ICeNewsetter_May2019

Page 1

Vol.18 / May 2019 COBOT: คน+หุ่ น ยนต์ = ที ม งาน Digital Lean มิติใหม่การผลิต และบริการยุ ค 4.0 (1)

สร้างเศรษฐกิจยัง่ ยืน ด้วยมาตรการ

ส่งเสริมการลงทุน เศรษฐกิจฐานราก


“ถ้าคุณหาทางออกไม่เจอ”

Single Window for

Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th

www.ic.or.th


04

สร้างเศรษฐกิจยั่ง ยืน ด้วยมาตรการส่ง เสริม การลงทุน เศรษฐกิจฐานราก

07 Digital Lean มิติใหม่การผลิตและบริการยุ ค 4.0 (1)

COBOT: คน+หุ่นยนต์ = ทีมงาน

11

13 Detox อารมณ์: เพื่อชีวิต (ความสาเร็จ) ที่ง่ายขึน้

ที่ปรึก ษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิก ารบริห าร ปริญญา ศรีอนัน ต์ บรรณาธิก าร มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิก าร • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้าของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนัก ลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพท์ : 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร : 0 2936 1441-2 e-mail : icn@ic.or.th

ปั จ จุ บั น การพั ฒ นาประเทศโดยภาพรวมของหลายประเทศมั ก พุ ่ งเป้ าไปที่ การพัฒนาเศรษฐกิจชุ มชนท้องถิ่น หรือที่เรียกกันอย่างเป็นทางการว่า “เศรษฐกิจฐานราก” เนื่ อ งจากกลุ่ มเศรษฐกิ จ ในระดั บ นี้ มีค วามส าคั ญเปรี ย บเสมื อนต้ น น้า ของการเติ บ โต ทางเศรษฐกิจของประเทศ ส าหรั บ ประเทศไทย การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ฐานรากเป็ นนโยบายส าคั ญ ของภาครั ฐ ที่ ออกมาเพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ อ งค์ ก รในชุ มชนท้ อ งถิ่ น มี ก ารพั ฒ นาให้ มี ความเจริญแบบรอบด้ าน ทั ้งด้านการใช้ ชี วิ ตประจาวั น การประกอบอาชี พเพื่ อสร้ าง รายได้ โดยยังคงมุ ่งเน้นให้สมาชิ กในชุ มชนยึดถือแนวทางการดาเนินชี วิตแบบท้องถิ่นไทย ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ โดดเด่น และไม่เหมือนใคร แนวทางหนึ่งในการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก คือ การออก มาตรการส่งเสริมการลงทุนเศรษฐกิจฐานรากโดยสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุ น หรื อ บี โ อไอ เน้ น ไปที่ แ นวทางการส่ งเสริ ม ให้ ภ าคเอกชนเข้ ามามี บ ทบาทในการ สนั บ สนุนการด าเนินธุ รกิจของชุ มชน เพื่ อช่ วยยกระดับ ขี ด ความสามารถขององค์ ก ร ท้ องถิ่ น โดยมุ ่ งเน้ น การสนั บ สนุ น ทั ้ง ทางด้ า นเครื่ อ งจั ก ร เครื่ อ งมื อ เทคโนโลยี และ นวั ต กรรมต่ า งๆที่ จ ะช่ วยให้ ก ารผลิ ต สิ น ค้ า และบริ ก ารของชุ มชนมี คุ ณ ภาพและ ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับในวงกว้างยิง่ ขึน้ จุ ดเด่นของมาตรการส่งเสริมการลงทุนเศรษฐกิจฐานรากอยู ่ท่ีการสนับสนุ น นัน้ จะครอบคลุมทัง้ กิจการด้านการเกษตร อุ ตสาหกรรมเบา และกิจการท่องเที่ยวชุ มชน ซึ่งแน่นอนว่าจะสามารถกระจายการพัฒนาสู่คนในชุ มชนได้กว้างขึ้น ลดความเหลื่อมลา้ และเพิม่ ความเสมอภาคได้เป็นอย่างดี สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น พร้ อ มสนั บ สนุ น ทุ ก มาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น เพื่ อ ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด ความเจริ ญ ก้ า วหน้ า และการเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของประเทศ ด้วยระบบการให้บริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ตลอด 24 ชั่วโมง ผ่านการให้บริการ แบบออนไลน์ และบริการด้านหลักสูตรฝึ กอบรมและสัมมนาที่มีการพัฒนาหลักสูตรใหม่ๆ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การพั ฒ นาธุ รกิ จส าหรั บ องค์ ก รท้ อ งถิ่ น ตลอดจนหลั ก สู ต รที่ เ พิ่ ม ขี ด ความสามารถของบุ คลากร โดยผู ้ ท่ี ส นใจสามารถดู ร ายละเอี ย ดหลั ก สู ต รและ เลือกลงทะเบีย นเพื่อสมั ครร่ว มสั มมนาได้ ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้ อมู ล เพิ่มเติมได้ท่ี โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่ อ 700 หรือติดตามข้อมู ล ต่างๆของสมาคมฯ ได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3

icn


สร้าง เศรษฐกิจยั่งยืน ด้วย มาตรการส่งเสริมการลงทุน

เศรษฐกิ จ ฐานราก

มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

การกระตุ้ น การลงทุ น ให้ เ กิ ด ขึ้ น ในประเทศไทย นอกเหนือจากการมุ ่งเน้นให้เกิดการลงทุนในอุ ตสาหกรรม เป้ าหมาย หรือ S-Curve แล้ว ยังมีนโยบายที่ได้รับการ จั ด ให้ เ ป็ น นโยบายส าคั ญ ล าดั บ ต้ นๆของประเทศในการ กระตุ้ นให้ เ กิ ด การส่ ง เสริ ม การลงทุ น และขยายฐานการ ลงทุนให้เกิดขึ้นในประเทศไทย นั่นคือ “มาตรการส่งเสริม การลงทุนเศรษฐกิจฐานราก” มาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุน เศรษฐกิ จ ฐานราก ออกโดยสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโ อไอ ซึ่ งดาเนินการปรับปรุ งจากมาตรการส่งเสริมการ ลงทุนท้องถิ่นเดิม โดยมุ ่งเน้นใน 4 ประเด็นสาคัญ ดังนี้ 1. ส่ง เสริ ม ให้ ผู้ประกอบการที่ มี ศัก ยภาพสู ง กว่ า เข้าไปสนับสนุนการยกระดับขีดความสามารถขององค์กร ท้ อ งถิ่ น เช่ น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นท้ อ งถิ่ น สหกรณ์ และวิสาหกิจชุ มชน เป็นต้น 2. ขยายขอบข่ายของผู ้ ให้การสนับสนุนให้กว้างขึ้น โดยเพิ่ ม เติ ม จากเดิ ม ที่ ใ ห้ เ ฉพาะกิ จ การด้ า นการเกษตร ปรับเป็นให้ครอบคลุมทุกประเภทกิจการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุนในปั จจุ บัน รวมถึงโครงการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุนอยู ่เดิม แต่ ไม่ ได้รับสิทธิประโยชน์ด้านภาษี เงินได้ นิติบุคคลหรือสิทธิประโยชน์ท่ไี ด้รับสิน้ สุดลงแล้ว 3. ขยายขอบข่ายของผู ้รับการสนับสนุนให้กว้างขึ้น โดยให้ครอบคลุมทัง้ กิจการด้านการเกษตร อุ ตสาหกรรมเบา และกิจการท่องเที่ยวชุ มชน 4. เพิ่ ม วงเงิ น การยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคล จากเดิ ม ร้ อ ยละ 100 ของเงิ น ลงทุ น ในการสนั บ สนุ น ปรับเป็นร้อยละ 120 ของเงินลงทุนในการสนับสนุน icn 4

ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ มี ค ว า ม ป ร ะ ส ง ค์ เ ป็ น ผู ้ ใ ห้ การสนั บ สนุ นจะต้ อ งด าเนิ นการตามแผนความร่ ว มมื อ กั บ ท้ อ งถิ่ น อย่ า งชัด เจนในการให้ ก ารสนั บสนุ น กิ จ การ ตามที่ กาหนดไว้ โดยผู ้ สนับ สนุนจะต้อ งมีเ งินลงทุนขัน้ ต่ า ในการสนั บ สนุ น แต่ ล ะโครงการไม่ น้ อ ยกว่ า 1 ล้ า นบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุ นเวียน) และหากให้การสนับสนุน หลายรายในโครงการเดียวกัน จานวนเงินที่ให้การสนับสนุน ต้องไม่น้อยกว่า 2 แสนบาทต่อราย ที่สาคัญจะต้องดาเนินการ ให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับตัง้ แต่วันที่ออกบัตรส่งเสริม ตั ว อ ย่ า ง ก า ร ส นั บ ส นุ น เ พื่ อ ย ก ร ะ ดั บ ขีดความสามารถขององค์กรท้องถิ่น เช่ น การสนับสนุน อุ ปกรณ์เครื่องจักรการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุ ภัณฑ์ ที่ เ หมาะสมกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ซ่ึ ง แสดงถึ ง อั ต ลั ก ษณ์ ข อง ท้ อ งถิ่ น นั ้น การฝึ กอบรมเพื่ อ ยกระดั บ เทคโนโลยี ห รื อ มาตรการการผลิ ต อาทิ การผลิ ต และใช้ ป๋ ุ ยชี ว ภาพ มาตรฐานความปลอดภัยอาหาร การอบรมการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ การสนับสนุนเพื่อนาเทคโนโลยี IoT มาใช้ ในการ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และการพัฒนาระบบ Smart Tourism เพื่อช่ วยบู รณาการข้อมู ลแหล่งท่องเที่ยว เป็นต้น


• เงินลงทุน > 1 ล้านบาท เพื่อสนับสนุน - เครื่องจักรและอุปกรณ์ - ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม • มีความร่วมมือกับท้องถิ่น

สิทธิและประโยชน์ท่ีผู้ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ซึ่ ง เป็นผู ้ ให้ การสนับ สนุ นตามมาตรการนี้จ ะได้รั บยกเว้ น ภาษี เงินได้นิติบุคคล 3 ปี ในส่วนของกิจการที่ดาเนินการ อยู ่ เ ดิ ม ทั ้ ง นี้ จ ะได้ รั บ การยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคล ในมู ลค่ าไม่เกิ นร้อยละ 120 ของเงินลงทุ นหรือค่ าใช้ จ่า ย ที่จ่ ายไปจริ ง ในการสนั บสนุน เช่ น ค่า ก่อ สร้ า งโรงงงาน ค่ า เครื่ อ งจั ก รและอุ ปกรณ์ ค่ า ใช้ จ่ า ยในการฝึ กอบรม เป็ น ต้ น โดยจะต้ อ งยื่ น ขอรั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น ตัง้ แต่วัน ที่ 2 มกราคม 2562 ถึง วัน ที่ 30 ธันวาคม 2563

เป้ า หมายของการออกมาตรการส่ ง เสริ ม การ ลงทุนเศรษฐกิจฐานรากนีค้ ือการก่อให้เกิดการยกระดับ วิสาหกิ จชุ ม ชน/สหกรณ์ทัง้ ด้า นขีด ความสามารถและ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ เป็นกลไกสนับสนุนให้ภาคเอกชน มีส่วนร่ วมในการยกระดั บเศรษฐกิ จ ฐานราก และเป็น ช่ องทางให้มี ก ารนาผลงานวิ จั ยในประเทศไปขยายผล ให้กว้างขึน้ อีกด้วย ส าหรั บ ผู ้ ป ระกอบการที่ ส นใจเป็ น ผู ้ ส นั บ สนุ น เศรษฐกิจฐานราก สามารถติดตามรายละเอียดเพิ่มเติม ไ ด้ ท า ง http://www.boi.go.th/index.php?page= content_detail&addon=law&topic_id=120567

ข้อมูลจาก: https://www.boi.go.th/upload/ejournal/2018/08/index.html, https://www.boi.go.th/upload/content/Session%201. Investment_Promotions_5bf7b7006f2d5.pdf http://www.fleth.co.th/attachments/1669.jpg ภาพจาก: https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/17537 https://www.thairath.co.th/content/176699 http://parichat6166.blogspot.com/2012/09/blog-post_ 8596.html

หลั ง การลงทุน

สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

วิธีปฏิบัติ

ได้รับการส่งเสริม ลงทะเบี ยนสารองที่ นั่ง ออนไลน์ ได้ ท าง http://icis.ic.or.th

วันที่ 24-26 พฤษภาคม 2562 ณ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ

5

icn


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29

สมัครใช้ บริการ eMT

ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online

ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พมิ พ์ใน ระบบ eMT Online

สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร

ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร

BOI Approve 30 วัน 7 วัน

30-60 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

เป็นเรื่อง ติดต่อ...

ยุงยาก

IC

สา ห รั บ คุ ณ

บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านเครื่องจักร

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 314-315


Digital Lean มิติใหม่การผลิต และบริการยุค

4.0 (1) จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com

ด้ ว ยความก้ า วหน้ า ทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี โลกไร้พรมแดน และการเชื่อมต่อแบบไร้สายผ่าน โครงข่ายอินเทอร์เน็ต ทาให้ผู้บริหารต้องวางแผนเปลี่ยนผ่าน องค์กรไปสู่ บริ บ ทใหม่ ท่ีทั นสมั ยและไฮเทคมากขึ้น ดิจิ ทั ล เทคโนโลยีและการวิเคราะห์ข้อมู ลขนาดใหญ่จะนาไปสู่สิ่งที่ เรี ย กว่ า ปั ญญาประดิ ษ ฐ์ (Artificial Intelligence) หมายถึง “ความสามารถของเครื่องจักรในการทางานใน ร ะดั บ ที่ เที ย บ เ ท่ า กั บ คว ามเ ชี่ ย ว ช าญข อง มนุ ษ ย์ ” ความสามารถในการเรี ย นรู้ ข้ อ มู ล ใหม่ ๆ ด้ ว ยตั ว มั น เอง ซึ่ งเมื่อไม่ก่ีปีที่ผ่านมานี้ เราได้เห็นตัวอย่างจาก AlphaGo โปรแกรม DeepMind ของ Google ที่สามารถเอาชนะ Lee Sedol แชมป์ การแข่ ง ขั น โกะ (Go) ระดั บ โลกได้ ในหลายๆเกม ซึ่ งถือว่าเป็นสิ่งที่ยากมากและไม่เคยเกิดขึ้น ในโลกมาก่อน

สื บ เ นื่ อ ง จ า ก ชื่ อ โ ค ร ง ก า ร ที่ มี ก า ร ก า ห น ด วัตถุประสงค์ ไว้อย่างชัดเจน คือ มุ ่งส่งเสริมให้องค์กรที่ เข้ าร่ วมโครงการขยั บและปรั บตั วเข้ าสู่ ระบบการผลิ ตใหม่ ใน ยุ คอุ ตสาหกรรม 4.0 ดังนัน้ 2 องค์ประกอบสาคัญที่เข้ามา เติมเต็มและต่อยอดให้ลีนมีความก้าวลา้ นาหน้ามากขึน้ คือ Digital Technology และ Data Analytics เพื่อที่จะทาให้ Basic LEAN กลายเป็น Digital LEAN ในที่สุด โครงการนี้ นับได้ว่าเป็นโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการที่มีการลงพืน้ ที่ จริงและปฏิบัติจริงซึ่ งใช้ ระยะเวลานานหลายเดือน มีการใช้ วิทยากร ที่ปรึกษา และผู ้เชี่ยวชาญทัง้ ด้าน Technology และด้าน Management จานวนมากที่สุดโครงการหนึ่ง เท่าที่ผมเคยเห็นและมีส่วนร่วมมาเพื่อประกบผู ้เข้าอบรม แบบใกล้ชิดทุกกลุ่มทุกองค์กร ดังนัน้ ผลลัพธ์จากการ Workshop แต่ละครัง้ จึงเป็นการสร้างคน พัฒนาอุ ตสาหกรรม และยกระดับความสามารถในการแข่งขันอย่างแท้จริง

ผ ม ไ ด้ มี โ อ ก า ส เ ข้ า ไ ป ช่ ว ย ใ น ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม เชิ งปฏิบั ติการเพื่อพัฒนาบุ คลากรด้านลีนให้กับองค์กร ต่างๆของไทยที่สมัครเข้ามาในปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ภายใต้โครงการที่มีชื่อว่า Digital Lean for Industry 4.0 โดยการสนั บ สนุ น งบประมาณจากส านั กงานเศรษฐกิ จ อุ ตสาหกรรม กระทรวงอุ ตสาหกรรม และดาเนินการโดย สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ โครงการดังกล่าวมุ ่งยกระดับ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ผ ลิ ต ข อ ง อ ง ค์ ก ร ไ ท ย ใ ห้ มี ขีดความสามารถสูงขึ้น และไม่เพียงแค่ถ่ายทอดความรู้ เกี่ ยวกับ แนวคิ ดลี น (Lean Thinking) และหลั กปฏิบั ติ ของลีน (Lean Principle) เท่านัน้ หากแต่ยังให้ผู้เข้าร่วม อบรมจากทุกองค์กรได้นากระบวนการและข้อมู ลการผลิต จริงมาลงมือวาดแผนภาพกระแสคุณค่า (Value Stream Mapping) เพื่อใช้ เป็นพิมพ์เขียวในการวิเคราะห์ต่อยอด สาหรับพัฒนาปรับปรุ งองค์กรให้เกิดผลในทางปฏิบัติจริง อีกด้วย

แนวคิดพืน้ ฐานที่สาคัญของลีน คือ มุ ่งเน้นที่การ สร้ า งคุ ณ ค่ า (Value) และที่ ส าคั ญ ต้ อ งเป็ น คุ ณ ค่ า ใน สายตาลู ก ค้ า เป็ น สิ่ ง ที่ ลู ก ค้ า ต้ อ งการอย่ า งแท้ จ ริ ง ในขณะเดียวกั นก็ปรับเปลี่ย นระบบการผลิตจากแบบดั น (Push system) ที่ผู้ผลิตนึกอยากจะผลิตอะไรก็ผลิต อยากจะผลิ ต มากเท่ า ไรก็ ไ ด้ โ ดยไม่ ส นใจปริ ม าณและ ความต้องการของผู ้บริโภคมาเป็นระบบการผลิตแบบดึง (Pull System) นั่นคือ จังหวะการผลิตจะเริ่ มต้น เมื่อ มี ความต้องการของลูกค้าเข้ามา ไม่ ใช่ จากความต้องการ ของผู ้ผลิต โดยมีหลักการสาคัญในการทาให้กระบวนการ ผลิ ต ทั ้ ง หมดตั ้ ง แต่ ต้ น ทางจนถึ ง ปลายทางมี ก ารใช้ ทรั พ ยากรให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ไม่ มี ค วามสู ญ เปล่ า สิน้ เปลือง (Wastes) ซึ่ งผมได้เคยเขียนอธิบายไปแล้วใน บทความก่อนหน้านีใ้ นหัวข้อเรื่องที่เกี่ยวกับ DOWNTIME ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย Defect, Over-production, Waiting, Not utilizing knowledge and skill, Transportation, Inventory, Motion และ Excess processing 7

icn


สาหรับโครงการนีก้ ็ยังเน้นยา้ เรื่องความสูญเปล่าในรูปแบบ เดียวกัน แต่ ใช้ วลีภาษาไทยสัน้ ๆ 8 วลีในการอ้างถึง เพื่อการ จดจาได้ง่ายๆว่า ย้ายบ่อย คอยนาน สต็อกบาน งานผิด ผลิตเกิน เดิน เอื้อมหัน ขัน้ ตอนไร้ค่า และการขาดทักษะ ความสามารถของผู ้ปฏิบัติงาน ซึ่ งความสูญเปล่าดังกล่าว ล้ ว นแ ล้ ว แต่ เป็ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ ค ว ร ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น เล ย ส าห รั บ กระบวนการผลิตที่ดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ก่ อ นที่ ผู้ เ ข้ า อบรมของแต่ ล ะองค์ ก รจะได้ เ รี ย นรู้ เกี่ ย วกั บ เทคโนโลยี ท่ี ทั น สมั ย เพื่ อ น ามาประยุ กต์ ใ ช้ ใ นการ ปฏิบัติงานสาหรับยกระดับความสามารถในการผลิตให้ดีขึ้น สอดรับกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและการแข่งขันที่ รวดเร็ ว ขึ้ น ในปั จ จุ บั น ทุ กคนจะได้ ล งมื อ สร้ า งแผนภาพ กระแสคุณค่าปั จจุ บัน (Current State VSM) ก่อนที่จะฝึ ก วิ เ คราะห์ แ ละหาแนวทางปรั บ ปรุ งให้ เ ป็ น แผนภาพใหม่ (Future State VSM) ในที่สุด โดยในการร่างแผนภาพดังกล่าว สามารถสรุ ปให้เห็นเป็นแนวทางได้ 10 ขัน้ ตอนดังนี้

ขัน้ ตอนที่ 2 เลื อกสิน ค้าหรื อบริการที่ต้ องการ ปรับปรุ งให้ชดั (What is our Focus?) จากกลุ่มผลิตภัณฑ์ (Product family) ที่องค์กรมีอยู ่ โดยอาจแบ่งตามข้อกาหนด ลู ก ค้ า แบ่ ง ตามปริ ม าณการผลิ ต สิ น ค้ า หรื อ แบ่ ง ตาม กระบวนการ ขัน้ ตอนที่ 3 ลงพืน้ ที่ สารวจตรวจสอบ เก็บข้อมู ล จริง (Go to Gamba or Walk the Process) โดยลงไป สั ง เกตุ ก ารณ์ พื้ น ที่ ก ารผลิ ต จริ ง พู ดคุ ย สั ม ภาษณ์ ผู ้ปฏิบัติงาน และเก็บข้อมู ล อาทิ จานวนสินค้าคงคลัง เวลาที่ใช้ ในแต่ละขัน้ ตอน จานวนคน ประสิทธผลโดยรวม ของเครื่องจักร และสภาพการผลิต ขัน้ ตอนที่ 4 เริ่มที่ความต้องการลูกค้า แล้วค่อย ย้อนกลั บมา (Work Backwards) การเขี ยนแผนภาพ จะเริ่ ม ต้ น จากขวามื อ สุ ด คื อ ลู ก ค้ า โดยระบุ เงื่ อ นไข ระยะเวลา และความต้องการสินค้าและบริการ ผ่านช่ องทาง และวิธีการสื่อสารกลับมาที่ส่วนรับคาสั่งซื้อและแปลงเป็น แผนการผลิต (Production Planning and Control) ย้อนกลับไปที่ผู้รับจ้างช่ วงภายนอก (Suppliers)

10 ขั ้ น ตอนง่ า ยๆลี น ได้ ทุ ก กระบวนการ ขั ้น ตอนที่ 1 เข้ า ใจในคุ ณ ค่ า ที่ ลู ก ค้ า ต้ อ งการ (Understand Value) โดยการกาหนดปั จจัยพืน้ ฐานแห่งการ ดารงอยู ่ในธุ รกิจ (Order Qualifier Criteria - OQC) และปั จจัยสาคัญแห่งชัยชนะในธุ รกิจ (Order to Winner Criteria - OWC) เพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งที่ลูกค้าคาดหวังกับ สิ่งที่เราส่งมอบตรงกัน

icn 8

ขัน้ ตอนที่ 5 แสดงกระบวนการหลักด้วยแผนภาพ กระแสคุณค่า (Define the Basic Value Stream) ใน ส่วนด้านล่างของแผนภาพที่ครอบคลุมอยู ่ ในขัน้ ตอนที่ 4 ให้ระบุ กระบวนการผลิตที่สาคัญ และสต็อกของสินค้าทัง้ ก่อนผลิต ระหว่างผลิต และหลังการผลิต รวมเรียกว่า Physical Flow ขัน้ ตอนที่ 6 ระบุ เวลาที่ใช้ ไปในแต่ละขัน้ ตอน (Fill in Queue Times) โดยนาเวลาที่ใช้ ในแต่ละกระบวนการที่ จัด เก็ บ มาได้ใ นขั ้น ตอนที่ 3 มาระบุ ลงในแผนภาพ อาทิ รอบเวลาการผลิต เวลาที่ใช้ ในการปรับแต่งปรับตัง้ เครื่อง เวลาเครื่ อ งเสี ย หยุ ดซ่ อม และเวลาที่ ใ ช้ ไ ปในการจั ด เก็ บ สินค้าระหว่างกระบวนการ


ขัน้ ตอนที่ 7 ระบุ ข้อมู ลกระบวนการอื่นๆ (Fill in Process Data) นาข้อมู ลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับเวลา อาทิ ประสิ ท ธิ ผ ลโดยรวมของเครื่ อ งจั กร (OEE) คุ ณ ภาพ ชิ้นงานที่ถูกต้องตัง้ แต่ครัง้ แรก (First Time Quality) และลักษณะการเคลื่อนย้ายสินค้า (Batch or Box) ขัน้ ตอนที่ 8 ระบุ กาลังคนที่ใช้ ในแต่ละขัน้ ตอน (Add Smiley Faces) ไม่ว่าจะเป็นขัน้ ตอนที่ทาด้วยคน หรือทา ด้วยเครื่องจักรก็ตาม ให้ระบุ จานวนคนที่ใช้ ในขัน้ ตอนนัน้ ๆ

ขัน้ ตอนที่ 10 วิเคราะห์กระบวนการเดิม ค้นหาโอกาส การปรับปรุ งใหม่ (Interpret the VSM) เป้ าหมายของการ น าแนวคิ ด และหลั ก การของลี น มาใช้ เพื่ อ ออกแบบ กระบวนการใหม่ (Redesign Process) ให้มีอัตราส่วน มู ลค่าเพิ่ม (%VA) สูงที่สุด มีความสูญเปล่าหรือเวลาที่ ไม่ ส ร้ า งคุ ณ ค่ า น้ อ ยที่ สุ ด ไม่ ว่ า จะเป็ น การลดคอขวด ในกระบวนการ ปรั บ เรี ย บการผลิ ต หรื อ สร้ า งสมดุ ล ให้ เกิดขึน้ ในแต่ละขัน้ ตอน การท าให้ ก ระบวนการผลิ ต สามารถมองเห็ น วิเคราะห์หาสาเหตุ และค้นหาโอกาสในการปรับปรุ งให้ดีขึ้น กว่าเดิม โดยอาจจะเพิ่มเติมเทคโนโลยีใหม่ๆที่ทันสมัยทัง้ ที่ เป็นระบบอัตโนมัติ และการแสดงผลข้อมู ลแบบเรียลไทม์ จนไปถึ ง การน า IoT และ AI เข้ า มาใช้ ส าหรั บ โรงงาน ที่จาเป็น จะช่ วยทาให้องค์กรนัน้ ขยับจาก 2.0 เป็น 3.0 และกลายเป็น 4.0 ได้ไม่ยาก ในฉบับหน้ามาติดตามกันต่อว่า นอกเหนือจากงาน ด้านสายการผลิตแล้ว ลีนยังสามารถประยุ กต์ใช้ กับงาน ด้านใดได้อีกบ้าง

ขัน้ ตอนที่ 9 จาแนกเวลาที่ใช้ ในการสร้างคุณค่า แล้วคานวณหาสัดส่วนต่อเวลารวม (Add the Value Added Percentage - %VA) นาเวลาที่ใช้ ในการผลิตจริง หารด้ ว ยเวลาการผลิ ต รวมทั ้ง หมด และคู ณด้ ว ยร้ อ ย จะท าให้ เ ราเห็ น ได้ ชัด ว่ า เวลาในการสร้ า งคุ ณ ค่ า จริ ง ๆ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละเท่าไรของเวลาทัง้ หมด

สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิ ญเข้าร่วม สัมมนาฟรีสมาชิก ครัง้ ที่ 2

การผลิตแบบ

ภาพจาก: https://www.ftpi.or.th/event/25195 http://bizinthai.blogspot.com/2017/03/waste.html http://moqna.com/WebPages.aspx?lang=ar&ID=356 http://mail-marketing-2.th.com/admin/index.php?action=logout https://theweek.com/articles/783739/have-become-everythinghate-smiley-faces-everywhere-now-

Supported by:

Lean ยุ ค 4.0 วันศุก ร์ท่ี 10 พฤษภาคม 2562 เวลา 13.00-16.30 น.

สมั ค รสั ม มนา

ออนไลน์

ณ ศูนย์ประชุ มนิทรรศการและการประชุ มไบเทค (บางนา) ห้อง MR220-MR221 9

icn


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน

เตรียมเอกสารกาหนด วันนาเข้าครัง้ แรก / ขอรับ Username และ Password ระบบ IC Online (ภายใน 1 วันทาการ)

ตามมาตรา 36 (1), (2)

คีย์บัญชีรายการ วัตถุดบิ / เตรียม เอกสารการลงทะเบียน เข้าสู่ระบบ RMTS สมัครใช้ บริการ RMTS

ขออนุมัติ บัญชีรายการ วัตถุดบิ กับ BOI

คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดบิ คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต

คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดบิ

ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน

BOI Approve

30 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

ทาให้คุณ ติดต่อ...

IC

สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านวัตถุดิบ

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 310, 313

ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน


COBOT คน+หุ่นยนต์

ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th

=

ทีมงาน ปั จจุ บั น ยุ คแห่ ง เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล สร้ า งระบบ อั ต โนมั ติ สู่ ภ าคธุ รกิ จ ในทุ ก สายงานตั ้ ง แต่ แ รงงาน สายการผลิตจนถึงสายการให้บริการ เกิดเป็นแรงงาน หุ่ น ยนต์ ห รื อ ระบบอั ต โนมั ติ ท่ี ท างานเหมื อ นมนุ ษ ย์ ขึ้ น หุ่นยนต์ ในที่นหี้ มายถึงระบบ “ปั ญญาประดิษฐ์” (Artificial Intelligence) หรือ AI ซึ่ งได้เข้ามามีบทบาทโดยใช้ ระบบ RAS (Robotics and Autonomous Systems) เพื่อ วิเคราะห์การทางานของหุ่นยนต์ ตรวจจับความผิดปกติ ที่อาจเกิดขึน้ รวมถึงควบคุมระบบให้เกิดความลื่นไหลและ มี ศักยภาพในการท างาน ในหมู ่ ค นท างานกั บ หุ่ น ยนต์ จึงเรียกแรงงานชนิ ดนี้ว่ า Gray Collar ซึ่ ง หมายถึ ง แรงงานที่ มี ค วามสามารถและฝี มื อ เฉพาะ สามารถ พั ฒ นาความคิ ด ในการท างานได้ เ ช่ นเดี ย วกั บ White Collar และมีศกั ยภาพในการทางานได้ปริมาณมากเหมือน อุ ตสาหกรรมโรงงานได้อย่าง Blue Collar McKinsey & Company บริษัทผู ้เชี่ยวชาญ ที่ ใ ห้ ค าปรึ ก ษาด้ า นพาณิ ช ย์ ธุ รกิ จ และนวั ต กรรม ระบุ แนวโน้ ม โลกลั กษณะนี้ว่ า เป็ น ยุ คแห่ ง ระบบอั ต โนมั ติ (Automation Age) ซึ่ งไม่ใช่ แค่การใช้ งานนวัตกรรม หรื อเทคโนโลยี ดิจิ ทั ลเท่ านั ้น แต่ยั ง รวมถึง การใช้ พื้น ที่ ด้ า นการเรี ย นรู้ การท างาน การฝึ กฝน และการสร้ า ง อาชีพ ด้วยระบบอัตโนมัติด้วยเช่ นกัน ตัง้ แต่การขยายตัว ของ Internet of Things (IoT) อินเทอร์เน็ตที่อยู ่ใน ทุกสรรพสิ่ง และระบบการเก็บข้อมู ลมหาศาลไว้ ในทุกที่ แม้แต่ในอากาศอย่างระบบคลาวด์ (Cloud) การหลั่งไหล เข้าสู่ระบบอัตโนมัติก็เพื่อเอือ้ แก่การใช้ งานบนฐานข้อมู ล ได้อย่างสะดวกนัน่ เอง เช่นเดียวกับระบบ AI ที่เข้ามาจัดการข้อมู ล

โดยมีบทบาทเป็นผู ้ช่วยในชีวิตประจาวันอย่าง Siri จาก Apple, Cortana จาก Microsoft, Google Now จาก Google, Alexa จาก Amazon และ M จาก Facebook ซึ่ งการ ท างานของระบบอั ต โนมั ติ เ หล่ า นี้ ไ ด้ เ ปลี่ ย นพฤติ ก รรม การบริโภคของผู ้คนไปโดยสิน้ เชิง ที่ชดั เจนที่สุด คือ การ ท าธุ รกรรมทางธนาคารที่ ต่ างไปจากเดิ ม ทุ ก วั น นี้ เ รา สามารถใช้ คิ ว อาร์ โ ค้ ด หรื อ เซิ ร์ ฟ เวอร์ ในระบบแบงค์ กิ้ง ต่างๆได้อย่างรวดเร็วและสะดวกสบาย ส่งผลกระทบให้เกิด การลดอัตราจ้างงานแรงงานมนุษย์ มีผลทาให้ธนาคาร ปิ ดตัวลงหลายสาขาทัว่ โลก และปรากฎการณ์ท่ีเกิดขึ้นกาลัง ส่งผลกระทบลามไปในหลายภาคธุ รกิจ หลายประเทศที่มี การพัฒนาและความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วจึงต้องมีแผน ในการรับมือและพัฒนาศักยภาพแรงงานคนร่วมกันกับ ระบบอั ต โนมั ติ รวมไปถึ ง การค านึ ง ถึ ง โอกาสใหม่ ท่ี จ ะ เกิ ด ขึ้ น ในรู ป แบบการจ้ า งงานของพนั ก งานหุ่ น ยนต์ ที่ ท างานประสานกั น กั บ คนได้ เราเรี ย กความสั ม พั น ธ์ ลักษณะนีว้ ่า Cobot (Collaborative Robot) ระบบอั ตโนมัติ และ AI ได้ข ยายขอบเขตของการ เป็นผู ้ช่วยในงานที่หลากหลาย ตัง้ แต่การออกแบบเป็น หุ่ น มื อ อั จ ฉริ ย ะประสานการท างานร่ ว มกั น ระหว่ า ง แรงงานคน ซึ่ ง มีใ ห้เห็ นมากมายในอุ ตสาหกรรมโรงงาน และการวิจัย เช่ น KUKA แขนกลที่ทาหน้าที่เสมือนมือที่ 3 ของมนุษย์ สามารถจับยึดและเพิม่ ขอบเขตความสามารถ ในการทางานที่ต้องใช้ ความแข็ง แรงของพละกาลังของ ร่างกาย หรือ Baxter ผู ้ช่วยหุ่ นเครื่องกลของบริษั ท Stenner Pump ในรัฐฟลอริดา ที่ถูกออกแบบให้มีรูปร่าง หน้าตาที่เป็นมิตร ให้ความรู้สึกดัง่ ทางานร่วมกันกับเพื่อน 11 icn


หรือ หากจะเน้น เรื่ องความแข็ งแรง รวดเร็ว และเงีย บ ก็ต้องยกให้นวัตกรรม AUBO ที่ขึ้นชื่อเรื่องนา้ หนักและ ความคงทนที่มีฐานการผลิตหลักอยู ่ในประเทศจีน ซึ่ งมี คู่แข่งสาคัญอย่างนวัตกรรม UR ของ Universal Robots Cobot สั ญ ชาติ เ ดนิ ชที่ บุ กตลาดการผลิ ต ของอิ น เดี ย มา 2 ปี แล้ว และมีแนวโน้มขยายไปยังฐานการผลิตทัว่ โลก นอกจาก Cobot จะถูกออกแบบมาในรูปแบบของ หุ่นยนต์แล้ว มันยังได้รับการพัฒนาให้อยู ่ ในรูปของกลไก การแสดงผลผ่านเครื่องมือ AR (Augmented Reality: เทคโนโ ล ยี ท่ี สร้ างโล กดิ จิ ทั ล ใ ห้ ทั บ อยู ่ บ น โล กแห่ ง ความเป็นจริง) และ VR (Virtual Reality: การจาลองโลก เสมือนจริงขึ้นมาซึ่ งโลกเสมือนจริงนี้ไม่มีส่ วนเกี่ ยวข้อ ง กับโลกแห่งความเป็นจริงแต่อย่างใด) ด้วย บริษัท Microsoft ใช้ ระบบ AR ในการประชุ มทางไกลแบบเห็นภาพจริงผ่าน กล้ อ งของ HoloLens ในสถานการณ์ ห น้ า งานของ เครื่ อ งจั ก รอุ ตสาหกรรม หรื อ เมื่ อ แรงงานต้ อ งการ คาแนะนาจากผู ้เชี่ยวชาญบริเวณหน้างาน เช่ นเดียวกับ การทางานของ NASA ที่นาอุ ปกรณ์ระบบ MR (Mixed Reality: การรวมเอาโลกดิจิทัลกับโลกแห่งความเป็นจริง เข้ า ไว้ ด้ ว ยกั น สามารถตอบสนองกั น และกั น ระหว่ า ง โลกเสมื อ นจริ ง กั บ โลกแห่ ง ความเป็ น จริ ง ) มาเปิ ด ประสบการณ์การเรียนรู้และฝึ กฝน เพื่อให้นักบินอวกาศ เกิ ด ความช านาญในการใช้ ชี วิ ต แล ะปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ในสภาพจาลองบนอวกาศ จากตั ว อย่ า งมากมายที่เ กิ ด ขึ้น ความสามารถ ของหุ่ น ยนต์ เ ป็ น ความจริ ง ที่ ต้ อ งยอมรั บ ซึ่ งหากน า ศักยภาพดังกล่าวมาพัฒนาควบคู่กับศักยภาพแรงงาน มนุษย์ บริษัทผู ้นาด้านวิจัยเทคโนโลยีเชื่ อว่ าจะสามารถ ก่อให้เกิดผลลัพธ์ท่ีดียิ่งขึ้น McKinsey & Company ได้ รวบรวมสถิ ติ การเติ บ โตของระบบการท างาน Cobot ในอุ ตสาหกรรมของสหรัฐอเมริกาว่าสูงขึ้นมาจากปี 2016 เป็น 10% และจะสามารถขยับเป็น 25% ภายในปี 2025 จากการส ารวจแรงงานคนทั ้ง ในสหรั ฐ อเมริ ก าและ สหราชอาณาจักร พบว่ามากกว่า 80 % ได้เริ่มการฝึ ก ทางานกั บหุ่น ยนต์บ้ างแล้ ว และพร้ อมจะรั บมื อกั บการ ท างานระบบนี้ เพราะเชื่ อในความเป็ นกลางและ ความปลอดภัย เช่ นเดียวกับบริษัท Dell ที่คาดการณ์ว่า หลายบริษัทในภาคอุ ตสาหกรรมต้องปรับตัวเรื่องวิชาชีพ ข อ ง แ ร ง ง า น ค น ใ ห้ ส า ม า ร ถ เ รี ย น รู้ แ ล ะ ป ร ะ ส า น ความสามารถให้เข้ากับการทางานของหุ่นยนต์ ให้ ได้ icn 12

ไม่ เ พี ย งแต่ ภ าคธุ รกิ จ และภาคอุ ตสาหกรรมที่ ต้ อ งปรั บ ระบบการท างาน ภาคการศึ ก ษาเองก็ ต้ อ ง ปรั บ ตั ว ให้ ส อดคล้ อ งกั บ แนวทางดั ง กล่ า วด้ ว ยการ ออกแบบและพั ฒ นาหลั ก สู ต รที่ ช่ วยสร้ า งศั ก ยภาพ ด้ า นทั ก ษะให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาที่ จ ะจบออกมาเป็ น แรงงาน ก้าวเข้าสู่โลกอนาคตที่มีความเท่าเทียมกันระหว่างคนกับ หุ่นยนต์ ยกตัวอย่าง สถาบันออกแบบ Kolding ของ ประเทศเดนมาร์ก ที่ร่วมมือกับบริษัท LEGO ออกแบบ โปรแกรมการเรียนสาขา Design for Play โดยมีเป้ าหมายว่า นั ก ศึ ก ษาที่ จ บจากหลั ก สู ต รนี้จ ะสามารถสร้ า งสรรค์ ผลงานและน าไปใช้ ส าหรั บ การท างานในองค์ ก ร โดยสามารถรับมือกับบริบทที่เกิดขึ้นระหว่างแรงงานคน และหุ่นยนต์ ได้ หรือมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ดที่ได้เปิ ด การเรียนการสอนวิชา Malicious Use of Artificial Intelligence ขึ้นในปี 2018 เพราะเชื่อว่ามนุษย์สามารถ ท างานร่ ว มกั บ หุ่ น ยนต์ ได้ การเรี ย นรู้ แ ละเข้ า ใจระบบ จะช่ วยให้พืน้ ที่การทางานของทัง้ 2 ฝ่ ายประสานกันได้ อย่ า งลงตั ว เพื่ อ ความก้ า วหน้ า ของชี วิ ต ในอนาคต ทัง้ ยังควบคุมความปลอดภัยในการทางานระหว่างกัน หากเรารั บ มื อ ด้ ว ย การตั ้ ง รั บ ตั ้ ง แต่ ร ะบ บ การศึ กษา ไม่ว่า Cobot ที่ถูกผลิตออกสู่ตลาดแรงงาน จะมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร หรือใช้ ระบบการประมวลผล รู ปแบบไหน ก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพการทางาน เป็นทีมระหว่างคนและหุ่นยนต์ ได้ การพัฒนาศักยภาพ การทางานนี้ต้องประกอบไปด้วยการเรียนรู้ท่ีจะทางาน ไปพร้ อ มกั บ หุ่ น ยนต์ ไ ม่ ว่ า จะในรู ป แบบผู ้ ช่ วยออกแบบ โครงการทางานและการผลิต (Co-Design and Manufacturing Process) เป็นผู ้ให้คาแนะนา (Digital Job Guidance) รายงานความคืบหน้า (Progress Monitoring) และนามา แสดงผลเพื่ อ หาทางออกต่ อ ไปในรู ป แบบ On-Site Visualization and Planning หรื อเป็น ผู ้ ช่วยเพื่ อ ความปลอดภัย (Safety Guidance) และจัดระเบียบ ดูแลทรัพย์สินและระบบภายใน (Asset Management) เท่านีแ้ รงงาน Cobot ที่ดูไม่คุ้นเคย ก็จะกลายเป็นต้นทุน บนนิยามของคาว่าแรงงานใหม่ท่ีทาหน้าที่เสมือนหนึ่งใน ทีมงาน เพื่อรับมือกับโอกาสใหม่ๆที่ท้าทายซึ่ งจะเกิดขึ้น ในอนาคต ที่ มา:

บทความ “COBOT REVOLUTION คน หุ่นยนต์ ทีมงานแห่งยุ คดิจิทัล” เจาะเทรนด์โลก 2019 โดย TCDC Core Idea: Technology https://www.mmthailand.com/cobot-หุ่นยนต์-อัจฉริยะ/ https://www.fennect.com/single-post/2017/09/21/what-is-vr-ar-mr ภาพจาก: https://en.wikipedia.org/wiki/Cobot


Detox อารมณ์ เพื่อชีวิต (ความสาเร็จ) ที่ง่ายขึ้น

เส้าหลิน

นักร้ อง นั กดนตรี นักกวี ผู ้ ท่ีไ ด้ ชื่อ ว่ าเป็ นศิ ล ปิ น นอกจากใช้ ความคิดและจินตนาการแล้ว ยังต้องใช้ “อารมณ์” ในการรั ง สรรค์ ผ ลงานอั น เป็ น ศิ ล ปะเพื่ อ แสดงสู่ ส ายตา ชาวโลก ซึ่ งในความเป็นจริงแล้วนัน้ อารมณ์ ไม่ได้มีเฉพาะ ในกลุ่มศิ ลปิ นเท่านัน้ แม้แต่เราๆท่านๆก็มีเช่ นกัน บางวัน อารมณ์ดีก็จะมีความสุขทัง้ วัน ส่งผลให้งานออกมาดี ทาอะไร ก็ดูง่ายและราบรื่นไปทุกสิ่ง แต่ถ้าวันใดอารมณ์เสีย จะหยิบจับ ท าอะไรก็ ก ลายเป็ นอุ ปสรรคดู ขั ด หู ขั ด ตาไปเสี ย หมด เมื่ออารมณ์เสียสะสมมากๆเข้าก็กลายเป็นความเครียด แสดงว่า…คนที่ประสบความสาเร็จหรือคนที่ผ่านพ้น ทุกอุ ปสรรค ต้องอารมณ์ดีตลอดเวลาเลยหรือ!? ไม่จาเป็นเสมอไป เพราะเรื่องของอารมณ์เป็นสิ่ง ที่ ห้ามไม่ได้ แต่สามารถบาบัดได้ด้วยการล้างพิษ (Detox) ทางอารมณ์ ซึ่ ง ผู ้ ท่ี ส ามารถจั ด การกั บ อารมณ์ ไ ด้ นั ้น ย่อมส่งผลให้เกิดวินัยในการดารงชีวิตที่มีแต่คาว่า ดีขึ้น ดีขนึ้ และสาเร็จ ถึ ง เวลาต้ อ ง Detox ในปี 2017 รัฐสภาแห่งรัฐ Ottawa ของแคนาดา ได้สร้าง ห้องลับ Rage Room ราคา 2.4 ล้านดอลลาร์สาหรับ สมาชิ กรัฐสภา โดยโฆษกรัฐสภายืนยันว่า ในวันที่สมาชิ ก รัฐสภาเครียดควรจะมีพืน้ ที่ไว้สาหรับปลดปล่อยและระบาย ความเครียดโดยการปาข้าวของเพื่อบาบัด จนมีคนแซวว่า หรือนี่คือความลับที่ทาให้ประเทศนีม้ ีแต่คนอัธยาศัยดี สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูง ความกดดันสูง ทาให้ประชากรในประเทศเกิดความเครียด ตั ้ง แต่ เ ด็ ก ไปจนถึ ง คนชราวั ย เกษี ย ณ แต่ ต อนนี้ มี สิ่ ง ที่ สามารถจะแก้ไขปั ญหาดังกล่าวแล้ว นั่นคือ “ห้องระบาย ความเครียด” ซึ่ งเป็นห้องไว้ ใช้ สาหรับทาลายสิ่งของ เพื่อ ปลอดปล่อยความเครียดที่มีอยู ่นนั ้ ออกไป

หรือแม้แต่ ในประเทศจีนก็เช่ นเดียวกัน เกิดธุ รกิจ ที่เรียกว่า “ห้องระบายอารมณ์” โดยกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย คือคนอายุ 20-35 ปี ที่มีความเครียดหรือได้รับแรงกดดัน จากการท างาน หรื อ จากการใช้ ชีวิ ตอยู ่ ใ นเมื อ งใหญ่ เช่ น ปั กกิ่ง ซึ่ งธุ รกิจดังกล่าวได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี โดยมีผู้มาใช้ บริการเฉลี่ย 600 คนต่อเดือน คงถึ ง เวลาแล้ ว ที่ ต้ อ งล้ า งพิ ษ !!! แทนการ ปลดปล่อยพลังไปกับการระบายด้วยความรุ นแรง หลายท่านคงคุ้นเคยกับคาว่า Detox และคิดว่า เป็นเรื่องเฉพาะลาไส้ การระบายของเสีย หรือการล้าง พิ ษ ออกจากร่ า งกาย เพื่ อ ให้ ร่ า งกายสดชื่ น ขึ้ น ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ในทางกลับกันการสะสมอารมณ์ ทัง้ บวกและลบไว้ ในร่างกายมากๆย่อมก่อให้เกิดผลร้าย ต่อร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรมเช่ นกัน “อารมณ์” คือ ความรู้สึกที่เกิดจากการได้รับ การกระทบจากสิ่งเร้า อารมณ์มีได้ทัง้ ทางบวกและทางลบ เป็นได้ทัง้ ความพึงพอใจและความรู้สึกไม่สมปรารถนา พฤติ ก รรมของมนุ ษ ย์ เ ราเป็ น จ านวนมากอยู ่ ภ ายใต้ การควบคุ ม ของอารมณ์ ดั ง นั ้ น อารมณ์ จึ ง มี ความสาคัญและเป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้และทาความเข้าใจ

13 icn


1. ใช้ เ วลาของวั น นี้ เ ตรี ย มการส าหรั บ งานใน วั น พรุ ่ ง นี้ เทคนิ ค การใช้ เวลาในแต่ ล ะวั น แต่ละสัปดาห์ ต้องแบ่งเวลา 1 วันเป็น 3 ส่วน แล้วผ่อนหนักผ่อนเบาในการทางานแต่ละวัน 2. ก าหนดความส าคั ญ ของงานแต่ ล ะอย่ า ง แล้วทาให้เสร็จทีละอย่าง งานที่ต้องใช้ เวลามาก ควรเขี ย นลงในก าหนดการว่ า จะท าช่ วงไหน เมื่อไร หากจาไว้ ในใจเพียงอย่างเดียว ก็จะมีแต่ ความกดดันทาให้รู้สึกว่ามีภาระหนักมาก 3. ต้ อ งมี เ วลา Golden Time เป็ น ของตั ว เอง เวลาทองส าหรั บ ตั ว เอง คื อ เวลาที่ ตั ว เอง สามารถทางานอดิเรกหรือ สิ่งที่ตัวเองชอบได้ เพิ่มความรวดเร็วในการทางาน กาจัดความสูญเปล่า ความไม่ ส ม่ า เสมอ ซึ่ งจะท าให้ เ ราเพิ่ ม งาน ที่สร้างมู ลค่าเพิ่มให้ ได้มากขึน้ การวางแผนงาน แล้วทางานอย่างมีแผนจะช่ วยลดความสูญเปล่าได้ นอกจากนั ้น ยั ง ต้ อ งค้ น หาเวลาทองส าหรั บ ครอบครัวด้วย

ก า ร ดี ท็ อ ก ซ์ ห รื อ Detox ม า จ า ก ค า ว่ า Detoxification ซึ่ ง แ ป ล ว่ า ก า ร ข จั ด ส า ร พิ ษ แ ล ะ สิ่งแปลกปลอมออกไปจากร่างกาย โดยใช้ ระยะเวลาสัน้ ๆ ซึ่ ง การ Detox อารมณ์ จ ะเริ่ ม จากการผ่ อ นคลาย ความคิด คือ

     

ไม่เปรียบเทียบตัวเรากับใครในทุกด้าน นึกถึงแต่สงิ่ ดีๆที่เรามี ทิง้ ความผิดพลาดแต่หนหลังไว้ ในอดีต ทาในสิ่งที่รักและชอบ พู ดคุยกับตนเองอย่างอ่อนโยน ให้เวลาตนเองได้หยุ ดพัก

มาถึงจุ ดนี้ คงต้องลอง Detox อารมณ์สักครัง้ เพื่อ เพิ่ม พลัง บวกในการฟั น ฝ่ าทุ กปั ญ หา แล้ วท่า นจะ ใช้ ชีวิตได้อย่างโล่งขึน้ สู่ความสาเร็จได้อย่างไม่ติดขัด การได้ ล้ า งพิ ษ ทางอารมณ์ จึ งเปรี ย บเสมื อ นกั บ การได้ระบายของเสีย (ความทุกข์) ออกจากร่างกาย เพื่อให้พร้อมรับกับทุกสถานการณ์ท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต ด้วยเทคนิคการจัดการที่ทาให้ชีวิตนีง้ ่ายขึน้ 3 ประการ คือ

อ้างอิง : https://www.manarcoasia.com/; ผู ้เขียน ดร. สมมิทธิ์ มีแสงนิล. ภาพจาก: http://www.cocomy.net/post/992329

สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ ออนไลน์

เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ

หลักสูตรด้านศุลกากร

หลักสูตรการใช้งานระบบ IC

หลักสูตรการบริหารจัดการ

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน icn 14

0 2 9 3 6 1 4 2 9 ต่ อ 2 0 5 - 2 0 9


สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

กลยุ ทธ์การดาเนินธุ รกิจ

ส่งออก

อย่างมืออาชีพ สาหรับผู ้บริหาร หัวข้อการสัมมนา • ภาพรวมธุ รกิจส่งออกและนาเข้า • หลักทาสัญญาอย่างไรไม่ ให้เสียเปรียบ • การตัง้ ราคาส่งออกอย่างไร โดยใช้ ราคา INCOTERMS®2010 • การเลือกเทอมการชาระเงินแบบไหนถึงไม่เสี่ยง (Advance Payment, Bill for Collection, L/C) • การได้รับ L/C แล้วมีเงื่อนไขอะไรที่ต้องรู้จริง • Bill of Lading ที่ต้องรู้ • การเตรียมเอกสารส่งออกอย่างไรจึงจะขึน้ เงิน ธนาคารได้ (Invoice, Packing List, Certificate of Origin, etc) • การจะใช้ สิทธิประโยชน์การค้า FTA ได้อย่างไร (FORM A, Form D, Form E, JTEPA) • กรณีศึกษา: คดีท่เี กี่ยวกับการค้าระหว่าง ประเทศ

เหมาะสาหรับ เจ้ า ของกิ จ การ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ผู ้ จั ด การ/ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน ฝ่ ายบัญชี ฝ่ ายต่างประเทศ ฝ่ ายนาเข้า-ส่งออก และผู ้สนใจทัว่ ไป

วันพฤหัสบดีท่ี 23 พฤษภาคม 2562 เวลา 09.00-16.00 น. โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

ดร.อิทธิกร ขาเดช • ผู ้เชี่ยวชาญการค้าระหว่างประเทศ 20 กว่าปี • ผู ้พิพากษาสมทบศาลทรัพย์สินทางปั ญญา และการค้าระหว่างประเทศ

อัตราค่าสัมมนา ประเภท

อัตรา ค่าสัมมนา

Early Bird สมัครและชาระเงิน ภายในวันที่ 15 พ.ค. 62

สมาชิ ก

3,745

3,210

บุ คคลทั่วไป

4,815

4,280

อัตรานีร้ วมค่าเอกสาร อาหารว่าง และภาษี มูลค่าเพิม่ ค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200%

ลงทะเบี ยนสารองที่นั่ง ออนไลน์ ได้ท าง http://icis.ic.or.th สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม  แผนกฝึ กอบรมและบริ ก ารนั ก ลงทุ น โทรศั พ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 205-209 โทรสาร 0 2936 1441-2 ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ทาง www.ic.or.th


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

กิจกรรมสมาชิก ครัง้ ที่ 1/2562 มาตรการศุลกากร สาหรับสินค้าที่ใช้ ได้สองทาง (Dual-Use Items) กับการควบคุมการส่งออก ด้วยรหัสตัวเลข HS (Harmonized System) <<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดสัมมนาฟรีสาหรับสมาชิ ก ครัง้ ที่ 1/2562 เรื่อง “มาตรการศุลกากรสาหรับสินค้าที่ใช้ ได้สองทาง (Dual-Use Items) กับการควบคุมการส่งออกด้วยรหัสตัวเลข HS (Harmonized System)” เมื่ อ วั น ที่ 29 มี น าคม 2562 ณ ห้องแมจิก 2 ชัน้ 2 โรงแรม มิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชัน่ เพื่ อ ให้ ส มาชิ ก ได้ รั บ ความรู้ แ ละความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ กฎหมาย การควบคุ ม สิ น ค้ า ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การแพร่ ข ยายอาวุ ธที่ มี อานุภาพทาลายล้างสูง อาวุ ธยุ ทธภัณฑ์ และสินค้าที่ใช้ ได้สองทาง (Dual-Use Items) โดยได้ รั บ เกี ย รติ จ าก ดร.สงบ สิท ธิเ ดช หัวหน้าฝ่ ายบริการศุลกากรที่ 2 ส่วนบริการศุลกากร ด่านศุลกากร มาบตาพุ ด วิทยากรผู ้เชี่ยวชาญด้านการตรวจสอบสินค้าอาวุ ธ ทาลายล้างสูงและที่ใช้ ได้สองทาง (WMD-DUI) เป็นผู ้บรรยาย โดยหัวข้อการบรรยายประกอบด้วย ระบบควบคุมการนาเข้า ส่งออกสินค้าที่ใช้ ได้สองทางของไทย (DUI) มาตรการศุลกากร ส าหรั บ สิ น ค้ า ที่ ใ ช้ ไ ด้ ส องทาง เป็ น ต้ น อี ก ทั ้ง ยั ง เปิ ดโอกาสให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาได้ ซัก ถามกรณี ปั ญหาต่ า งๆที่ พ บในการ ปฏิบัติงานด้วย

icn 16


เอกสารทีใ่ ช้ ในการแก้ไขข้อความในบัตรส่งเสริม

มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

Q : ถ้าบริษัทมีการเพิ่มทุนจดทะเบียน เช่ น เพิ่ ม จาก 150 ล้ า นบาท เป็ น 300 ล้านบาท บริษัทจะต้อง ดาเนินการนาบัตรส่งเสริมการลงทุนไปติดต่อที่ฝ่ายบัตรส่งเสริมเพื่อแก้ไขหรือเพิ่มเติมรายละเอียด ในบัตรส่งเสริมหรือไม่ และหากต้องแก้ไขหรือเพิ่มรายละเอียด บริษัทจะต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง เพื่อนาไปดาเนินการติดต่อกับฝ่ ายบัตรส่งเสริม A : ในบั ตรส่ งเสริม หมวดเงื่ อนไขเฉพาะโครงการ มีเงื่ อนไขก าหนดว่ า จะต้ องมี ทุ นจดทะเบี ยนไม่น้ อยกว่ า.... หากบริษัทมีการแก้ไขทุนจดทะเบียน แต่ ไม่ต่ากว่าที่กาหนดในบัตรส่งเสริม จะไม่ถือว่าผิดเงื่อนไข และไม่ต้องแก้ไขบัตรส่งเสริม หากบริษัทมีการแก้ไขทุนจดทะเบียนและต่ากว่าที่กาหนดไว้ ในบัตรส่งเสริม จะต้องยื่นแบบคาขอ แก้ ไขทุนจดทะเบียนและต้องแก้ไขบัตรส่งเสริม ในบัตรส่งเสริม (รุ ่นเก่า) หมวดเงื่อนไขทั่วไป มีเงื่อนไข กาหนดว่า บริ ษัทจะต้ องรายงานให้ BOI ทราบในกรณีท่ีมีก ารเปลี่ ยนแปลงอัตราส่วนการถือหุ้ น ระหว่ า งผู ้ มี สั ญ ชาติ ไ ทยและคนต่ า งด้ า ว และการเปลี่ ย นแปลงการถื อ หุ้ น ของคนต่ า งด้ า ว ต่างสัญชาติทุกครัง้ หากการแก้ไขทุนจดทะเบียนตามข้อ 1 มีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนผู ้ถือหุ้น ซึ่ งเข้าข่ายที่จะต้อง รายงาน ก็ จ ะต้ อ งยื่ น รายงานให้ BOI ทราบ แต่ ห ากการแก้ ไ ขทุ น จดทะเบี ย นไม่ เ ข้ า ข่ า ยที่ ต้ อ ง รายงาน หรือในบัตรส่งเสริม (รุ ่นใหม่) ไม่มีเงื่อนไขกาหนดให้ต้องรายงาน ก็ไม่ต้องรายงาน BOI

ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ต้องมีมุมมองที่เป็นบวก แล้วก็มองในวิกฤตให้มีโอกาสได้ การมองคิดบวกอยู ่ตลอดเวลา แม้ ในยามที่แย่ท่สี ุด ก็จะค้นหาและมองว่า อะไรคือทางแก้ปัญหาที่จะทาให้ดีขนึ้

คุณศุภชัย เจียรวนนท์ ประธานคณะผู ้บริหาร เครือเจริญโภคภัณฑ์ ประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน่ จากัด ที่มา>> https://www.posttoday.com/politic/report/368488 ภาพจาก> http://forbesthailand.com/world-detail.php?did=1787

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก

www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมู ลเพิม่ เติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร 0 2936 1529 17 icn


ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ

@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ

Add friends

IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย

ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !


สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น บริ ก ารจั ด หลั ก สู ต ร

IN-HOUSE TRAINING  ประหยัดค่าใช้ จ่าย  ออกแบบเนือ้ หาเฉพาะองค์กร แนะนาหลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน ชื่อหลักสูตร

จานวน (วัน)

ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท)

25 ท่าน

35 ท่าน

1 ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

2 วิธีการขอเปิ ดดาเนินการ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

3 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

4 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1/2 วัน

23,000

25,000

5 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

หมายเหตุ : • อัตราค่าธรรมเนียมรวมค่าวิทยากร เอกสารการฝึ กอบรม ค่าเดินทาง และค่าดาเนินการ • ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิม่ 7% และค่าที่พัก (ถ้ามี) • อัตราค่าธรรมเนียมที่ระบุ ในเอกสาร เป็นอัตราประมาณการ ซึ่ ง อาจมีก ารเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ขึ้นอยู ่กับ รูปแบบการฝึ กอบรม จานวนผู ้เข้าอบรม ประเภทวันที่จัดงาน จานวนวัน พืน้ ที่จัดงาน รายละเอียดเพิ่มเติมของเนือ้ หา และอื่นๆ • สมาคมขอสงวนสิทธิห้ามบันทึกภาพและ/หรือเสียงในการอบรมทุกหลักสูตรทุกกรณี • ค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200%

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม  0 2936 1429 ต่อ 207 โทรสาร 0 2936 1441-2

website : www.ic.or.th

e-mail : is_inhouse@ic.or.th


แนะนาหลักสูตรด้านศุลกากร และอืน่ ๆ ชื่อหลักสูตร

จานวน (วัน)

ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท) 25 ท่าน

35 ท่าน

1

เกณฑ์การคานวณกาไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดทางบการเงินสาหรับ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

1

40,000

43,000

2

กฎหมายศุลกากรและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร

1

40,000

43,000

3

สิทธิประโยชน์ศุลกากรภายใต้ AEC

1

40,000

43,000

4

สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอด อากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone)

1

40,000

43,000

5

กฎว่าด้วยถิน่ กาเนิดสินค้า (Rules of Origin)

1

40,000

43,000

6

พิธีการทางศุลกากรระบบใหม่และสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากรระบบอิเล็กทรอนิกส์

2

78,000

85,000

7

การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุ ทรณ์การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศุลกากร

1

47,000

50,000

8

การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ และ Incoterm®2010

1

45,000

48,000

9

ระบบการวางแผนจัดซื้อ

1

51,000

54,000

10

การบริหารการจัดซื้อ จัดเก็บ และจัดส่ง

1

45,000

48,000

11

เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า

1

45,000

48,000

และอีกหลากหลายหลักสูตร เพือ่ พัฒนาองค์กร และบุ คลากร • • • • • • • • •

หลักสูตรด้านบริหารการผลิต อาทิ 5ส TPM TQM Kaizen หลักสูตรด้านบัญชีและภาษี หลักสูตรด้านการนาเข้า-ส่งออก หลักสูตรด้านกฎหมาย อาทิ กฎหมายเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ หลักสูตรด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน หลักสูตรด้านบริหารจัดการองค์กร (Management) หลักสูตรด้านการบริหารทรัพยากรบุ คคล (Manpower) หลักสูตรด้านการตลาด (Marketing) ฯลฯ


ตารางสัมมนาประจ�ำเดือน พฤษภาคม – มิถนุ ายน 2562 วันสัมมนา

ชื่อหลักสูตร

สถานที่จัด

วิทยากร

โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

อัตราค่าสัมมนา สมาชิก

บุคคลทั่วไป

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน

5,350

6,420

หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน กรุงเทพ 4 พ.ค.2562 (09.00-16.00 น.)

วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 2/2562

24-26 พ.ค.2562 (09.00-17.00 น.)

วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 3/2562 (รับวุฒิบัตร)

1 มิ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)

วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับเครือ่ งจักรและอุปกรณ์สำ� หรับกิจการที่ได้รบั การ ห้องอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 12 ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 4/2562 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

9 มิ.ย. 2562 (09.00-12.00 น.)

การใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับกิจการ ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 2/2562

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

วิทยากรจาก BOI

1,605

1,926

19 มิ.ย. 2562 (09.00-17.00 น.)

กลยุทธ์การวางแผนภาษีส�ำหรับกิจการ BOI ครั้งที่1/2562

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

อ.สมชาย แสงรัตนมณีเดช ที่ปรึกษากฎหมายภาษีอากรอิสระให้เอกชน

5,350

5,885

15-16 มิ.ย. 2562 (09.00-17.00 น.)

ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจ สอบ และแนวทางปฏิบัติส�ำหรับผู้จัดท�ำบัญชีของกิจการที่ ได้รับ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ครั้ ง ที่ 3/2562 (อยู ่ ร ะหว่ า งการขออนุ มั ติ CPD&CPA)

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี

4,280

5,350

22 มิ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 3/2562

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

8 มิ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)

วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับวัตถุดบิ และวัสดุจำ� เป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 4/2562

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

โรงแรม โอ๊ควูด โฮเทล แอนด์ เรสซิเดนซ์ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี

วิทยากรจาก BOI

2,996

4,066

โรงแรม รอแยล เบญจา (ถนนสุขุมวิท ซอย 5)

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน ชลบุรี 11 พ.ค.2562 (09.00-17.00 น.)

วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน (ชลบุรี) ครั้งที่ 1/2562

หลักสูตรการบริหารจัดการ 15 พ.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)

INCOTERMS®2010 ข้อบังคับทางการค้าระหว่างประเทศ

23 พ.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)

กลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจส่งออกอย่างมืออาชีพส�ำหรับผู้บริหาร

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

ดร.อิทธิกร ข�ำเดช

3,210

4,280

25 พ.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับความผิดทางศุลกากรตามกฎหมายใหม่ 2560

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

28 พ.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)

เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

คุณคัตลิยา กุญชร ณ อยุธยา

2,996

3,852

7 มิ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)

สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความตกลงระหว่างประเทศภายใต้ JTEPA

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

วิทยากรจากกรมศุลกากร

2,996

3,852

8 มิ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)

พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน ฉบับปี 2017

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

11 มิ.ย. 2562 (13.00-16.30 น.)

การยื่นแบบและการค�ำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA)

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

คุณเมธี แสงมณี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

1,712

2,033

13 มิ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)

การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศ และINCOTERM®2010

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

18 มิ.ย. 2562 (09.00-17.00 น.)

พ.ร.บ. “Transfer Pricing” การเตรียมความพร้อมและการป้องกัน กรณีถูกตรวจสอบ (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA)

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

คุณเมธี แสงมณี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

3,424

4,280

21 มิ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)

เทคนิคการเช็คสต็อกอย่างมีประสิทธิภาพ

โรงแรม รอแยล เบญจา (ถนนสุขุมวิท ซอย 5)

คุณคัตลิยา กุญชร ณ อยุธยา

2,996

3,852

25 มิ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)

กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ 2560 และวิธีจัดเก็บค่าภาษีอากร

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

27 มิ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)

ขั้นตอนการขออนุญาตท�ำงานของชาวต่างชาติในประเทศไทย

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

คุณวิรดา ยูวะเวส พ.ต.อ.หญิง นัฐวินุศ หัสดินทร ณ อยุธยา

2,996

3,852

29 มิ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)

การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรกับเขตการค้าเสรี FTA ทุกความตกลง

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจส�ำรองที่นั่งเข้าร่วมสัมมนาได้ที่ คุณวิลาสินี คุณกาญจนา คุณศิริรัตน์ หรือ คุณชาตรี แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205-209 โทรสาร 0-2936-1441-2 E-mail : is-investor@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.