต์ใช้ งานจริง 15
icn
ในงานภาคเอกชนที่ ต้ อ งรั บ มื อ และต่ อ สู้ กั บ การ เปลี่ยนแปลงของโลกยุ คใหม่ ยิ่งสภาพการแข่งขันรุ นแรง เข้มข้นและไร้พรมแดนเท่าไร กรอบ กฎ กติกาที่เป็นลายลักษณ์ อั ก ษรยิ่ ง น้ อ ยลง ขั ้ น ตอนและกระบวนการท างาน ที่ เ ยิ่ น เย้ อ ยื ด ยาดต้ อ งหดสั ้น และลื่ น ไหลแบบไร้ ร อยต่ อ (Seamless or Borderless) การนาแนวคิดการจัดการ แบบลี น (Lean Thinking) ที่ มี ม านานมากแล้ ว ใน ภาคอุ ตสาหกรรมการผลิตมาปรับใช้ ไม่ใช่ เพียงแค่เป็นการ ขจัดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นจากกระบวนการภายในของ องค์ ก รหนึ่ ง ๆเท่ า นั ้น หากแต่ ค รอบคลุ ม กระบวนการ ที่เ ชื่ อ มโยงกั น เป็ น ลู กโซ่ ขององค์ กรต้ น น ้า จนถึ ง ปลายน ้า ที่เรียกว่า Supply Chain การมีระบบการบริหารจัดการ ที่สั ้น กระชับ ฉั บ ไวขององค์ กรในอุ ตสาหกรรมหนึ่ ง ตลอด ห่ ว งโซ่ อุ ปทานท าให้ อุ ตสาหกรรมนั ้น ๆมี ก ารพั ฒ นาแบบ ก้าวกระโดดอย่างมาก ที่สาคัญสถานประกอบการในห่วงโซ่ นัน้ ๆมีความร่วมมือที่ดีต่อกันโดยเฉพาะด้านข้อมู ลความรู้ อาทิ อุ ตสาหกรรมยานยนต์และอุ ตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ปั จจุ บันแนวความคิดเรื่องลีนได้แพร่หลายจากวงการ อุ ตสาหกรรมไปสู่วงการอื่น และที่ถูกนาไปใช้ จนประสบ ความส าเร็ จ อย่ า งมาก คื อ ธุ รกิ จ ภาคบริ ก าร เช่ น โรงพยาบาล โรงแรม ร้านอาหาร ศูนย์บริการ จนถึงธุ รกิจ ภาคการเงินที่ปรับเปลี่ยนเป็นลีนแบบก้าวกระโดดด้วยการ ผสมผสานกั บ การใช้ เ ทคโนโลยี ท่ี เ รี ย กว่ า Digital Lean ทาให้นวัตกรรมทางการเงินและการให้บริการทางการเงิน เป็นธุ รกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่และส่งผลให้วิถีการ จับ จ่ ายใช้ สอยของผู ้ คนในปั จ จุ บัน เปลี่ ย นแปลงไป ไม่ เ ว้ น แม้ แ ต่ ธุ รกิ จ สตาร์ ท อั พ ที่ น าลี น มาใช้ เ ป็ น แนวคิ ด ส าคั ญ ในการประกอบธุ รกิ จ จนกระทั่ ง ถู ก น ามาถ่ า ยทอดเป็ น หนังสือชื่อ The Lean Startup เขียนโดย Eric Ries ที่มี คนอ่านเป็นจานวนมาก
FAQ 108
สาหรับหน่วยงานราชการก็เริ่มให้ความสาคัญกับ การปรับปรุ งกระบวนการทางานมาได้สักพักใหญ่พร้อมกับ การจัดตัง้ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ซึ่ ง แต่ เ ดิ ม ภาคราชการจะมี เ ฉพาะส านั กงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) เป็นหน่วยงาน ที่รับ ผิดชอบดู แลเรื่องการบริห ารและพั ฒนาทรัพ ยากร บุ คคลภาครัฐ แต่เมื่อมาถึง ยุ คที่ภาครัฐเห็ นว่าระบบและ กระบวนการก็ มี ค วามส าคั ญ ไม่ น้ อ ยไปกว่ า ทรั พ ยากร บุ คคล การส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการประเมินเพื่อการ ปรับปรุ งองค์กรภาครัฐจึงมีความสาคัญเช่ นเดียวกัน แต่ กระนัน้ ก็ยังไม่สามารถตัง้ รับได้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิด ขึน้ อยู ่ดี การจัดการแบบลีนจะสามารถช่ วยให้กระบวนการ ทางานของอุ ตสาหกรรมยุ คปั จ จุ บั นประสบความสาเร็ จ ได้อย่างไร มาร่วมติดตามกันต่อในฉบับหน้า ภาพจาก: http://www.businesskorea.co.kr/news/articleView.html? idxno=12112 https://www.set.or.th/set/education/knowledgedetail. do?contentId=2800 https://www.youtube.com/watch?v=RxDw0Q_gVt0
คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น www.faq108.co.th แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น
icn 16
Supported by:
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิ ญเข้าร่วม สัมมนาฟรีสมาชิก ครัง้ ที่ 1
(Dual-Use Items)
มาตรการศุลกากร สาหรับสินค้าที่ใช้ได้สองทาง
กับการควบคุมการส่งออก ด้วยรหัสตัวเลข HS (Harmonized System) วันศุกร์ท่ี 29 มีนาคม 2562 เวลา 13.00-17.00 น. ณ ห้องแมจิก 2 ชัน้ 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชัน่ กรุ งเทพฯมค้าสินค้าที่เกี่ยวข้องกับการแพร่ขยายอาวุ ธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูง บังคับใช้ ตัง้ แต่ ตามที่ประเทศไทยจะมีกฎหมายการควบคุ
วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไปนัน้ กฎหมายนีจ้ ะเกี่ยวข้องกับการกาหนดสินค้าที่ต้องขออนุญาตหรือต้องมีการรับรองว่าสินค้านัน้ ไม่เกี่ยวข้องกับการแพร่ขยายอาวุ ธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูง รวมทัง้ กิจกรรมควบคุมสาหรับสินค้าดังกล่าว ซึ่งสินค้าเหล่านี้ ได้แก่ อาวุ ธ ที่มีอานุภาพทาลายล้างสูง อาวุ ธยุ ทธภัณฑ์ และสินค้าที่ใช้ ได้สองทาง (Dual-Use Items: DUI) ซึ่งจะครอบคลุมถึงสิ่งของที่จับต้องได้และ สิ่งที่จับต้องไม่ได้ เป็นต้น นอกจากนีย้ ังมีกิจการที่ควบคุมอันได้แก่ การส่งออก การส่งกลับ การถ่ายลา การผ่านแดน การเป็นนายหน้า เป็นต้น อันจะมีผล กับธุ รกิจที่เกี่ยวข้องกับการนาของเข้า หรือส่งของออก กรมศุลกากรจึ งมีบทบาทภารกิจ สาคัญในส่วนของการควบคุมตามกฎหมาย ศุลกากรหรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่ อ เป็ น การเตรี ย มความพร้ อ มและเพื่ อ เสริ ม สร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจให้ แ ก่ ผู้ ป ระกอบการที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กิ จ กรรมดั ง กล่ า ว การสัมมนาในครัง้ นีจ้ ึงมุ ่งเน้นไปที่มาตรการศุลกากรสาหรับสินค้า DUI โดยเนือ้ หาในส่วนนีจ้ ะเกี่ยวข้องกับระบบควบคุมการนาเข้าส่งออก สินค้า DUI ของไทย อันประกอบไปด้วย กฎระเบียบ EU ที่ไทยนามาประกาศใช้ และรหัส ECCN (Export Control Classification Number) กับรหัสตัวเลข HS ที่ใช้ ในการควบคุมสินค้า DUI พร้อมทัง้ มาตรการการควบคุมศุลกากร อันได้แก่ กฎหมายศุลกากรและกฎหมายอื่นที่ เกี่ยวข้อง รวมทัง้ การควบคุมการส่งออกด้วยรหัสตัวเลข HS
หัวข้อการบรรยาย
เหมาะสาหรับ
เจ้าของกิจการ ผู ้บริหาร ผู ้จัดการ ผู ้รับผิดชอบ 1. ระบบควบคุมการนาเข้าส่งออกสินค้าที่ใช้ ได้สองทางของไทย ฝ่ ายต่างประเทศ/ฝ่ ายนาเข้า-ส่งออก 1.1 กฎระเบียบ EU ที่ไทยนามาประกาศใช้ ควบคุม ผู ้ที่ต้องดาเนินพิธีการกับศุลกากร 1.2 รหัส ECCN กับรหัสตัวเลข HS ที่ใช้ ในการควบคุม เจ้าหน้าที่ประสานงานบีโอไอ และผู ้ที่สนใจทัว่ ไป 2. มาตรการศุลกากรสาหรับสินค้าที่ใช้ ได้สองทาง 2.1 กฎหมายศุลกากรและกฎหมายอืน่ ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม 2.2 การควบคุมการส่งออกด้วยรหัสตัวเลข HS ***อาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
ค่าธรรมเนียม การอบรม
ราคา/ท่าน (ราคารวม VAT)
สมาชิกสมาคม ท่านแรก
ฟรี
สมาชิก ท่านที่ 2 เป็นต้นไป
856 บาท/ท่าน
บุ คคลทั่วไป
1,284 บาท/ท่าน
ด่วน !!! รับจานวนจากัด First come, First serve
USB Flash Drive 8GB
สมัครและชาระเงิน 3 ท่าน รับฟรี 1 อัน สมัครและชาระเงิน 5 ท่าน รับฟรี 2 อัน
ดร.สงบ สิทธิเดช
วิทยากร
หัวหน้าฝ่ ายบริการศุลกากรที่ 2 ส่วนบริการศุลกากร ด่านศุลกากรมาบตาพุ ด วิทยากรผู ้เชี่ยวชาญด้านการตรวจสอบสินค้า อาวุ ธทาลายล้างสูงและที่ใช้ได้สองทาง (WMD-DUI)
ลงทะเบียนออนไลน์ ได้ทาง http://icis.ic.or.th สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกลู ก ค้ า สั ม พั น ธ์ แ ละสื่ อ สารองค์ ก ร 0 2936 1429 ต่อ 202-203 E-mail: benjawank@ic.or.th, cus_service@ic.or.th
สินค้าที่ ใช้ ได้สองทางDual-Use Items กับผู ้ประกอบการส่งออกไทย
ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th
ตามที่ประเทศไทยจะมีกฎหมายการควบคุมสินค้า ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การแพร่ ข ยายอาวุ ธที่ มี อ านุ ภ าพ ทาลายล้างสูง (Weapons of Mass Destruction หรือ WMD) บั ง คั บ ใช้ ตั ้ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไปนัน้ กฎหมายนีจ้ ะเกี่ยวข้องกับการกาหนดสินค้า ที่ ต้ อ งขออนุ ญ าตหรื อ ต้ อ งมี ก ารรั บ รองว่ า สิ น ค้ า นั ้น ไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การแพร่ ข ยายอาวุ ธที่ มี อ านุ ภ าพ ท าลายล้ า งสูง รวมทั ้ง กิ จ กรรมควบคุม สาหรั บ สิน ค้ า ดั ง กล่ า ว ซึ่ ง สิน ค้า เหล่ า นี้ ได้ แ ก่ อาวุ ธที่ มี อ านุ ภาพ ทาลายล้างสูง อาวุ ธยุ ทธภัณฑ์ และสินค้าที่ใช้ ได้สองทาง (Dual-Use Items: DUI) ซึ่ งจะครอบคลุมถึงสิ่งของที่จับ ต้องได้และสิ่งที่จับต้องไม่ ได้ เป็นต้น “สินค้าที่ใช้ ได้สองทาง (Dual-Use Items: DUI)” คื อ สิ น ค้ า แล ะ / หรื อ เทคโนโล ยี ท่ี ซื้ อ ข ายกั น ทั่ ว ไ ป แต่ ส ามารถน าไปใช้ ไ ด้ 2 ทางทั ้ง ในทางพาณิ ช ย์ แ ละ ในทางทหาร โดยสามารถนาไปใช้ ออกแบบ พัฒนา ผลิต ใช้ ดัดแปลง จัดเก็บ ลาเลียง หรือกระทาด้วยประการใดๆ เพื่อให้ ได้มาซึ่ งอาวุ ธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูง เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2561 กระทรวงพาณิชย์ ให้บังคับใช้ ประกาศเรื่อง กาหนดให้สินค้าที่ใช้ ได้สองทาง เป็ น สิ น ค้ า ที่ ต้ อ งขออนุ ญ าต และก าหนดสิ น ค้ า ที่ ต้ อ ง ปฏิ บั ติ ต ามมาตรการจั ด ระเบี ย บในการส่ง ออกไปนอก ราชอาณาจักร พ.ศ. 2558 โดยประกาศฉบับนี้ ได้กาหนดให้ สิ น ค้ า จ านวน 73,583 รายการ ครอบคลุ ม สิ น ค้ า ที่ ประเทศไทยเป็ น ผู ้ ผ ลิ ต และส่ ง ออก เป็ น สิ น ค้ า ที่ ต้ อ ง ขออนุ ญ าตและปฏิ บัติ ต ามมาตรการจัด ระเบี ยบในการ ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร พ.ศ. 2558 icn 18
ซึ่ ง ผู ้ ผ ลิ ต และส่ ง ออกจะต้ อ งยื่ น ขออนุ ญ าตส่ ง ออกกั บ กรมการค้าต่างประเทศ เนื่องจากสินค้าและวัสดุอุปกรณ์ เหล่านี้ “อาจจะ” นาไปใช้ ในการผลิต ประกอบ หรือเป็น ชิ้ น ส่ ว นอุ ป ก ร ณ์ ที่ น าไ ป ใ ช้ ท า อ า วุ ธ ที่ มี อา นุ ภ า พ ทาลายล้างสูง จึงมีความจาเป็นที่จะต้องจัดให้มีการ “ควบคุม สินค้า ที่นาไปใช้ ได้ 2 ทาง” ซึ่ งเป็นไปตามที่ประเทศไทย ได้ผูกพันไว้กับคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council) ในข้อมติ UNSCR 1540 ระบุ ให้ป ระเทศต่ างๆออกมาตรการในการป้ อ งกั น การแพร่ขยายอาวุ ธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูง (WMD) ตัวอย่างของสินค้าที่ใช้ ได้สองทาง เช่ น เส้นใย คาร์ บ อนไฟเบอร์ เ ป็ น วั ส ดุ ท่ี ใ ช้ ใ นการผลิ ต ไม้ เ ทนนิ ส ไม้ ก อล์ ฟ และอุ ปกรณ์ กี ฬ าอื่ น ๆ ในขณะเดี ย วกั น ก็สามารถนาไปใช้ ผลิตเป็นชิน้ ส่วนขีปนาวุ ธได้ เชือ้ ไวรัสใช้ ผลิต เป็ น เซรุ ่ม แต่ ก็สามารถนาไปใช้ ผ ลิ ต เป็ นอาวุ ธชี ว ภาพได้ สารโปแตสเซียมไซยาไนด์ ใช้ ทาความสะอาดโลหะหรือสกัด สิ น แร่ แ ต่ ก็ ส ามาร ถน าไป ใ ช้ ผ ลิ ต เป็ นอาวุ ธเคมี ไ ด้ เครื่องหมักเชื้อใช้ ในอุ ตสาหกรรมอาหาร เช่ น การผลิต ไวน์และเบียร์ และใช้ ในการผลิตยาและวัคซีน ขณะเดียวกัน ก็สามารถใช้ ในการผลิตเชื้อโรคและสารพิษได้ เครื่องวัด ความเร่งใช้ ในการควบคุ มถุงลมนิรภั ยของรถยนต์หรื อ ใช้ ตรวจจับความแรงของแผ่นดินไหวแต่ก็สามารถนาไป ใช้ ในด้ า นขี ป นาวุ ธได้ ซึ่ ง ผู ้ ส่ ง ออกสามารถตรวจสอบ คัดกรองสินค้าที่ส่งออกว่าเข้าข่ายเป็นสินค้า DUI หรือไม่ ตามบัญชีรายชื่อสินค้า DUI ของไทย (Thai List) ผ่านระบบ e-TCWMD และจะต้ องด าเนิ นการขึ้นทะเบี ยนรั บรองตนเอง หากสินค้าที่ผู้ประกอบการส่งออกอยู ่ภายใต้บัญชีรายชื่ อ สินค้า DUI
แนวคิ ด ส าคั ญ ของการบั ง คับ ใช้ ป ระกาศ ดังกล่าวเพื่อคัดกรองสินค้าก่อนการส่งออกและ แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยให้ความสาคัญกับระบบ การตรวจสอบและรั บ รองการส่ ง ออกสิ น ค้ า ที่สามารถใช้ ได้ 2 ทาง ซึ่ งจะช่ วยสร้างความมั่นใจ ให้กับผู ้นาเข้าสินค้าจากประเทศไทย ซึ่ งหากประเทศไทย ไม่มีระบบตรวจสอบนี้ ประเทศผู ้นาเข้าอาจจะสร้าง มาตรการกีดกันทางการค้ากับสินค้าที่นาเข้าจาก ประเทศไทยได้ โดยเฉพาะประเทศคู่ค้าตลาดส่งออก อ ย่ า ง ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า แ ล ะ ส ห ภ า พ ยุ โ ร ป ที่ให้ความสาคัญกับเรื่องนีเ้ ป็นอย่างมาก นอกจากนี้ยังมี “กิจกรรม ที่ควบคุม” อันได้แก่ การส่งออก การส่ ง กลั บ การถ่ า ยล า การ ผ่ า นแด น กา ร เป็ นน าย หน้ า รวมถึงการดาเนินการใดๆเพื่อให้ เกิ ด การแพร่ ข ยายของสิ น ค้ า ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ อ า วุ ธ ที่ มี อานุ ภาพท าลายล้ า งสูง อั น จะ มี ผ ลกั บ ธุ รกิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การน าของเข้ าหรื อส่ งของออก กรมศุลกากรจึงเข้ามามีบทบาท และรับภารกิจสาคัญในส่วนของ การควบคุ มกระบวนการดั งกล่ าว ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายศุ ล กากร หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จะจั ด สั ม มนาฟรี ใ ห้ กั บ สมาชิ กในหัวข้อ “มาตรการศุลกากรสาหรับสินค้าที่ใช้ ได้ สองทาง (Dual-Use Items) กับการควบคุมการส่งออก ด้วยรหัสตัวเลข HS (Harmonized System)” เพื่อเป็นการ เตรียมความพร้อมและเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้ แ ก่ ผู้ ป ระกอบการที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กิ จ กรรมดั ง กล่ า ว การสัมนาในครัง้ นีจ้ ึงมุ ่งเน้นไปที่มาตรการศุลกากรสาหรับ สิน ค้ า DUI โดยเนื้อ หาจะเกี่ ยวข้ อ งกั บระบบควบคุ ม การ น าเข้ า ส่ ง ออกสิน ค้ า DUI ของประเทศไทย อั น ประกอบ ไปด้วย กฎระเบียบ EU ที่ไทยนามาประกาศใช้ และรหัส ECCN (Export Control Classification Number) กับรหัสตัวเลข HS ที่ใช้ ในการควบคุมสินค้า DUI
พร้ อ มทั ้ ง มาตรการการควบคุ ม ศุ ล กากร อั น ได้ แ ก่ กฎหมายศุลกากรและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทัง้ การควบคุมการส่งออกด้วยรหัสตัวเลข HS การสั ม มนาจะจั ด ขึ้ น ในวั น ศุ ก ร์ ท่ี 29 มี น าคม 2562 เวลา 13.00-17.00 น. ณ โรงแรม มิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชัน่ สมาชิกที่สนใจสามารถลงทะเบียนออนไลน์ เพื่ อ ส ารองที่ นั่ ง ได้ ท่ี http://icis.ic.or.th หรื อ ผ่ า นทาง www.ic.or.th ส อบ ถ าม ร าย ล ะ เ อี ย ด เพิ่ มเ ติ มไ ด้ ที่ แผนกลู ก ค้ า สั ม พั น ธ์ แ ละสื่ อ สารองค์ ก ร โทรศั พ ท์ 0 2936 1429 ต่อ 203 (คุณเบญจวรรณ) ต่อ 202 ( คุ ณ วิ จิ ต ร า ) E-mail: cus_servive@ic.or.th, benjawank@ic.or.th, vijittraj@ic.or.th
ทีม่ า: http://dr-sangob.blogspot.com, https://www.prachachat.net/economy/news-4109 https://www.ex-im4u.com/blog/2018/11/06/การควบคุมการส่งออกสินค้าที่ใช้ได้สองทาง, https://www.youtube.com/watch?v=ScjNxFbTIFw ภาพจาก: https://www.youtube.com/watch?v=fTWDn9cMKKg
19 icn
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
กิ จ กรรมระดมความคิ ด การใช้ ง าน ระบบฐานข้ อ มู ล
RMTS Online <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด กิ จ กรรม “ระดมความคิ ด การใช้ งานระบบฐานข้ อมู ล RMTS Online” กั บผู ้ ใช้ บริ การ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562 ณ สานักงานใหญ่ กรุ งเทพฯ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมู ล ความคิดเห็นเพื่อการพัฒนาระบบ ฐานข้ อ มู ล RMTS Online ในส่ ว นการพั ฒ นาระบบบั ญ ชี รายการวัตถุดิบและสูตรการผลิตออนไลน์ ให้ ร องรั บ การ ให้บริการที่มีประสิทธิภาพ และเอื้อประโยชน์สูงสุดสาหรับ ผู ้ใช้ บริการ โดยมี คุณสิริวรรณ ฉลากรไชยา หัวหน้าฝ่ าย บริการฐานข้อมู ลผู ้ประกอบการ สมาคมสโมสรนักลงทุน เป็นวิทยากรบรรยายและรับฟั งข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ จากผู ้ใช้ บริการ เพื่อนามาใช้ ในการดาเนินงาน
icn 20
eMT Online 1. ขธธนุมัตผบัญชฝราฬการเใรื่ธนจักร 2. ขธแก้โขการขธธนุมัตผบัญชฝราฬการเใรื่ธนจักร 3. ขธธนุมัตผสนั่ ปล่ธฬเใรื่ธนจักรแบบปกตผ * ขธใืนธากร * ขธถธนการใช้ ธนาใารใา้ ประกัน * สัน่ ปล่ธฬนากลับจากส่นซ่ ธม * ใืนธากรจากส่นซ่ ธม 4. ขธธนุญาตฯ่ธนฯันใช้ ธนาใารใา้ ประกันเใรื่ธนจักร 5. ขธธนุญาตขฬาฬระฬะเทลาใา้ ประกันเใรื่ธนจักร 6. ขธธนุญาตส่นใืน – ส่นซ่ ธมเใรื่ธนจักรธธกโปต่านประเทถ 7. ขธธนุมัตผขฬาฬระฬะเทลาต่านๆ ขฬาฬเทลานาเข้าเใรื่ธนจักรปกตผ ขฬาฬเทลานาเข้าเใรื่ธนจักรฬ้ธนหลัน ขฬาฬเทลานาเข้าเใรื่ธนจักรธผเล็กทรธนผกส์และเใรื่ธนใช้ โฮฮ้ า * ทผจัฬและอัฒนา * สผน่ แทดล้ธม 8. ขธธนุญาตตัดบัญชฝเใรื่ธนจักร 9. ขธธนุญาตทาลาฬเใรื่ธนจักร 10. ขธธนุญาตบรผจาใเใรื่ธนจักร 11. ขธธนุญาตชาระภาษฝธากรเใรื่ธนจักร 12. ขธธนุญาตจาหน่าฬเใรื่ธนจักร 13. ขธธนุญาตจานธนเใรื่ธนจักร 14. ขธธนุญาตเช่ าซื้ธ * ลฝสซผ่นเใรื่ธนจักร 15. ขธธนุญาตใช้ เใรื่ธนจักรเอื่ธการธื่น 16. ขธธนุญาตนาเใรื่ธนจักรโปให้บุใใลธื่นใช้ 17. ขธธนุมัตผฬกเลผก (ตามประเภทนาน)
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม
0 2936 1429 ต่อ 314 - 315
e-mail : counterservice@ic.or.th www.ic.or.th
UCP 600
คืออะไร สาคัญอย่างไร
เกี่ยวข้องกับการนาเข้าส่งออกอย่างไร
คุณวัชระ ปิ ยะพงษ์ ที่ปรึกษาองค์กรเอกชนชัน้ นาด้านการนาเข้าและส่งออก
UCP 600 คือ กฎเกณฑ์กติกาที่กาหนดขึ้นโดย สภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce) เพื่อใช้ เป็นประเพณีและวิธีปฏิบัติสาหรับ Letter of Credit (เครดิตที่มีเอกสารประกอบ) ย่อมาจากคาว่า Uniform Customs and Practice for Documentary Credits, ICC Publication No.600 อีกทัง้ ยังเป็นกฎเกณฑ์ มาตรฐานในการปฏิบัติเพื่อป้ องกันปั ญหาและการสับสน ที่ป ระเทศต่ า งๆเลื อ กใช้ กฎระเบี ย บของตนเองเกี่ ย วกั บ การใช้ Letter of Credit (L/C) การกาหนดแนวปฏิบัติ โดยหอการค้านานาชาตินี้ ทาให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องสามารถ ดาเนินการในเรื่องต่างๆได้โดยไม่ต้องพะวงว่าจะเป็นการ ขัดแย้งกับกฎระเบียบในประเทศของตนหรือไม่
ผู ้ส่งออกต้องจัดทาเอกสารเพื่อขอขึ้นเงินค่าสินค้า ตาม L/C ที่ผู้ซื้อเปิ ดมาให้ โดยจัดเตรียมประเภทของเอกสาร และจานวนของเอกสารแต่ละประเภทตามที่ L/C กาหนด อีกทัง้ ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ L/C นัน้ กาหนดและเอกสาร นัน้ ๆต้องไม่ขัดแย้งกับแนวทางปฏิบัติของ UCP ซึ่ งมีทัง้ หมด 39 มาตรา ตัวอย่างเช่ น ผู ้ส่งออกจัดทา Commercial Invoice โดยจัดทาตามมาตราที่ 18 ของ UCP และ Bill of Lading ตามมาตราที่ 20 ของ UCP เป็นต้น เพราะธนาคาร ผู ้รับซื้อเอกสารของผู ้ส่งออก (Negotiating Bank) ก็ใช้ กฎเกณฑ์เดียวกัน คือ L/C และ UCP ในการตรวจสอบ เอกสาร
UCP สาคัญอย่างไรสาหรับการนาเข้าส่งออก UCP มีความสาคัญมาก เพราะทาให้ธุรกิจการค้า ระหว่างประเทศที่ใช้ Letter of Credit เป็นเครื่องมือในการ ช าระเงิ น นั ้น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพราะมี เ กณฑ์ ม าตรฐาน ในการปฏิบัติ ทาให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับ Letter of Credit เช่ น ผู ้ ส่ ง ออก ผู ้ น าเข้ า ธนาคารผู ้ เ ปิ ด L/C (Issuing Bank) ธนาคารผู ้รับ L/C ได้มีแนวทางปฏิบัติซ่ึ งกันและกัน ได้อย่างเข้าใจและลดข้อขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึน้ ได้
icn
22
ธนาคารผู ้เปิ ด L/C ใช้ UCP เป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อ ตรวจสอบเอกสารนั ้ น ส าหรั บ เตรี ย มจะด าเนิ น การ ชาระเงิ น โดยก่ อ นที่ ธ นาคารจะชาระเงิ น ผู ้น าเข้า ก็ ต้ อ ง ตรวจสอบเอกสารซึ่ งใช้ แนวทางในเกณฑ์ ข อง UCP เช่ นเดียวกัน ก า ร ค้ า ส า ก ล นิ ย ม ใ ช้ Letter of Credit ใ น ก า ร ชาระเงินโดยเฉพาะมู ลค่าของสิน ค้าที่มี ราคาสูง เพราะมี ความเชื่ อ มั่ น ในการปฏิ บั ติ ซ่ึ ง กั น และกั น ตามมาตรฐาน ที่ L/C และ UCP ได้กาหนดไว้ ภาพจาก : https://opentoexport.com/article/letters-of-credit-explained/ https://www.youtube.com/watch?v=reAjDV9j09g
เมื่อ (เรา)
เข้มแข็ง
อะไรๆ ก็ไม่ใช่ ปัญหา เส้าหลิน
เข้ ม แข็ ง แล้ ว ได้ อ ะไร อธิ บ ดี ก รมสุ ข ภาพจิ ต เคยกล่ า วไว้ ว่ า “ปั ญหา ความรุ นแรงทาร้ายตนเองในสังคมปั จจุ บันมาจากการขาด ความเข้มแข็งทางใจ” ซึ่ งหมายถึง การขาดความสามารถ ในการจั ด การกั บ ปั ญหาและวิ ก ฤตที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชี วิ ต ได้ ในเวลาอัน รวดเร็ วตลอดจนไม่ ส ามารถเรี ยนรู้ และเติ บ โต ได้จากการนัน้ ๆ กรณี ตั ว อย่ า งที่ จ ะน ามาเล่ า สู่ กั น ฟั ง คื อ เรื่ อ งราว ของหญิงแกร่งที่สามารถข้ามขีดจากัดของตนเองโดยเลือก ที่จะก้าวตามความฝั นอย่างเข้มแข็ง แม้ร่างกายจะไร้ซ่ึ งขา ทัง้ 2 ข้าง
คุณกันยา เซสเซอร์ วัย 25 ปี เกิดที่ อ.ปากช่ อง จ.นครราชสีมา ผู ้ให้กาเนิดทิง้ เธอไว้ข้างถนนมิตรภาพ สายเก่าก่อนมีชายคนหนึ่งนาส่งโรงพยาบาลปากช่ อง นานา นับตัง้ แต่นนั ้ จนอายุ 4 ขวบ คุณกันยาได้รับการ เลีย้ งดูจากพยาบาลจนอายุ เกือบ 6 ขวบ ก็มีพ่อแม่ ชาวอเมริกันรับอุ ปการะคุณกันยาไปเป็นบุ ตรบุ ญธรรม แม้ไปไหนมาไหนด้วยวี ลแชร์ แต่คุณกั นยากลั บ ไม่ ย อมใช้ ชีวิ ต แบบคนพิ การ เธอเปลี่ ย นจากการนั่ ง วีลแชร์มาเป็นการใช้ สเกตบอร์ด ซึ่ งเป็นจุ ดเริ่มต้นที่ทาให้ เธอสนใจกีฬาเอกซ์ตรีมจนได้เป็นนักกีฬาสเกตบอร์ ด กระดานโต้ ค ลื่ น และโมโนสกี ขณะเดี ย วกั น ก็ ไ ด้ เ ป็ น นางแบบชุ ดว่ า ยน ้ า ให้ กั บ แบรนด์ ดั ง อย่ า งไนกี้ แ ละ บิลลาบอง สิ่ ง ที่ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ถึ ง ความเข้ ม แข็ ง ของ คุ ณ กั น ยาซึ่ งเคยให้ สั ม ภาษณ์ กั บ BBC Thailand ถึงทัศนคติในการใช้ ชีวิต และการถูกคนรอบข้างมองว่า พิการเป็นอุ ปสรรคหรือไม่? เธอตอบว่า...
“
เราไม่จาเป็นต้องสมบู รณ์แบบ 100 เปอร์เซน็ ต์ ตลอดเวลา มันโอเคที่บางครัง้ เราจะล้มเหลวบ้าง แล้วค่อยลุกขึน้ มาใหม่ นั่นคือชีวิตที่ต้องเรียนรู้ ในการผ่านไปให้ได้ ไม่ว่าคุณจะรู้สึกแย่แค่ ไหนก็ตาม มันโอเคที่จะเป็นอย่างนัน้ แค่อย่าทาร้าย จิตใจตนเอง
“
ท่านเคยหรือไม่? เห็นป้ าย Sale กระเป๋ า รองเท้าที่อยากได้... แล้วใจสั่น มือลัน่ ซื้อมาเก็บไว้ก่อนให้อุ่นใจ หรือเวลาที่ท่านคิดจะทาอะไรบางอย่าง แล้วมีผู้หวังดี มาบอกว่า อย่าทางานแบบนัน้ เลยมันลาบาก ยาก... แล้ว ท่านเริ่มลังเลใจ เปลี่ยนแผน ล้มเลิก หรือเลื่อนออกไปก่อน ไว้ค่อยทา เพราะกลัวไม่สาเร็จ อาการดังกล่าวข้างต้น ไม่ ใช่ เรื่องผิดปกติหากท่าน จะเป็นอยู ่บ้าง ซึ่ งถือป็นการวัดใจว่าท่านมีความเข้มแข็ง ทางด้ า นความคิ ด และจิ ต ใจมากน้ อ ยแค่ ไหนในการดึ ง ความเข้ ม แข็ ง ของตนกลั บ มาให้ เ ร็ ว ที่ สุ ด ไม่ ว่ า อยู ่ ใ น สถานการณ์เช่ นไร
23 icn
“อย่าฟั งเสียงผู ้คนว่าคิดยังไงกับเรา อย่าสนใจ ความพยายามที่จะทาให้ เรารู้สึกตกต่า เพราะคุณคือ เจ้านายของตัวเอง คุณเป็นเพียงคนเดียวที่จะตัดสินใจ เกี่ยวกับตัวคุณ” จะเห็นได้ว่าแนวคิดของคุณกันยานัน้ สอดคล้อง กับเนือ้ หาในหนังสือ 13 Things Mentally Strong People Don’t Do ของ Amy Morin ที่ระบุ ถึง 13 อุ ปนิสัยที่ คนเข้มแข็งไม่มีวันทา คือ 1. ไม่ เ สี ย เวล าไ ปกั บ การ รู้ สึ ก แย่ กั บ ตั ว เอง โทษตัวเองคิดว่าแย่กว่าคนอื่น 2. ไ ม่ ย อ ม ต ก เ ป็ น เ ห ยื่ อ ข อ ง ส ถ า น ก า ร ณ์ รู้จักประเมินสถานการณ์ 3. ไม่ ก ลั ว การเปลี่ ย นแปลง เพราะทุ ก การ เปลี่ยนแปลงมักเกิดสิ่งใหม่เสมอ 4. ไม่เปลืองพลังไปกับสิ่งที่ควบคุมไม่ ได้ ควรใช้ พลังชีวิตไปกับสิ่งที่ควรทา 5. ไม่พยายามเอาอกเอาใจทุกคน เพื่อให้คนอื่น ชื่นชมหรือชื่นชอบตน 6. ไม่กลัวที่จะรับมือกับความเสี่ยง กล้าเผชิญหน้า กับความเสี่ยง 7. ไม่มัวแต่จมตัวเองอยู ่กับอดีต ไม่ยึดติด ไม่คิดวน อยู ่ท่เี ดิม
8. ไม่ทาผิดซ้ าในเรื่องเดิม เลือกที่จะเรียนรู้ เติบโต และป้ องกันไม่ ให้เกิดซ้ า 9. ไม่อิจฉาความสาเร็จของคนอื่น รู้สึกแย่ ร้อนรน ส่งผลเสียแก่ตัวเราเอง 10. ไม่ย่อท้อกับความล้มเหลว อย่าปล่อยตัวเองไว้ กับคาว่า 'ยอมแพ้‘
11. ไม่กลัว การอยู ่ลาพั ง ลองยืนหยั ดด้วยตัวเอง สภาพจิตใจคุณจะเข้มแข็งขึน้ 12. ไม่เคยเรียกร้องอะไรจากโลกใบนี้ คิดว่าตนเป็น ศูนย์กลาง วนเวียนอยู ่กับเรื่องของตนเอง 13. ไม่ ได้คาดหวังความสาเร็จในชัว่ ข้ามคืน ต้องใช้ เวลา อาศัยความอดทน มาถึงจุ ดนี้ ท่านลองทบทวนตนเองว่า มีอุปนิสั ย 13 ประการนี้ ห รื อ ไม่ หากมี ค่ อ ยๆลดละไปที ล ะนิ ด แล้วสอดแทรกความเข้มแข็งเข้าไปแทนที่ เพราะปลายทาง ความเข้มแข็ง คือ ความสาเร็จที่ท่านมุ ่งหวังเสมอ อ้างอิง: www.nuttaputch.com, www.BBC.com/Thai
อีกหนึ่งช่ องทางชาระค่าบริการผ่านระบบ
QR Code
**สาหรั บ การชาระเงิ น สดที่ ส มาคมเท่ า นั ้น ** สมาคมสโมสรนักลงทุนได้ เ พิ่มช่ องทางการชาระค่าบริการผ่านระบบ QR Code โดยสามารถชาระผ่าน Mobile Banking ได้ทุกธนาคาร สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย ไม่มียอดขัน้ ตา่ ในการชาระ
เปิ ดให้ บ ริ ก ารแล้ ว วั น นี้ ณ เคาน์ เ ตอร์ ชาระค่ า บริ ก าร icn
24
รายการอะไหล่และชิน้ ส่วนที่ไม่ ได้ลงบัญชีเป็นสินทรัพย์
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
Q : ปั จจุ บันบริษัทได้ยื่นเปิ ดดาเนินการไปแล้ว แต่ติดปั ญหาคือ อะไหล่และชิ้นส่วนบางรายการไม่สามารถ ระบุ เป็นเลขที่สินทรัพย์ได้ ในคาขอเปิ ดดาเนินการ เนื่องจากเป็นชิ้นส่วนเล็กๆ แต่ได้ ใช้ สิทธิ์ยกเว้นอากร ขาเข้าและภาษีมูลค่าเพิ่มไปแล้ว ซึ่งตามหลักการของเจ้าหน้าที่บีโอไอแจ้งไว้ว่าขอใช้ สิทธิ์เท่าไหร่ ก็ต้อง สามารถระบุ เป็นทรัพย์สินได้หมด ดังนัน้ บรัษทจะต้องดาเนินการอย่างไรกับรายการเหล่านี้ หากต้อง ชาระภาษี ต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้อง A : เครื่องจักร (รวมถึงอุ ปกรณ์และชิ้นส่วนต่างๆ) ทุกรายการที่นาเข้าโดยใช้ สิทธิ์ยกเว้นภาษี อากรตาม มาตรา 28 จะต้องแสดงในแบบคาขอเปิ ดดาเนินการ ข้อที่ 2 ซึ่ งต้องแสดงรายละเอีย ดเครื่องจักร และอุ ปกรณ์ท่ีติดตัง้ ใช้ ในโครงการให้ครบทุกรายการ เว้นแต่รายการที่ได้รับอนุมัติให้ส่งคืน/จาหน่าย/ ทาลาย และตัดบั ญชี เครื่องจักรไปแล้ว แต่เครื่องจักรและอุ ปกรณ์ ต่างๆที่นาเข้าโดยใช้ สิทธิ์ย กเว้น อาจจะไม่อยู ่ในทะเบียนสินทรัพย์ของบริษัทก็ได้ ขึ้นอยู ่กับนโยบายทางการบัญชี ของบริษัทนัน้ ๆ เช่ น รายการที่มีมูลค่าตา่ กว่า 3,000 บาท จะไม่บันทึกเป็นสินทรัพย์ เป็นต้น กรณีท่ีสอบถาม บริษัทไม่มีความจาเป็นต้อ งชาระภาษี เครื่อ งจักรที่ไม่อยู ่ในทะเบีย นสินทรัพย์ แต่ขอให้ปรึกษากับ เจ้าหน้าที่บีโอไอที่รับผิดชอบในการตรวจสอบเปิ ดดาเนินการโครงการของบริษัท เพื่อขอคาแนะนาในการเตรียมเอกสารและข้อมู ล เพื่อชี้แจงตามข้อเท็จจริง ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
ถ้าคุณอดทน เพื่อจะทาอะไรสักอย่างให้สาเร็จ คุณจาเป็นอย่างมากที่จะต้องลงมือ ศึ กษาเรื่องนัน้ ๆอย่างเป็นจริงเป็นจัง แต่ถ้าคุณไม่อดทน โอกาสที่คุณจะผิดพลาด ก็ย่อมมีสูงมากเช่ นกัน
คุณอนันต์ กาญจนพาสน์ ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บางกอกแลนด์ จากัด (มหาชน) ที่มา>> https://twitter.com/pptvhd36/status/580564794568245248 ภาพจาก>> http://th.postupnews.com/2017/07/bland-annual-meeting.html
สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก
www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมู ลเพิม่ เติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร 0 2936 1529 25 icn
ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ
@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ
Add friends
IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย
ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !
ตารางสัมมนาประจ�ำเดือน มีนาคม – เมษายน 2562 วันสัมมนา
ชื่อหลักสูตร
สถานที่จัด
วิทยากร
อัตราค่าสัมมนา สมาชิก
บุคคลทั่วไป
วิทยากรจาก BOI
3,210
3,745
วิทยากรจาก BOI วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน
2,675
3,745
5,350
6,420
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
1,605
1,926
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
3,210
3,745
วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี
4,280
5,350
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
2,996
4,066
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
2,996
3,852
คุณวิชัย มากวัฒนสุข
5,350
6,206
ดร.อิทธิกร ข�ำเดช
3,210
4,280
ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย
3,210
4,280
คุณเมธี แสงมณี
2,996
3,852
คุณเกียรติขจร โฆมานะสิน
4,280
5,136
วิทยากรจากกรมศุลกากร
2,996
3,852
คุณเมธี แสงมณี
2,996
3,852
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
2,996
3,852
วิทยากรจากกรมศุลกากร
2,996
3,852
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
2,996
3,852
หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน กรุงเทพ 2 มี.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 9 มี.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 15-17 มี.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 23 มี.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 30 มี.ค. 2562 (09.00-12.00 น.) 20 เม.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 20 เม.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 27-28 เม.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 27 เม.ย. 2562 (09.00-17.00 น.)
วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับวัตถุดบิ และวัสดุจำ� เป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การ โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 2/2562 (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับเครือ่ งจักรและอุปกรณ์สำ� หรับกิจการที่ได้รบั การ ห้องอบรม ชั้น 12 ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 2/2562 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ ครั้งที่ 2/2562 (รับวุฒิบัตร) (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) หลักเกณฑ์และปัญหาการใช้สทิ ธิและประโยชน์ที่ได้รบั ตาม พ.ร.บ.ส่ง โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ เสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562 (ถนนสุขมุ วิท ซอย 5) วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับส่วนสูญเสียวัตถุดบิ ส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่ง โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ เสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562 (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 2/2562 (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับวัตถุดบิ และวัสดุจำ� เป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การ โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 3/2562 (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพือ่ รองรับการตรวจสอบ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ และแนวทางปฏิบัติส�ำหรับผู้จัดท�ำบัญชีของกิจการที่ได้รับส่งเสริม (ถนนสุขุมวิท 6) การลงทุน ครั้งที่ 2/2562 (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับเครือ่ งจักรและอุปกรณ์สำ� หรับกิจการที่ได้รบั การ ห้องอบรมชั้น 12 ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 3/2562 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)
หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน ชลบุรี 20 เม.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)
ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน (ชลบุรี) ครั้งที่ 1/2562
โรงแรม โอ๊ควูด โฮเทล แอนด์ เรสซิเดนซ์ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี
หลักสูตรการบริหารจัดการ 7 มี.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 9-10 มี.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 12 มี.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 16 มี.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 20 มี.ค. 2562 (09.00-16.30 น.) 22 มี.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 23 มี.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 26 มี.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 28 มี.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 30 มี.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 2 เม.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 23 เม.ย. 2562 (09.00-16.30 น.) 25 เม.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 27 เม.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 30 เม.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)
การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศ และ INCOTERMS®2010 การน�ำเข้า-ส่งออกและสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรภายใต้กฎหมาย ศุลกากรฉบับใหม่ (Import - Export & Tax Incentive) เจาะลึกการตีความ ISBP No.745E (INTERNATIONAL STANDARD BANKING PRACTICE) ส�ำหรับ การตรวจเอกสารส่งออกและน�ำเข้าภายใต้เลตเตอร์ออฟเครดิต กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ 2560 และวิธีจัดเก็บค่าภาษีอากร การปรั บ ปรุ ง บั ญ ชี แ ละค� ำ นวณก� ำ ไรสุ ท ธิ เ พื่ อ เสี ย ภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคลส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562 (CPD & CPA) เทคนิคการบริหารการผลิตส�ำหรับหัวหน้างาน กฎว่าด้วยถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Rules of Origin) ข้อผิดพลาดทางด้านบัญชีของกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน การจัดท�ำและตรวจเอกสารทางการค้าระหว่างประเทศภายใต้ เงื่อนไข L/C ตามกติกา UCP 600 สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอดอากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) ความรู้การน�ำเข้าและส่งออกทั้งระบบเพื่อให้ ได้ประโยชน์สูงสุด การปรับปรุงบัญชีและค�ำนวณก�ำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้ นิติบุคคลส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 2/2562 (CPD & CPA) เทคนิค วิธปี ฏิบตั กิ ารคืนอากรตามมาตรา 29 แห่ง พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ. 2562 การตรวจสอบหลังปล่อย (Post Clearance Audit) การอุทธรณ์ การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศุลกากร การตีความกฎข้อบังคับเกี่ยวกับเลตเตอร์ออฟเครดิต เพื่อการค�้ำประกันในการค้าระหว่างประเทศ (INTERNATIONAL STANDBY PRACTICES 1998 (ISP 98))
หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT online 3 มี.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 10 มี.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 21 เม.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 28 เม.ย. 2562 (09.00-17.00 น.)
วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับวัตถุดิบด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) ครั้งที่ 2/2562 วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักรด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (eMT Online) ครั้งที่ 2/2562 วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับวัตถุดิบด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) ครั้งที่ 3/2562 วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักรด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (eMT online) ครั้งที่ 3/2561
โรงแรม รอแยล เบญจา (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5)
คุณเมธี แสงมณี
2,996
3,852
ผู้เชี่ยวชาญด้านการคืนอากร
3,210
4,280
คุณวิชัย มากวัฒนสุข
2,996
3,852
โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5)
คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี
3,210
4,280
ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)
วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน
2,675
3,745
1,605
2,675
2,675
3,745
1,605
2,675
หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจสมัครเข้าร่วมอบรม สามารถลงทะเบียนออนไลน์เพื่อส�ำรองที่นั่งได้ที่ http://icis.ic.or.th หรือผ่านทาง www.ic.or.th หากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ คุณวิลาสินี, คุณกาญจนา, คุณชาตรี โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205, 206, 209 โทรสาร 0-2936-1441-2