Vol.19 / May 2020 IC ให้บ ริการงาน RMTS และ eMT อย่า งต่อเนื่อง ในช่ วงโควิด -19 เทคโนโลยี เ ร่ ง รั ด รั บ มื อ ไวรั ส COVID-19 (1)
มาตรการบีโอไอ บรรเทาผลกระทบผู้ประกอบการ
จากวิกฤต COVID-19
“หากคุณจับต้นชนปลายไม่ถูก”
Single Window for
Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 หรือ 065 205 6009 คุณพัชรี ต่อ 312 patchareek@ic.or.th
www.ic.or.th
04 07
IC ให้บริการงาน RMTS และ eMT อย่างต่อเนื่อง ในช่ วงโควิด-19
มาตรการบีโอไอบรรเทาผลกระทบ ผู ้ประกอบการจากวิกฤต COVID-19 การแสดงหนังสือรับรอง ถิน่ กาเนิดสินค้าสาหรับผู ้นาของเข้า ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19
ที่ป รึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพท์ : 0 2936 1429 ต่อ 201 e-mail : icn@ic.or.th
13
09
18
เทคโนโลยีเร่งรัด รับมือไวรัส COVID-19 (1)
“โอกาส” ยังมี แม้ COVID-19 (วิกฤต) จะมา
ในช่ วงเวลานี้ที่การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ยังคงมีอยู ่อย่างต่อเนื่อง เป็นที่แน่นอนว่าทุกคน กาลังตกอยู ่ ในภาวะวิตกกั งวล เกิดความเครียด ความหวาดระแวง และความไม่มั่นใจต่ อ ชี วิ ตในอนาคต ข้ า งหน้ า ด้ ว ยเพราะสถานการณ์ แ พร่ ร ะบาดของเชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19 ที่ ทั่ ว โลกก าลั ง เผชิ ญ อยู ่ ไ ด้ ส ร้ า ง ความเสียหายกับผู ้คนทัง้ ด้านร่างกายและจิตใจ และที่สาคัญไปกว่านัน้ คือ ความเสียหายด้านเศรษฐกิจตัง้ แต่ ระดับฐานรากจนถึงระดับประเทศ เชื้อไวรัสนี้เปลี่ยนวิถีการใช้ ชีวิตของคนในสังคมไปอย่างสิน้ เชิ ง ไม่ว่าจะเป็นการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ในการทากิจกรรมต่างๆร่วมกัน รูปแบบการจับจ่ายซื้อหาสินค้าอุ ปโภคบริโภคเปลี่ยนเป็น การสัง่ ซื้อผ่านช่ องทางออนไลน์เกือบจะทัง้ หมดเนื่องจากการปิ ดให้บริการของห้างสรรพสินค้าและร้านค้าต่างๆ แทบทุกประเภท คงเหลือไว้เพียงร้านอาหารและซู เปอร์มาร์เก็ตที่ยังเปิ ดให้บริการโดยลูกค้าสามารถซื้อกลับบ้าน ได้เท่านัน้ ทัง้ หมดที่เกิดขึน้ เพื่อเป้ าหมายเดียวคือการป้ องกัน ยับยัง้ และลดการสูญเสียจากการแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสดังกล่าว นอกจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตที่กล่าวมาข้างต้น หน่วยงานด้านสาธารณสุขที่รับผิดชอบ แก้ไขปั ญหาที่เกิดขึน้ โดยตรงก็ประสบปั ญหาอย่างหนักหน่วง ไม่ว่าจะเป็นการขาดแคลนอุ ปกรณ์ป้องกันทางการแพทย์ เช่ น หน้ากากอนามัย ที่มีประเด็นดราม่ากันไม่เว้นแต่ละวัน รวมถึงเวชภัณฑ์สาหรับทาความสะอาดฆ่าเชื้อไวรัส และอุ ปกรณ์ทางการแพทย์อื่นๆที่จาเป็นต่อการใช้ งานในช่ วงนี้ อีกทัง้ โรงงานในภาคอุ ตสาหกรรมการแพทย์ที่ ผลิตผลิตภัณฑ์เหล่านีย้ ังไม่สามารถดาเนินการผลิตได้อย่างเต็มที่ด้วยข้อจากัดหลายประการ ส่งผลให้บุคลากร ทางการแพทย์มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากเป็นด่านหน้าในการรับมือและสู้กับปั ญหาวิกฤตโควิด-19 ที่เกิดขึน้ ภาครัฐเองไม่ ได้นงิ่ นอนใจกับปั ญหาที่เกิดขึน้ โดยที่ประชุ มคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บอร์ดบีโอไอ ได้มีมติเห็นชอบการออกมาตรการเพื่อช่ วยเหลือและบรรเทาผู ้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 โดยเฉพาะอุ ตสาหกรรมทางการแพทย์และอุ ตสาหกรรมด้านอื่นๆหลาย ประการ ทั ้ง มาตรการเพื่ อ สนั บ สนุ น การลงทุ น ในอุ ตสาหกรรมทางการแพทย์ เพื่ อ เร่ ง รั ด ให้ มี ก ารผลิ ต ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จาเป็นสาหรับรับมือกับโควิด-19 มาตรการสนับสนุนการปรับเปลี่ยนสายการผลิต เดิมเพื่อผลิตเครื่องมือแพทย์หรือชิ้นส่วน รวมถึงอุ ปกรณ์ที่ใช้ เพื่อวัตถุประสงค์ทางการแพทย์ และการปรับ สิทธิประโยชน์สาหรับกิจการผลิตวัตถุดิบที่ใช้ ในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ นอกจากนี้ บีโอไอยังออกมาตรการผ่อนปรนเพื่อบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู ้ประกอบการ เช่ น การ ขยายเวลาน าเข้ า เครื่ อ งจั ก รและเปิ ดด าเนิ น การ การขยายเวลาการด าเนิ น การให้ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง มาตรฐานสากล การผ่อนผันการขออนุญาตหยุ ดดาเนินกิจการชัว่ คราวเป็นระยะเวลาเกินกว่า 2 เดือน ซึ่ ง การเร่งออกและประกาศใช้ มาตรการดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงความห่วงใยของภาครัฐที่มีต่อผู ้ประกอบการ ภาคเอกชนซึ่ ง ต้ อ งเผชิ ญ ปั ญ หาภายใต้ ส ถานการณ์ ฉุ กเฉิ นที่ เ กิ ด ขึ้นนี้อ ย่ า งหลี ก เลี่ ย งไม่ ได้ อี ก ทัง้ ยั งต้ อ ง แบกรับภาระในการประคับประคองกิจการให้อยู ่รอดปลอดภัยไปจนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้นและคลี่คลายไปใน ที่สุด สาหรับผู ้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบสามารถติดตามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ www.boi.go.th สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น เองก็ ไ ด้ ด าเนิ น การหลายๆเรื่ อ งเพื่ อ ให้ ส ามารถให้ บ ริ ก ารได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยมุ ่ ง เน้ น การให้ บ ริ ก ารที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและค านึ ง ถึ ง ความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ของผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารภายใต้ ก รอบ ความปลอดภัยในช่ วงวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 เป็นสาคัญ เช่ น การเปลี่ยนช่ องทางการยื่น คาร้องทัง้ ด้านวัตถุดิบและเครื่องจักรสาหรับผู ้ใช้ บริการสมาคมฯทุกสาขา จากการเดินทางมายื่นคาร้องที่ สมาคมฯเป็นการส่งข้อมู ลคาร้องและเอกสารประกอบต่างๆ ผ่านช่ องทาง E-mail รวมถึงการปรับเปลี่ยนวิธี ปฏิ บั ติ ง านต่ า งๆให้ เ หมาะสมและเอื้อ ประโยชน์ สู ง สุ ด ให้ กั บ ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก าร นอกจากนี้ สมาคมฯยั ง ตระหนั ก ถึ ง ความเดือดร้อนจากการที่ผู้ประกอบการได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ดังกล่าว จึงช่ วยแบ่งเบาภาระด้วย การมอบส่ วนลด 10 % ส าหรั บค่า บริการระบบงานเครื่ อ งจั กรและวั ตถุ ดิบเป็นเวลา 6 เดือนในงวดเดือ น เมษายน – กันยายน 2563 และขยายเวลาชาระหนีค้ ่าบริการระบบงานเครื่องจักรและวัตถุดิบงวดเดือนมีนาคม – สิ ง หาคม 2563 ออกไปอี ก 3 เดื อ น โดยผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารสามารถติ ด ตามข่ า วสารและข้ อ มู ล อั พ เดทได้ ท าง www.ic.or.th สมาคมฯหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการดาเนินงานของสมาคมฯภายใต้ภาวะวิ กฤตการณ์ที่เกิดขึ้น จะเป็นอีกหนึ่งการสนับสนุนและกาลังใจให้ผู้ประกอบการสามารถฝ่ าวิกฤต Covid-19 ไปด้วยกัน บรรณาธิการ 3
icn
มาตรการบีโอไอ บรรเทาผลกระทบผู้ประกอบการ จากวิกฤต มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
สถานการณ์ท่ีเป็นภาวะวิกฤตซึ่ งทัว่ โลกกาลังเผชิญอยู ่ ในขณะนีค้ งหนีไม่พ้นการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า หรือที่รู้จักกันดีว่า “โควิด-19” (COVID-19) ซึ่ งสร้าง ความเดื อ ดร้ อ น ความเสี ย หาย และความสู ญ เสี ย อย่ า ง มากมายมหาศาลให้กับมนุษยชาติ ไม่ว่าจะเป็นการสูญเสีย ชีวิตของผู ้ติดเชื้อ การสูญเสียงานที่สร้างรายได้เลีย้ งดูชีวิต และครอบครัว การสูญเสียความสัมพันธ์ระหว่างกันเพราะ ต้องเว้นระยะห่างในการใช้ ชีวิตประจาวัน (Social Distancing) ถ้ า จ ะ เ ที ย บ กั บ ภั ย พิ บั ติ ก่ อ น ห น้ า นี้ ที่ โ ล ก เ ค ย เ ผ ชิ ญ ยั ง สร้ า งผลกระทบไม่ ร้ า ยแรงเท่ า กั บ สิ่ ง ที่ ก าลั ง เกิ ด ขึ้น และ เป็นอยู ่ ในปั จจุ บัน ภาพรวมด้านเศรษฐกิจและอุ ตสาหกรรมต่างก็ได้รั บ ความเสียหายในระดับรุ นแรงไม่ต่างจากด้านสังคมเช่ นเดียวกัน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID19 ส่ ง ผ ลกระ ทบให้ เ กิ ด ความ เสี ย หายแ บบมว ลรว ม ระดับประเทศ ผู ้ประกอบการในภาคธุ รกิจและภาคอุ ตสาหกรรม ต่ า งต้ อ งชะลอหรื อ หยุ ดการท างานตามการประกาศใช้ มาตรการของภาครัฐภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินไม่ว่าจะเป็น มาตรการ Lockdown มาตรการเว้ น ระยะห่ า งทางสั ง คม (Social Distancing) เพื่อยับยัง้ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โควิด-19 รวมไปถึงการลงทุนที่ต้องสะดุดลงเพราะนักลงทุน ต่างชาติไม่มั่นใจในความปลอดภัยและมาตรการแก้ไขปั ญหา ของประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ ในฐานะหน่ ว ยงานหลั ก ของภาครั ฐ ที่ ก ากั บ ดู แ ลด้ า นการ ส่ง เสริ มการลงทุนเล็งเห็ นและตระหนักถึงความสาคัญของ ปั ญหา ความเสียหาย และความเดือดร้อนที่ผู้ประกอบการ และนักลงทุนได้รับผลกระทบจากสถานการณ์แพร่ระบาดของ ไวรั ส ครั ้ง นี้จึ ง ได้ เ ร่ ง ออกมาตรการส าหรั บ ช่ วยรั บ มื อ และ บรรเทาผลกระทบจากโควิด-19 ประกอบด้วย icn
4
มาตรการเพื่ อ สนั บ สนุ น การลงทุ น ในอุ ตสาหกรรมทางการแพทย์ เพื่ อ เร่ ง รั ด ให้ มี ก ารผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างการ แพทย์ท่จี าเป็นสาหรับรับมือกับ COVID-19 ได้แก่ 1. มาตรการเร่งรัดการลงทุนในอุ ตสาหกรรม ทางการแพทย์ เ พื่ อ รั บ มื อ COVID-19 โดยกลุ่ ม อุ ตสาหกรรมทางการแพทย์ จ ะได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ เพิ่มเติมในการลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุ คคลร้อยละ 50 เป็นเวลา 3 ปี จากปกติได้รับสิทธิประโยชน์ ในการ ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 3-8 ปี อยู ่แล้ว เช่ น การ ผลิตเครื่องมือแพทย์หรือชิ้นส่วน วัสดุอุปกรณ์ทาง การแพทย์ รวมถึ ง Non-Woven Fabric ที่ ใ ช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต หน้ า กากอนามั ย หรื อ อุ ปกรณ์ ป้ องกันส่วนบุ คคล ชุ ดตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ ยาและสารออกฤทธิ์ ส าคั ญ ในยา เป็ น ต้ น โดยจะ ครอบคลุ ม ถึ ง โครงการที่ ยื่ น ค าขอรั บ การส่ ง เสริ ม ฯ ระหว่ า งวั นที่ 1 มกราคม-30 มิ ถุน ายน 2563 และ ต้ อ งเริ่ ม ผลิ ต และมี ร ายได้ ภ ายในวั น ที่ 31 ธั น วาคม 2563 ซึ่ งจะต้องจาหน่ายและหรือบริจาคภายในประเทศ อย่างน้อยร้อยละ 50 ของปริมาณที่ผลิต ได้ในปี 2563-2564
5 icn
2. การปรั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ส าหรั บ กิ จ การผลิ ต วัตถุดิบที่ใช้ ในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ เป็นการสนับสนุน อุ ตสาหกรรมต้ น น ้า และกลางน ้า ในอุ ตสาหกรรมทาง การแพทย์ โดยเพิ่ ม เติ ม ขอบข่ า ยประเภทกิ จ การผลิ ต เชื้ อ เพลิ ง จากผ ลผลิ ต การเกษตร และ การผลิ ต แอลกอฮอล์ ท างการแพทย์ (Pharmaceutical Grade) ซึ่ งจะได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 8 ปี และเพิ่ม เติ ม สิท ธิป ระโยชน์ใ ห้กิ จ การผลิต Non-Woven Fabric ที่ใช้ เป็นวัตถุดิบในการผลิตหน้ากากอนามัยหรือ อุ ปกรณ์การแพทย์ ที่จากเดิมยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็น 5 ปี
3. ม า ต ร ก า ร ส นั บ ส นุ น ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น สายการผลิตเดิมเพื่อผลิตเครื่องมือแพทย์หรือชิ้นส่วน รวมถึ ง อุ ปกรณ์ ท่ี ใ ช้ เ พื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ท างการแพทย์ โดยจะได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร ซึ่ ง ต้ อ งน าเข้ า ภายในปี 2563 และยื่ น ขอแก้ ไ ขโครงการ ภายในเดือนกันยายน 2563 ข้อมู ลจาก: https://www.boi.go.th/index.php?page=press_releases_detail&topic_id=125042 ภาพจาก: https://www.skincare-forme.com/th/product/custom-silk-facialmask-sheet-manufacturer-private-label-oem/?btwaf=20541994 https://region3.prd.go.th/topic/news/5238 https://www.packry.com/buy-machines-from-abroad/ https://www.freepik.com/
icn
6
มาตรการผ่อ นปรนเพื่ อ บรรเทาผลกระทบ ผู ้ ป ระกอบการ
ต้ อ งยอมรั บ ว่ า การประกาศสถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น ของภาครั ฐ นั ้น ถื อ เป็ น เหตุ สุ ด วิ สั ย ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ เศรษฐกิจทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ทาให้ผู้ได้รับส่งเสริม การลงทุนหลายรายไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ภายในกรอบเวลาที่คณะกรรมการกาหนดได้ บอร์ดบีโอไอ จึงอนุมัติมาตรการบรรเทาผลกระทบจากสถานการณ์ แพร่ ร ะบาดไวรั ส โควิ ด -19 โดยผ่ อ นปรนเงื่ อ นไขและ พิ จ ารณาขยายเวลาการด าเนิ น การส าหรั บ กรณี ท่ี เกี่ยวข้อง เช่ น การขยายเวลานาเข้าเครื่องจักรและเปิ ด ดาเนิ น การ การขยายเวลาการด าเนิน การให้ ไ ด้ รั บ การ รับรองมาตรฐานสากล การผ่อนผันการขออนุญาตหยุ ด ดาเนิ น กิ จ การชัว่ คราวเป็ น ระยะเวลาเกิ น กว่ า 2 เดื อ น เป็นต้น เพื่อเป็นการช่ วยเหลือผู ้ได้รับการส่งเสริมฯที่ได้รับ ผลกระทบ โดยบี โ อไอจะออกประกาศแนวทางปฏิ บั ติ ที่ชดั เจนและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ต่อไป ทั ้ง นี้ ผู ้ ป ระกอบการที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบและอยู ่ ใน ประเภทกิ จ การที่ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ต ามมาตรการ ดั ง กล่ า ว สามารถสอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ทาง โทรศั พ ท์ หมายเลข 0 2553 8111 กด 1 อี เ มล: head@boi.go.th หรือติดตามข่าวสารด้านการลงทุนได้ท่ี www.boi.go.th
IC ใ ห้ บ ริ ก า ร ง า น RMTS และ eMT อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ในช่วง
โควิด-19
ชลพัชร พวงน้อย chonlapatchp@ic.or.th
จากสถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของเชื้ อ ไวรั ส โควิด-19 ในปั จจุ บัน ฝ่ ายบริการฐานข้อมู ลผู ้ประกอบการ สมาคมสโมสรนักลงทุน ซึ่ ง ดูแลการให้บ ริการงานด้าน สัง่ ปล่อยและตัดบัญชีเครื่องจักรและวัตถุดิบ (RMTS และ eMT) แก่ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร ให้ ค วามส าคั ญ ขั ้น สู ง สุ ด ในการ ป้ องกั น และควบคุ ม การระบาดของไวรั ส โควิ ด -19 จึง ดาเนินการปรับ เปลี่ยนวิธีการให้บ ริการชัว่ คราวโดย เปลี่ ย นช่ องทางการยื่ น ค าร้ อ งทั ้ ง ด้ า นวั ต ถุ ดิ บ และ เครื่องจักรสาหรับผู ้ใช้ บริการสมาคมฯทุกสาขา จากการ เดินทางมายื่นคาร้องที่สมาคมฯเป็นการส่งข้อมู ลคาร้อง และเอกสารประกอบต่างๆผ่านช่ องทาง E-mail ตัง้ แต่ วันที่ 20 มีนาคม 2563 เป็นต้นไป ผู ้ใช้ บริการสามารถ ยื่นคาร้องผ่านช่ องทาง E-mail รายละเอียดดังนี้
สาขา
สานักงานกรุ งเทพฯ
supportbkk@ic.or.th
สานักงานชลบุ รี
supportchonb@ic.or.th
สานักงานเชียงใหม่
supportchmai@ic.or.th
สานักงานนครราชสีมา supportkorat@ic.or.th สานักงานขอนแก่น
supportkhonkaen@ic.or.th
สานักงานสงขลา
supportsongk@ic.or.th
แม้ ว่ า สมาคมฯจะปรั บ เปลี่ ย นช่ องทางการยื่ น ค าร้ อง แต่ฝ่ายบริการฐานข้อมู ลผู ้ป ระกอบการยัง คง มุ ่ ง เน้ น การให้ บ ริ ก ารที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและค านึ ง ถึ ง ความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ของผู ้ ใ ช้ บริ ก ารภายใต้ ก รอบ ความปลอดภัยในช่ วงวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของ เชือ้ ไวรัสโควิด-19 เป็นสาคัญ
ส าหรั บ การให้ บ ริ ก ารให้ ค าปรึ ก ษา แก้ ไ ขปั ญ หา และตอบค าถามโดยที ม Customer Support ได้ ป รั บ วิ ธี ก ารให้ บ ริ ก ารโดยใช้ โ ทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ 6 เลขหมาย แทนการให้บริการด้วยโทรศัพท์หมายเลข 02 939 1429 ต่ อ 700 ซึ่ ง ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก าร สามารถติดต่อสอบถาม ข้อมู ลได้ท่ีห มายเลข 065-205-6010 ถึง 15 ทัง้ นีฝ้ ่ ายบริการฐานข้อมู ลผู ้ประกอบการยังคงเปิ ด ให้บริการที่สมาคมฯ สานักงานใหญ่ตามปกติ เพื่อรองรับ ผู ้ใช้ บริการที่มีความประสงค์มาติดต่องานที่สมาคมฯ โดย ได้ให้พนักงานปฏิบัติตนตามมาตรการของภาครัฐ ได้แก่ การสวมใส่ ห น้ า กากอนามั ย ตลอดเวลาที่ ใ ห้ บ ริ ก าร การวัดอุ ณหภูมิร่างกายของพนักงานผู ้ให้บริการ รวมถึง การจัดสถานที่ ให้บริการตามมาตรการเว้นระยะห่างทาง สั ง ค ม ( Social Distancing) น อ ก จ า ก นี้ ยั ง มี ก า ร ประชาสั ม พั น ธ์ ให้ ค วามรู้ แ ละแนวทางการปฏิ บั ติ ต น เพื่อเฝ้ าระวังตลอดจนป้ องกันตัวจากการแพร่ระบาดของ เชือ้ ไวรัสโควิด-19 แก่พนักงานอย่างทัว่ ถึงและต่อเนื่อง สมาคมฯหวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ง ว่ า ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารทุ ก ท่ า น จะได้ รั บ การบริ ก ารที่ ส ะดวก รวดเร็ ว และยั ง คง ประสิทธิภาพเช่ นเดิมจากการให้บริการภายใต้สถานการณ์ ดังกล่าว และที่สาคัญในช่ วงวิกฤตการณ์การแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโควิด-19 นี้ สมาคมฯขอให้ผู้ใช้ บริการทุกท่าน ติ ด ตามประกาศข่ า วสารและการอั พ เดทวิ ธี ป ฏิ บั ติ ง าน ต่ า งๆได้ ท างเว็ บ ไซต์ ส มาคมฯ www.ic.or.th เพื่ อ ความราบรื่นในการดาเนินงานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และเกิดประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้สถานการณ์ ในปั จจุ บัน 7
icn
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29
สมัครใช้ บริการ eMT
ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online
ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พมิ พ์ใน ระบบ eMT Online
สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร
ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร
BOI Approve 30 วัน 7 วัน
30-60 วัน 7 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
เป็นเรื่อง ติดต่อ...
ยุงยาก
IC
สา ห รั บ คุ ณ
บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์
COUNTER ด้านเครื่องจักร
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 314-315
เทคโนโลยีเร่งรัด
รับมือไวรัส
COVID-19 (1) จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com
ในวิ ก ฤตมี โ อกาส และส าหรั บ ประเทศไทยแล้ ว ถ้าเรามองย้อนกลับไปในอดีตและสังเกตให้ดี เราจะพบว่า ผู ้ ค นโดยส่ ว นใหญ่ ต่ า งรู้ สึ ก ถึ ง การเปลี่ ย นแปลงทาง เศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม แต่ ที่ จ ะลุ ก ขึ้ น มา เปลี่ ย นแปลงปรั บ ปรุ งตั ว เองล่ ว งหน้ า เพื่ อ รั บ มื อ กั บ การ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นนัน้ มีน้อยมาก วิสัยทัศน์ดังกล่าว มั ก เกิ ด กั บ คนและองค์ ก รที่ มี ผู้ น าที่ ม องการณ์ ไ กลและ หล่ อ หลอมบุ คลากรในองค์ ก รให้ คิ ด และลงมื อ ท าร่ ว มกั น จะเห็นตั วอย่ างได้จ ากในอดี ตที่มี การรณรงค์ ให้ป ระชาชน ป ร ะ ห ยั ด ก า ร ใ ช้ น ้ า มั น ไ ม่ ว่ า จ ะ มี ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นสื่ อ โฆษณาและรณรงค์ ผ่ า นช่ องทาง ต่างๆด้วยเงินงบประมาณที่ทุ่มลงไปหลายสิบหลายร้อยล้าน กลับไม่ประสบความสาเร็จ แต่ทันทีท่รี าคานา้ มันแพงจนเกิน รับไหว ทุกคนต่างหันไปใช้ แก๊สซึ่ งเป็นพลังงานทางเลือกกัน หมดแม้ ว่ า จะต้ อ งลงทุ น เสี ย ค่ า ติ ด ตั ้ง อุ ปกรณ์ ใ หม่ ก็ ต าม ส่งผลให้อู่ติดตัง้ แก๊สและปั ม๊ แก๊สเปิ ดให้บริการอย่างมากมาย ปรากฏการณ์ครัง้ ล่าสุดกับกระแสการรณรงค์ลดการ ใช้ พลาสติกชนิดใช้ ครัง้ เดียวทิง้ แม้ว่าจะมีความพยายาม อย่ า งมากหลายต่ อ หลายครัง้ ในการขอความร่ ว มมื อ กั บ ห้ า งร้ า นต่ า งๆ แต่ ก็ ยั ง ไม่ ป ระสบความส าเร็ จ เท่ า ที่ ค วร จนกระทั่งเราเริ่ม ตระหนั กถึ งพิ ษภั ย ของมั นชัด เจนขึ้น ทั ง้ จากการที่ สัต ว์ท ะเลหายากหลายชนิ ดต้ องตายเพราะขยะ พลาสติกจานวนมากที่ถูกทิง้ ลงสู่ท้องทะเล และการที่ขยะ พลาสติกเหล่านีเ้ ริม่ สร้างปั ญหาให้กับชีวิตความเป็นอยู ่ของ ผู ้ ค น การใช้ ย าแรงในรู ป ของกฎหมายสั่ง ห้ า มและการให้ ความร่วมมืออย่างดีจากร้านค้าสะดวกซื้อ ห้างสรรพสินค้า และซู เปอร์มาร์เก็ตต่างๆเริ่มเป็นผล จากรายงานทางสถิติที่ แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าตัวเลขการใช้ พลาสติกดังกล่าว น้อยลงจนส่งผลกระทบถึงโรงงานผู ้ผลิตที่ต้องปรับตัว
นอกจากนี้ ยั ง มี ก รณี ม ลพิ ษ ทางอากาศจากฝุ ่ นพิ ษ ขนาดเล็ก PM 2.5 ที่เกิดจากการใช้ยานพาหนะ การประกอบ กิจการของโรงงานอุ ตสาหกรรม และการเผาพืน้ ที่เกษตร ที่น่าจะได้รับการแก้ไขปั ญหาเป็นลาดับต่อไป ถ้ารัฐบาลส่ง สั ญ ญาณเอาจริ ง ในการเร่ ง ส่ ง เสริ ม ยานยนต์ ไฟฟ้ า (Electrical Vehicle - EV) ที่นอกจากจะรักษาสถานะการ เป็ นศู น ย์ ก ลางการผลิ ต ยานยนต์ ในภู มิ ภ าคไว้ ไ ด้ แ ล้ ว ยัง ช่ วยลดปั ญ หามลภาวะทางอากาศได้ดี ก ว่ า การวิ่ง ไล่ ตามแก้ ไขปั ญหาอย่างที่เป็นอยู ่ ในปั จจุ บัน แต่ อ ะไรก็ ไ ม่ แ น่ น อน ในวั น ที่ ผู้ เขี ย นก าลั ง นั่ง พิ ม พ์ บทความนี้อยู ่ ผู ้ว่าราชการกรุ งเทพมหานครได้ประกาศ อย่างเป็นทางการสัง่ ปิ ดสถานบันเทิง ศูนย์การค้า (ยกเว้น ซู เปอร์มาร์เก็ต ร้านขายยา และร้านอาหารที่อนุญาตให้สัง่ ออกไปรับประทานนอกร้าน) และสถานที่ปิดที่อาจมีคนไป รวมตั ว กั น อย่ า งหนาแน่ น ซึ่ งมี โ อกาสท าให้ เ กิ ด การ แพร่กระจายหรือติดเชือ้ ไวรัส COVID-19 ระหว่างกันได้ ซึ่ ง เป็นการประกาศใช้ มาตรการเข้ม ข้นเพื่ อหยุ ดยัง้ การแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัส หลังจากที่พบผู ้ป่วยไวรัสสายพันธุ ์ ใหม่ Covid-19 จากสนามมวยและร้านกินดื่มย่านทองหล่อ
9
icn
ประชากรออนไลน์ สู้ ภั ย โควิ ด -19 จากเดิ ม ประชาชนโดยเฉพาะคนท างานในเขต เมืองใหญ่ที่ต้องเผชิ ญหน้ากับปั ญหาด้านสุขภาพอนามัย ต่างก็มีความตื่นตัวเกี่ยวกับการปฏิบัติตนกันอยู ่บ้างแล้ว ดัง จะเห็ นได้ จ ากการที่ ผู้ คนสวมใส่ หน้ า กากอนามั ยเวลา ออกไปในที่ชุมชน สถานที่สาธารณะ หรือแม้แต่ ในขณะที่ ท างานอยู ่ ในจุ ดเสี่ ย งที่ ต้ อ งให้ บ ริ ก ารหรื อ พบเจอลู ก ค้ า จานวนมาก แต่ จ ากสถานการณ์ ค วามรุ น แรงของการ แพร่ระบาดเชื้อไวรัส COVID-19 ที่เกิดขึน้ ทัว่ โลก ส่งผลให้ มี ก ารน ามาตรการการเว้ น ระยะห่ า งทางสั ง คม (Social Distancing) มาประกาศบังคับใช้ เพื่อหวังผลการลดจานวน ผู ้ติ ดเชื้อ ลง จนท าให้ค วามหนาแน่ นของผู ้ คนในสถานที่ ต่า งๆเบาบางอย่ างมาก แม้แ ต่ก ารจราจรในเมื องหลวง อย่ า งกรุ ง เทพมหานครที่ เ คยคั บ คั่ง กลั บ ยิ่ ง โล่ ง ขึ้น ไปอี ก ส าหรั บช่ วงเวลาการปิ ดภาคเรี ย นตามปกติ นอกจากนี้ มาตรการดังกล่าวยังส่งผลให้องค์กรหลายแห่งใช้ วิธีการให้ บุ คลากรบางแผนกหรื อ บางฝ่ ายท างานที่ บ้ า น (Work from home) ซึ่ งกลายเป็นคายอดนิยมที่ใช้ กันอยู ่ ในปั จจุ บัน การทางานในรู ปแบบดังกล่าวนัน้ ต้องพึ่งพิงอุ ปกรณ์และ เทคโนโลยีดิ จิทัล เป็น สาคั ญ เทคโนโลยีดิจิ ทัลจึ งกาลังถู ก สร้างคุณค่าใหม่ที่สาคัญและแตกต่างไปจากเดิมซึ่ งทุกคน คุ้นเคยกับคุณค่าของการสร้างความบันเทิงในรูปแบบของ สื่อออนไลน์เพื่ อการดูหนั งฟั งเพลงและสั่งซื้อ สิน ค้า ทาง อิน เทอร์ เน็ต สู่ คุณ ค่ า ของการถู กน ามาใช้ เป็น สื่ อ ในการ ทางานและเรียนหนังสือออนไลน์เป็นสาคัญ หลายองค์ ก รที่ ยั ง ไม่ ป ระสบความส าเร็ จ กั บ การ ดาเนินการตามนโยบายเปลี่ยนผ่านสู่องค์กรดิจิทัล (Digital Transformation) แม้ว่าจะส่งพนักงานไปอบรมและลงทุนไป กั บ การน าเทคโนโลยี ส ารสนเทศและดิ จิ ทั ล มาใช้ แต่ ก ลั บ ไม่ ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากพนั ก งานในองค์ ก รเท่ า ที่ ค วร วิกฤตจาก COVID-19 กลับช่ วยสร้างโอกาสและเป็นปั จจัย สาคัญที่สนับสนุนและผลักดันให้นโยบายดังกล่าวถูกนาไป ปฏิ บั ติ ไ ด้ อ ย่ า งเห็ น ผลเป็ น รู ป ธรรมได้ อ ย่ า งชัด เจนทั่ว ทุ ก องค์กร มีรายงานว่ายอดการใช้ อินเทอร์เน็ตสูงขึ้นเป็นเท่าตัว ซอฟต์แวร์หรือแอพพลิเคชัน่ สาหรับการทางานออนไลน์ที่มี ฟั ง ก์ ช ั่น ครบ อาทิ Webex Zoom Google meet และ Microsoft Teams มียอดดาวน์โหลดและติ ดตัง้ เพิ่มสูงขึ้น อย่างมากมายมหาศาล ผู ้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ผู ้ให้บริการ โทรศัพท์ผ่านเครือข่าย 4G และผู ้ให้บริการคลาวด์ (Cloud Computing) ต่ า งเร่ ง ระดมพลให้ พ ร้ อ มส าหรั บ การขยาย ศักยภาพให้สามารถรองรับทราฟฟิ ก (Traffic) ที่หนาแน่น เพิ่มขึ้นกว่าเดิมอีกหลายเท่าได้ จากเดิมที่เราคุ้นเคยกับการ เ ส พ สื่ อ บั น เ ทิ ง อ อ น ไ ล น์ ( YouTube JOOX Netflix) icn 10
ซื้อสินค้าออนไลน์ (e-Commerce) แต่ต่อไปนี้ทุกคนจะ คุ้นเคยกับการเรียนออนไลน์ (Learn from home) ทางาน ออนไลน์ (Work from home) และใช้ ชีวิตอยู ่ ในสังคม ออนไลน์ แ บบมี ร ะยะห่า งระหว่ า งกั น (Social Distancing) เพื่อช่ วยบรรเทาผลกระทบและหยุ ดยัง้ การแพร่ระบาดของ เชือ้ ไวรัส COVID-19และร่วมกันฟันฝ่ าวิกฤตครัง้ นีไ้ ปด้วยกัน ถึ ง เวลาแล้ ว ที่ ค นไทยทุ ก คนจะต้ อ งเปลี่ ย นแปลง ตัวเองให้เป็นประชากรออนไลน์ด้วยการพัฒนาทักษะการใช้ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ให้ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ การท างานได้ อ ย่ า ง ครบวงจร เพื่อรับมือกับสิ่งไม่คาดฝั นที่อาจจะเกิดขึน้ อีกใน อนาคตเช่ นเดียวกับสถานการณ์ ไวรัส Covid-19 ที่กาลังเกิดขึน้ ในปั จจุ บัน โดยก้าวไปทีละขัน้ จากการยอมรับ สู่การปรับใช้ และท้ายที่สุดคือการสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ ตามขัน้ ตอนดังนี้ (1) Technology adoption ยอมรับด้วยการศึ กษา ค้นคว้า และเห็นคุณค่า จากนัน้ เลือกนาความรู้และข้อมู ล มาใช้ในจุ ดหรือพืน้ ที่ที่ล้าสมัยไม่มีประสิทธิภาพ เพื่อยกระดับ ปรับกระบวนการใหม่ ให้ทันสมัย (2) Technology adaption ปรับใช้ ให้เหมาะสมกับ บริบทและสภาพการทางานที่แตกต่างไปจากเดิม (3) Technology application นาเทคโนโยลีล่าสุด มาใช้ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์เพื่อสร้างสิง่ ใหม่ ให้มี คุ ณ ค่ า มากขึ้น อาทิ ลดต้ น ทุ น กระบวนการ เพิ่ม มู ล ค่ า ผลิตภัณฑ์ (สินค้าและบริการ) สร้างแนวคิดทางธุ รกิจใหม่ (Business Model) Disease Disruption เมื่ อ “โรคไร้ พ รมแดน” ย้อ นไปเมื่ อ 20 ปี ก่ อน ทุ กองค์ก รต้ องลงทุ นด้ า น เทคโนโลยีสารสนเทศและพัฒนาระบบต่างๆขึน้ มาสาหรับใช้ ในการปฏิบัติงาน ไม่ว่าจะเป็นระบบ Web Site ระบบ Electronic Mail หรือระบบเฉพาะทางต่างๆของแต่ละองค์กร เช่ น ระบบ Intranet ระบบ Portal ระบบ ERP ระบบ CRM และระบบ SCM เป็นต้น ส่งผลให้พนักงานต้องปรับตัวในการทางานให้ คุ้นเคยกับการใช้ งานคอมพิวเตอร์เพื่อเข้าถึงข้อมู ลองค์กร จนกระทั่ง ระบบสารสนเทศและระบบเครื อ ข่ า ยกลายเป็ น โครงสร้างพืน้ ฐานของการทางานในองค์กร แผนรับมือกับ ความเสี่ ย งขององค์ ก รจากแต่ เ ดิ ม ที่ มี เ ฉพาะเรื่ อ งภั ย ธรรมชาติจึงขยายวงไปสู่ความเสี่ยงจากระบบสารสนเทศ และก าลั ง ขยายวงไปสู่ ค วามเสี่ ย งจากโรคระบาด จากนี้ ต่อไปไม่ใช่ แค่สินค้าและข้อมู ลที่เลื่อนไหลไปในระบบเศรษฐกิจ เท่ านั น้ ภัย คุก คามด้า นสุ ขภาพอัน เนื่ อ งมาจากการแพร่ ระบาดของเชื้อโรคที่ส่งผลกว้างไกลระดับข้ามประเทศจาก สาเหตุ ก ารเคลื่ อ นย้ า ยของคนที่ ม ากขึ้น และถี่ ขึ้น ค าว่ า “โลกไร้พรมแดน (Globalization)” ในทางธุ รกิจจึงมาพร้อม กับคาว่า “โรคไร้พรมแดน” ในด้านสาธารณสุขและสุขภาพ ของประชากรโลกเช่ นกัน
ก่ อ นหน้ า นี้ เมื่ อ พู ดถึ ง ภั ย คุ ก คามที่ ท าให้ ร ะบบ สารสนเทศล่ ม เรามั ก จะนึ กถึ ง ภั ย ธรรมชาติ เช่ น สึ น ามิ พายุ นา้ ท่วม แผ่นดินไหว หรือภัยจากความขัดแย้งกันเอง ของมนุษย์ เช่ น การก่อวินาศกรรมกรณี 911 การก่อเหตุ จลาจล การลอบวางเพลิ ง ซึ่ ง ล้ ว นเป็ น ปั จ จั ย กระตุ้ น ให้ ผู ้บริหารองค์กรจาเป็นต้องให้ความสาคัญอย่างยิ่งยวดต่อ การปกป้ องคุ้มครองระบบสารสนเทศที่เป็นกระดูกสันหลังใน การดาเนินธุ รกิจขององค์กรไม่ให้เกิดปั ญหา องค์กรจึงต้อง มีแผนรับความเสี่ยงและสถานการณ์ฉุกเฉินในการทางาน เพื่อให้ระบบสารสนเทศขององค์กรสามารถทางานได้อย่าง ไม่ติดขัด หลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับองค์กรทัง้ ทางตรงและทางอ้อม การบริหารจัดการให้องค์กรสามารถ ด าเนิ น ธุ รกิ จ ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งภายใต้ ภ าวะวิ ก ฤติ หรื อ “Business Continuity Management (BCM)” ที่ได้จัดทา ไว้ ภ ายใต้ แ นวคิ ด เดิ ม ที่ ยั ง ไม่ ค รอบคลุ ม ภั ย คุ ก คามด้ า น สุขภาพ เช่ น โรคระบาด ฝุ ่ นพิษ PM 2.5 แต่นับว่าโชคยังดี ที่บางองค์กรปรับตัวเข้าสู่องค์กรดิจิทัลไปแล้วจึงสามารถ รับมือกับวิกฤตนีไ้ ด้ง่ายขึน้
ขัน้ ตอนที่ 2 : Solution Design Phase เป็นขัน้ ตอนการ ออกแบบแนวทางในการกู้ข้อมู ล (Disaster Recovery) ที่เหมาะสม กับความต้องการขององค์กร ขัน้ ตอนที่ 3 : Implementation Phase เป็นขัน้ ตอนใน การน าแนวทางที่ อ อกแบบไว้ ใ นขั ้น ตอนที่ 2 มาท าเป็ น แผนปฏิบัติการ โดยการเขียนแผน Business Continuity (BC) ที่สามารถนาไปใช้ปฏิบัติจริงได้ ขัน้ ตอนที่ 4 : Testing and Organization Acceptance Phase เป็นขัน้ ตอนในการทดสอบแผน Business Continuity ที่ ได้เขียนไว้ในขัน้ ตอนที่ 3 ว่าสามารถนามาใช้ งานได้จริงเมื่อเกิด ปั ญหาหรื อไม่ เหมื อนการซ้ อมหนี ไฟที่ ทุ กองค์ กรต้ องท า อย่างน้อยปี ละครัง้ ขัน้ ตอนที่ 5 : Maintenance Phase เป็นขัน้ ตอนในการ ปรับปรุ งแผนในคู่มือ BCP ให้เป็นปั จจุ บัน และรองรับขัน้ ตอน การกู้คืนข้อมู ลตามค่า RTO, RPO ที่ได้กาหนดไว้ในการทา BIA ตลอดจนการฝึ กอบรมพนักงาน (Staff Awareness) ให้มี ความรู้ความเข้าใจในการนาแผน Business Continuity (BC) มาใช้ ในยามฉุ กเฉิ น ปกติ จะจั ดท าและฝึ กอบรมอย่ างน้ อย ปี ละหนึ่งครัง้ เช่ นกัน
BCMเป็นกระบวนการบริหารจัดการแบบองค์รวมที่ทาให้ องค์กรสามารถกาหนดปั จจัยเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น จากปั จจัยเสี่ยงดังกล่าวได้ว่ามีผลเสียหายต่อองค์กรมากน้อย เพียงใด มีทงั ้ หมด 5 ขัน้ ตอน โดยอธิบายให้เห็นภาพอย่างย่อๆ ได้ดังนี้ ขัน้ ตอนที่ 1 : Analysis Phase เป็นขัน้ ตอนการวิเคราะห์ ปั จจัยเสี่ยงและผลกระทบที่เรียกว่า การทา “Business Impact Analysis” (BIA) โดยเริ่มจากการวิเคราะห์ความแตกต่างของ Critical Function และ Non–Critical Function ขององค์กร เสียก่อน โดยค่า Recovery Time Objective (RTO) หมายถึง ระยะเวลาที่องค์กรยอมรับได้ในการกู้คืนระบบในกรณีที่เกิดเหตุ ฉุ กเฉิ นขึ้น ซึ่ งเป็ นค่ าที่ ถู กก าหนดโดยเจ้ าของระบบ ต้ องให้ ผู ้บริหารระดับสูงรับรู้ และยอมรับในค่า RTO ที่ถูกกาหนดขึน้ ถ้า RTO เท่ากับ 1 ชัว่ โมง หมายถึง ต้องกู้ระบบคืนภายในหนึ่ง ชัว่ โมง สาหรับค่า Recovery Point Objective (RPO) หมายถึง ปริ มาณข้ อมู ลสู ญหายที่ องค์ กรยอมรั บได้ ในช่ วงเวลาหนึ่ ง (Acceptable Loss) ถ้าค่า RPO เท่ากับ 2 ชัว่ โมง ระบบสารอง ข้อมู ลก็จะต้องสอดรับกัน สมมติสารองข้อมู ลไว้เวลา 10.00 น. และระบบล่มเวลา 11.30 น. เราสามารถกู้คืนข้อมู ลที่สารองไว้ ตอน 10.00 น. ก็ถือว่าอยู ่ ในเวลาที่กาหนดไว้ตาม RPO ข้อมู ล ธุ รกรรมสูญหายไม่เกินเวลาที่เรากาหนดไว้
การจัดทา BCP นัน้ ครอบคลุมทัง้ ระบบ IT และระบบ Non – IT แต่ถ้ากล่าวถึงการจัดทา Disaster Recovery Planning หรือ DRP ซึ่ งเป็นส่วนหนึ่งของ BCP มักจะเน้น ไปที่การกู้คืนระบบ IT เป็นหลัก ภายใต้ภาวะวิกฤติที่ผู้คน ถูกจากัดการเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆส่งผลให้แนวทางใน การดารงชีวิตเปลี่ยนแปลงไป รวมถึงการดาเนินธุ รกิจของ องค์ ก รต่ า งๆหยุ ดชะงั ก ลง องค์ ก รที่ รั บ มื อ กั บ Digital disruption ไว้ ไ ด้ ดี ใ นช่ วงที่ ผ่ า นมาก็ จ ะสามารถรั บ มื อ กั บ Disease disruption ได้ดีกว่าในวันนี้ นับว่าเป็นโชคดีสาหรับ องค์กรที่ได้ปรับตัวและพัฒนาระบบดิจิทัลขึน้ มาทดแทนกับ ระบบงานเดิมไว้แล้ว ในฉบับหน้ามาติดตามกันต่อว่า องค์กรจะสามารถ พลิกสถานการณ์ในช่ วงวิกฤตโควิด -19 ให้เป็นโอกาสที่จะ สร้างรายได้และต่อยอดสู่การดาเนินกิจการอย่างต่อเนื่อง ได้อย่างไร ภาพจาก: https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_2095488 https://www.accessoneinc.com/blog/everything-you-need-know-aboutbusiness-continuity 11 i c n
สมาคมสโมสรนักลงทุน
ช่วยแบ่งเบาภาระผู้ใช้บริการ ให้ธุรกิจฝ่าวิกฤต Covid-19 TOGETHER WE FIGHT
มอบส่วนลด
10%
ค่าบริการระบบงานเครื่องจักรและวัตถุดิบ
เป็นเวลา 6 เดือน ในงวดเดือนเมษายน – กันยายน 2563
ขยายเวลาชาระหนี้
งวดเดือนมีนาคม – สิงหาคม 2563
ค่าบริการระบบงานเครื่องจักรและวัตถุดิบ
ออกไปอีก ค่าบริการ ค่าบริการ ค่าบริการ ค่าบริการ
เดือนมีนาคม 2563 เดือนเมษายน 2563 เดือนพฤษภาคม 2563 เดือนมิถุนายน 2563
ชาระภายใน ชาระภายใน ชาระภายใน ชาระภายใน
3 เดือน
30 กรกฎาคม 2563 30 สิงหาคม 2563 30 กันยายน 2563 30 ตุลาคม 2563
ค่าบริการ เดือนกรกฎาคม 2563 ชาระภายใน 30 พฤศจิกายน 2563 ค่าบริการ เดือนสิงหาคม 2563 ชาระภายใน 30 ธันวาคม 2563
สอบถามเพิ่ ม เติ ม โทรศั พ ท์ 065 205 6007 หรื อ 0 2936 1429 ต่ อ 401, 403
การแสดง หนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้า
สาหรั บ ผู้ นาของเข้ า
ที่ได้รับผลกระทบจาก โควิด-19
ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th
ในช่ วงที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กรมศุลกากรได้ออกประกาศกรมศุลกากรที่ 81/2563 เรื่อง การแสดงหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าสาหรับผู ้นา ของเข้าที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) เพื่ออานวยความสะดวกและ บรรเทาความเดือดร้อนให้ผู้ประกอบการที่นาของเข้ามาใน ราชอาณาจั ก รไทย โดยมี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ตั ้ ง แต่ วั น ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2563 สาระสาคัญของประกาศฉบับนี้ คือ กรณีท่ีหน่วยงาน ที่มีอานาจออกหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าของประเทศ ที่ ส่ ง ออกได้ อ อกหนั ง สื อ รั บ รองถิ่ น ก าเนิ ด สิ น ค้ า ไว้ แ ล้ ว แต่ ไ ม่ส ามารถส่ง ต้นฉบับ หนัง สือรับ รองถิ่นกาเนิดสินค้า ให้แก่ผูน้ าของเข้าในประเทศไทยได้ เนื่องจากปั ญหาการแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในการปฏิบัติพิธีการ ศุ ล กากรการยกเว้ น อากรและลดอั ต ราอากรศุ ล กากร ให้ผูน้ าของเข้าสามารถแสดงสาเนาภาพถ่ายหนังสือรับรอง ถิน่ กาเนิดสินค้าเพื่อใช้ ในการปฏิบัติพิธีการศุลกากรได้ ส าหรั บแนวทางปฏิบั ติในการแสดงสาเนาภาพถ่า ย หนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าประกอบการปฏิบัติพิธีการ ศุลกากรยกเว้นอากรและลดอัตราศุลกากร ให้ผู้นาของเข้า ปฏิบัติดังต่อไปนี้ (1) การจั ดท าข้ อมู ล ใบขนสิ น ค้า ส าหรับ การยกเว้ น อากรและลดอัตราอากรศุลกากร ให้จัดทาข้อมู ลเพิ่มเติม โดยระบุ ข้อความในช่ อง Remark ว่า “ขอใช้ สาเนาภาพถ่าย หนัง สือรับ รองถิ่นกาเนิดสินค้าไปพลางก่อนและจะแสดง ต้นฉบับหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าในภายหลัง” และให้ จัดส่ง ข้อมู ลใบขนสินค้าโดยบันทึกข้ อมู ลขอพบพนักงาน ศุลกากร
(2) ก่อนนาของออกจากอารักขาของศุลกากร ให้ผู้นาของเข้ายื่นคาร้องขอใช้ สาเนาภาพถ่ายหนังสือ รับ รองถิ่น กาเนิดสิน ค้า พร้อมแนบส าเนาภาพถ่า ย หนังสือรับรองถิน่ กาเนิดสินค้าต่อสานักงานศุลกากร หรือด่านศุลกากรที่นาของเข้า เพื่อตรวจสอบข้อมู ล ในสาเนาภาพถ่ายหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้ากับ หน่ ว ยงานผู ้ มี อ านาจในการออกหนั ง สื อ รั บ รอง ถิ่น กาเนิ ด ของประเทศที่ ส่ ง ออก รวมทัง้ ตรวจสอบ พิ กั ด ศุ ล กากรและราคาศุ ล กากรให้ เ ป็ นไปตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการใช้ สิทธิยกเว้นอากรและลด อัตราอากรศุลกากรสาหรับความตกลงเขตการค้า เสรีนนั ้ ๆ เพื่อปฏิบัติพิธีการศุลกากรไปก่อน (3) ผู ้นาของเข้าต้องนาต้นฉบับ (Original) หนังสือ รับรองถิ่นกาเนิดสินค้ามาแสดงต่อสานักงานศุลกากร หรือด่านศุลกากรที่นาของเข้าภายในกาหนด 30 วัน นับ ตัง้ แต่วัน ที่ต รวจปล่อ ยสิน ค้า ออกจากอารัก ขา ศุลกากร กรณีมีเหตุผลและความจาเป็นที่เกี่ยวข้อง กับปั ญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ทาให้ไม่สามารถนาต้นฉบับ (Original) หนังสือรับรอง ถิ่นกาเนิดสินค้ามาแสดงภายในกาหนดเวลาดังกล่าว ให้ผู้นาของเข้ายื่นคาร้องล่วงหน้าก่อนครบกาหนด ระยะเวลาดังกล่าวไม่น้อยกว่า 7 วันทาการ เพื่อขอ ขยายระยะเวลาการน าต้ น ฉบั บ (Original) หนั ง สื อ รับรองถิ่นกาเนิดสินค้ามาแสดงได้อีกไม่เกิน 30 วัน รวมเป็ น ไม่ เ กิ น 60 วั น นั บ ตั ้ง แต่ วั น ที่ ต รวจปล่ อ ย สินค้าออกจากอารักขาศุลกากร
13 icn
ในกรณีท่ผ ี ู น้ าของเข้าไม่นาต้นฉบับ (Original) หนังสือ รับรองถิน่ กาเนิดสินค้ามาแสดงภายในกาหนดเวลา จะไม่ ได้รับ ก า ร ย ก เ ว้ น อ า ก ร แ ล ะ ล ด อั ต ร า อ า ก ร ศุ ล ก า ก ร และกรมศุลกากรจะดาเนินการออกแบบแจ้งการประเมิน อากรเพื่อเรียกเก็บอากรเต็มตามจานวน ทัง้ นี้ ประกาศกรมศุลกากรที่ 81/2563 นี้ ให้ใช้ กับ ความตกลงเขตการค้ า เสรี ท่ี ก าหนดให้ ผู้ น าของเข้ า ต้ อ ง แสดงต้นฉบับหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าเมื่อต้องการ ขอรับ สิทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากรในการขอยกเว้นอากร หรือลดอัตราอากรศุลกากร ได้แก่ (1) ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างอาเซี ยนและสาธารณรัฐประชาชนจีน (Form E) (2) ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักร ไทยและรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ใน การเร่งลดอากรภายใต้การดาเนินการล่วงหน้า ตามกรอบความตกลงว่ าด้ว ยความร่ ว มมื อ ทางด้ า นเศรษฐกิ จ ระหว่ า งอาเซี ยนและ สาธารณรัฐประชาชนจีน (Form E) (3) พิธีสารเพื่อรับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐสิงคโปร์ เข้ า ร่ ว มในความตกลงระหว่ า งรั ฐ บาลแห่ ง ราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐ ประชาชนจี น ในการเร่ ง ลดอากรภายใต้ ก าร ด าเนิ น การล่ ว งหน้ า ตามกรอบความตกลง ว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ทางด้ า นเศรษฐกิ จ ระหว่างสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก เฉียงใต้และสาธารณรัฐประชาชนจีน (Form E) (4) ค ว า ม ต ก ล ง ก า ร ค้ า สิ น ค้ า ข อ ง อ า เ ซี ย น (Form D)
(5) ความตกลงว่ า ด้ ว ยการค้ า สิ น ค้ า ภายใต้ กรอบความตกลงว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ที่ ค รอบคลุ ม ด้ า นต่ า งๆ ระหว่ า งรั ฐ บาลแห่ ง กลุ่ ม ประเทศสมาชิ ก สมาคมประชาชาติ แ ห่ ง เอเชี ย ตะวั น ออก เฉียงใต้และสาธารณรัฐเกาหลี (Form AK) (6) ความตกลงว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนทาง เศรษฐกิ จ ที่ ค รอบคลุ ม ความตกลงต่ า งๆ ระหว่างประเทศสมาชิ กสมาคมประชาชาติ แห่ ง เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ แ ละญี่ ปุ่ น (Form AJ) (7) ความตกลงระหว่างราชอาณาจักรไทยและ ญี่ ปุ่ น ส า ห รั บ ค ว า ม เ ป็ น หุ้ น ส่ ว น ท า ง เศรษฐกิจ (Form JTEPA) (8) ความตกลงว่ า ด้ ว ยการค้ า สิ น ค้ า ภายใต้ กรอบความตกลงว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ที่ ค รอบคลุ ม ด้ า นต่ า งๆ ระหว่ า งสมาคมประชาชาติ แ ห่ ง เอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้และสาธารณรัฐอินเดีย (Form AI) (9) กรอบความตกลงว่ า ด้ ว ยการจั ด ตั ้ง เขต การค้าเสรีระหว่างราชอาณาจักรไทยและ สาธารณรัฐอินเดีย (10) ความตกลงเพื่ อ จั ด ตั ้ ง เขตการค้ า เสรี อาเซี ยน-ออสเตรเลีย -นิวซี แลนด์ (Form AANZ) (11) ความตกลงการค้ า เสรี อ าเซี ย น-ฮ่ องกง (Form AHK) (12) ความตกลงการค้าเสรีระหว่างรัฐบาลแห่ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย แ ล ะ รั ฐ บ า ล แ ห่ ง สาธารณรัฐชิลี (Form TC) (13) พิ ธี ส า ร ร ะ ห ว่ า ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย และสาธารณรัฐเปรู เพื่อเร่ง เปิ ดเสรีการค้า สินค้าและอานวยความสะดวกทางการค้า
เครดิต: http://www.customs.go.th/cont_strc_simple_with_ date.php?current_id=14232832414a505f4a464b47464b46 icn 14
15 icn
icn 16
ประกาศ ด้วยสถานการณ์การแพร่กระจายของเชื้อโรค Covid-19
สมาคมขอให้ผู้ใช้บริการใช้ช่องทางการส่งคาร้องผ่านทางอีเมล โดยขอความร่วมมือในการส่งไฟล์ข้อมูล และเอกสาร ประกอบการพิจารณาทุกประเภท
เป็นการส่งข้อมูลผ่านทาง e-mail เท่านั้น
ซึ่งบริษัทจะเป็นผู้เก็บเอกสารต้นฉบับไว้สาหรับการตรวจสอบในภายหลัง ทั้งนี้ สมาคมจะไม่คิดค่าบริการรับส่งข้อมูลและเอกสารทางอีเมล * หมายเหตุ : ยกเว้น งานบริการรับไฟล์ข้อมูลทาง e-mail ประเภทงานสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบผ่านช่องทาง Counter Service ยังคงมีค่าบริการเช่นเดิม
มีผลตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม 2563 เป็นต้นไป สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ งาน Customer Support โทร. 065 205 6010 ถึง 15
“โอกาส” ยังมี แม้
(วิกฤต) จะมา เส้าหลิน
เราติดหรือยังนะ? แถวบ้าน/ที่ทางานเรามี ใครติดไหม? อีกกี่วันถึงจะดาเนินชี วิตได้ตามปกติ? ฉันคิดถึง ห้างสรรพสินค้า ตลาดนัด และสถานที่ท่องเที่ยว!!! ณ เวลานี้สิ่งที่ทุกท่านให้ความสนใจคงหนีไม่พ้น เรื่องโรคระบาด COVID-19 ที่มาแรงแซงทางโค้ง จนทาให้ ท่ า นเสี ย วสั น หลั ง ร้ อ นๆหนาวๆ เกิ ด ความรู้ สึ ก กั ง วล หวาดกลัว ไม่แน่ ใจกับอนาคตว่าชีวิตจะต้องดาเนินต่อไป อย่างไร แต่จากวิกฤตหลายๆเหตุการณ์ท่ีเคยเกิดขึน้ เรา มั ก จะได้ ยิ น นั ก วิ ช าการ นั ก ธุ รกิ จ หรื อ ผู ้ ป ระสบ ความส าเร็ จ ไม่ น้ อ ยกลั บ ค้ น พบ “โอกาสที่ แ ฝงอยู ่ ใ น วิกฤต” จนได้พบกับความสาเร็จ สิ่ ง ส าคั ญ ในการสร้ า งโอกาส (Opportunity) ให้กับตัวเอง คือ การจัดลาดับความสาคัญของกิจกรรม ในชี วิตและจัดสรรเวลาให้เหมาะสม เมื่อช่ วงนี้มีการเว้น ระยะห่ า งทางสั ง คม (Social Distancing) รวมถึ ง การ ทางานจากที่บ้าน (Work From Home) ทาให้เรามีเวลา เพิม่ ขึน้ จากเดิมที่ต้องผจญกับการจราจรที่หนาแน่นและ มลภาวะต่ า งๆ การใช้ เ วลาที่ เ ราได้ ม าเพิ่ ม ขึ้น นั น้ ให้ เ กิ ด ประโยชน์สูงสุดจึงถือว่าเป็นนาทีทองที่จะสร้างโอกาส
ในขณะเดี ย วกั น ควรมี ก ารฝึ กคิ ด สองด้ า น เพราะไม่ ว่ า เหตุ ก ารณ์ ใดเกิ ด ขึ้ น ก็ ต ามต้ อ งพยายาม มองให้ออกทัง้ ด้านบวกและด้านลบ เนื่องจากแต่ละด้าน จะนาพาความคิดเราไปสู่จุดเริ่มต้นแห่งโอกาสได้ ซึ่ งการคิด สองด้านจะช่ วยให้เราหาโอกาสเพิ่มและรักษาโอกาสเดิม ไม่ ให้ลดลง โดยต้องอาศัยแรงผลักดันในการสร้างโอกาส ให้ ต นเองอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นั่ น คื อ COVID!? ฟั ง ไม่ ผิ ด ! COVID จริงๆ โดยให้ท่านเริม่ จาก… 1. C-Control คื อ การควบคุ ม อารมณ์ แ ละ ความคิดของตนเอง เพื่อให้เท่าทันความคิดของตนเอง ไม่คิดอะไรไกลกว่าที่ควรจะเป็น หรือด่วนสรุ ปไปในทิศทาง ที่เลวร้ายเสมอ ลองควบคุมอารมณ์ให้เป็นกลางไม่ขาว ไม่ดาแล้วค่อยคิด 2. O-Opportunity คือ พยายามมองโอกาสที่ แฝงอยู ่ในวิกฤต เพื่อพิจารณาถึงข้อดีของวิกฤตต่างๆ ที่เกิดขึน้ ขณะเดียวกันก็นาจุ ดเด่นหรือจุ ดแข็งของตนเอง มาใช้ ในการแก้ไขวิกฤตนัน้ ๆ โดยต้องคิดเสมอว่าทุกอย่าง ย่อมเป็นไปได้ และไม่มีอะไรทาไม่ ได้ถ้าหากยังไม่ลองลงมือ
COVID อี ก มุ มของโอกาส การพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้างโอกาสให้กบั ตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งเวลาสาหรับการวางแผนวันละ 15-30 นาที แทนการรอแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า ขณะเดียวกันต้องมี การหาข้ อ มู ลใหม่ ๆ และคิ ด สิ่ ง ใหม่ ๆ ทุ ก วั น ซึ่ งเราต้ อ ง ตั ้ง เป้ า หมายว่ า ในแต่ ล ะวั น จะฝึ กคิ ด สิ่ ง ใหม่ อ ย่ า งน้ อ ย หนึ่งเรื่อง เช่ น วิธีการทางานแบบใหม่ การคิดหาโอกาส ในการพัฒนาตัวเองแบบใหม่ๆ การสร้างแนวคิดใหม่ เป็นต้น icn 18
3. V-Value คื อ เห็ น คุ ณ ค่ า ในทุ ก สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น เริ่ ม จากการเห็ น คุ ณ ค่ า ในตนเอง ซึ่ งจะส่ ง ผลให้ มี ความเชื่ อ มั่ น ในตนเอง เห็ น ว่ า ตนเองมี คุ ณ ค่ า มี ความสามารถ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีลักษณะ เป็ นผู ้นามากกว่าผู ้ตาม กล้าแสดงออก และสามารถ ปรับตัวได้ดี มีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่แข็งแรง
4. I-Integration คือ บู ร ณาการงานกับ ชี วิต ให้ เข้ากัน ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ์ ได้กล่าวไว้ใน หนังสื อ “ข้อคิดเพื่อการทางาน” ว่า การทางาน คือ การบู รณาการระหว่างสิ่งที่เราคิด สิ่งที่เราเป็น สิ่งที่เรา พู ด และสิ่ ง ที่ เ ราท า ทั ้ง สี่ สิ่ ง นี้ ต้ อ งเป็ น ไปในทิ ศ ทาง เดี ย วกั น จึ ง จะสามารถสั ม ผั ส มิ ติ ค วามส าเร็ จ ที่ ไ ด้ ใ ช้ ศักยภาพสูงสุดที่มีอยู ่ ในชีวิตออกมา ไม่เคยคิดแยกส่วน ชีวิตงานกับชีวิตส่วนตัว แต่บูรณาการเรื่องต่างๆเหล่านี้ ไปด้วยกัน
จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบทัง้ 5 นัน้ จะช่ วยเสริมให้ ท่ า นได้ เ ห็ น ถึ ง โอกาสในแง่ มุ มต่ า งๆในทุ ก สถานการณ์ ด้ว ยการคิ ด อย่ า งสร้ า งสรรค์ (Flexible Thought) ไม่ มองที่ ค วามรุ นแรงของปั ญหา แต่ คิ ด ว่ า จะแก้ ไ ขได้ อย่างไร ด้วยการใช้ ใจเป็นที่ตัง้ (Everything is mind) ทาจิตใจให้สงบ และเปิ ดใจให้กว้างเพื่อคิดสิง่ ใหม่ๆ 5. D-Do it คือ ทาให้สาเร็จ โดยเลือกทาสิ่งที่ให้ พลังด้านบวกกับเรา อาจจะเริ่มทาทีละน้อยค่อยเป็นค่อยไป แบบทุ่ ม เทใส่ ใ จ พร้ อ มกั บ ทบทวนผลส าเร็ จ เป็ น ระยะๆ ทาซ้ าบ่อยๆเพื่อให้เกิดเป็นนิสัย เช่ นเดียวกับนักกีฬาจะ ประสบความสาเร็จได้ต้องฝึ กทีละขัน้ ตอนและฝึ กทาซ้ าๆ จนประสบความสาเร็จในที่สุด
แม้ ทุ ก วั น นี้ จ ะอยู ่ ใ นช่ วงเว้ น ระยะห่ า ง แต่ ท่ า น สามารถขยับโอกาสแห่งความสาเร็จให้เข้าใกล้ขึน้ ได้ แล้ว หลัง COVID-19 ชีวิตท่านจะแจ่มใสขึน้ ขอให้ ปลอดภัย ปลอดโรค กันทุกท่าน และผ่าน พ้นวิกฤตไปด้วยกัน ภาพจาก: https://www.accolo.com/blog/4-ways-to-ruin-your-worklifebalance/ https://sites.google.com/site/16habitisofmind1/thinking-flexi http://triumvirat-advisory.com/2019/09/27/valuable-opportunity/
สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ออนไลน์
ผ่านระบบ เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ หลักสูตรการใช้งานระบบ IC หลักสูตรด้านศุลกากร หลักสูตรการบริหารจัดการ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน
099 107 4633
18 icn
การย้ายสถานประกอบการหลังเปิดดาเนินการ
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
Q : บริ ษั ท ได้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ เ ปิ ดด าเนิ น การจาก BOI แล้ ว และมี แ ผนจะย้ า ยสถานประกอบการไปอยู ่ ใ นนิ ค ม อุ ตสาหกรรม หากบริษัทจาเป็นต้องย้ายสถานประกอบการควรจะดาเนินการอย่างไรบ้าง โดยปั จจุ บันบริษัท ยังใช้ สิทธิประโยชน์ด้านวัตถุดิบอย่างต่อเนื่อง A: ตามหลักเกณฑ์ ในอดีต การแก้ไขที่ตัง้ โรงงานจะได้ รับสิ ทธิประโยชน์ เปลี่ ยนแปลงไปตามสถานที่ ตัง้ ใหม่ ตาม หลั ก เกณฑ์ ณ วั น ยื่ น ค าขอรั บ การส่ ง เสริ ม ครั ้ง แรก เช่ น ถ้ า หลั ก เกณฑ์ ณ วั น ยื่ น ค าขอรั บ ส่ ง เสริ ม กาหนดให้ เขต 2 ได้ รับสิ ทธิย กเว้นภาษี เงิ นได้ นิติ บุคคลเป็ นเวลา 5 ปี เขต 3 ได้รับสิ ท ธิ ยกเว้นภาษี เงิน ได้ นิติบุคคลเป็นเวลา 8 ปี หากบริษัทขอย้ายที่ตัง้ จากเขต 2 ไปเขต 3 ก็จะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นเวลา 8 ปี นับจากวันที่ใช้ สิทธิครัง้ แรกของโครงการนัน้ ปั จจุ บันตามประกาศ กกท. ที่ 2/2557 ได้เปลี่ยนนโยบายการให้สิทธิยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล โดย กาหนดตามความสาคัญของประเภทกิจการ (A1, A2, A3, A4, B1, B2) โดยไม่ผูกพันกับสถานที่ตัง้ โรงงาน BOI จึงกาหนดหลักเกณฑ์ใหม่ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ตัง้ โรงงานจะไม่เป็นเหตุให้ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี อากร เพิ่มเติม แต่การเปลี่ยนแปลงที่ตัง้ โรงงานจากนอกนิคมอุ ตสาหกรรมเป็นในนิคมอุ ตสาหกรรมจะได้รับสิทธิ ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม 1 ปี ตามข้อ 9.2.3 ของประกาศ กกท ที่ 2/2557 หรือไม่นัน้ บริษัทต้อง ตรวจสอบข้อมู ลกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการลงทุนที่ดูแลโครงการของบริษัทอีกครัง้ การย้ า ยที่ ตั ้ง สถานประกอบการ ให้ ยื่ น แบบค าขออนุ ญ าตเปลี่ ย นเพิ่ ม ลดสถานที่ ตั ้ ง โรงงาน/ สถานประกอบการ ตามแบบ F PA PC 03 ต่อกองที่รับผิดชอบโครงการของบริษัท ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
เราต้องปรับตัว เปลี่ยนมุ มมอง รวดเร็วขึน้ รู้จริง รู้ลึกว่าเทรนด์ ใหม่ๆ มีอะไรที่กาลังเข้ามา ดังนัน้ เราต้องเตรียมความพร้อมให้คนของเรา ได้เรียนรู้สงิ่ ใหม่ท่เี กิดขึน้ ในโลก เทรนด์มันเปลี่ยน ตลอดเวลา เราต้องเปลี่ยนตามเทรนด์ ให้ทัน
คุณภูริต ภิรมย์ภักดี ผู้บริหาร บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จากัด ที่มา>> http://www.brandage.com/article/16225/Singha ภาพจาก>> https://open.spotify.com/album/3PbMyXc6fj7bWUHn6f2DLY?highlight=spotify:track:20Wvyit9xQuxr38T3yOaQP
สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก
www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้ จ่าย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 201 อีเมล icn@ic.or.th
icn 20
ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ
@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ
Add friends
IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย
ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !
หรือ 099 107 4633
หรือ 099 107 4633