Vol.19 / March 2020 “โตเกีย ว 2020” โอลิ มปิ กรักษ์ โลก International Commercial Terms (Incoterms®2020)
บีโอไอ เร่งกระตุ้น การลงทุน
“มีปญ ั หาไม่รู้จะโทรปรึกษาใคร”
Single Window for
Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th
www.ic.or.th
08 11
04 บีโอไอเร่งกระตุ้นการลงทุน
“โตเกียว 2020” โอลิมปิ กรักษ์โลก
14 16
International Commercial Terms (Incoterms®2020)
ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้าของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพ ท์ : 0 2936 1429 ต่อ 201 โทรสาร : 0 2936 1441 e-mail : icn@ic.or.th
20
สมาร์ ท ได้ทุกพื้น ที่ ด้วยวิถีดิจิทัลและดาต้า (1)
มาตรการด้านศุลกากรเพื่อสนับสนุน การจัดอันดับความยากง่าย ในการทาธุ รกิจของประเทศไทย
22
การเชื่อมโยงการใช้สิทธิประโยชน์ ด้านวัตถุดิบ วัสดุจาเป็น และผลิตภัณฑ์ ในประเทศตามกฎหมายศุลกากร
ยับยัง้ (ชัง่ ใจ) เพื่อความสาเร็จที่ยงิ่ ใหญ่
ช่ วงนี้ป ระเทศไทยก าลั ง เผชิ ญ หน้ า และรั บ มื อ กั บ ปั ญ หาด้ า นสุ ข ภาพอนามั ย ในระดั บ ที่น่าเป็นห่วง ทัง้ สถานการณ์การแพร่ระบาดของ Covid-19 หรือ ไวรัสโคโรน่า สายพันธุ ์ใหม่ 2019 ที่ก าลังถูกเฝ้ าระวังและร่วมกันหาวิธีการรักษาไปทั่วโลก เนื่องจากมีการแพร่เชื้อไปใน หลายประเทศ รวมถึงปั ญหาเรื่องฝุ ่ นมลพิษ PM 2.5 ที่ยังคงค่าอยู ่ ในระดับสูงและส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพของประชาชน ซึ่ งปั ญหาดังกล่าวควรถูกจัดให้เป็นวาระแห่งชาติสาหรับประชาชน ในการป้ องกัน ดูแล และรักษาสุข ภาพร่างกายของตนเอง รวมถึงหลีก เลี่ยงปั จจัยเสี่ยงที่จะ ทาให้เกิดอาการเจ็บป่ วยจากภัยทัง้ สองชนิดนี้ หนึ่ ง ในประเทศที่ มี ก ารแพร่ ร ะบาดของเชื้อ ไวรั ส โคโรน่ า และถู ก ประกาศให้ เ ป็ น ประเทศ ที่ ค วรหลี ก เลี่ ย งการเดิ น ทางไปในขณะนี้ คื อ ประเทศญี่ ปุ่ น ซึ่ ง ก าลั ง จะมี ก ารจั ด การแข่ ง ขั น มหกรรมกีฬาระดับโลก “โตเกียว โอลิมปิ ก 2020” ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม ถึง 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563 นั บเป็ นการแข่ งขัน ที่ร วมนัก กีฬ าจากนานาประเทศทั่วโลกมาร่ว มชิ ง ชัย เหรีย ญ รางวัลกันมากมาย ซึ่ งทั่วโลกต่างคาดหวังว่าปั ญหาการแพร่ระบาดและติดเชื้อโรค Covid-19 จะได้รับการแก้ไขและรักษาให้หายขาด และประเทศญี่ปุ่ นจะสามารถกลับสู่ภาวะปกติทันกับการ จัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิ กครัง้ ที่ 32 ตามที่ได้กาหนดไว้ ประเด็นที่น่าสนใจของงาน “โตเกียว 2020” คือ การมุ ่งเน้นจัดงานแบบเป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม โดยใช้ แนวทางการนาขยะอิเล็กทรอนิกส์และขยะรีไซเคิลมาใช้ สร้างสรรค์นวัตกรรม รักษ์ โลกด้วยเทคโนโลยีลา้ สมัย ไม่ว่าจะเป็นการผลิตเหรียญรางวัลการแข่งขัน คบเพลิง รวมถึง อุ ปกรณ์อื่นๆที่ใช้ ในการจัดงาน รวมถึงการงดเว้นการใช้ วัสดุสิน้ เปลืองหรือการสร้างใหม่เพื่อ ช่ วยลดปริมาณขยะที่กาลังจะล้นโลก นอกจากนี้ ยังเน้นการใช้พลังงานสะอาดจากธรรมชาติทัง้ พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลมทดแทนการใช้ พลังงานสิน้ เปลืองในทุกสถานที่และตลอด ช่ วงเวลาของการจัดงาน เพื่อลดการปล่อยมลพิษสู่ชนั ้ บรรยากาศ ทั่วโลกต้องยอมรับความมุ ่งมั่น ความพยายาม และความคิดสร้างสรรค์ข องญี่ปุ่ นที่ ทุ่มเทเตรียมจัดงานตลอดระยะเวลาหลายปี ผ่านการระดมสรรพกาลังด้านบุ คลากร ทรัพยากร และเทคโนโลยีที่ ทัน สมั ย เพื่ อรั งสรรค์โ ตเกีย ว 2020 ให้ เป็ นอี ก หนึ่ง การจั ดการแข่ งขั นกี ฬ า โอลิมปิ กที่ควรจดจาในหน้าประวัติศาสตร์การกีฬาโลก และสร้างความภาคภูมิใจให้กับญี่ปุ่ นใน ฐานะประเทศเจ้าภาพจัดการแข่งขัน แนวคิดการจัดโอลิมปิ กรักษ์ โลกของญี่ปุ่ นสามารถนามาใช้ เป็นแนวทางเพื่อจุ ดประกายการหาหนทางแก้ไขปั ญหาด้านมลพิษและสิ่งแวดล้อมทั่วโลกได้อีก มากมายหลากหลายวิธี เพื่อรักษาและฟื้ นฟู ให้โลกของเราปลอดภัย และน่าอยู ่มากขึ้นกว่าที่ เป็นอยู ่ในปั จจุ บัน สมาคมสโมสรนักลงทุนพร้อมสนับสนุนและให้คาปรึกษาผู ้ประกอบการและนักลงทุนในทุก อุ ตสาหกรรมและทุกด้าน รวมถึงการลงทุนในการดาเนินธุ รกิจด้านสิ่งแวดล้อม ด้วยบริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ผ่านการให้บริการแบบออนไลน์ของสมาคมฯ รวมถึงการให้บริการด้าน หลักสูตรฝึ กอบรมและสัมมนาที่มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพขององค์กร โดยผู ้ที่สนใจสามารถดู รายละเอียดหลักสูตรและเลือกลงทะเบียนเพื่อสมัครร่วมสัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-209 หรือติดตามข้อมู ลต่างๆ ของสมาคมฯได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3
icn
บีโอไอ เร่งกระตุ้น การลงทุน
ศุธาศินี สมิตร ผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
เนื่องจากความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก สงครามการค้า ภาวะโรคระบาด ประกอบกับค่าเงินบาทของไทย มีแ นวโน้ ม แข็ งค่ า ขึ้น อย่ างต่ อเนื่อ งเมื่ อเปรีย บเทีย บกับ สกุ ล เงิ นตราต่ างประเทศได้ ส่ง ผลกระทบต่อ ความเชื่ อมั่นของ นักลงทุนทัง้ ไทยและต่างชาติ และทาให้การขยายตัวของเศรษฐกิจไทยอยู ่ในภาวะชะลอตัว บีโอไอจึงได้ออกมาตรการ พิเศษเพื่อเร่งรัดให้เกิดการลงทุนจริง โดยเร็วในอุ ตสาหกรรมและบริการเป้ าหมาย เพื่อกระตุ้นให้เกิดการขยายตัวของ เศรษฐกิจไทยในช่ วงปี 2563 - 2564 โดยเป็นมาตรการกระตุ้นการลงทุนทุกภาคส่วน ทัง้ การลงทุนขนาดใหญ่ การลงทุน ของ SMEs และ การลงทุนเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจฐานราก ซึ่ งหากดาเนินการกระตุ้นการลงทุนตามมาตรการเหล่านี้ แล้วนัน้ คาดว่าจะสามารถช่ วยกระตุ้นการลงทุนได้มากกว่า 200,000 ล้านบาท ในระยะเวลา 2 ปี นี้
มาตรการกระตุ้ น การลงทุ น มาตรการกระตุ้น การลงทุน เป็นมาตรการเร่งรัดการลงทุนสาหรับโครงการขนาดใหญ่ท่ีมีผลกระทบต่อระบบ เศรษฐกิจของประเทศ โดยล่าสุดบีโอไอได้ปรับปรุ งเงื่อนไขเพิ่มเติมจากมาตรการเร่งรัดการลงทุน (Thailand Plus) เพื่อให้ มาตรการเร่งรัดการลงทุนมีผลในวงกว้างยิง่ ขึน้ ในประเด็นดังนี้ • เพิ่มขอบข่ายให้ครอบคลุมคาขอรับการส่งเสริมที่ยื่นตัง้ แต่วันที่ 2 มกราคม 2562 ถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2563 • เปิ ดให้โครงการลงทุนไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาทภายในปี 2563 สามารถได้รับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมได้ • ผ่อนปรนเงื่อนไขการดาเนินการให้ผู้ประกอบการสามารถขยายเวลาการดาเนินการตามขัน้ ตอนต่างๆหลังได้รับ อนุมัติให้การส่งเสริมได้อย่างมีความยืดหยุ ่นมากยิ่งขึน้ icn 4
เงื่อนไข • ต้องมีการลงทุนจริง (ไม่รวมที่ดินและทุนหมุ นเวียน) นับตัง้ แต่วันที่ 6 ก.พ. 2563 ไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาทภายในปี 2563 หรือ ไม่น้อยกว่า 1,000 ล้านบาท ภายในปี 2564 • สาหรับการลงทุนทุกพืน้ ที่ • ต้องอยู ่ ในกิจการเป้ าหมายที่กาหนด (A1 – A3) ยกเว้นกิจการที่ไม่มีที่ตงั ้ • จะไม่ ให้ขยายเวลานาเข้าเครื่องจักร แต่จะพิจารณาขยายเวลาเปิ ดดาเนินการตามความเหมาะสม • ต้องแสดงหลักฐานการลงทุนจริงเพื่อขอรับสิทธิประโยชน์เพิม่ เติมภายในวันทาการสุดท้ายของเดือน มิ.ย. 2565 สิทธิและประโยชน์ ลดหย่อนภาษี เงินได้ 50% 5 ปี เพิม่ เติมจากเกณฑ์ปกติ
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสาหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) บีโอไอได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการยกระดับ ความสามารถในการแข่ ง ขั น และส่ งเสริ ม การพั ฒ นา ศักยภาพของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย (SMEs) จึงได้ออกมาตรการส่งเสริมการลงทุนสาหรับ SMEs ไทยมาตัง้ แต่ปี 2546 มาตรการล่าสุดมีผลสาหรับการยื่นคาขอรับการ ส่งเสริมภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2563 และเป็นการให้ สิทธิประโยชน์และผ่อนปรนเงื่อนไขเป็นพิเศษแก่ SMEs ไทย โดยการเพิ่มวงเงินยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 2 เท่า จากเกณฑ์ทั่วไป การอนุญาตให้นาเครื่องจักรใช้ แล้วใน ประเทศมาใช้ ในโครงการได้บางส่วนและผ่อนปรนเงื่อนไข ในการได้รับสิทธิประโยชน์ด้านการสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขัน (Merit-based Incentives) เพื่อกระตุ้น ให้ SMEs ไทย มี ก ารพั ฒ นาศัก ยภาพตนเองด้ ว ย เทคโนโลยีและนวัตกรรม ซึ่ งจะช่ วยให้สามารถเติบโตได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนา SMEs อย่างบู รณาการและ มีความต่อเนื่อง ล่าสุดบีโอไอได้พิจารณาปรับปรุ งมาตรการนี้ สาหรับการยื่นขอรับการส่งเสริมตัง้ แต่วันที่ 2 มีนาคม 2563 จนถึงสิน้ ปี 2564 ในประเด็นต่างๆ คือ การปรับปรุ งคุณสมบัติของ SMEs ให้สอดคล้องกับ นิยามใหม่ของสานั กงานส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (สสว.) ซึ่ งจะพิจารณาตามเกณฑ์รายได้ของ บริษัทที่กาหนดให้ “ต้องมียอดขายต่อปี ไม่เกิน 500 ล้านบาท ใน 3 ปี แรก” และยังผ่อนปรนเงื่อนไขทุนจดทะเบียนขัน้ ต่า โดยลดอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน เป็น “ไม่ เกิน 4 ต่อ 1” ให้ เพิ่มเติมอีกด้วย
การผ่อนปรนเงื่อนไขประเภทกิจการโรงแรม ทัง้ เรื่อง การลดเงื่อนไขจานวนห้องลงและการลดเงื่อนไขมู ลค่าการ ลงทุนต่อห้องลงกึ่งหนึ่ง เพื่อเปิ ดโอกาสให้ SMEs สามารถ เข้าถึงสิทธิและประโยชน์ ได้ง่ายขึน้ การให้สิทธิประโยชน์เพิม่ เติม กรณีตงั ้ ในเขตเศรษฐกิจ พิเศษ (SEZ ชายแดน 10 จังหวัด) ด้วย เพื่อกระตุ้นการ ลงทุนในพืน้ ที่ดังกล่าวให้มากขึน้ 5 icn
มาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น สาหรั บ วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม (SMEs) ที่ ป รั บ ปรุ ง ใหม่
มาตรการส่ งเสริม การลงทุน เศรษฐกิ จ ฐานราก
มาตรการส่งเสริมการลงทุนเศรษฐกิจฐานราก เป็นมาตรการส่งเสริมการลงทุนที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ • ส่ง เสริม ให้ ผู้ ประกอบการที่มี ศักยภาพเข้า ไป สนับสนุนกิจการขององค์กรท้องถิ่น • ยกระดั บการดาเนิ นการขององค์กรท้องถิ่ น เช่ น การน าเทคโนโลยี ห รื อ เครื่ อ งจั ก รที่ ทั น สมั ย มาใช้ ใ นการผลิ ต หรื อ บริ ก าร การ ฝึ ก อ บ ร ม เพื่ อ ย ก ร ะดั บ เ ท ค โน โ ล ยี ห รื อ มาตรฐานการผลิต เป็นต้น ซึ่ ง หากผู ้ ป ระกอบการเข้ า ไปสนั บ สนุ น องค์ ก ร ท้ อ งถิ่ น เช่ น วิ ส าหกิ จ ชุ มชน สหกรณ์ องค์ กรส่ ว น ท้ อ งถิ่ น เป็ น ต้ น ตามแผนการด าเนิ น การที่ บี โ อไอ เห็นชอบในด้านกิจการเกษตรและเกษตรแปรรูป กิจการ กลุ่ ม อุ ตสาหกรรมเบา กิ จ การท่ อ งเที่ ย วชุ มชน ก็ จ ะ ได้ รั บ สิ ท ธิ ย กเว้ น ภาษี เ งิน ได้ นิ ติ บุ คคลจากรายได้ ข อง กิจการที่ดาเนินการอยู ่เดิมเป็นระยะเวลา 3 ปี ในสัดส่วน ร้ อ ยละ 120 ของเงิ น ลงทุ น หรื อ ค่ า ใช้ จ่ า ยในการ สนับสนุนองค์กรท้องถิ่น icn 6
ล่าสุด เพื่อสนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการยกระดั บ ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ให้ กั บ เศรษฐกิจในระดับฐานรากมากยิ่งขึ้น บีโอไอได้ข ยายเวลา การยื่นขอรับการส่งเสริมตามมาตรการนีไ้ ปอีก 1 ปี จนถึง สิน้ ปี 2564 โดยปรับปรุ งมาตรการในประเด็นดังนี้
ขยายขอบข่ า ยคุ ณ สมบั ติ ข องผู ้ ข อรั บ การ ส่ ง เสริ ม ให้ ก ว้ า งมากขึ้ น เพื่ อ สร้ า งโอกาสให้ ผู ้ประกอบการที่มีศกั ยภาพมีส่วนร่วมในการสนับสนุน กิจการขององค์กรท้องถิ่นเพิ่มมากขึน้ โดย • ให้ รวมถึ งกรณี ผู้ท่ี มีกิจการที่ด าเนิน การ อยู ่เดิมแต่ยังไม่เคยได้รับการส่งเสริมการ ลงทุ น มาก่ อ น ให้ ส ามารถขอรั บ การ ส่งเสริมตามมาตรการนี้ได้ โดยได้รับสิทธิ ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 3 ปี ในสัดส่วน ร้อยละ 120 ของเงินลงทุนหรือค่าใช้ จ่าย ในการสนับสนุน
• ให้ โ ครงการที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม และสิ ท ธิ แ ละ ประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลยังไม่สิน้ สุดลง หรือเป็นโครงการลงทุนใหม่ท่ีจะได้รับยกเว้นภาษี เงิ น ได้ นิ ติ บุ คคล สามารถขอรั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ เพิ่ ม เติ ม ได้ โดยได้ รั บ วงเงิ น ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคลเพิ่มเติมในสัดส่วนร้อยละ 120 ของ เงิ น ลงทุ น หรื อ ค่ า ใช้ จ่ า ยในการสนั บ สนุ น (ไม่กาหนดมู ลค่าเงินสนับสนุนขัน้ ตา่ ) ให้ โ ครงการที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น ตาม มาตรการเศรษฐกิ จ ฐานราก สามารถขอรั บ สิ ท ธิ แ ละ ประโยชน์ตามมาตรการอื่นได้ด้วย
มาตรการส่ ง เสริม การลงทุน เศรษฐกิ จ ฐานรากที่ป รับ ปรุ ง ใหม่
รายละเอียดมาตรการส่งเสริมการลงทุนของบีโอไอ • มาตรการกระตุ้นการลงทุน (Thailand Plus Plus) • มาตรการส่งเสริมการลงทุนสาหรับ SMEs • มาตรการส่งเสริมการลงทุนเศรษฐกิจฐานราก ภาพจาก: https://khonkaen.boi.go.th/index.php/news/detail/1051 โปรดติดต่อ ศูนย์บริการลงทุน โทรศัพท์ 0 2553 8222 https://bit.ly/2IaMNB5 http://www.tcjapress.com/2017/03/07/smes-go-online/ e-Mail: head@boi.go.th
สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
วิธีปฏิบต ั ิ
หลัง
ได้รบ ั การส่งเสริม การลงทุน
ลงทะเบียน
ออนไลน์
วันที่ 13-15 มีนาคม 2563 ณ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ 7 icn
โตเกียว
2020
โอลิมปิก รักษ์โลก มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
ใกล้เข้ามาทุกขณะแล้วสาหรับกีฬาโอลิมปิ กฤดูร้อน 2020 หรือ “โตเกียว 2020” มหกรรมกีฬานานาชาติท่ี รวมพลคนกี ฬ าประเภทต่ า งๆจากทุ ก ประเทศทั่ ว โลก มาร่ว มแข่ง ขัน ชิ ง เหรีย ญรางวัล และร่ วมเป็ นหนึ่ง ในหน้ า ประวัติศาสตร์การแข่งขันกีฬาระดับโลกที่จัดขึน้ ทุกๆ 4 ปี สาหรับโอลิมปิ ก 2020 หรือ โตเกียว 2020 เป็น การจัดการแข่งขันครัง้ ที่ 32 โดยประเทศญี่ปุ่ นเป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขั น ซึ่ งจะจัดขึ้นที่กรุ งโตเกี ยว ประเทศญี่ปุ่ น ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม ถึง 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ทางเจ้ า ภาพได้ มี การเตรี ยมความพร้ อ มในการจัด งาน อย่ า งเต็ มที่ ภายใต้ แนวคิด “Go Green” ที่เ น้ น เรื่ อ ง ความเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น ส าคั ญ ทั ้ง ด้ า นการ จัดการแข่งขันและด้านการถ่ายทอดสัญญาณการแข่งขัน โดยดาเนินการให้มีการใช้ ซ้ าและรีไซเคิล 99% นอกจากนี้ ไฟฟ้ าที่ใช้ ในการแข่งขันยังมาจากแหล่งพลังงานทดแทน 100% สาหรับการจัดทาคบเพลิงและเหรียญรางวัลซึ่ งเรียก ได้ ว่ า เป็ น พระเอกของงานที่ ทั่ ว โลกจั บ ตามองและให้ ความสนใจอย่างมาก ต้องบอกว่าไม่ธรรมดาเลยจริงๆทัง้ แนวคิดการออกแบบและไอเดียการใช้ วัสดุเหลือใช้ หรือขยะ อิเล็กทรอนิกส์มาเป็นส่วนสาคัญในการผลิตที่แสดงให้เห็น ถึ ง ความสามารถในการน าเทคโนโลยี ม าจั ด การปั ญ หา โลกร้อนและขยะล้นโลกด้วยวิถีรักษ์ โลกของประเทศญี่ปุ่ น ในฐานะเจ้าภาพจัดการแข่งขันได้อย่างชัดเจน เหรียญรางวัลจากขยะอิเล็กทรอนิกส์ นั บ ได้ ว่ า เป็ นไอเดี ย ที่ สุ ด ล ้ า และ สร้ า งสรรค์ ม ากส าหรั บ การผลิ ต เหรียญรางวัลจากขยะอิเล็กทรอนิกส์ เช่ น โทรศัพ ท์ กล้ อ งดิ จิ ทั ล และคอมพิ ว เตอร์ เป็ น ต้ น โดยญี่ปุ่ นได้เปิ ดรับบริจาคและรวบรวมขยะอิเล็กทรอนิกส์ เหล่านีต้ งั ้ แต่ปี 2017 เพื่อผลิตเหรียญรางวัลกว่า 5,000 เหรียญ icn
8
ถนนพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ผู ้จัดงานได้ดาเนินการ ปู แ ผงโซลาเซลล์ บ นถนนใน กรุ งโตเกียว เพื่อนาพลังงาน จากแสงอาทิ ต ย์ ม าใช้ กั บ ไฟจราจร แสงไฟบนถนน และอื่ น ๆ โดยเริ่ ม ทดลองใช้ แ ละ ติดตัง้ ในสถานที่สาคัญของกรุ งโตเกียวก่อนที่จะต่อยอด และกระจายการดาเนินการไปสู่ทุกพืน้ ที่ในญี่ปุ่ นต่อไป คบเพลิ ง จากอะลูมิ เ นีย มของซากบ้า นพัก ชั่ว คราวผู ้ป ระสบภัย พิบั ติ คบเพลิงที่จะใช้ ในพิธีเปิ ด โตเกียว 2020 ได้แรงบันดาลใจ ในการออกแบบจากดอกซากุระ ซึ่ งเป็นดอกไม้ประจาชาติ ภายใต้แนวคิด “เส้นทางแห่ง ความหวัง (Hope Lights Our Way)” โดยออกแบบเป็น รู ปทรงกระบอก 5 ด้าน เปรียบดั่งกลีบดอกซากุระ 5 กลีบ โดยแต่ละอันเชื่อมต่อกันกับจุ ดศูนย์กลางซึ่ งเป็นส่วนที่ทา ให้ เ กิ ด เปลวไฟให้ แ สงสว่ า งเป็ น โทนสี ส องสี จ ากเทคนิ ค Ukiyo-e ส าหรั บ ตั ว แท่ ง คบเพลิ ง ผลิ ต โดยใช้ เ ทคนิ ค เดียวกันกับการผลิตรถไฟหัวกระสุน หรือ ชินคันเซน็ โดย ใช้ วัสดุอะลูมิเนียมที่ถูกทิง้ จากซากของบ้านพักชัว่ คราว ผู ้ประสบภัยพิบัติหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวสึนาสิครัง้ ใหญ่ เมื่ อ ปี 2011 สั ด ส่ ว น 30% ของวั ส ดุ ท่ี ใ ช้ ใ นการผลิ ต ทั ้ ง หมด ความหมายแฝงของการใช้ วั ส ดุ ดั ง กล่ า ว เปรียบเสมือนการชุ บชีวิตเพราะวัสดุเหล่านี้เคยได้ช่วยคน ในการสร้างชีวิตใหม่มาแล้ว
ไฟฟ้ าจากแหล่ ง พลั ง งานทดแทน 100% ในการจัดการแข่งขั นครัง้ นี้ ญี่ปุ่ นตัง้ เป้ า หมายการปล่อยมลพิ ษ ให้เป็น 0% จึงได้เน้นการใช้ ระบบไฟฟ้ าที่มาจากพลังงานทดแทนตลอด การจัดงาน ตัวอย่างเช่ น การใช้ พลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์ทัง้ ที่ สนามกีฬาและบ้านพักนักกีฬา และมุ ่งเน้นการใช้ สถานที่เดิมที่มีอยู ่แล้ว แทนการสร้างใหม่ด้วย การรีไซเคิลและใช้ ซ้ า ด้านอุ ปกรณ์ 99% ด้านขยะ 65% โอลิมปิ กครัง้ นีย้ ังมีอีกหนึ่งเป้ าหมาย คือ เน้นการ ใช้ ซ้ าและรีไซเคิลสิ่งของที่ใช้ ในการแข่งขัน 99% โดยการเช่ า อุ ปกรณ์และสิง่ ของสาหรับการแข่งขันให้มากที่สุด เพื่อลด การซื้ อ ใหม่ แ ละถู ก ทิ้ง ให้ เ สี ย เปล่ า ตลอดจนลดการใช้ พลาสติกแบบใช้ แล้วทิง้ พร้อมตัง้ เป้ าใช้ ซ้ าและรีไซเคิลขวด พลาสติก บรรจุ ภัณฑ์อาหาร และวัสดุท่ไี ม่ย่อยสลายอี่นๆ ที่จาเป็นต้องนามาใช้ ในระหว่างการแข่งขันให้ได้ถึง 65%
นอกจากที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น ญี่ ปุ่ นยั ง มี เ ป้ า หมาย ในการจัดงานภายใต้แนวคิดเพื่อความยัง่ ยืนอีกมากมาย เช่ น การรีไซเคิลนา้ และนา้ ฝน การรับบริจาคไม้สาหรับ นามาใช้ ในการก่อสร้าง Olympic Village การก่อสร้าง สนามแข่งขันโดยเน้นใช้ วัตถุดิบที่มีอยู ่แล้วหรือไม่ ใช้ แล้ว มารีไซเคิล การลดขยะอาหารเหลือ การลดการใช้ บรรจุ ภัณฑ์ อาหารที่เกินจาเป็น ทัง้ หมดที่กล่าวมาเน้นการใช้ วัตถุดิบ ธรรมชาติจากแหล่งยัง่ ยืนทัง้ สิน้ แนวคิ ด และการลงมื อ ท าทั ้ง หมดของญี่ ปุ่ นใน ฐานะเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิ กครัง้ นีส้ ่งผลให้ มหกรรมกีฬาระดับโลก “โตเกียว 2020” เป็นต้นแบบของ การจัดงานโอลิมปิ กที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด ในโลก และยั ง เป็ น การสะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความใส่ ใจต่ อ ผลกระทบที่ เ กิ ด จากฝี มื อ มนุ ษ ย์ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า ง จริ ง จั ง ซึ่ ง ประเทศที่ จ ะได้ รั บ เลื อ กให้ จั ด กี ฬ าโอลิ ม ปิ ก ในอีก 4 ปี ข้างหน้าและในครัง้ ต่อๆไปควรจะนามาใช้ เป็น แนวทางในการสร้างสรรค์นวัตกรรมรักษ์ โลกให้มากขึ้น อย่างยัง่ ยืน
ข้อมู ลจาก: http://www.dailynews.co.th/article/694125, http://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นร้อน/105890 ภาพจาก: https://board.postjung.com/1148563
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
ตีแผ่เทคนิค และกระบวนการจัดการโลจิสติกส์
Logistics Thailand
ยุค
4.0
วันอังคารที่ 17 มีนาคม 2563 โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ
9 icn
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29
สมัครใช้ บริการ eMT
ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online
ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พมิ พ์ใน ระบบ eMT Online
สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร
ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร
BOI Approve 30 วัน 7 วัน
30-60 วัน 7 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
เป็นเรื่อง ติดต่อ...
ยุงยาก
IC
สา ห รั บ คุ ณ
บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์
COUNTER ด้านเครื่องจักร
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 314-315
คุณ ศุ ทธิก านต์ กริชไกรวรรณ ผู ้ อานวยการศูน ย์บ ริก ารศุลกากร กรมศุลกากร
มาตรการด้านศุลกากร เพื่อสนับสนุนการจัดอันดับความยากง่าย ในการทาธุรกิจของประเทศไทย ตามที่กรมศุลกากรได้ประชาสัมพันธ์มาตรการด้าน ศุลกากรที่จะสนับสนุนการจัดอันดับความยากง่ายในการ ทาธุ รกิจของประเทศไทย 5 มาตรการ ฉบับนี้ ผู ้เขียนขอ นา 3 มาตรการที่น่าสนใจมานาเสนอเพื่อสร้างความเข้าใจ ในมาตรการดังกล่าวนะคะ 1. กระบวนการทางศุ ลกากรล่ วงหน้ าก่ อ นสิ นค้ า มาถึง (Pre – Arrival Processing: PAP) คือ กระบวนการ ทางเลือ กที่ ผู้นาของเข้ าสามารถยื่ นใบขนสินค้ าและชาระ ค่าภาษี อากรล่วงหน้าก่อนที่ยานพาหนะจะมาถึงประเทศไทย โดยอาศัยข้อมู ลจากบัญชีสินค้าที่บรรทุกมาในยานพาหนะ (Manifest) ที่ ผู้ ค วบคุ ม ยานพาหนะหรื อ ตั ว แทนที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากผู ้ ค วบคุ ม ยานพาหนะส่ ง เข้ า มาในระบบ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข องกรมศุ ล กากร (e-Manifest) ก่ อ น ยานพาหนะมาถึงประเทศไทยเป็นข้อมู ลล่วงหน้า รายงานบัญชีสินค้าที่บรรทุกในยานพาหนะล่วงหน้า สามารถดาเนินการได้ทัง้ ทางเรือ ทางอากาศ และทางบก ส่งผลให้การน าเข้าทัง้ สามรู ปแบบสามารถทาใบขนสินค้ า และช าระค่ า ภาษี อ ากรล่ ว งหน้ า ได้ ก่ อ นที่ สิ น ค้ า มาถึ ง ประเทศไทย
การมี ข้ อ มู ลบั ญ ชี สิ น ค้ า ล่ ว งหน้ า ท าให้ ผู้ น า ของเข้าสามารถยื่นใบขนสินค้าขาเข้าและชาระค่าภาษี ได้ ก่อนที่ยานพาหนะเข้ามาถึงประเทศไทย ช่ วยให้เจ้าหน้าที่ ศุลกากรมีข้อมู ลเพื่อประเมินความเสี่ยงด้านการศุลกากร สามารถวางแผนการตรวจสอบสิ น ค้ า ล่ ว งหน้ า ลดระยะเวลาต่างๆที่เกี่ยวกับการศุลกากรเมื่อสินค้ามาถึง เป็ นต้ น ว่ า ของที่ ไ ม่ มี ค วามเสี่ ย งด้ า นการศุ ล กากร ผู ้นาของเข้าสามารถรับของไปจากศุลกากรได้ทันทีเมื่อ ยานพาหนะมาถึงและมีการจัดการขนของลงพร้อมให้รับ ออกไป หรือหากเป็นของที่ประเมินว่ามีความเสี่ยงจะได้รับ การตรวจปล่ อ ยไปโดยเร็ ว เนื่ อ งจากมี ข้ อ มู ล ล่ ว งหน้ า สามารถวางแผนการตรวจได้ การดาเนินการดังกล่าว ส่ ง ผลต่ อ ผู ้ น าของเข้ า ในด้ า นการลดค่ า ใช้ จ่ า ยอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง สามารถน าสิ น ค้ า ไปใช้ ในธุ รกิ จ ได้ อ ย่ า ง รวดเร็ว เป็ นการอานวยความสะดวกต่อ ผู ้นาของเข้ า เป็นอย่างดี
11 icn
2. การชาระภาษี อากร ค่าธรรมเนียม รายได้อื่น หรือการวางประกัน ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bill Payment) คือ การที่ผู้ประกอบการใช้ เอกสารตามที่กรมศุลกากรกาหนด ซึ่ งมี QR Code หรือ Bar Code หรือเลขอ้างอิงตามที่ปรากฏใน เอกสารนัน้ ไปชาระเงินค่าภาษี อากร ณ เคาน์เตอร์ของธนาคาร หรือ Internet Banking หรื อ ATM หรือช่ องทางการ รับชาระเงินอื่นๆของธนาคาร หรือ ผ่านตัวแทนรับชาระเงินที่ทาความตกลงกับกรมศุลกากร ได้แก่ เคาน์เตอร์เซอร์วิสของ 7-11 และ บิก๊ ซี รวมไปถึง การชาระเงินค่าภาษี อากรพร้อมกับการส่งข้อมู ลใบขนสินค้า เพื่อตัดบัญชีธนาคารของผู ้นาของเข้า ผู ้ส่งของออก หรือตัวแทนออกของ ตามที่ได้ แจ้งชื่ อ "ธนาคารเพื่อการขอชาระภาษี อากร และ/หรือ ขอคืนเงินอากร" ไว้ในทะเบียนผู ้ผ่าน พิธีการศุลกากร (e-Payment) โดยไม่ต้อง นาเงินสดหรือแคชเชียร์ เชค็ มาชาระกับหน่วย การเงิ นของกรมศุ ลกากร สามารถจั ดพิ มพ์ ใบเสร็ จรั บเงิ นได้ ด้ วยตนเอง เรี ยกว่ า ใบเสร็จรับเงิน แบบ กศก.123 และในเวลา 5 ปี หากไม่ มี ก ารแก้ ไ ขข้ อ มู ลในใบเสร็ จ รั บ เงิ น ผู ้ประกอบการสามารถพิมพ์ก่ี ครั ้งก็ ได้ และไม่ จ ากั ดจ านวน ทั ้งนี้ ใบเสร็ จรั บเงิ นนั ้นเป็ นที่ ยอมรับสามารถนาไปใช้ กับหน่วยงานของรัฐที่ เกี่ยวข้องได้
icn
12
3. การไม่ต้องใช้ สาเนาใบขนสินค้าในกระบวนการทางศุลกากร (No Customs Declaration Copy) คือ การที่ ผู ้ประกอบการไม่ต้องจัดทาสาเนาใบขนสินค้ามายื่นเพื่อเป็นเอกสารประกอบการดาเนินกระบวนการทางศุลกากรใดๆกับ เจ้าหน้าที่ศุลกากร เนื่องจาก กรมศุลกากรได้นาระบบพิธีการศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ (e-Customs) ผู ้นาของเข้า หรือ ผู ้ส่งของออก หรือ ตัวแทนออกของ มีการจัดทาใบขนสินค้าโดยบันทึกข้อมู ลต่างๆตามรู ปแบบที่กรมศุลกากร กาหนดและส่งข้อมู ลนัน้ เข้าสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ เจ้าหน้าที่ศุลกากรสามารถเรียกข้อมู ลต่างๆมาใช้ ในการดาเนินการ ในขัน้ ตอนต่างๆของศุลกากรได้ ดังนัน้ เพื่ออานวยความสะดวกและลดภาระของผู ้ประกอบการ กรมศุลกากรจึงออก ประกาศให้ผู้ประกอบการไม่ต้องจัดพิมพ์ใบขนสินค้าในรู ปแบบกระดาษมายื่นกับเจ้าหน้าที่ศุลกากรในการมาติดต่องาน กับกรมศุลกากร ภาพจาก: http://www.wyncoast.com/?page=custom http://ccc.customs.go.th/list_strc_faq.php?ini_content=interesting_article&order_by=co_last_update_datetime&sort_ type=0&lang=th&top_menu=menu_homepage&left_menu=interesting_article
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
การนาเข้า-ส่งออก และสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
ภายใต้กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ (e-Import – e-Export & e-Tax Incentive) ลงทะเบี ย น
ออนไลน์
วันเสาร์ที่ 14 และอาทิต ย์ที่ 15 มีนาคม 2563 โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ
13 icn
International Commercial Terms
Incoterms® 2020 คุณวัชระ ปิ ยะพงษ์ ที่ปรึกษาองค์กรเอกชนชัน้ นาด้านการนาเข้าและส่งออก
สภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce = ICC) ได้ปรับปรุ ง Incoterms®2010 ที่สากลได้ใช้ มาแล้วครบ 10 ปี (ค.ศ.2010-2019) มาเป็น Incoterms®2020 มีผลบังคับใช้ ตัง้ แต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2563 (ค.ศ.2020) หลักในการปรับปรุ ง Incoterms®2010 เป็น Incoterms®2020 ICC ได้ดาเนินการโดยนา 10 เทอมเดิมมาจาก Incoterms®2010 คือ • EXW (Insert named Place of Delivery) • DAP (Insert named Place of Destination) • FCA (Insert named Place of Delivery) • DDP (Insert named Place of Destination) เพิ่มเติมต้องมี Bill of Lading มี On-board • FAS (Insert named Port of Shipment) Notation • FOB (Insert named Port of Shipment) • CPT (Insert named Place of Destination) • CFR (Insert named Port of Destination) • CIP (Insert named Place of Destination) • CIF (Insert named Port of Destination) แล้ ว เพิ่ ม เทอมใหม่ อี ก 1 เทอม คื อ DPU (Delivered at Place Unloaded) มาแทน DAT (Delivered at Terminal) ที่ยกเลิก ดังนัน้ Incoterms®2020 จึงมีทงั ้ หมด 11 เทอม จัดแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม โดยแบ่งตามวิธีการขนส่ง อันได้แก่ การขนส่งทางนา้ การขนส่งทางบก และ การขนส่งทางอากาศ ประกอบด้วย กลุ่มที่ 1 : Rules for Any Mode or Modes of Transport มี 7 เทอม ซึ่ งวิธีการขนส่งจะเป็นทางใด ก็ไ ด้ ได้แ ก่ |EXW|FCA|CPT|CIP|DAP| DPU|DDP|
กลุ่มที่ 2 : Rules for Sea and Inland Waterway of Transport มี 4 เ ท อ ม ซึ่ ง วิ ธี ก า ร ข น ส่ ง เ ป็ น การ ข น ส่ ง ทา งน ้ า เ ท่ า นั ้ น ไ ด้ แ ก่ |FAS|FOB|CFR|CIF| ภาพจาก: https://www.mathezfreight.com/en/practical/tools/ incoterms-2020/
19 icn
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน
เตรียมเอกสารกาหนด วันนาเข้าครัง้ แรก / ขอรับ Username และ Password ระบบ IC Online (ภายใน 1 วันทาการ)
ตามมาตรา 36 (1), (2)
คีย์บัญชีรายการ วัตถุดบิ / เตรียม เอกสารการลงทะเบียน เข้าสู่ระบบ RMTS สมัครใช้ บริการ RMTS
ขออนุมัติ บัญชีรายการ วัตถุดบิ กับ BOI
คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดบิ คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต
คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดบิ
ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน
BOI Approve
30 วัน 7 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
ทาให้คุณ ติดต่อ...
IC
สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์
COUNTER ด้านวัตถุดิบ
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 310, 313
ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน
สมาร์ทได้ทุกพื้นที่ ด้วยวิถีดิจิทัลและดาต้า (1)
จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com
ช่ วง 2-3 ปี ที่ผ่านมานี้ ผู ้เขียนได้มีโอกาสเดินสาย บรรยายทัง้ แบบทัว่ ไป (Public Training) และแบบเฉพาะเจาะจง ให้กับองค์กรต่างๆเป็นการภายใน (In-house Training) รวมถึง การให้คาปรึกษาแนะนา (Consulting Service) ในโครงการ ต่างๆให้กับหน่วยงานภาครัฐในการเข้าไปส่งเสริม สนับสนุน และยกระดั บวิ ส าหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่ อม (SMEs) ของไทยให้ตื่นตัวพร้อมเปิ ดรับเอาวิทยาการความก้าวหน้า ใหม่ๆไปใช้ ในการประกอบธุ รกิจเพื่อให้ทันกับยุ คสมัยและการ แข่งขันที่เปลี่ยนรูปแปลงร่างต่างออกไปจากยุ คเดิม การท าธุ รกิ จ ในยุ คปั จ จุ บั น จะเห็ น ได้ ว่ า แม้ แ ต่ บ ริ ษั ท ขนาดใหญ่ บริษัทข้ามชาติ และบริษัทชัน้ นา ต่างก็ใช้ โอกาส จากแนวโน้มโลกและความต้องการของตลาดที่เปลี่ยนไปมา ปรั บ แนวคิด และยุ ทธศาสตร์ ท างธุ รกิจ ใหม่ โดยพร้อ มทิ ้ง รูปแบบการดาเนินธุ รกิจและระบบการทางานแบบเดิมเพื่อให้ สอดคล้องกับแนวคิดใหม่และเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพราะต่าง ก็รู้ดีว่าถ้าไม่หนี ไม่ขยับ โดน Disrupt แน่นอน และหากหนี หรือขยับยิง่ ช้าก็จะยิง่ ยากและยิง่ แย่ เมื่อย้อนกลับไปในยุ คที่คอมพิวเตอร์ยังมีขนาดใหญ่ เท่าห้องทาหน้าที่เป็นหน่วยประมวลผลกลางเพื่อเชื่ อมต่อ เฉพาะหน้าจอและคีย์บอร์ดให้คนจานวนมากสามารถใช้ งาน ได้ พ ร้ อ มๆกั น จนพั ฒ นามาสู่ ค อมพิ ว เตอร์ ส่ ว นบุ คคล (Personal Computer หรือ PC) ที่มีขนาดพอเหมาะสาหรับ ตัง้ บนโต๊ะทางานของแต่ละคนและสามารถใช้ งานได้โดยอิสระ (Stand Alone) แต่ยังสามารถเชื่อมโยงการทางานของแต่ละคน เข้าด้วยกันได้ไม่ต่างจาก Mini-Computer หรือ Mainframe Computer ในอดีตผ่านโครงข่ายภายในสถานที่เฉพาะ (Local Area Network – LAN) จนมาถึงยุ คที่การทางานนอกสถานที่ และการเดินทางไปในที่ต่างๆมีมากขึน้ ความต้องการใช้ งาน คอมพิ ว เตอร์ แ บบพกพาเพื่ อ ให้ ส ะดวกกั บ รู ป แบบการ ท างานที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปท าให้ เ กิ ด นวั ต กรรม Laptop Computer หรือที่นิยมเรียกกันว่า Notebook Computer เพราะมันเข้ามาแทนที่สมุ ดบันทึก (Notebook) ที่เราพกพา ไว้สาหรับจดบันทึกข้อมู ลต่างๆนัน่ เอง icn 16
2 คู่หู Steve Jobs และ Steve Wozniak ผู ้ก่อตัง้ บริษัท แอปเปิ ล คอมพิวเตอร์ (Apple Computer Inc.) ที่ห ลายคนอาจคุ้ นชิ น กับ ภาพจาที่ว่ าทั ง้ คู่ ใช้ โรงรถเป็ น ที่ คิดค้นนวัตกรรมและบ่มเพาะธุ รกิจใหม่ ถือได้ว่าเป็น Tech Startup ในยุ ค 70 ที่สามารถสร้างความประทับใจให้กับ ผู ้ใช้ งาน Notebook Computer ด้วยการผลิตและวางขาย สิน ค้ า ที่ มี รู ป ลั ก ษณ์ ส วยงามแปลกตาและชวนหลงใหลที่ ผ่านการออกแบบมาโดยเฉพาะ หากแต่ในเชิ งการแข่งขัน ทางธุ รกิจการค้ากลับไม่ประสบความสาเร็จเท่ากับบริษัท Microsoft ที่ก่อตัง้ โดย Bill Gates และ Paul Allen ทัง้ ที่ต่างก็ เป็นบริษัทชัน้ นาในธุ รกิจคอมพิวเตอร์ทัง้ คู่ ความแตกต่าง ระหว่างแบบจาลองธุ รกิจ (Business Model) ของ Apple Computer Inc. และ Microsoft คือ Apple Computer Inc. ผลิตทัง้ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่มีระบบปฏิบัติการ (Mac Operating System) เป็นของตัวเอง ส่งผลให้การ ทาตลาดจึงเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและมีข้อจากัดค่อนข้างมาก อั น เนื่ อ งมาจากการขาดพั น ธมิ ต รทางธุ รกิ จ ในขณะที่ Microsoft เลื อ กที่ จะ ท าระ บบปฏิ บั ติ กา ร ( Windows Operating System) และซอฟต์ แ วร์ ที่ มุ่ ง เน้ น ไปที่ ก าร ทางานประจาวันในสานักงานต่างๆ (Microsoft Office) เท่ า นั ้น โดยเปิ ดโอกาสให้ บ ริ ษั ท คอมพิ ว เตอร์ ผู้ ผ ลิ ต ฮาร์ ด แวร์ ม ากมายหลายยี่ ห้ อ แข่ ง ขั น กั น ท าตลาด และ นั ก พั ฒ นาโปรแกรมจากบริ ษั ท ต่ า งๆสามารถจะผลิ ต ซอฟต์ แ วร์ ได้ อ ย่ า งกว้ า งขวางบนระบบปฏิ บั ติ ก าร Windows
จุ ดเปลี่ยนสาคัญของการปฏิวัติอุตสาหกรรมสู่ยุคที่ เรียกว่า Industry 4.0 เริ่มส่งสัญญาณขึน้ มาในช่ วงเริ่มต้น ศตวรรษที่ 21 หรือ ค.ศ. 2000 ด้วยความก้าวลา้ นาหน้า ของเทคโนโลยี จ ากยุ คคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology) หรื อ ที่ เ ราคุ้ น หู กั น ว่ า ICT มาสู่ ยุ คดิ จิ ทั ล (Digital) และข้ อ มู ล ( Data) เมื่ อ การด าเนิ น การต่ า งๆ ไม่จาเป็นจะต้องผ่านคอมพิวเตอร์อีกต่อไป หากแต่สามารถ ด าเนิ น การผ่ า นเครื่ อ งมื อ อุ ปกรณ์ ใดๆก็ ไ ด้ ที่ มี ว งจร อิเล็กทรอนิกส์ฝังไว้ในตัว (Embedded System) ในประเทศ ไทยเรียกว่า “สมองกลฝั งตัว” ทาหน้าที่ควบคุม สัง่ การ เชื่อมโยง เก็บข้อมู ลสถานะ และอื่นๆ ขึน้ อยู ่กับการออกแบบ และการติดตัง้ ชุ ดคาสัง่ (Program) ไว้ภายใน รวมเรียก อุ ปกรณ์ต่างๆเหล่านีว้ ่า Digital Devices และเมื่อ Digital Devices ถูกติดตัง้ ไว้ในทุกสถานที่ ทาให้เราสามารถอ่านค่า และเก็บสถานะต่างๆในรู ปแบบของข้อมู ลผ่านอุ ปกรณ์ชนิด หนึ่งซึ่ งสามารถแปลงค่าเหล่านัน้ จาก Physical Data ให้ กลายเป็น Digital Data และเชื่อมโยงถึงกันแบบไร้สาย (Wireless) ไม่ ว่ า ข้ อ มู ล นั น้ จะอยู ่ ใ นรู ป แบบของภาพ เสี ย ง ตั ว อั ก ษร หรือสถานะทางกายภาพต่างๆรอบตัวที่เรารับรู้กันในทาง วิทยาศาสตร์ทงั ้ เคมี ฟิ สิกส์ และชีววิทยา
ภาพจาก : http://www.siamsignage.com/products/digital-content/ https://darbotechub.com/2017/06/08/how-to-speed-up-windowsoperating-system-and-fix-a-slow-pc/ https://www.kindpng.com/imgv/hRimhii_mobile-appdevelopment-social-media-marketing-vector-png/
FAQ 108
Apple Computer Inc. สามารถกลับมาช่ วงชิ ง ความเป็นผู ้นาด้านธุ รกิจในยุ ค Industry 4.0 ด้วยวิสัยทัศน์ ที่ กว้ างไกลขึ้นกว่ ายุ คสมั ยของคอมพิ วเตอร์ ซ่ึ งได้ สิ ้นสุ ด ลงไปแล้ว การขยับตัวจาก Computer Business สู่ Communication, Content and Lifestyle Business ส่งผลให้ Apple ประสบความสาเร็จด้านการดาเนินธุ รกิจ ในโลกยุ คใหม่ ได้อย่างน่าทึ่ง ในขณะที่คาว่า Disruption กลายเป็นคาที่น่ากลัวมากสาหรับบริษัทยักษ์ ใหญ่ที่ครอง ส่วนแบ่งการตลาดมาอย่างยาวนานและผู กขาดความเป็น ผู ้ น ามาหลายทศวรรษ ดั ง จะเห็ น ตั ว อย่ า งได้ จ ากการ ล้มหายตายจากไปของ Kodak บริษัทสัญชาติอเมริกันที่ ด าเนิ น ธุ รกิ จ เกี่ ย วกั บ การจั ด จ าหน่ า ยอุ ปกรณ์ วั ส ดุ เคมี ภั ณ ฑ์ และบริ ก ารเกี่ ย วกั บ การถ่ า ยภาพ พร้ อ มกั บ ความล่มสลายของอุ ตสาหกรรมกล้องฟิ ล์มสู่มิติใหม่ของ อุ ตสาหกรรมกล้ อ งดิ จิ ทั ล ไม่ ต่ า งจากการสิ ้น ชื่ อ ของ Nokia ผู ้นาตลาดโทรศัพท์พกพาในยุ คแรก ต่างจาก Apple Computer Inc. ที่ผู้นาองค์กรอย่าง Steve Jobs สามารถ ท า ค วา ม เข้ า ใจ ก า รด า เนิ น ธุ ร กิ จ ใน ส ถา น กา ร ณ์ ที่ เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างชัดเจนจากการเปิ ดตัว iPod ตามมา ด้วย iPhone ส่งผลให้ Apple Store กลายมาเป็นตลาด ซื้อขายแอปพลิเคชัน (Application) และ iTune คือตลาด ภาพและเสียงออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในยุ คหนึ่ง ผลจากการเปลี่ ย นแปลงกลยุ ทธ์ ท างธุ รกิ จ ของ Apple Computer Inc. จนสามารถผงาดขึน้ มาเป็นผู ้นา และเป็ น องค์ ก รนวั ต กรรมอั น ดั บ ต้ น ๆของโลก ส่ ง ผลให้ Apple ปรับแนวคิดในการดาเนินธุ รกิจจากการขายสินค้า ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เป็นธุ รกิจแพลทฟอร์ม ดิจิทัล คอนเทนท์และการใช้ ชีวิตประจาวันแบบใหม่ และเปลี่ยนชื่ อ บริษัทเป็น Apple Inc. โดยตัดคาว่า Computer ออกจาก ชื่อบริษัท แนวโน้มต่อไปของธุ รกิจ ยุ คเทคโนโลยีดิจิทัล กาลั ง มุ ่งสู่อุปกรณ์พกพาขนาดเล็ก ไร้สาย ที่สามารถเชื่ อมต่อ สื่อ สารกั น ได้ ห มด แล้ ว ผลที่ ไ ด้ จ ากการเปลี่ ย นแปลงการ ด าเนิ น ธุ รกิ จ โดยใช้ เ ทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล นั ้น จะเป็ นอย่ า งไร องค์กรต่างๆจะได้รับประโยชน์ในด้านใดบ้าง ติดตามกันใน ICN ฉบับหน้า
คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น
17 i c n
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
Public Training
พ.ร.บ. “Transfer Pricing” การเตรียมความพร้อมและการป้องกันกรณีถูกตรวจสอบ <<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดสัมมนา หัวข้อ “พ.ร.บ. Transfer Pricing การเตรียมความพร้อมและการป้ องกันกรณีถูกตรวจสอบ” เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก คุณเมธี แสงมณี ผู ้สอบบัญชี รั บ อนุ ญ าต และผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นบั ญ ชี แ ละภาษี อ ากร เป็ น วิ ท ย า ก ร บ ร ร ย า ย หั ว ข้ อ ก า ร สั ม ม น า ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย พระราชบั ญ ญั ติ “มาตรการป้ องกั น การก าหนดราคาโอน ระหว่างบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน (Transfer Pricing)” การเตรีย มความพร้อมของกิจการก่อ น และหลั ง การประกาศใช้ ก ฎหมาย (พ.ร.บ. Transfer Pricing) ความสั มพั น ธ์ ข อง Transfer Pricing กั บ บทบั ญ ญั ติ ต าม ประมวลที่ เ กี่ ย วข้ อ ง (มาตรา 65 ทวิ (4) มาตรา 71 ทวิ มาตรา 70 ตรี และ ป.113/2545) ประเด็ นที่ ก รมสรรพากร ตรวจสอบเกี่ ย วกั บ รายการ Transfer Pricing กรณี ศึ ก ษา กรณี ที่ ส รรพากรมองว่ า เป็ น การ Transfer Pricing ระหว่ าง บริษัท วิธีปฏิบัติและหลักเกณฑ์ ในการบันทึกบัญชีระหว่างกลุ่ม บริษัทที่มีความสัมพันธ์กัน ปั ญหาการบันทึกบัญชี ระหว่างกลุ่ม บริษัทที่มีความสัมพันธ์กัน และคาพิพากษาฎีกา ข้อหารือภาษี อากรและคาวินิจฉัยกรมสรรพากร เป็นต้น
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
การจัดเตรียมเอกสาร
เพื่อการค้าระหว่างประเทศ ® และ INCOTERMS 2020 วันพุธที่ 11 มีนาคม 2563 ณ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ icn 18
ลงทะเบียน
ออนไลน์
ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ
@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ
Add friends
IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย
ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !
การเชื่อมโยง การใช้สิทธิประโยชน์ ด้าน วัตถุดิบ วัสดุจาเป็น
และผลิตภัณฑ์ ในประเทศ
ตามกฎหมายศุลกากร ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th
กฎหมายศุลกากรที่เกี่ยวกับการโอนย้ายในประเทศ • มาตรา 31 การโอนของที่ ไ ด้ จ ากการผลิ ต ผสม ประกอบ บรรจุ หรื อ ดํ า เนิ น การด้ ว ยวิ ธี อื่ น ใด ตาม มาตรา 29 เข้ าไปในคลั งสินค้ าทัณฑ์ บนหรือจํา หน่า ย ให้ แ ก่ผู้ มี สิ ทธิ ไ ด้รั บ ยกเว้ นอากรตามกฎหมายว่า ด้ ว ย พิกัดอัตราศุลกากรหรือกฎหมายอื่น ให้ถือว่าเป็นการ ส่งของออกไปนอกราชอาณาจักร และเป็นการส่งของ ออกสําเร็จในเวลาที่โอนหรือจําหน่ายของนัน้ ทัง้ นี้ ให้ นําบทบัญญัติมาตรา 29 และมาตรา 30 มาใช้ บังคับ กับการคืนอากรหรือประกันอย่างอื่นแก่ผู้นําของเข้าโดย อนุโลม การรับของที่ได้โอนหรือจําหน่าย ให้ถือว่าเป็น การนําเข้ามาในราชอาณาจักรนับแต่เวลาที่ได้โอนหรือ จําหน่ายของนัน้ • มาตรา 126 ให้ ย กเว้ น การเก็ บ อากรขาเข้ า และอากร ขาออกแก่ของที่ปล่อยออกไปจากคลังสินค้าทัณฑ์บน เพื่อส่ง ออกนอกราชอาณาจัก ร ทัง้ นี้ ไม่ว่า จะปล่อ ย ออกไปในสภาพเดิมที่นําเข้าหรือในสภาพอื่น การปล่อย ของออกไปจากคลังสินค้าทัณฑ์บน หากเป็นการโอนเข้า ไปในคลั ง สิ น ค้ า ทั ณ ฑ์ บ นอื่ น หรื อ จํ า หน่ า ยให้แ ก่ ผู้ นํ า ของเข้าตามมาตรา 29 หรือผู ้มีสิทธิได้รับยกเว้นอากร ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากรหรือกฎหมาย อื่น ให้ ถือว่า เป็นการส่งออกไปนอกราชอาณาจักรใน เวลาที่ปล่อยของเช่ นว่านัน้ ออกไปจากคลังสินค้าทัณฑ์ บน การรับของที่ได้โอนหรือจําหน่าย ให้ถือว่าเป็นการ นําเข้ามาในราชอาณาจั กรหรือ นําเข้าสํ าเร็จในเวลาที่ ปล่อยของเช่ นว่านัน้ ออกไปจากคลังสินค้าทัณฑ์บน
icn 20
• มาตรา 127 ในกรณีท่ีของใดมีกฎหมายบัญญัติ ให้ ไ ด้ รั บ การยกเว้ น หรื อคื น อากรเมื่อ ส่ ง ออกไป นอกราชอาณาจั ก ร หากนํ า ของนั ้น เข้ า ไปใน คลังสินค้าทัณฑ์บนตามมาตรา 116 (2) (คลังสินค้า ทัณฑ์บนแสดงและขาย) หรือ (3) (คลังสินค้า ทัณ ฑ์ บ นผลิ ต ผสม ประกอบฯ) ให้ ไ ด้ รั บ การ ยกเว้นหรือคืนอากร โดยถือว่าของนัน้ ได้ส่งออก นอกราชอาณาจักรในเวลาที่ได้นําของเช่ นว่านัน้ เข้าไปในคลังสินค้าทัณฑ์บน • มาตรา 153 ในกรณีท่ีมีกฎหมายบัญญัติให้ของ ใดได้รับยกเว้นหรือคืน อากรเมื่อส่งออกไปนอก ราชอาณาจักร หากนําของนัน้ เข้าไปในเขตปลอดอากร ให้ได้รับยกเว้นหรือคืนอากร โดยให้ถือว่าของนัน้ ได้ส่งออกไปนอกราชอาณาจักรในเวลาที่ได้นํ า ของเช่ นว่านัน้ เข้าไปในเขตปลอดอากร (กฎหมาย การนิ ค มฯว่ า ด้ ว ยเขตประกอบการเสรี เ ขี ย น ทํานองเดียวกัน) • มาตรา 155 การนําของออกจากเขตปลอดอากร เพื่อใช้ หรือจําหน่ายภายในราชอาณาจักร หรือ เพื่ อ โอนเข้ า ไปในคลั ง สิ น ค้ า ทั ณ ฑ์ บ น หรื อ จําหน่ายให้แก่ผู้นําของเข้าตามมาตรา 29 หรือ ผู ้มีสิทธิ ได้รับยกเว้นอากรตามกฎหมายว่าด้วย พิกัดอัตราศุ ลกากรหรื อกฎหมายอื่ น ให้ถือว่ า เป็นการนํ าเข้ ามาในราชอาณาจักรและเป็ นการ นําเข้าสําเร็จในเวลาที่นําของเช่ นว่านัน้ ออกจาก เขตปลอดอากร
• การใช้ อํ านาจรั ฐมนตรี ว่า การกระทรวงการคลังโดย ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีตามมาตรา 12 ให้โอน ของจากบริ ษั ท ที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น (BOI) ไปคลังสินค้าทัณฑ์บน โรงผลิตฯ และการโอนของจาก คลังสินค้าทัณฑ์ โรงผลิตฯ ไปบริษัทที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุน (BOI) การเชื่อมโยงสิทธิประโยชน์ ในประเทศตามกฎหมายศุลกากร 1. การคืนอากรตามมาตรา 29 กับ บริษัทที่ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุน (BOI) 2. การเชื่อมโยงสิทธิประโยชน์ตามมาตรา 31 กฎหมายใหม่ 3. การเชื่ อ มโยงสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ค ลั ง สิ น ค้า ทั ณ ฑ์ บ นตาม กฎหมายศุ ล กากร กั บ บริ ษั ท ที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุน (BOI) ตามมาตรา 126 มาตรา 127 ตาม กฎหมายศุ ล กากรและ มาตรา 12 พระราชกํ า หนด พิกัดอัตราศุลกากร 4. การเชื่ อ มโยงสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ร ะหว่ า งบริ ษั ท ที่ ไ ด้ รั บ การส่งเสริมการลงทุน (BOI) กับ เขตปลอดอากรและ เขตประกอบการเสรี
ผู ้ ส นใจศึ ก ษาข้ อ มู ลรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม สามารถสมัครเข้าร่วมสัมมนาหัวข้อ “จัดเต็มประเด็น สําคัญ!! การใช้ สิทธิประโยชน์การนําเข้า – ส่งออกและ พิธีก ารศุล กากร สํา หรับ กิจ การที่ไ ด้รับ การส่ง เสริม การลงทุน จาก BOI” จัดโดยสมาคมสโมสรนักลงทุน ในวันเสาร์ท่ี 25 เมษายน พ.ศ. 2563 เวลา 09.00 17.00 น. ณ โรงแรม แกรนด์ สุ ขุ ม วิ ท กรุ ง เทพฯ (ถนนสุ ขุ มวิ ท ซอย 6) โดยลงทะเบี ย นออนไลน์ เพื่อสํารองที่นั่งได้ท่ี http://icis.ic.or.th หากต้องการ สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติม กรุ ณาติดต่อ คุณกาญจนา แผนกฝึ กอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 206
ที่มา: http://www.customs.go.th/data_files/ceb80cc6dd718c73b5a44 daf60a1efe3.PDF
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
จัดเต็มประเด็นสาคัญ!!
การใช้สิทธิประโยชน์การนาเข้า – ส่งออก
และพิธก ี ารศุลกากร สาหรับกิจการทีไ่ ด้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI
วันเสาร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2563 เวลา 09.00 -17.00 น. ณ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) 21 icn
ยับยั้ง(ชั่งใจ) เพื่ อ ความสาเร็ จ ที่ ยิ่ ง ใหญ่
เส้าหลิน
ของอร่ อ ยต้ อ งรอนาน อยากได้ ส าวงามต้ อ ง อดทน (รอจนกว่าเธอจะใจอ่อน) เวลาที่เราอยากได้สิ่งใดสักอย่าง ไม่ว่าจะเป็นบ้าน รถยนต์ กระเป๋ าแบรนด์ แ นมสั ก ใบ แหวนเพชรสั ก วง ก็ต้ องใช้ เวลาในการเก็บ หอมรอมริบ หรือ รอให้ได้ โบนั ส ปลายปี เพื่ อ น าเงิ น มาซื้ อ สิ่ ง ของเหล่ า นั ้น หรื อ แม้ แ ต่ ถ้ า อย ากรั บ ประทานอาหารในร้ า นอาหารชื่ อดั ง บรรยากาศหรู ราคาแพง ก็ต้องไปรอต่อคิว ไม่ว่านาน แค่ ไหนก็ยอม เพื่อให้ได้ถ่ายรูปลง Facebook สักหน่อย เป็นอันว่าภารกิจสาเร็จ การกระท าบางอย่ า งในบางสภาวการณ์ ต้ อ งให้ เวลา เพราะผลสาเร็จไม่อาจเป็นไปได้ดั่งใจภายในวันสองวัน เช่ นเดียวกับนักวิ่ง นักแข่งรถ นักธุ รกิจพันล้าน ที่ต้อง ฝึ กฝนซ้ าๆ และรอคอยเวลาที่เหมาะสม ยั บ ยั ้ ง (ชั่ ง ใจ) เกี่ ย วอะไรกั บ ความสาเร็ จ ? สุ ภ า ษิ ตไ ท ย ที่ ว่ า “ อดเป รี้ ย ว ไว้ กิ น หว าน” ความหมายตามพจนานุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน ให้ ค าอธิ บ ายไว้ ว่ า “อดใจไว้ ก่ อ นเพราะหวั ง สิ่ ง ที่ ดี ก ว่ า ข้างหน้า หมายถึง รู้จักรอคอยเพื่อผลที่ดีกว่านั่นเอง” เช่ นเดี ย วกั บ ทฤษฎี ม าร์ ช แมลโลว์ (Marshmallow Theory) ของวอลเตอร์ มิ เ ชลล์ (Walter Mischel) นักจิตวิทยาจากสแตนฟอร์ด ที่เชื่ อว่าความยับยัง้ ชัง่ ใจ จะเป็นปั จจัยนาพาความสาเร็จมาในชีวิต ซึ่ งเป็นผลลัพธ์ ที่ได้มาจากการทาการทดลองที่เรียกว่า “Marshmallow Test”
icn 22
Marshmallow Test เกิดขึน้ ในช่ วงทศวรรษ 1960 หรือประมาณ 50 ปี มาแล้วที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด โดยคั ดเลือ กเด็กวัย ก่อ นอนุบ าลที่โ รงเรี ยนเด็ กเล็กของ มหาวิทยาลัยเป็นกลุ่มทดลอง เด็กๆที่เข้ารับการทดสอบ จะได้รับโอกาสให้เลือกว่าจะรับรางวัล มาร์ชแมลโลว์ 1 ชิน้ ทันที หรือจะรอไม่เกิน 20 นาทีเพื่อรับมาร์ชแมลโลว์ 2 ชิ้น ซึ่ ง เป็ น รางวั ล ที่ ใ หญ่ ขึ้ น และเด็ ก ๆยั ง มี โ อกาสเลื อ กว่ า เขาอยากได้อะไรเป็นรางวัลมากที่สุด เช่ น คุกกี้ เพรตเซล หรือลูกอม เป็นต้น ผลของการทดลองที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ เด็ ก ส่ ว นใหญ่ ไม่ ส ามารถรอเวลาเพื่ อ ที่ จ ะรั บ ประทานมาร์ ชแมลโลว์ 2 ชิ้นได้ เด็กบางคนนัน้ นักวิจัยยังไม่ทันก้าวพ้นประตูก็ กดกริ่ ง แล้ วเพราะต้ อ งการรั บประทานขนมหวานทั น ที ความพยายามของเด็กบางคนที่จะอดกลัน้ และวิธีการที่ เด็กแต่ละคนใช้ ในการ “สะกดใจ” ตนเองไม่ ให้กดกริ่งเพื่อ ขอรับประทานมาร์ชแมลโลว์ทันทีนั ้นมีหลากหลายมาก พวกเขาแสดงออกผ่านทางอาการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการ ปิ ดตา การเอนตัวไปข้างหลัง การเบือนหน้าหนี หรือการ กอดอก รวมถึง การจินตนาการว่ ามาร์ชแมลโลว์นั น้ เหมือนปุ ยเมฆที่ “กินไม่ ได้” เป็นต้น สิ่งที่เด็กเล็กอายุ แค่ 4-5 ขวบทาในขณะที่พวกเขา รอและวิธีการที่พวกเขาใช้ ในการจัดการโดยที่ไม่คาดคิด ได้กลายมาเป็นสิง่ ที่กาหนดหรือพยากรณ์ชีวิตในอนาคต ของพวกเขา ระยะเวลาแต่ ล ะนาที ท่ี พ วกเขารอได้ นั ้น สะท้อนออกมาเป็นคะแนนสอบ SAT ที่สูงขึ้น ซึ่ งคะแนน ดังกล่าวมหาวิทยาลัยใช้ ในการรับเด็กสอบเข้าเพื่อศึ กษาต่อ จ านวนวิ น าที ใ นการรอที่ ม ากขึ้ น สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความสามารถในการเข้าสังคมและการเรียนรู้เรื่องต่างๆ ที่ ดี ขึ้ น เมื่ อ พวกเขาเติ บ โตเป็ น ผู ้ ใ หญ่ ช่ วงอายุ ระหว่ า ง 27-32 ปี
ผลจากการติดตามเด็กกลุ่มที่เข้ารับการทดสอบ นั ก วิ จั ย พบว่ า เด็ ก ที่ ส ามารถรอได้ น านกว่ า จะมี ดั ช นี มวลกายที่ดีกว่า นอกจากนี้พวกเขายังมีความรู้สึกที่ดี กั บ ตนเองมากกว่ า และสามารถปรั บ ตั ว เพื่ อ รั บ กั บ ความเครียดต่างๆในชีวิตได้ดีกว่า จากการสแกนสมอง ของพวกเขาพบว่ามีความแตกต่างอย่างชัดเจนในส่วน ของสมองที่เกี่ยวข้องกับการ “ติด” สิ่งต่างๆและความอ้วน สาหรับคนที่ได้คะแนนการทดสอบต่างกัน
จากทฤษฎี Marshmallow ถึงแม้จะเป็นการ ทดสอบกับเด็กเล็ก แต่ก็สามารถสะท้อนให้เห็นแง่คิดที่ว่า ถ้ า เราในฐานะที่ เ ป็ น ผู ้ ใ หญ่ ส ามารถยั บ ยั ้ง ตนเองได้ ดี ย่อมส่งผลให้เกิดการควบคุมอารมณ์ สามารถแยกแยะ ผิดชอบ มีการวางแผน มีระเบียบวินัย ซึ่ งนิสัยพืน้ ฐาน ดังกล่าวสาหรับคนในยุ คปั จจุ บันกาลังถูกความรวดเร็ว ของยุ คเทคโนโลยีกลืนกิน ที่นอกจากจะทาให้เกิดโอกาส เสี่ ย งสู ง ในการมี ป ากมี เ สี ย งกั บ เพื่ อ นร่ ว มงานหรื อ คนรอบข้ า งได้ ง่ า ยแล้ ว โอกาสในการท างานให้สาเร็ จ ลุล่ ว งไปได้ด้ ว ยดี ก็ยิ่ งน้ อ ยลง นี่คื อ ความเกี่ ย วข้ อ งกั น ระหว่างความยับยัง้ (ชัง่ ใจ) และความสาเร็จ ดังนัน้ หากเรา ต้องการความสาเร็จในชีวิตควรเริ่มจากการยับยัง้ ที่ดีดังนี้
o เรียนรู้ท่ีจะอยู ่กับเวลา ไม่จาเป็นว่าจะต้องสละ เวลาทัง้ หมดของตัวเองเพื่อทาตามเป้ าหมาย ที่ตงั ้ ไว้ เพราะการบริหารเวลาที่ชาญฉลาดนัน้ จะต้ อ งรวมถึ ง การที่ ไ ด้ มี เ วลาให้ ตั ว เองได้ พักด้วย o ตระหนั ก ว่ า …บางครั ้ง การอยู ่ นิ่ ง ๆก็ ไ ม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ เ ล ว ร้ า ย การ หยุ ดพั ก เติ ม พ ลั ง นั ้ น เป็ น สิ่งสาคัญที่จะช่ วยให้เรานัน้ กลับมาด้วยพลังที่ เต็มเปี่ ยมกว่าสองเท่า o ยินดีกับสิ่งที่ตัวเองมีอยู ่ จะช่ วยทาให้มองเห็น สิ่ ง ต่ า งๆได้ อ ย่ า งมี เ หตุ ผ ลมากขึ้ น และท าให้ เข้า ใจว่า ชี วิ ตเรานัน้ ได้เ ดิน ทางผ่ านเส้ นทางที่ คาดเดาไม่ ได้ ม าก่ อ นแล้ ว และสิ่ ง ที่ เ รากาลั ง คาดหวังเอาไว้ย่อมสาเร็จได้เพราะความอดทน และความมุ ่งมัน่ ของตัวเราเอง การใช้ ชีวิตบนความบุ ่มบ่ามใจร้อน ผลที่ตามมา ส่วนใหญ่มักผิดพลาด และเรามักนึกเสียดายภายหลั ง ว่า… “ไม่น่าเลย” เมื่อถึงเวลานัน้ เราเองก็จะรู้สึกทุกข์ ซึ่ งการที่จะทุกข์มากหรือทุกข์น้อยเพียงใดขึน้ อยู ่ท่ีใจเราให้ น ้า หนั กเท่ า ไหร่ ถ้ า ให้ ม ากก็ ทุ กข์ ม าก แต่ ถ้า ให้ ค่ า น้ อ ย ความสุขก็จะมากขึน้ แม้การรอคอยจะดูเป็นเรื่องทรมาน แต่หากคุ้มค่า ก็น่าลอง อ้างอิงจาก: “The Marshmallow Test”, ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร ภาพจาก: https://blog.orendatech.com/tag/marshmallow-test http://www.healthandtrend.com/healthy/healthytips/anger-managed-it-before-it-managed-us
สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ ออนไลน์
เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ
หลักสูตรด้านศุลกากร
หลักสูตรการใช้งานระบบ IC
หลักสูตรการบริหารจัดการ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน
0 2 9 3 6 1 4 2 9 ต่ อ 2 0 5 - 2 0 9
23 icn
การเปลี่ ย นแปลงสิ น ค้ า ที่ ไ ด้ รั บ ตามบั ต รส่ ง เสริ ม
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
Q : บริษัทได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุน ประเภท 5.5 กิจการผลิตชิ้นส่วนและ/หรืออุ ปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ ชิ้นส่วน และ/หรืออุ ปกรณ์ที่ใช้ กับผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยบริษัทผลิตเซน็ เซอร์สาหรับเครื่องปรับอากาศ บ้านหรือเครื่องปรับอากาศโรงงาน แต่หากในอนาคตบริษัทจะผลิตเซน็ เซอร์สาหรับเครื่องปรับอากาศติด รถยนต์ จะสามารถผลิต ภาย่ใต้โครงการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุน ได้หรือไม่ เนื่องจากสินค้าที่ผลิต มีลักษณะเดียวกัน A : กิจการประเภท 5.5 (เดิม) หรือ 5.4 (ใหม่) การผลิตชิ้นส่วนและ/หรืออุ ปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือชิ้นส่วน และ/หรืออุ ปกรณ์ที่ใช้ กับผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ พิจารณาได้ 2 แนวทาง คือ 1. เป็นชิ้นส่วน/อุ ปกรณ์ที่มีลักษณะการทางานในเชิงอิเล็กทรอนิกส์ หรือ 2. เป็นชิ้นส่วนที่ใช้ กับผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ กรณีที่สอบถามนั้น เซ็น เซอร์ที่บริษัท ผลิต มีลักษณะการท างานในเชิ งอิเ ล็กทรอนิกส์ ดังนั้น แม้จ ะผลิ ต เซน็ เซอร์เพื่อใช้ ในเครื่องปรับอากาศ (ซึ่งจัดเป็นเครื่องใช้ ไฟฟ้ า) แต่ก็สามารถให้การส่งเสริมฯได้ในประเภทของ กิจ การผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และเป็ น การประสงค์ จ ะผลิ ต จ าหน่ า ยเพื่อ ใช้ กั บ เครื่อ งปรั บอากาศ ติดรถยนต์ แต่หากตัวเซน็ เซอร์นนั้ มีลักษณะการทางานเชิงอิเล็กทรอนิกส์ ก็ยังคงสามารถให้การส่งเสริมฯใน ประเภทของกิจการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แต่ทงั้ นีจ้ ะต้องมีการแก้ไขชื่ อผลิตภัณฑ์ ให้ครอบคลุมในส่วน ของเครื่องปรับอากาศติดรถยนต์ ด้วย แนะนาให้นารายละเอียดไปปรึกษากับเจ้าหน้าที่ BOI ที่รับผิดชอบ โครงการของบริษัท ติ ดตาม FAQ 108 คาถามกับ งานส่ งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
เราต้องทาให้พนักงานรู้สึกว่า ตัวเขาเป็นส่วนหนึ่ง ของที่น่ี เป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว ไม่ ใช่ ลูกจ้าง พวกเขาไม่ ได้มีความหมายแค่นี้ พวกเขาต้องเติบโต ไปพร้อมธุ รกิจด้วย ไม่ ใช่ เจ้าของรวยอยู ่คนเดียว
คุณธีระยุทธ จิราธิวัฒน์ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริ ห าร โรงแรมและรี ส อร์ ท ในเครื อ เซ็ น ทารา ทีม่ า>> https://thestandard.co/teerayut-jirathiwat/ ภาพจาก>> https://th.hellomagazine.com/hello-list/thirayuth-chirathivat/
สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก
www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 201 โทรสาร 0 2936 1441
icn 24
ตารางสัมมนาประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2563 เดือนมกราคม 2563
วันสัมมนา
สถานที่จัด
ชื่อหลักสูตร
วิทยากร
อัตราค่าสัมมนา สมาชิก บุคคลทั่วไป
หลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน (กรุงเทพฯ) 24-26 ม.ค. 63 (09.00-17.00 น.) 25 ม.ค. 63 (09.00-16.00 น.)
วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2563 (รับวุฒิบัตร) วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 1/2563
โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)
วิทยากรจาก BOI และ IC
5,350
6,420
วิทยากรจาก BOI
3,210
3,745
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
3,745
4,280
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
3,745
4,280
ดร.วรกร แช่มเมืองปัก
4,280
5,350
คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา
4,280
5,350
หลักสูตรบริหารจัดการ 16 ม.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 21 ม.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 23 ม.ค. 63 (09.00-16.30 น.) 24 ม.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 28 ม.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 30 ม.ค. 63 (09.00-16.00 น.)
ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ INCOTERMS®2020 ความรู้การน�ำเข้าและส่งออกทั้งระบบเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด เทคนิคและการเตรียมความพร้อมทางการบัญชีส�ำหรับกิจการที่ ได้รับสิทธิ ประโยชน์ส่งเสริมการลงทุนจาก BOI (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD& CPA) Update พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ปี 2563 ภาคปฏิบัติจริงต้องท�ำอย่างไร การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศและIncoterms®2020 กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ 2560 และวิธีจัดเก็บค่าภาษีอากร
หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT online 26 ม.ค. 63 วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับวัตถุดิบ (09.00-17.00 น.) ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) ครั้งที่ 1/2563
หลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน (กรุงเทพฯ)
โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5)
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
3,745
4,280
ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)
วิทยากรจาก IC
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI และผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
4,280
5,350
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
2,996
4,066
ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา
4,280
5,350
ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา
4,280
5,350
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
3,745
4,280
ดร.วรกร แช่มเมืองปัก
4,280
5,350
ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
คุณเมธี แสงมณี คุณวิรดา ยูวะเวส พ.ต.อ.หญิง นัฐวินุศ หัสดินทร ณ อยุธยา
3,210
4,280
3,210
4,280
เดือนกุมภาพันธ์ 2563
1 ก.พ. 63 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ ได้รับการส่งเสริม โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (09.00-17.00 น.) การลงทุน ครั้งที่ 1/2563 (ถนนรัชดาภิเษก) ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบและ 1-2 ก.พ. 63 โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ แนวทางปฏิ บั ติ ส� ำ หรั บ ผู ้ จั ด ท� ำ บั ญ ชี ข องกิ จ การที่ ไ ด้ รั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น (09.00-17.30 น.) ครั้งที่ 1/2563 (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD& CPA) (ถนนสุขุมวิท 5) 15 ก.พ. 63 โรงแรม แกรนด์ สุขมุ วิท กรุงเทพฯ (09.00-16.00 น.) ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2563 (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) 22 ก.พ. 63 โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (09.00-16.00 น.) วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน (ถนนสุขุมวิท 5)
หลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน (ชลบุรี)
29 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน
โรงแรม แปซิฟิคพาร์ด ศรีราชา
หลักสูตรบริหารจัดการ 1 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 5 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 6 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 15 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 18 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 20 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 21 ก.พ. 63 (09.00-16.30 น.) 22 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) 24 ก.พ 63 (09.00-17.00 น.) 27 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.)
พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน ฉบับปี 2017 กฎหมายคุ้มครองนายจ้างและสิทธิการบริหารที่นายจ้างท�ำได้ตามกฎหมาย สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความตกลงระหว่างประเทศภายใต้ JTEPA สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรกับเขตการค้าเสรี FTA ทุกความตกลง 30 Best Practices การบริหารธุรกิจขององค์กรระดับโลก ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ INCOTERMS®2020 เจาะลึกกระบวนการตรวจสอบภายในยุคใหม่ แบบครบวงจร (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) การใช้หนังสือรับรองถิ่นก�ำเนิดสินค้าของอาเซียน (Form D, e-Form D) และการรับรองถิ่นก�ำเนิดสินค้าด้วยตนเอง (SC1 และ SC2) พ.ร.บ.“Transfer Pricing” การเตรียมความพร้อมและการป้องกัน กรณีถูกตรวจสอบ (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) ขั้นตอนการขออนุญาตท�ำงานของชาวต่างชาติในประเทศไทย
โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)
สนใจส�ำรองที่นั่งเข้าร่วมสัมมนาได้ที่ คุณวิลาสินี คุณกาญจนา คุณศิริรัตน์ หรือ คุณชาตรี แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205-209 โทรสาร 0-2936-1441 E-mail : is-investor@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th
ตารางสัมมนาประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2563 วันสัมมนา
ชื่อหลักสูตร
สถานที่จัด
วิทยากร
อัตราค่าสัมมนา สมาชิก บุคคลทั่วไป
หลักสูตรบริหารจัดการ 28 ก.พ. 63 เกณฑ์ค�ำนวณก�ำไรสุทธิทางบัญชี VS.ภาษีอากร พร้อมการจัดท�ำงบการเงิน (09.00-16.30 น.) ส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน (อยูร่ ะหว่างการขออนุมตั ิ CPD&CPA) 29 ก.พ. 63 (09.00-16.00 น.) ข้อควรรูเ้ กี่ยวกับความผิดทางศุลกากรตามกฎหมายใหม่ 2560
โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)
คุณเมธี แสงมณี
3,210
4,280
ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)
วิทยากรจาก IC
2,140
3,210
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน
5,350
6,420
วิทยากรจาก BOI
3,210
3,745
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
1,605
1,926
โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)
วิทยากรจาก BOI และผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
3,745
4,815
โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)
คุณมุกดาวดี เทียนทอง
4,280
5,350
โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)
คุณเมธี แสงมณี
3,210
4,280
ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
3,745
4,280
ดร.วรกร แช่มเมืองปัก
4,280
5,350
ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร
5,350
6,420
คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา
4,280
5,350
ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา
4,280
5,350
ผู้เชี่ยวชาญจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
คุณเมธี แสงมณี
3,210
4,280
วิทยากรจาก IC
2,675
3,745
วิทยากรจาก IC
2,140
3,210
หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT online 2 ก.พ. 63 วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักร (09.00-17.00 น.) ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (eMT online) ครั้งที่ 1/2563
หลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน (กรุงเทพฯ) 7 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 13-15 มี.ค. 63 (09.00-17.00 น.) 14 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 21 มี.ค. 63 (09.00-17.00 น.) 22 มี.ค. 63 (09.00-17.00 น.)
เดือนนีนาคม 2563
หลักเกณฑ์และปัญหาการใช้สิทธิและประโยชน์ที่ได้รับตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2563
วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 2/2563 (รับวุฒิบัตร) วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 2/2563 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 2/2563 การใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับกิจการที่ ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2563 รวมเทคนิคการวางระบบบัญชีส�ำหรับธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน และ 28 มี.ค. 63 การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการตรวจสอบอย่างมืออาชีพ ครั้งที่ 1/2563 (09.00-17.00 น.) (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD& CPA)
โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)
หลักสูตรบริหารจัดการ ใบก�ำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ และใบรับอิเล็กทรอนิกส์ (e-Tax Invoice และ 5 มี.ค. 63 e-Receipt) ระเบียบกรมสรรพากรว่าด้วยการจัดท�ำส่งมอบและเก็บรักษาใบ (09.00-16.30 น.) ก�ำกับภาษีระบบอิเล็กทรอนิกส์ (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) การปรับปรุงบัญชีและค�ำนวณก�ำไรสุทธิ เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลสิ้นงวด 6 มี.ค. 63 บัญชีส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ (09.00-16.30 น.) CPD&CPA) 7 มี.ค. 63 สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอดอากร (Free Zone) (09.00-16.00 น.) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) 11 มี.ค. 63 ® (09.00-16.00 น.) การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศและ Incoterms 2020 12 มี.ค. 63 (09.00-16.30 น.) 14-15 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 19 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 21 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 24 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 28 มี.ค. 63 (09.00-16.00 น.) 30 มี.ค. 63 (09.00-17.00 น.)
เทคนิคการจัดเตรียมเอกสารรับ-จ่ายเงินให้สรรพากรยอมรับและถูกต้องตาม พ.ร.บ.การบัญชี (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) การน�ำเข้า-ส่งออกและสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรภายใต้กฎหมายศุลกากรฉบับ ใหม่ (e-Import - e-Export e-Tax Incentive) 20 กลยุทธ์การบริหารคนให้พร้อมรับมือ World Disruption กฎว่าด้วยถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Rule of Origin) ป้องปราบ 87 พฤติกรรมทุจริตในองค์กร การใช้หนังสือรับรองถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Form E) อาเซียน - จีน เพื่อให้ได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร ข้อผิดพลาดทางด้านบัญชีของกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD& CPA)
โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5)
หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT online 15 มี.ค. 63 (09.00-17.00 น.) 22 มี.ค. 63 (09.00-17.00 น.)
วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับวัตถุดิบ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) ครั้งที่ 2/2563 วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักร ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (eMT online) ครั้งที่ 2/2563
โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)
หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจส�ำรองที่นั่งเข้าร่วมสัมมนาได้ที่ คุณวิลาสินี คุณกาญจนา คุณศิริรัตน์ หรือ คุณชาตรี แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205-209 โทรสาร 0-2936-1441 E-mail : is-investor@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th