Vol.19 / November 2020 Insight ระบบฐานข้ อ มู ล RMTS Online (4) แก้ ปั ญหาให้ ต รงจุ ด ด้ ว ย 5 Gen
SMC เมืองนวัตกรรม ขับเคลื่อน
“ถ้าคุณหาทางออกไม่เจอ”
Single Window for
Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th
www.ic.or.th
09
04 07 SMC กระตุ้นขับเคลื่อนเมืองนวัตกรรม
แก้ ปั ญหาให้ ต รงจุ ด ด้ ว ย 5 Gen
18
Insight ระบบฐานข้อมู ล RMTS Online (4)
ธุ รกิจ รู ปแบบใหม่ และการจั ดการ โซ่ อุ ปทานทั น สมัย (1)
20 “สมาธิ ” ที่ ตั้ง มั่น ปลายทางย่ อมสาเร็ จ
ที่ปรึกษา • กรองกนก มานะกิจจงกล • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพท์ : 0 2936 1429 ต่อ 201 e-mail : icn@ic.or.th
ประเทศไทยกาลัง อยู ่ ในช่ วงของการเร่งกระตุ้นส่งเสริมการลงทุนในอุ ตสาหกรรมที่เป็น เป้ าหมายและอุ ตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่ งเป็นอุ ตสาหกรรมที่ได้รับการยอมรับ ติดเทรนด์ อุ ตสาหกรรมยอดฮิต และมีโอกาสขยายการเติบโตไปได้อย่างต่อเนื่อง กลุ่ ม อุ ตสาหกรรมดั ง กล่ า วส่ ว นใหญ่ ตั ้ ง อยู ่ ในโครงการเมื อ งนวั ต กรรมของ เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EECi ภายในเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก (EEC) เนื่องจากมีโครงสร้างพืน้ ฐานและสิ่งอานวยความสะดวกที่พร้อมสาหรับ อุ ตสาหกรรม ห้ อ งทดลองวิ จั ย และพั ฒ นา ตลอดจนรองรั บ การใช้ เ ทคโนโลยี ขั น้ สู ง และ นวัตกรรม ทั ง้ นี้ภ าครั ฐ ได้ ตั ้ง เป้ า หมายในการผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การลงทุ น ในเมื อ งนวั ต กรรม EECi โดยเฉพาะโซนนวั ต กรรมระบบอั ต โนมั ติ หุ่ น ยนต์ และระบบอั จ ฉริ ย ะ โดยมุ ่ ง เน้ น การช่ วย สนับสนุนให้ฐานการผลิตและเศรษฐกิจของประเทศเติ บโตมากขึ้น เพื่ อยกระดับ มาตรฐาน อุ ตสาหกรรมและเทคโนโลยีให้ก้าวลา้ เทียบทันระดับสากล โครงการศู น ย์ น วั ต กรรมการผลิ ต ยั่ ง ยื น (Sustainable Manufacturing Center : SMC) นั บ เป็ น โครงการหนึ่ ง ที่ ภ าครั ฐ เดิ น หน้ า เพื่ อ พั ฒ นาแพลตฟอร์ ม ที่ ผู้ ป ระกอบการ อุ ตสาหกรรมการผลิต ผู ้พัฒนาระบบ (SI) นักนวัตกร และนักศึ กษาในสาขาที่เกี่ยวข้องได้ใช้ ประโยชน์ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้สามารถพัฒนากระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพ ช่ วย ลดต้นทุนการผลิตและรักษาคุณภาพการผลิตให้มีความคงที่ และช่ วยสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ด้านเทคโนโลยีอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และระบบอัจฉริยะ โดยมีโครงการย่อย 5 กิจกรรม ได้แก่ งาน บริก ารทดสอบและจัด ทามาตรฐาน งานบริ ก ารและสนับ สนุน อุ ตสาหกรรม งานด้า นการ พั ฒ นาคน ศู น ย์ ส าธิ ต ด้ า นอุ ตสาหกรรมอั จ ฉริ ย ะ และงานบริ ก ารทดสอบต้ น แบบและ ผลิตภัณฑ์ รวมถึงงานวิจัยพัฒนาร่วมกับภาคอุ ตสาหกรรม แน่นอนว่า โครงการนี้จะช่ วยให้เกิดการลงทุนในเขตพืน้ ที่เมืองอุ ตสาหกรรมได้มากขึ้น สร้างระบบนิเวศนวัตกรรมที่รุ่งเรือง ซึ่ งจะเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ได้ต่อไป สมาคมสโมสรนักลงทุนพร้อมให้การสนับสนุนทัง้ ภาครัฐและเอกชนในการส่งเสริมการ ลงทุ น เขตพื้น ที่ เ มื อ งนวั ต กรรม เขตพั ฒ นาพิ เ ศษ เขตพั ฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ตลอดจนเขตพิ เ ศษและนิ ค มอุ ตสาหกรรมต่ า ง ๆ ด้ ว ยบริ ก ารที่ ดี สะดวก และรวดเร็ ว ผ่านการให้บริการแบบออนไลน์ของสมาคม ฯ ตลอดจนการให้บริการด้านหลักสูตรฝึ กอบรม และสัมมนาที่หลากหลายและเหมาะสมกับการสนับสนุนด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยผู ้ท่ี สนใจสามารถดู ร ายละเอี ย ดหลั ก สู ต รและเลื อ กลงทะเบี ย นเพื่ อ สมั ค รร่ ว มสั ม มนาได้ ท าง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ี โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-209 หรือติดตามข้อมู ลข่าวสารของสมาคม ฯ ได้ทาง www.ic.or.th
บรรณาธิการ 3
icn
SMC ขับเคลื่อน เมืองนวัตกรรม มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
ตามที่รัฐบาลได้มีนโยบายผลักดันการลงทุนเพื่อการ เติบโตทางเศรษฐกิจ ยกระดับอุ ตสาหกรรมและฐานการผลิต ของประเทศสู่ระดับสากล ด้วยการออกมาตรการส่งเสริม การลงทุนเพื่อช่ วยสนับสนุนการทางานทัง้ ของหน่วยงาน ภาครั ฐ และผู ้ ป ระกอบการภาคเอกชน อี ก ทั ้ง ยั ง เอื้อ ให้ มี เครื่องมืออานวยความสะดวกสาหรับดาเนินกิจการได้อย่าง ราบรื่ น และเติ บ โตในทุ กมิ ติ ก ารลงทุ น ตลอดจนการเสนอ สิ่งจู งใจต่าง ๆ เพื่อดึงดูดนักลงทุนให้ตบเท้าเข้ามาลงทุนใน ประเทศไทย โครงการเมืองนวัตกรรมบนพืน้ ที่ EEC (เขตพัฒนา พิ เ ศษภาคตะวั น ออก) ที่ เ รี ย กว่ า เขตนวั ต กรรมระเบี ย ง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EECi ถือเป็นนโยบาย สาคัญในการผลักดันให้เกิดการลงทุนในอุ ตสาหกรรมด้าน วิจัยและพัฒนา ตลอดจนเทคโนโลยีขัน้ สูง อันเป็นการช่ วย ยกระดั บ และพั ฒ นาอุ ตสาหกรรมเดิ ม รวมถึ ง การสร้ า ง อุ ตสาหกรรมใหม่ควบคู่กับการส่งเสริม คุณภาพชี วิ ตของ ประชาชนในพื้น ที่ ด้ ว ยเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม ตลอดจน นาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน นับเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมแห่ง ใหม่บนพืน้ ที่ EEC ปั จจุ บันได้มีการเดินหน้าโครงการศูนย์นวัตกรรมการ ผลิตยัง่ ยืน (Sustainable Manufacturing Center : SMC) ของเมื อ งนวั ต กรรมระบบอั ต โนมั ติ หุ่ น ยนต์ และระบบ อัจฉริยะ (EECi-ARIPOLIS for BCG) ซึ่ งตัง้ อยู ่ท่ีวังจันทร์ วัลเลย์ โซน E (ARIPOLIS Pilot Plant) จังหวัดระยอง ใน พืน้ ที่เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก โดยมี ร ะยะเวลาด าเนิ น การ 5 ปี (พ.ศ.2564 - 2568) วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห ลั ก คื อ เ พื่ อ พั ฒ น า แ พ ล ต ฟ อ ร์ ม ที่ผู้ประกอบการอุ ตสาหกรรมการผลิต ผู ้พัฒนาระบบ (SI) นักนวัตกร และนักศึ กษาในสาขาที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเข้า ม า ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ผ่ า น กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ทั ้ ง ใ น รู ป แ บ บ การสาธิ ต การเรี ย นรู้ และการปฏิ บั ติ จ ริ ง เพื่ อ พั ฒ นา กระบวนการผลิ ต ให้ มี ค วามยื ด หยุ ่ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ icn 4
ช่ วยลดต้นทุนการผลิต และรักษาคุณภาพการผลิตให้มี ความคงที่อย่างต่อเนื่อง โดยจะครอบคลุมอุ ตสาหกรรม Industry Assessment Tools, Learning Station/Line และ Tested/sandbox รวมถึงกิจกรรมวิจัยและพัฒนา เพื่อการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับเทคโนโลยี อัตโนมัติ หุ่นยนต์ และระบบอัจฉริยะด้วย ทัง้ นี้ ภายใต้ โ ครงการดั ง กล่ าวแบ่ ง เป็ นโครงการ ย่อย 5 กิจกรรม ประกอบด้วย 1. งานบริ ก ารทดสอบและจั ด ท ามาตรฐาน (Reference Architecture and Standards) 2. งานบริ ก ารและสนั บ สนุ น อุ ตสาหกรรม (Service & Industry Promotion) เพื่อสร้า ง ผู ้ประกอบการเทคโนโลยีใหม่และสนับสนุนการประกอบ ธุ รกิจเทคโนโลยีด้วยบริการครบวงจร 3. ง า น ด้ า น ก า ร พั ฒ น า ค น ( Workforce Development) เพื่อเตรียมความพร้อมและยกระดับ ทั ก ษ ะ แ ร ง ง า น ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ แ ล ะ ความสามารถของบุ คลากรในภาคเอกชน 4. ศูนย์สาธิตด้านอุ ตสาหกรรมอัจฉริยะ (Pilot Line)
5. งานบริ ก ารทดสอบต้ น แบบและผลิ ต ภั ณ ฑ์ งานวิ จั ย พั ฒ นาร่ ว มกั บ ภาคอุ ตสาหกรรม (Industry 4.0 Testlabs/Tested bed and R&I) รวมถึง การ ร่วมวิจัยและนวัตกรรมกับภาคอุ ตสาหกรรม
โดยภาครัฐได้คาดการณ์ผลลัพธ์จากโครงการ SMC ว่าจะช่ วยเอือ้ ประโยชน์ต่อภาพรวมการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศได้อย่างมากในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. โครงสร้ างพื้นฐานและบุ คลากรที่ เชี่ ยวชาญด้ าน เทคโนโลยี เพื่ อยกระดั บการพั ฒนาสู่อุ ตสาหกรรมอั จฉริ ยะ พร้อมให้บริการแก่หน่วยงานภาคเอกชน สถาบันการศึ กษา และ สถาบันวิจัยตลอดห่วงโซ่ การผลิต (Value Chain) 2. ภาคอุ ตสาหกรรมการผลิ ต และบริ ก าร รวมถึ ง หน่วยงานวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีท่เี กี่ยวข้อง สามารถทดสอบการ ขยายผลการวิจัยพัฒนาไปสู่การลงทุนต่อยอดผลิตภัณฑ์เชิ ง พาณิชย์ด้วยความพร้อมทัง้ ทางเทคนิคและศักยภาพการแข่งขัน 3. ศู น ย์ ก ลางเครื อ ข่ า ยองค์ ค วามรู้ แ ละโครงสร้ า ง พืน้ ฐานเทคโนโลยี เพื่อยกระดับการผลิตสินค้าและบริการ ของเขตนวั ต กรรมอุ ตสาหกรรมเกิ ด ใหม่ แ บบครบวงจร แห่งแรกของประเทศไทยให้พร้อมก้าวสู่ระดับสากล ซึ่ งจะเป็นปั จจัยดึงดูดนักวิจัยรุ ่นใหม่ นักวิจัยต่างชาติ และนักลงทุน
ข้อมู ลจาก: https://www.eeci.or.th/th/strategic/sustainable-manufacturing https://cutt.ly/0gd7Mcy ภาพจาก: https://www.lightcoce-oitb.eu/en/static/services
FAQ 108
นอกจากนัน้ โครงการนีย้ ังจะสามารถสร้างรายได้ เพื่ อ พึ่ งพ าตนเอง ซึ่ งจะช่ ว ย ล ด ภาร ะร าย จ่ า ย งบประมาณภาครัฐ อีกทัง้ การดาเนินโครงการจะมุ ่งเน้น การบริการในกลุ่มเป้ าหมาย กลุ่มผู ้ประกอบการรายใหญ่ และกลุ่ ม ผู ้ ป ระกอบการ SME ที่ อ ยู ่ ในกลุ่ ม ธุ รกิ จ ที่ เกี่ ย วข้ อ งด้ ว ย เพื่ อ ช่ วยให้ เ กิ ด ระบบนิ เ วศนวั ต กรรม การพัฒนาอุ ตสาหกรรมอย่างยัง่ ยืน โครงการ SMC เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกลไกการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการลงทุนของประเทศไทยจาก ภาพรวมยุ ทธศาสตร์การลงทุนหลักที่มุ่งเน้นการลงทุน ในอุ ตสาหกรรมเป้ า หมาย และการพั ฒ นาให้ เ กิ ด การ ลงทุนในเขตพืน้ ที่เมืองอุ ตสาหกรรม ตลอดจนนโยบาย อื่น ๆ อีกมากมาย ทัง้ นี้เพื่อสอดรั บกับพั นธกิ จหลั ก ของประเทศในการก้ า วสู่ ป ระเทศไทย 4.0 อย่ า งมี ศักยภาพ
คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น www.faq1 08 .co.th
แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น
และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น 5 icn
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29
สมัครใช้ บริการ eMT
ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online
ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พมิ พ์ใน ระบบ eMT Online
สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร
ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร
BOI Approve 30 วัน 7 วัน
30-60 วัน 7 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
เป็นเรื่อง ติดต่อ...
ยุงยาก
IC
สา ห รั บ คุ ณ
บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์
COUNTER ด้านเครื่องจักร
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 314-315
Insight ระบบฐานข้อมูล
RMTS Online (4) กฤตยา วิชัยดิษฐ์ kittayad@ic.or.th
หลั ง จากที่ ส มาคม ฯ ได้ เ ปิ ดให้ บ ริ ก ารระบบ ฐานข้อมู ล RMTS Online เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2563 มี ผู ้ใช้ บริการสอบถามปั ญหาเข้ามาจานวนไม่น้อย ซึ่ งมีทัง้ ค าถามเกี่ ยวกั บ การใช้ งานครั ้ ง แรก การจั ด ท า รายละเอียดเอกสารประกอบการพิจารณา และการขอ อนุ มั ติ ส่ ง ออกวั ต ถุ ดิ บ ไปต่ า งประเทศ ซึ่ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ฟังก์ชนั่ งานที่เปิ ดให้บริการพร้อมกับการขออนุมัติบัญชี รายการวัตถุดิบและสูตรผลิตภัณฑ์ และมีผู้ใช้ บริการเข้า ใช้ ง านเป็ น จ านวนมาก ดั ง นั ้น ฉบั บ นี้ ผู้ เ ขี ย นจึ ง ขอ น าเสนอรายละเอี ย ดการท างานของฟั ง ก์ ชั่น งานขอ อนุมัติส่งออกวัตถุดิบไปต่างประเทศเพื่อให้ผู้ใช้ บริการ เกิดความเข้าใจมากขึน้ การขออนุมัติส่งออกวัต ถุดิบ ไปต่า งประเทศ แบ่งการทางานออกเป็น 2 ขัน้ ตอน ขั ้น ตอนที่ 1 : การขออนุ มั ติ ส่ ง ออกวั ต ถุ ดิ บ ไป ต่ า งประเทศ หมายถึ ง ขั ้น ตอนการขออนุ มั ติ ส่ ง ออก วั ต ถุ ดิ บ ไปต่ า งประเทศกั บ ส านั ก งานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน หรือ สกท. ว่าบริษัทต้องการส่งออก วัตถุดิบไปต่างประเทศตามรายละเอียดที่มีการสั่งปล่อย วัตถุดิบ โดยระบบจะให้เลือกเลขที่หนังสืออนุมัติสั่งปล่อย ฯ เลือกรายการวัตถุดิบ ชื่อวัตถุดิบ และปริมาณที่ต้องการ จะส่ ง ออก และตรวจสอบกั บ ใบขนสิ น ค้ า ขาเข้ า เมื่ อ ตรวจสอบแล้ ว พบว่ า ข้ อ มู ล ถู ก ต้ อ งระบบจะอนุ มั ติ อัตโนมัติ และออกเลขหนังสืออนุมัติใ ห้ส่งออก 1 เลขที่ ต่ อ 1 ค าร้ อ ง เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท น าไประบุ ลงในใบขนสิน ค้ า ขาออกในขัน้ ตอนการส่งออกต่อไป ขั ้น ตอนที่ 2 : การขออนุ มั ติ ป รั บ ยอดวั ต ถุ ดิ บ หมายถึ ง หลั งจากที่ บ ริษั ท ได้ ท าการส่ ง ออกวัต ถุ ดิบ ไป ต่างประเทศเรียบร้อยแล้ว เป็นขัน้ ตอนการนาหลักฐาน การส่งออกหรือใบขนสินค้าขาออกที่ได้ส่งออกวัตถุดิบ ตามที่ได้รับอนุมัติให้ส่งออกในข้อที่ 1 มาทาการปรับยอด วัตถุดิบในระบบ RMTS กับสมาคม ฯ ทัง้ นี้ ผู ้ เขียนขออธิ บายรายละเอียดและวิธีการขอ อนุ มั ติ ส่ ง ออกในขั ้ น ตอนที่ 1 ก่ อ น โดยเริ่ ม ต้ น ด้ ว ย สาระสาคัญของการใช้ งานและเงื่อนไขในการส่งออก ดังนี้
1. บริษัทสามารถระบุ เลขที่หนังสือนุมัติสงั่ ปล่อย หรือ งวดที่ และช่ วงเวลาของการสั่ง ปล่อ ย เพื่อค้ นหาข้อมู ล โดยระบบจะแสดงข้ อ มู ล การสั่ง ปล่ อ ยตามรายละเอี ย ดที่ ค้นหา เพื่อให้บริษัทเลือกงวดที่ เลขที่อนุมัติ นร. รายการ วัตถุดิบที่สงั่ ปล่อย และปริมาณวัตถุดิบที่สั่งปล่อย สาหรับ ขออนุมัติส่งออก ฯ 2. ระบบจะตรวจสอบเลขที่ อ นุ มั ติ นร. สั่ ง ปล่ อ ย วั ต ถุ ดิ บ ว่ า มี เ ลขที่ ใ บขนสิ น ค้ า ขาเข้ า หรื อ ไม่ ซึ่ งระบบ ฐานข้อมู ล RMTS Online จะเชื่ อมโยงข้อมู ลกับระบบของ สกท. ที่ดาวน์ โหลดข้อมู ลมาจากกรมศุลกากรให้ตรวจสอบ กรณี ไม่พบเลขที่ใบขนสินค้าขาเข้า ระบบจะไม่สามารถออก เลขที่หนังสืออนุมัติให้ส่งออกได้ 3. เลขที่ อ นุ มั ติ นร. สั่ ง ปล่ อ ยวั ต ถุ ดิ บ 1 เลขที่ สามารถเลื อ กขออนุ มั ติ ส่ ง ออกรายการวั ต ถุ ดิ บ ไป ต่างประเทศได้หลายครัง้ แต่เมื่อรวมจานวนแล้วต้องไม่เกิน จากจานวนที่นาเข้าในแต่ละรายการ 4. จานวนที่ยื่นขออนุมัติส่งออกต้องน้อยกว่าหรื อ เท่ากับจานวนในการสั่งปล่อยวัตถุดิบตามเลขที่อนุมัติ นร. สัง่ ปล่อยวัตถุดิบที่อ้างอิง 5. วัตถุดิบที่จะขออนุมัติส่งออกได้ต้องเป็นรายการ วัตถุดิบหรือวัสดุจาเป็นเท่านัน้ (ESS MAT = N หรือ Y) 6. 1 คาร้องของการขออนุมัติส่งออก ฯ สามารถเลือก หนังสืออนุมัติสั่งปล่อยได้มากกว่า 1 นร. สั่งปล่อยวัตถุดิบ โดยบริ ษั ทสามารถเลื อก นร. สั่งปล่ อยวั ตถุ ดิ บเพิ่ มเติ มได้ จนกว่าจะคลิกส่งคาร้อง 7. บริ ษั ท สามารถขอยกเลิ ก หนั ง สื อ อนุ มั ติ ส่ ง ออก วัตถุดิบไปต่างประเทศได้ หากยังไม่ ได้มีการส่งออก 8. ระบบจะตรวจสอบยอดคงเหลือวัตถุดิบ (Balance) ณ ปั จจุ บั นว่ า จะต้ องมี มากกว่ าหรื อเท่ ากั บจ านวนที่ ขอ อนุมัติส่งออก โดยระบบจะตรวจสอบเป็นครัง้ ๆ ตามที่บริษัท ยื่นคาร้อง 9. เมื่อบริษัทได้รับอนุมัติให้ส่งออกตามปริมาณที่ระบุ แล้ว ระบบจะจัดเก็บปริมาณที่ขออนุมัติส่งออกไว้ โดยการ จองยอดของ Balance เพราะหากบริ ษั ท ได้ ข ออนุ มั ติ ส่งออกเสมือนว่าบริษัทได้ดาเนินการส่งออกแล้ว 7
icn
ทัง้ นี้ ขอขยายความเพิ่มเติมในข้อ 8 และ ข้อ 9 อีกเล็กน้อย ความหมายของข้อ 8 คือ การที่บริษัทจะ ขออนุ มั ติ ส่ ง ออกวั ต ถุ ดิ บ ไปต่ า งประเทศในแต่ ล ะครั ้ง ได้นัน้ ระบบจะต้องตรวจสอบวัตถุดิบรายการนัน้ ก่อน ว่ า มี ย อดคงเหลื อ วั ต ถุ ดิ บ (Balance) มากกว่ า หรื อ เท่ า กั บ จ านวนที่ จ ะขออนุ มั ติ ส่ ง ออกหรื อ ไม่ หากมี จานวนยอดคงเหลือวัตถุดิบไม่เพียงพอ คือ มีปริมาณ น้อยกว่ายอดที่จะขออนุมัติส่งออก ระบบจะไม่สามารถ ส่งคาร้องเพื่อขออนุมัติส่งออกได้
สาหรับข้อ 9 หมายความว่า เมื่อบริษัทได้รับอนุมัติ ให้ส่งออกตามจานวนที่ระบุ แล้ว ระบบจะนายอดนัน้ ไปจอง ยอดคงเหลือของวัตถุดิบ (Balance) (ส่งผลให้ยอด Balance ลดลง ซึ่ งจะมีผลกับการตัดบัญชีวัตถุดิบ ในกรณีท่ีบริษัท มาทาการตัดบัญชีวัตถุดิบต่อจากการขออนุมัติส่งออก และมียอดคงเหลือน้อยกว่าปริมาณที่จะตัดบัญชีวัตถุดิบ บริษัทจะไม่สามารถตัดบัญชีวัตถุดิบในครัง้ นัน้ ได้) เสมือน ว่าบริษัทได้ดาเนินการส่งออกแล้ว ตัวอย่างรายละเอียด ดังรูปภาพ
สาหรับการใช้ งานระบบในช่ วงแรก ๆ พบว่าผู ้ใช้ บริการหลายรายประสบปั ญหา “ไม่พบข้อมู ลเลขหนังสืออนุมัติ สัง่ ปล่อยงวดดังกล่าวในฐานข้อมู ลกรมศุลกากร” หมายความว่า ไม่พบข้อมู ลใบขนสินค้าขาเข้าจากกรมศุลกากรนัน่ เอง หากบริ ษั ท ประสบกั บ ปั ญ หาดั งกล่ า ว ให้ บ ริ ษั ท แจ้ ง รายละเอี ย ดเลขที่ ใ บขนสิ น ค้ า ขาเข้ า มายั ง สมาคม ฯ ที่ E-mail: databaseonline@ic.or.th หรือ เบอร์โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 512 – 515 เพื่อสมาคม ฯ จะได้ประสานงานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบข้อมู ลต่อไป ทัง้ นี้ หากท่านมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการใช้ งานระบบฐานข้อมู ล RMTS Online หรือต้องการสอบถามข้อมู ลเพิ่มเติม สามารถส่งข้อมู ลสอบถามได้ทาง E-mail : databaseonline@ic.or.th หรือโทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 512 – 515 icn 8
ใหม่
ธุรกิจรูปแบบ และ การจัดการ
โซ่อุปทานทันสมัย (1) ในปี นี้มีงานวิจัยชิ ้นใหญ่ชุดหนึ่งเกิดขึ้นมาภายใต้ชื่อ “โครงการประเทศไทยในอนาคต (Future Thailand)” ที่ สนับสนุนโดยสานักงานการวิจัยแห่งชาติ เพื่อวิเคราะห์ฉากทัศน์ (Scenarios) ของประเทศไทยในอี ก 20 ปี ข้ า งหน้ า โดย ร่ ว มมื อ กั บ นั ก วิ จั ย นั บ ร้ อ ยจากหลายหน่ ว ยงานชัน้ น า ระดับ ประเทศ ผ่า นการวิจั ย และวิ เคราะห์ ข้ อมู ลอย่า งเป็ น แบบแผนใน 10 มิติสาคัญ คือ 1. ประชากรและโครงสร้างสังคม 2. สังคม ชนบท ท้องถิ่น 3. การศึ กษา 4. สิ่งแวดล้อมและ พลังงาน 5. เศรษฐกิจ ผู ้ประกอบการ และอุ ตสาหกรรม 6. เศรษฐกิ จ ไทย เศรษฐกิ จ โลก เกษตรกรรม และการ บริการ 7. วัฒนธรรมและภาษาไทย (อัตลักษณ์ความเป็นไทย) 8. การเมือง 9. บริบทโลก ปั จจัยคุกคาม และความมั่นคง ของประเทศ และ 10. คนและความเป็นเมือง โดยมิติต่าง ๆ จะมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ซ่ึ งกันและกัน การคาดการณ์อนาคต (Foresight) ของประเทศไทยจะมี ความส าคั ญอย่ า งมาก เพราะปั จจั ย ต่ าง ๆ ที่ เกิ ดขึ้น จะ ขับเคลื่อนให้ประเทศไทยไปในทิศทางที่ต้องการ โครงการนีเ้ ป็น โครงการที่มีความสาคัญและมีความสลับซับซ้ อนอย่างมาก เพราะอนาคตเป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน ขณะเดียวกันท่ามกลาง ความไม่แน่นอนนี้ การศึ กษาวิจัยอย่างเป็นระบบจะช่ วยให้สามารถ เข้าใจและรู้ถึงสิง่ ที่มีโอกาสและสามารถเป็นไปได้ในแต่ละมิติ ในศาสตร์ ด้ านการคาดการณ์ อนาคตเชิ งยุ ทธศาสตร์ (Strategic Foresight) นอกจากจะคานึงถึงแนวโน้มที่มีเหตุการณ์ และตัวเลขเชิงสถิติสนับสนุนแล้ว ความไม่แน่นอน (Uncertainty) ก็ เป็ นอี กสิ่ งหนึ่ งที่ ต้ องพิ จารณาร่ วมด้ วย จากเดิ มในอดี ต ความไม่แน่นอนที่เราให้ความสนใจกันเป็นส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้อง กั บปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ ที่ รุ นแรงและส่ งผลกระทบใน วงกว้ าง ไม่ ว่ าจะเป็ นพายุ แผ่ นดิ นไหว สึ นามิ น ้าท่ วมใหญ่ ภูเขาไฟระเบิด ไฟไหม้ป่าที่กินบริเวณกว้างและยาวนานกว่าจะดับ ได้ แต่ ปั จจุ บั นเราเริ่ มให้ ความส าคั ญกั บการแพร่ ระบาดของ เชือ้ โรคซึ่ งรุ นแรง ระบาดรวดเร็ว และส่งผลกระทบในวงกว้างจาก การเดินทางของผู ้คน รวมถึงการที่ยังไม่สามารถคิดค้นยาหรือ วั คซี นเพื่ อรั กษาหรื อป้ องกั นโรคขึ้นมาได้ ในเวลาอั นรวดเร็ ว ตัวอย่างเช่ นสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่กาลัง เกิดขึ้นในปั จจุ บัน ซึ่ งเป็ นเพียงหนึ่งในปั จจัยภายนอก แต่ยังมี ปั จจัยอื่นอีกนับไม่ถ้วนที่อาจผลักดันให้เกิดสถานการณ์ที่เรา ไม่อาจจินตนาการได้ในอนาคต อาทิ ปั ญหาด้านการเมือง และ สงครามการค้า 2 ขัว้ (สหรัฐและจีน)
จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com
ปั จจุ บั น การเปลี่ ย นแปลงของปั จจั ย ภายนอกส่ ง ผลกระทบอย่างมหาศาลต่อการดาเนินธุ รกิจ ซึ่ งเป็นผลมา จากการที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจของโลกเชื่อมต่อกันอย่าง ไร้ ร อยต่ อ ตั ว อย่ า งที่ เ ห็ น ได้ ช ัด เจนที่ สุ ด ก็ คื อ “การแพร่ ระบาดของ COVID-19” ไม่มี ใ ครคาดคิด มาก่ อ นว่ า การ แพร่ระบาดของโรคดังกล่าวจะทาให้มีการปิ ดประเทศ เกิด ภาวะเศรษฐกิ จ หดตั ว อย่ า งรุ น แรงและฉั บ พลั น และส่ ง ผลกระทบในวงกว้างไปถึงเศรษฐกิจของโลกในที่สุด แม้ว่าจากสถิติการแพร่ระบาดของ COVID-19 ใน หลายประเทศทั่ว โลก ดู เ หมื อ นว่ า ประเทศไทยได้ รั บ การ ยอมรั บ และจั ด อั น ดั บ ให้ อ ยู ่ ใ นกลุ่ ม ประเทศที่ มี ม าตรการ รับมือได้ดี แต่อย่างไรก็ตามยังมีความเสี่ยงเพิม่ ขึน้ หลังจาก ช่ วงสั ป ดาห์ ที่ ผ่ า นมา เนื่ อ งจากประเทศเพื่ อ นบ้ า นเรามี ตั ว เลขการติ ด เชื้ อ สู ง มากขึ้ น อย่ า งเห็ น ได้ ช ัด เป็ น ผลให้ ศูนย์ บริ หารสถานการณ์แ พร่ ระบาดของโรคติด เชื้อไวรั ส โคโรนา 2019 (ศบค.) ต้ อ งก าชับ ให้ ค วบคุ ม ดู แ ลพื้น ที่ ชายแดนเขตติดต่อทางบกระหว่างประเทศไทยและประเทศ เพื่อนบ้านอย่างเข้มข้น แท้จริงแล้วสถานการณ์ COVID19 เป็นเพียงหนึ่งในปั จจัยภายนอกซึ่ งยังมีอีกนับไม่ถ้วนที่ ผลั ก ดั น ให้ เกิ ดการเปลี่ ย นแปลงและส่ ง ผลกระทบต่ อ ภาค ธุ รกิจในช่ วงระยะเวลานี้
9 icn
ผู ้ เ ขี ย นได้ รั บ ข้ อ มู ลและภาพอิ น โฟกราฟิ กสรุ ป ภาพรวมของงานวิ จั ย ออกมาเป็ น 8 เมกะเทรนด์ ในมิ ติ การศึ กษาที่เกี่ยวข้องกับด้านเศรษฐกิจ ผู ้ประกอบการ และ อุ ตสาหกรรม ที่เผยแพร่โดยฝ่ ายวิจัย สถาบันเพิ่มผลผลิต แห่งชาติ ได้ทาการศึ กษาสถานการณ์แวดล้อมในปั จจุ บัน เพื่อคาดการณ์เกี่ยวกับปั จจัยภายนอกที่จะมีบทบาทสาคัญ ในการผลั กดั นให้เกิดการเปลี่ย นแปลงต่อ ภาคธุ รกิ จในอี ก 20 ปี ข้ า งหน้ า โดยที ม นั ก วิ จั ย ได้ ส รุ ปความคิ ด เห็ น และ มุ มมองที่หลากหลายจากผู ้ที่เกี่ยวข้องออกมาว่า อะไรคือ โอกาสและความท้าทายในโลกยุ คดิ จิทัล และพบว่ าปั จจั ย ภายนอกที่สาคัญที่จะเป็นแรงผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ค รั ้ ง ใ ห ญ่ ( The Driving Forces of Change) ไ ด้ แ ก่ สภาพภูมิอากาศ มลภาวะและปั ญหาสิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ การขาดแคลนทรั พยากร กฎระเบี ยบโลก สงครามการค้า กระแสสังคม เทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยี ก า ร สื่ อ ส า ร ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ความตระหนักและพฤติกรรมของผู ้บริโภคยุ คใหม่ และการ ขาดแคลนแรงงาน โดยปั จจั ย เหล่ า นี้ จ ะผลั ก ดั น ให้ ก าร ดาเนินธุ รกิจในอนาคตอาจเปลี่ยนไปใน 8 รู ปแบบธุ รกิจใน อนาคต ได้แก่
แนวโน้ม ที่ 2 จากกระแสสังคม ความยุ ติธรรม ธรรมาภิบาล และความโปร่งใส ส่งผลให้เกิดธุ รกิจรูปแบบ ใหม่ ที่ เ รี ย กว่ า การด าเนิ น ธุ รกิ จ อย่ า งมี จ ริ ย ธรรม (Ethical Business Operation) “องค์ ก รที่ ยึ ด มั่ น ในความสุ จ ริ ต โปร่ ง ใส และมี จริยธรรมในการทาธุ รกิจ จะได้รับการสนับสนุนและการ ปกป้ องจากภาคประชาสังคม” การดาเนินธุ รกิจนับจากนี้ ต้องมุ ่งเน้นความซื่อสัตย์สุจริต แสดงความโปร่งใสในการ ด าเนิ น งาน การปฏิ บั ติ ต่ อ ผู ้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ด้ ว ย ความยุ ติธรรม เสมอภาค และไม่เอารัดเอาเปรียบ หากมี ประเด็นที่ส ร้างความไม่พอใจของสังคมเพีย งครัง้ เดีย ว อาจส่งผลกระทบต่อธุ รกิจจนต้องปิ ดกิจการ จริยธรรม ในการดาเนินธุ รกิจจึงเป็นเรื่องสาคัญที่องค์กรต้องนาไป ปฏิ บัติ ไม่เพี ยงจะช่ วยปิ ดโอกาสในการถู ก ต่อ ต้ านจาก กระแสสั ง คมแล้ ว หากธุ รกิ จ ต้ อ งประสบปั ญหาที่ ไม่ ค าดคิ ด ก็ จ ะได้ รั บ การสนั บ สนุ น และปกป้ อ งจากภาค ประชาสังคมอีกด้วย
8 MEGA TRENDS แนวโน้ ม ที่ 1 จากสภาพภู มิ อ ากาศ มลภาวะ กฎระเบียบโลก และปั ญหาสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดธุ รกิจ รู ป แบบใหม่ ที่ เ รี ย กว่ า การด าเนิ น ธุ รกิ จ ที่ เ ป็ นมิ ต รต่ อ สิง่ แวดล้อม (Neo-Ecological Business) “สินค้าและบริการที่นาเสนอภาพลักษณ์ของการใส่ใจ สิง่ แวดล้อมจะสามารถสร้างมู ลค่าเพิ่มและได้รับการตอบรับ จากผู ้ บ ริ โ ภคในวงกว้ า ง” การด าเนิ น ธุ รกิ จ ตลอดห่ ว งโซ่ คุ ณ ค่ า ( Value Chain) ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ต้ อ ง ใ ส่ ใ จ ให้ความสาคัญ และคานึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จึง จะได้รับการยอมรับจากสังคมและผู ้บริโภค เช่ น ผลิตภัณฑ์ ที่ผลิตด้วยวัสดุที่ Recycle ได้ กระบวนการผลิ ต ที่ ประหยัดพลังงานหรือ ลดการปล่อยมลพิษ หรือการดาเนินธุ รกิจ เพื่ อ สนั บ สนุ น Circular Economy
icn 10
แ น ว โ น้ ม ที่ 3 จ า ก เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร สื่ อ ส า ร อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ทุ ก ส ร ร พ สิ่ ง ( Internet of Things) เทคโนโลยี ก ารประมวลผล และทรั พ ยากรขาดแคลน ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ธุ รกิ จ รู ป แบบใหม่ ที่ เ รี ย กว่ า ธุ รกิ จ ดิ จิ ทั ล (Everything-As-A-Service) “การน าเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล เข้ า มาปรั บ รู ป แบบการ ด าเนิ น ธุ รกิ จ จาก “การผลิ ต สิ น ค้ า เพื่ อ ขาย” มาเป็ น “การให้บริการสินค้า ” จะสามารถตอบสนองพฤติกรรม ผู ้บริโภคยุ คใหม่ ได้เป็นอย่างดี” ในอนาคตความต้องการ ครอบครองสินทรัพย์ของผู ้บริโภคจะลดลง อันเป็นผลมา จากแรงกดดันของการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ ท า ให้ สิ น ค้ า มี ต้ น ทุ น ที่ สู งม า ก ร วม ถึ ง ผู ้ บริ โ ภ ค มี ความตระหนั ก ในเรื่ อ งสิ่ ง แวดล้ อ มมากขึ้น ดั ง นั น้ การ น าเสนอสิ น ค้ า ในรู ป แบบของการบริ ก าร เช่ น การเช่ า (Lease) การจ่ายตามการใช้ งานจริง (Pay-per-use หรือ Subscription) จึงน่าจะเป็นคาตอบที่ลงตัวสาหรับบริบท ในอนาคต แต่การจะปรับรูปแบบธุ รกิจจากการผลิตเพื่อ ขายมาเป็ นการให้ บ ริ ก าร องค์ ก รจ าเป็ นต้ อ งมี ก าร ประยุ กต์ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและพัฒนาระบบสารสนเทศที่มี ประสิทธิภาพ
แนวโน้มที่ 4 จากการเข้าใจลูกค้า ประสบการณ์ ใหม่ ความเป็นปั จเจก และการเข้าถึงบริการ ส่งผลให้เกิดธุ รกิจ รู ปแบบใหม่ที่เรียกว่า การปฏิสัมพัน ธ์ผ่า นช่ องทางดิจิทัล (Digital Touch Point) “การพัฒนาช่ องทางเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์กับลูกค้า ผ่ า นดิ จิ ทั ล แพลตฟอร์ ม นอกจากจะเป็ นการอ านวย ความสะดวกให้ แ ก่ ลู ก ค้ า แล้ ว ยั ง เป็ น กลไกส าคั ญ ที่ ท าให้ องค์กรสามารถเรียนรู้และเข้าใจพฤติกรรมของลูกค้าได้ดี ยิ่ง ขึ้น” ช่ องทางการติ ด ต่อ ระหว่ า งผู ้ บ ริ โภคและผู ้ ขายใน อนาคตจะเปลี่ยนไปสู่ Online Platform โดยสมบู รณ์ ไม่ว่า จะเป็น การเข้าถึง ข้อมู ล ข่าวสาร การใช้ บริการ รวมไปถึ ง การสื่ อสารระหว่ า งลูก ค้ า กั บธุ รกิ จ ซึ่ ง นอกจากจะสร้ า ง ความสะดวกรวดเร็ ว และตอบสนองความต้อ งการของ ลูกค้าได้อย่างทันเวลาแล้ว Digital Touch Point ยังช่ วยให้องค์กร สามารถรวบรวมข้อมู ลพฤติกรรมของกลุ่มลูกค้าเพื่อนาไป วิเคราะห์และพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างประสบการณ์ ใหม่ ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า รวมถึ ง การก าหนดกลยุ ทธ์ ท างการตลาดที่ โดนใจลูกค้าเฉพาะกลุ่มได้เป็นอย่างดี
แนวโน้ ม ที่ 5 จากเครื อ ข่ า ยดิ จิ ทั ล การขนส่ ง ไร้ พ รมแดน และการใช้ ท รั พ ยากรให้ คุ้ ม ค่ า ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ธุ รกิจรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า ห่วงโซ่ อุ ปทานรายย่อย (Micro Supply Chain) “การบริหารความเสี่ยงของธุ รกิจขนาดใหญ่ด้วยการ ลดการพึ่ ง พาผู ้ ส่ ง มอบหลั ก ไม่ กี่ ร าย สร้ า งโอกาสให้ กั บ ธุ รกิจขนาดเล็กที่มีศกั ยภาพทัว่ ทุกมุ มโลกผ่านโครงข่ายการ สื่อสารและการคมนาคมที่มีประสิทธิภาพ” ระบบเศรษฐกิจที่ เชื่ อ มต่ อ กั น อย่ า งไร้ ร อยต่ อ สร้ า งโอกาสให้ ภ าคธุ รกิ จ เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ขณะเดียวกันก็ทาให้เศรษฐกิ จ ของโลกมี ค วามเปราะบางมากขึ้ น เช่ นกั น ปั ญหาหรื อ วิ ก ฤติ ก ารณ์ ที่ ก่ อ ตั ว ขึ้ น ในระดั บ ประเทศสามารถส่ ง ผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกได้ในชัว่ พริบตา ผู ้ประกอบการ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ธุ รกิ จ ขนาดใหญ่ จึ ง ต้ อ งพยายามลด ความเสี่ยงของตนเองด้วยการสร้างเครือข่ายผู ้ส่งมอบที่ หลากหลายเพื่อบรรเทาความรุ นแรงของผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้น ความท้าทายนีเ้ องจะสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการ รายย่อยในฐานะของผู ้ส่งมอบที่มีศกั ยภาพ
แนวโน้ มที่ 6 จากเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล การเพิ่ ม ประสิทธิภาพ การควบคุมต้นทุน การผลิตสินค้าเฉพาะกลุ่ม และแรงงานขาดแคลน ส่งผลให้เกิดธุ รกิจรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า การผลิตอัจฉริยะ (Smart Production) “ธุ รกิ จ ที่ น าแนวคิ ดอุ ตสาหกรรม 4.0 มาประยุ กต์ ใช้ อย่างเหมาะสมกับบริ บทของตนเอง จะทาให้ กระบวนการ ผลิตมีความยืดหยุ ่น ใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู ้บริโภคได้อย่างฉับไว” ความก้ า วหน้ า อย่ า งก้ า วกระโดดของเทคโนโลยี ใ นด้ า น ประสิทธิภาพหรือความสามารถในขณะที่การเข้าถึงเทคโนโลยีมี ต้นทุนที่ลดลงอย่างมากส่งผลให้องค์กรตัดสินใจนาเทคโนโลยี เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตมากขึน้ การพัฒนาระบบการผลิต อัจฉริยะจาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารจัดการ ในหลายด้านไม่ว่าจะเป็นการจ้างแรงงาน การพัฒนาทักษะ ของพนักงาน หรือการจัดการข้อมู ลสารสนเทศ ระบบการ ผลิตอัจฉริยะจึงเป็นจุ ดเริ่มต้นที่จะนาองค์กรไปสู่รูปแบบธุ รกิจ ดิจิทัลในท้ายที่สุด แนวโน้มที่ 7 จากรสนิยมผู ้บริโภค ความสามารถ ของเทคโนโลยี การเพิ่มประสิทธิภาพ การลดต้นทุน และ โอกาสทางการตลาด ส่ ง ผลให้ เกิ ด ธุ รกิ จ รู ป แบบใหม่ ที่ เรี ย กว่ า กา ร ตั ด สิ น ใจ ด้ ว ยข้ อ มู ลข นา ดใหญ่ แ ละ ปั ญญาประดิษฐ์ (Big Data Analytic & AI) “กา ร วิ เค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ลข น า ดให ญ่ แ ละ กา ร ใช้ ปั ญญาประดิษฐ์จะเป็นเครื่องมือสาคัญที่องค์กรยุ คใหม่ ใช้ในการค้นหาโอกาสทางธุ รกิจ สร้างความแตกต่างของ สิ น ค้ า และบริ ก าร รวมถึ ง การสร้ า งนวั ต กรรมที่ เ หนื อ ความคาดหมาย” ข้อมู ลเป็นหัวใจสาคัญของการประสบ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ส า ห รั บ ก า ร ท า ธุ ร กิ จ ใ น โ ล ก ยุ ค ใ ห ม่ ผู ้ประกอบการรายใหม่สามารถแจ้งเกิดและยกระดับตัวเอง ขึน้ มาเทียบเคียงบริษัทยักษ์ ใหญ่ ได้โดยใช้ Big Data เป็น อาวุ ธคู่กาย การวิเคราะห์ข้อมู ลขนาดใหญ่สามารถใช้ ได้ ในหลากหลายมิ ติไ ม่ว่ า จะเป็ น การจับ พฤติ กรรมลูก ค้ า การค้นหาส่วนแบ่งตลาดใหม่ ๆ การอ่านใจคู่แข่ง การ วางจุ ดขายของตัวเอง รวมถึงการเฝ้ าระวังความเสี่ยง หรือภัยคุกคามที่มองไม่เห็น ซึ่ งเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ จะเข้ า มามี บ ทบาทส าคั ญ ในการใช้ ป ระโยชน์ จ ากข้ อ มู ล จานวนมหาศาล
11
icn
แนวโน้มที่ 8 จากแรงงานยุ คใหม่ การควบคุมต้นทุน การผลิตน้อยชิน้ และความผันผวนของเศรษฐกิจ ส่งผลให้ เกิดธุ รกิจรู ปแบบใหม่ที่เรียกว่า การจ้างงานที่ยืดหยุ ่นตาม สถานการณ์ (On-Demand Workforce) “การก าหนดรู ป แบบการจ้า งงานที่ มี ค วามยื ด หยุ ่ น จะช่ วยให้อ งค์ ก รสามารถจั ด การต้ นทุ นได้ มีป ระสิท ธิภ าพ และยั ง สามารถดึ ง ดู ด คนรุ ่ น ใหม่ ร วมถึ ง บุ คลากรที่ มี ความเชี่ยวชาญเข้ามาทางานได้ง่ายขึ้น” ปั จจัยภายนอกมี การเปลี่ ย นแปลงเหนื อ ความคาดหมายส่ ง ผลกระทบต่ อ ธุ รกิจอย่างรวดเร็วและรุ นแรง ผู ้ประกอบการต้องพยายาม ลดผลกระทบลงให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทาได้และต้องฟื้ นตัวให้ เร็วที่สุด ส่วนหนึ่งของการปรับเปลี่ยนเพื่ออยู ่รอด คือ การ บริ ห ารจั ดการแรงงานที่ มีค วามยื ด หยุ ่ น สูง แต่ ยัง คงไว้ ซ่ึ ง ประสิท ธิ ภ าพ ในขณะเดี ย วกั น ก็ส ามารถตอบสนอง Life Style ของแรงงานยุ คใหม่ด้วย การจ้างแรงงานประจาจึง อาจถูกแทนที่ด้วยการจ้างงานรูปแบบใหม่ ๆ เช่ น การจ่าย ค่าตอบแทนตามจานวนชิ ้นงานหรือตามเวลาการทางาน แต่มีกลยุ ทธ์ ในการจู งใจแรงงานไว้กับองค์กร เช่ น Loyalty Program ทัง้ นีส้ ิ่งที่ยากที่สุดของการคาดการณ์อนาคตก็คือ จินตนาการของคน ทาอย่างไรถึงจะเอาอคติที่มีในแต่ละคน ออกไปแล้วช่ วยกันสร้างคุณค่าร่วม ซึ่ งความสาเร็จไม่ได้อยู ่ ที่ความแม่นยา แต่เป็นการสร้างความหลากหลายออกมา เป็นภาพร่วมกัน และคานึงถึงความไม่แน่นอน ผลของการศึ กษาวิจัยที่กล่าวมาข้างต้นอาจช่ วยให้ เราเห็ นถึ งแนวโน้ม ของการเปลี่ย นแปลงของภาคธุ รกิจ ใน อนาคตและเตรียมปรับตัว แต่ข้อมู ลดังกล่าวก็เป็นแค่สิ่งที่ เรามองเห็นในปั จจุ บัน ..... ยังมีปัจจัยภายนอกอื่น ๆ อีก ไหมที่จะสร้างแรงผลักดันให้ธุรกิจต้องปรับตัว ...... เราเคย นึกถึงผลกระทบจากเรื่องเหล่านีบ้ ้างหรือไม่
เทคโนโลยี ที่ มี ค วามสามารถเหนื อ มนุ ษ ย์ ใ นทุ ก ด้าน (Technological Singularity) กระแสการต่ อ ต้ า นเทคโนโลยี (Technological Denial) สถานการณ์ ที่ ร ะบบการสื่ อ สารเป็ นอั ม พาต ( Communication Lockdown ห รื อ Cyber COVID) ม นุ ษย์ มี อ า ยุ ขั ย ยื น ย า ว ถึ ง 1 00 ปี ( The Century Life Span) เมื่อเราไม่อาจคาดเดาได้ทงั ้ หมดว่าจะเกิดอะไรขึน้ บ้าง ในอนาคต สิ่ ง ที่ ส าคั ญ และจ าเป็ น ที่ สุ ด ส าหรั บ องค์ ก ร ในโลกแห่ ง ความไม่ แ น่ น อน คื อ การมี ผ ลิ ต ภาพ (Productivity) ซึ่ ง จะ ช่ วยท าให้ อง ค์ ก รมี พื้ น ฐา น ที่ แข็ ง แกร่ ง (Strong Foundation) สามารถปรั บตั ว และ ตอบสนองต่อความไม่แน่นอนต่าง ๆ ได้อย่างฉับไว
นอกเหนือจากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการดาเนิน ธุ รกิ จในอนาคตที่ คาดการณ์ว่ าจะเกิ ดขึ้น แล้ว นัน้ ด้า น การจั ด การโซ่ อุ ปทานที่ ต้อ งดาเนิน การโดยใช้ เทคโนโลยี เข้ า มาช่ วยจั ด การนั ้น จะมี วิ ธี ก ารอย่ า งไร ติ ด ตามได้ ใน ICN ฉบับต่อไป ภาพจาก: https://thestandard.co/us-china-trade-war-and-thai-concern/ https://www.salika.co/2018/07/21/new-power-world-trade-wars/ https://greatpeopleinside.com/the-disadvantages-of-business-ethics-worldwide/ https://blogs.gartner.com/rene-buest/2018/10/15/its-a-matter-of-proximity-go-beyond-theedge-directly-to-the-digital-touchpoint-in-support-of-digital-business-2/ https://agileleanlife.com/setting-strong-foundations/
สมัคร ต่ออายุ สมาชิก ปี 2564 สแกนเลย icn 12
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกลูกค้าสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร
โทร. 0 2936 1429 ต่ อ 202-203 E-mail: cus_service@ic.or.th www.ic.or.th
สมาคมสโมสรนักลงทุน
ช่วยแบ่งเบาภาระผู้ใช้บริการ ให้ธุรกิจฝ่าวิกฤต Covid-19 TOGETHER WE FIGHT
ขยายเวลามอบส่วนลด
10%
ค่าบริการระบบงานเครื่องจักรและวัตถุดิบ
เป็นเวลาอีก 6 เดือนเต็ม ในงวดเดือนตุลาคม 2563 – มีนาคม 2564
ขยายเวลาชาระหนี้
งวดเดือนมีนาคม – สิงหาคม 2563
ค่าบริการระบบงานเครื่องจักรและวัตถุดิบ
ออกไปอีก ค่าบริการ ค่าบริการ ค่าบริการ ค่าบริการ
เดือนมีนาคม 2563 เดือนเมษายน 2563 เดือนพฤษภาคม 2563 เดือนมิถุนายน 2563
ชาระภายใน ชาระภายใน ชาระภายใน ชาระภายใน
3 เดือน
30 กรกฎาคม 2563 30 สิงหาคม 2563 30 กันยายน 2563 30 ตุลาคม 2563
ค่าบริการ เดือนกรกฎาคม 2563 ชาระภายใน 30 พฤศจิกายน 2563 ค่าบริการ เดือนสิงหาคม 2563 ชาระภายใน 30 ธันวาคม 2563
สอบถามเพิ่ ม เติ ม โทรศั พ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 401, 403
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
สมาคมสโมสรนักลงทุน จัดประชุมใหญ่สามัญ
ประจาปี 2563 <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด “ประชุ ม ใหญ่ ส ามั ญ ประจ าปี 2563” เมื่ อ วั น ที่ 29 กันยายน 2563 ณ ห้องสุขุมวิท 1-2 โรงแรม เจดั บบลิ ว แมริ ออท กรุ งเทพมหานคร เพื่ อ รายงานผลการด าเนิ น งานของสมาคม ฯ ประจ าปี 2562 และชี้ แ จงแผนงานประจ าปี 2563 ให้สมาชิกสมาคม ฯ รับทราบ คุ ณ จั ก รมณฑ์ ผาสุ ก วนิ ช นายก สมาคม ฯ เป็นประธานการประชุ ม ร่วมด้วย คณะกรรมการสมาคม ฯ โดยมี ส มาชิ ก เข้ า ร่วมประชุ มเพื่อรับฟั งและแสดงความคิดเห็น รวมถึ ง ให้ ข้ อ เสนอแนะที่ เ ป็ นประโยชน์ ส าหรั บ นาไปใช้ ในการพัฒนางานบริการต่าง ๆ ของ สมาคม ฯ ให้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับ ความต้อ งการของสมาชิ ก และผู ้ใช้ บริก ารได้ อย่างครบวงจรในอนาคต
สมาชิ ก และผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารสามารถติ ด ตามหลั ก สู ต รสั ม มนาออนไลน์ สาหรั บ สมาชิ ก ที่ น่ า สนใจ ได้ ที่ http://icis.ic.or.th หรื อ www.ic.or.th หรื อ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ม เติ ม ทางโทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 202-204 icn 14
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
สัมมนาสมาชิก
ครั้งที่
Less is More
<<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดสัมมนาฟรีสาหรับ ส ม า ชิ ก ค รั ้ ง ที่ 3/2563 เ รื่ อ ง “ Less is more” เมื่อวันศุกร์ที่ 25 กันยายน 2563 ณ ห้อง Amber 2 ศูนย์ประชุ มนิทรรศการและการประชุ มไบเทค (บางนา) เพื่ อ ให้ ส มาชิ ก ได้ รั บ ความรู้ แ ละความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ หลั ก การในการปรั บ ปรุ งประสิ ท ธิ ภ าพ (Efficiency) ผลิตภาพ (Productivity) การใช้ ทรัพยากรให้คุ้มค่า การลดต้ น ทุ น ในด้ า นต่ า ง ๆ และการลด ของเสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ด้ ว ยกระบวนการท างานที่ เ รี ย บง่ า ยที่ สุ ด ลดความซับซ้ อน แต่ได้ประโยชน์สูงสุด ภายใต้แนวคิด “Less is More” หรือ “ทาน้อย ได้มาก” โดยมุ ่งเน้นให้ ผู ้ เ ข้ า อบรมสามารถน าเทคนิ ค ต่ า ง ๆ ไปใช้ ใ นการหา ความสูญเปล่า สาเหตุที่เกิดขึ้น แนวทางในการแก้ไข ปั ญหา และปรับปรุ งกระบวนการให้สามารถลดต้นทุนใน การท าโครงการได้ จ ริ ง และเกิ ด ประโยชน์ ต่ อ บริ ษั ท อย่างเป็นรูปธรรม การสั ม มนาครั ้ง นี้ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ าก ดร. ภาวั ต อุ ป ถั ม ภ์ เ ชื้ อ ที่ ป รึ ก ษ าด้ า น ล ด ต้ น ทุ น แ ล ะ เ พิ่ ม ประสิทธิภาพ เป็นวิทยากรบรรยาย โดยมีหัวข้อสาคัญ อาทิ ภาพรวมและแนวคิดต่าง ๆ ของ Less is More เช่ น TIMWOOD แนวคิดหลักการที่ใช้ ในการหาความ สูญเสีย 7 ประการ POKA YOKE แนวคิดหลักการใน การขจัดความสูญเสียให้เป็นศูนย์ การเชื่ อมโยง การ ปรับปรุ ง และการจัดการความสูญเสียกับต้นทุนต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ ในองค์กร เพื่อนาไปสู่หลักการ “ทาน้อย ได้มาก” การประเมิ น ความสู ญ เสี ย ในองค์ ก ร (Waste Walk) และการหาสาเหตุ ที่ แท้ จ ริ ง โดยระหว่ า งการบรรยาย วิ ท ยากรได้ เ ปิ ดโอกาสให้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาได้ ซ ัก ถาม กรณีปัญหาต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ ให้เกิดประโยชน์กับการ ปฏิบัติงาน งานสั ม มนาครั ้ง นี้จั ด ขึ้น ภายในงาน Subcon Thailand 2020 ซึ่ ง เป็ น งาน แสดงอุ ตสาหกรรมรั บ ช่ วงการผลิ ต เพื่ อ การจั ด ซื้ อ ชิ้ น ส่ ว นอุ ตสาหกรรมและ การจับ คู่ธุรกิ จที่ใหญ่ที่สุด ในภูมิ ภาคอาเซี ย น จัด โดย สานัก งานคณะกรรมการ ส่งเสริ มการลงทุน (บีโอไอ) ระหว่ างวัน ที่ 23-26 กันยายน 2563 โดยสมาคม สโมสรนักลงทุนร่วมออกบู ธภายในงานด้วย สมาชิ ก และผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารสามารถติ ด ตามหลั ก สู ต รสั ม มนาออนไลน์ สาหรั บ สมาชิ ก ที่ น่ า สนใจได้ ที่ http://icis.ic.or.th หรื อ www.ic.or.th หรื อ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ม เติ ม ทางโทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 202-204 15 icn
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
สมาคมสโมสรนักลงทุนรับมอบใบรับรองมาตรฐาน ISO/IEC
20000-1:2018 ระบบบริหารจัดการงานบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ITSMS) <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด พิ ธี รั บ มอบใบรั บ รอง มาตรฐาน ISO/IEC 20000-1:2018 ระบบบริ ห ารจั ด การงาน บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ Service Management System: ITSMS เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2563 ณ สมาคมสโมสร นักลงทุน โดยได้รับเกียรติจาก คุณไพโรจน์ เกรียงเชี่ ยวชาญ Client Manager จาก BSI Group (Thailand) Co., Ltd เป็ น ผู ้ ม อ บใบรั บร อ งม า ต ร ฐา น ISO/IEC 20000-1:2018 แ ล ะ คุณ ชุ ตาภรณ์ ลัม พสาระ อุ ปนายก สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น เป็ นผู ้ รั บ มอบ ในการนี้ คุ ณ อธิ ต านั น ท์ อภิ ธ นทวี พั ฒ น์ Managing Director จ า ก Asian Intelligent Information Technology (AIIT) ซึ่ งเป็นบริษัทที่ปรึกษาจัดทาระบบมาตรฐาน ISO/IEC 20000-1:2018 มอบโล่และช่ อดอกไม้แสดงความยินดี โดยมี คุ ณ หิ รั ญ ญา สุ จิ นั ย ประธานคณะท างานเตรี ย มการ จัดทามาตราฐาน ISO 20000 เป็นผู ้รับมอบ การที่สมาคม ฯ ทางานอย่างมุ ่งมั่นจนสามารถผ่านการ รั บ รองมาตรฐาน ISO/IEC 20000-1:2018 เพื่ อ ยกระดั บ การ ให้บริการระบบงานสิทธิและประโยชน์ด้านเครื่องจักรและวัตถุดิบ ด้ ว ยเทคโนโลยี ส ารสนเทศ (IT Services) ให้ ส อดคล้ อ งกั บ มาตรฐานระดับสากลสาหรับการบริหารจัดการงานบริการด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการ บริ ก ารให้ ต รงตามข้ อ ก าหนดลู ก ค้ า อี ก ทั ง้ ยกระดั บ ศัก ยภาพ บุ คลากรให้สามารถให้บริการได้อย่างรอบด้าน
icn 16
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน
เตรียมเอกสารกาหนด วันนาเข้าครัง้ แรก / ขอรับ Username และ Password ระบบ IC Online (ภายใน 1 วันทาการ)
ตามมาตรา 36 (1), (2)
คีย์บัญชีรายการ วัตถุดบิ / เตรียม เอกสารการลงทะเบียน เข้าสู่ระบบ RMTS สมัครใช้ บริการ RMTS
ขออนุมัติ บัญชีรายการ วัตถุดบิ กับ BOI
คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดบิ คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต
คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดบิ
ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน
BOI Approve
30 วัน 7 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
ทาให้คุณ ติดต่อ...
IC
สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์
COUNTER ด้านวัตถุดิบ
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 310, 313
ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน
แก้ปัญหาให้ตรงจุด ด้วย
5 Gen
5 GEN
ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th
การแก้ไขปั ญหาในกระบวนการทางานต่าง ๆ เพื่อลด ความสู ญ เสี ย ในกระบวนการผลิ ต ซึ่ ง เชื่ อ มโยงไปสู่ ก าร บริ ห ารต้ น ทุ น ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ (Effective Cost Management) บุ คลากรที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบโดยตรง จะต้องมีทักษะในการค้นหาอาการหรือสาเหตุท่ีเป็นรากเหง้า ของปั ญหา เพื่อนามาวิเคราะห์หาสาเหตุสาหรับการแก้ไข ปั ญหาด้ ว ยตนเอง (Self-solving problem) ได้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ งแ ล ะรว ด เ ร็ ว โ ดย ต้ อ งอา ศั ย เ ครื่ อ งมื อ ที่ มี ประสิทธิภาพที่สามารถวิเคราะห์หาสาเหตุท่แี ท้จริงเพื่อแก้ไข และป้ องกันไม่ ให้ปัญหานัน้ เกิดซ้ าขึน้ อีก การด าเนิ น กิ จ กรรมแก้ ไ ขปั ญ หาในการท างานด้ ว ย ตนเองนัน้ มีเครื่องมือซึ่ งเป็นหลักการที่หากผู ้ปฏิบัติงานให้ ความสาคัญเป็นอย่างยิ่งก็สามารถนามาใช้ งานได้อย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพอย่ า งมาก เครื่ อ งมื อ นั ้น ได้ แ ก่ หลั ก การ 5 Gen เป็น เครื่องมือพื้นฐานสาหรับการหาวิธีการแก้ไ ข ปั ญหาได้ตรงจุ ดที่สุดที่องค์กรควรนามาใช้ งาน (Basic of Problems Solving) ก่ อนที่ จะไปใช้ เครื่ องมื อตัว อื่น ๆ ใน การแก้ ไ ขปั ญ หา (Problem Solving Tools) ไม่ ว่ า จะเป็ น Six Sigma, Lean Manufacturing หรือ QCC เป็นต้น หลักการ 5 Gen ประกอบด้วย Genba, Genbutsu, Genjitsu, Genri และ Gensoku โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หลักการ 3 Gen แรก ได้แก่ Genba, Genbutsu และ Genjitsu นัน้ เป็นแนวความคิดดัง้ เดิมที่เน้นการเก็บข้อมู ล เพื่อค้นหาความจริงว่า สิ่งที่เกิดขึ้นนัน้ มันมีสาเหตุมาจาก อะไร มี ค วามส าคั ญ ส าหรั บ ใช้ ใ นการค้ น หาปั ญหาและ สิ่งผิดปกติท่ีเกิดขึ้นในกระบวนการทางาน เพื่อนาไปแก้ไข ปั ญหาและปรับปรุ งกระบวนการทางานให้ดีขึ้นด้วยการลง ไปส ารวจที่ จุ ดเกิ ดเหตุนั ้น ด้ วยตั วเอง และส่ วนที่ 2 คื อ หลักการ 2 Gen ที่เหลือ ได้แก่ Genri และ Gensoku นัน้ เป็ นหลักการที่ ใ ช้ ใ นการวิเ คราะห์ และแก้ไ ขปั ญ หา โดยน า ข้อมู ล ที่ได้ จากการรวบรวมมาจาก 3 Gen มาต่ อยอด โดยการคิดรวมความรู้ หลักการทฤษฎีต่าง ๆ มาใช้ เสริม เติมแต่ง และจัดระเบียบ icn 18
ดังนัน้ หลักของการใช้ งาน 5 Gen จึงเท่ากับ (พื้ น ที่ จ ริ ง + ของจริ ง + สถานการณ์ จ ริ ง ) + (หลักการทางทฤษฎี + ระเบียบกฎเกณฑ์) ความหมายของหลั ก การ 5 Gen 1. Genba คือ สถานที่ / หน้ า งานจริ ง หมายถึง การลงไปสารวจที่หน้างานจริง เช่ น ภายใน โรงงานผลิต พืน้ ที่จัดเก็บสินค้า และพืน้ ที่ตรวจสอบ สินค้า เป็นต้น เพราะข้อมู ลที่จาเป็นล้วนอยู ่ท่ีหน้างาน เท่ า นั ้น เราไม่ อ าจแก้ ไ ขปั ญ หาได้ จ ากการนั่ ง แต่ ใ น office 2. Genbutsu คือ สิ่ ง ของ/ชิ ้ น งานที่ เ ป็ น ตัวปั ญหาจริง หมายถึง การดู การสังเกต และการ จับต้องชิ้นงานที่ผลิตได้จริง หรือตัวสินค้าที่จัดเก็บ อยู ่ จ ริ ง หรื อ ชิ้ น งานที่ ก าลั ง ถู ก ตรวจสอบอยู ่ เนื่องจากการดูชิน้ งานจริงมีมิติมากกว่าการดูรูปจาก ภาพกระดาษหรื อ จากจอภาพคอมพิ ว เตอร์ ท่ี เ รา จะเห็นภาพชิน้ งานได้แค่ 2 มิติ 3. Genjitsu คือ สถานการณ์จริง หมายถึง เหตุ ก ารณ์ ห รื อ สถานการณ์ ท่ี เ กิ ด ปั ญ หาจริ ง เช่ น สภาพแวดล้อมหรือกระบวนการ ขัน้ ตอนการทางาน หรือช่ วงเวลาที่ผลิตของเสียบ่อย ๆ หรือที่เกิดปั ญหา บ่อย ๆ เนื่องจากปั ญหาบางอย่างเกิดขึ้นเพีย งช่ วง เสี้ย ววิน าทีแ ละไม่มีโ อกาสย้อ นภาพกลั บมาดูได้ จึ ง ต้องสอบถามจากผู ้ปฏิบัติงานที่อยู ่ในเหตุการณ์จริง เท่านัน้
4. Genri คื อ ทฤษฎี ท่ี เ กี่ ย วข้ อ งจริ ง หมายถึ ง หลั ก การที่ ใ ช้ ใ นการท างาน หรื อ มาตรฐานการผลิ ต ใน ปั จจุ บัน สมมติฐานในการแก้ไขหรือตรวจสอบ สูตรการ ผลิต หรือส่วนประกอบในการผลิตที่ใช้ อยู ่ในปั จจุ บัน ซึ่ ง ทฤษฎีจะเป็นตัวอธิบายว่า เหตุการณ์หรือปั ญหาเกิดขึ้นได้ อย่ า งไร เมื่ อ อธิ บ ายได้ ก็ จ ะสามารถแก้ ไ ขหรื อ ป้ อ งกั น ไม่ ให้ปัญหาเกิดซ้ าได้ ซึ่ งบางครัง้ ก็ต้องอาศัยการทดลอง เพื่อพิสูจน์ว่าถูกต้องตรงกับหลักทฤษฎีหรือไม่ก่อนที่จะ ยอมรับ 5. Gensoku คื อ เงื่ อ นไขประกอบที่ เ กี่ ย วข้ อ งจริ ง หมายถึ ง ข้ อ จ ากั ด ข้ อ ตกลง หรื อ กฎที่ บั ง คั บ ใช้ อ ยู ่ ใ น ปั จ จุ บั น เรามี ความจ าเป็ น ที่ จ ะต้ อ งรู้ เ งื่ อ นไข กฎเกณฑ์ ต่าง ๆ เพราะถือเป็นตัวส่งเสริมหรือเร่งเร้าให้ปัญหาเกิดขึ้น และเมื่อเกิดปั ญหาขึน้ แล้วจะแก้ไขให้หมดไปก็ทาได้ยาก เมื่ อ การด าเนิ น กิ จ กรรมแก้ ไ ขปั ญหาผ่ า นการใช้ หลักการ 3 Gen แรก จนได้ข้อสรุ ปออกมาเรียบร้อยแล้ว การขับเคลื่อนข้อสรุ ปที่ได้ไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ อย่ า งเป็ น รู ป ธรรมมากที่ สุ ด ต้ อ งใช้ กิ จ กรรมในรู ป แบบ Small Group Activity ไ ด้ แ ก่ One Point Lesson, Activity Board หรื อ Meeting ซึ่ ง เป็ น การติ ด ตามงาน ของหั ว หน้ า งานเพื่ อ ดู ค วามคื บ หน้ า ของกิ จ กรรมที่ ท า เช่ นเดี ย วกั บ การท างานในรู ป แบบ PDCA เพื่ อ ท าให้เ กิ ด ความชัดเจนในการทากิจกรรมว่า
“ขณะนี้ จ ะต้ อ งทาอะไรบ้ า ง” “มี ปั ญหาอะไรอยู ่ บ้ า ง“ “แก้ ไ ขแล้ ว เป็ นอย่ า งไรบ้ า ง” ที่มา: https://cite.dpu.ac.th/5Gen.html https://ananlean.wordpress.com/2015/03/22/หลักการ-5g-สาหรับการหาวิธ/ https://www.entraining.net/course/บริหารหน้างานด้วย-5-จริง-และ-5-Why-1day-MTB/ https://www.peopledevelop.net/การวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขปั ญหาด้วย-5-gen-และ-5-why ภาพจาก: https://cutt.ly/vgE4T6a
ท้ายที่สุดก็จะเกิดการพัฒนาการทางานสู่รูปแบบ Daily Management ที่ จ ะช่ วยให้ ง านที่ ท าประจ า บรรลุ ต ามภารกิ จ และเป้ าหมายที่ ว างไว้ หากการ ทางานไม่ ได้ ตามเป้ าหมายก็ต้องมีการปรับปรุ งแก้ไ ข งานที ล ะเล็ ก ที ล ะน้ อ ยอย่ า งต่ อ เนื่ อ งให้ ดี ขึ้ น การ บริ ห ารงานประจ าได้ จ ะส่ ง ผลต่ อ การป้ องกั น การ ถดถอย (Standardization for prevention) ของ งานและเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานอีกด้วย ผู ้ ส นใ จศึ กษ าข้ อ มู ล ร าย ละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม สามารถสมัครเข้าร่วมสัมมนาหัวข้อ “การลดต้นทุน อย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Cost Reduction)” จั ด โดย สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น ในวั น ศุ ก ร์ ท่ี 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 เวลา 09.00-16.00 น. ณ โรงแรม ไอบิ ส สไตล์ กรุ งเทพฯ รั ช ดา (ถนน รัชดาภิเษก) โดยลงทะเบียนออนไลน์เพื่อสารองที่นั่ง ได้ท่ี http://icis.ic.or.th หากต้องการสอบถามข้อมู ล เพิ่ ม เติม กรุ ณาติ ด ต่อ คุ ณ ชาตรี แผนกฝึ กอบรม และบริ การนั ก ลงทุ น โทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 209
สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
การลดต้นทุน อย่างมีประสิทธิภาพ
(Effective Cost Reduction) วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน 2563 ณ โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา
19 icn
“สมาธิ” ที่ตั้งมั่น ปลายทางย่อมสาเร็จ เส้าหลิน
แหงนมองไปบนฟ้ า เห็ น แต่ ห มอกขาว ไม่ รู้ ว่ า หมอกอะไร ทัง้ ที่ไม่ใช่ หน้าหนาว.... เอ๊ะ ๆ !!! ไม่ใช่ ว่าจะพาท่านผู ้อ่านเข้าสู่สภาวะอกหัก รักคุด แต่กาลังจะบรรยายให้เห็นว่า หากวันหนึ่งหนทางที่ เราเดินไปนัน้ เกิดเหตุการณ์ท่ีไม่คาดคิด อาทิ ทะเลาะกับ หัวหน้าต้องย้ายที่ทางานกะทันหัน หรือจากที่เคยค้าขาย ดีกลับยอดตกเพราะผลกระทบจาก COVID-19 ท่ า นจะสามารถจั ด การกั บ สภาวะอารมณ์ ความรู้ สึ ก ณ ตอนนั ้น อย่ า งไร ? ให้ ก ลั บ มาประสบ ความสาเร็จอีกครัง้ ได้ดงั่ ใจสัง่ คุ ณ ค่ า ที่ ไ ด้ ม าพร้ อ ม “สมาธิ ” กรณี ศึ ก ษาจากเหตุ ก ารณ์ ห นึ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้น จริ ง กั บ คุณกรรณิการ์ ศรีวิจา1 พยาบาลวิชาชีพที่อนาคตกาลัง ไปได้สวย แต่กลับต้องมาสะดุดกับเหตุการณ์ ไม่คาดคิด อันเลวร้ายและรุ นแรงจนเปลี่ยนชีวิตและร่างกายเธอจาก หน้ามือเป็นหลังมือ จากเดินได้มาเป็นเดินไม่ ได้ไปตลอดชีวิต แต่ สิ่ ง ใดก็ ไ ม่ ส ามารถขั ด ขวางเธอได้ ! เพราะ ปั จจุ บั น คุ ณ กรรณิ ก าร์ เ ป็ นพยาบาลเวชทะเบี ย น โรงพยาบาลสันทราย สมดังที่ตงั ้ ใจ แรงบันดาลใจสาคัญที่ทาให้ผู้หญิงตัวเล็ก ๆ คนนี้ เลือกที่จะทาอาชีพพยาบาล เพราะเฝ้ าไข้คุณปู่ แล้วได้พบ กับนักเรียนพยาบาลที่มาฝึ กงาน ซึ่ งค่อย ๆ เชด็ ตัวและ อาบนา้ ให้คุณปู่ อย่างดี ทัง้ ๆ ที่ไม่ใช่ ญาติ จึงอยากเป็น พยาบาลตั ้ง แต่ ต อนนั ้น และเลื อ กเรี ย นวิ ช าพยาบาล จนถึงชัน้ ปี ที่ 4 โชคร้ายที่คุณกรรณิการ์ประสบอุ บัติเหตุ ทางรถยนต์อีกเพียงสัปดาห์เดียวก่อนเรียนจบ 1
ที่มา: https://thisable.me/content/2018/10/472 icn 20
หลั ง จากฟื้ นขึ้ น มาที่ โ รงพยาบาลพร้ อ มกั บ ขาที่ไม่มีความรู้สึก พยาบาลยืนล้อมหน้าล้อมหลังเพื่อ ประเมิ น อาการ แล้ ว คุ ณ หมอก็ แ จ้ ง ว่ า ... ไขสั น หลั ง กระทบกระเทือนและช้ ามาก และมีอาการกระดูกสันหลัง ทั บ เส้ น ประสาทบางส่ ว น จึ ง สามารถประเมิ น อาการ ตนเองได้เ ลยว่ า คงเดิน ไม่ ไ ด้แ ล้ ว และคงเรี ยนจบไม่ ทั น พร้อมเพื่อนเหมือนที่คาดหวังไว้ ห ลั ง จ า ก คุ ณ ก ร ร ณิ ก า ร์ รั ก ษ า ตั ว อ ยู ่ ใ น โรงพยาบาลนาน 2 เดือน ก็มีโอกาสได้กลับมาพักรักษาตัว ต่อที่บ้านพร้อมจ้างนักกายภาพบาบัดช่ วยดูแล แต่กลับ ทาให้รู้สึกไม่ดี กลายเป็นผู ้ป่วยเรือ้ รัง ไม่สามารถทาอะไร เองได้ ใช้ ชี วิ ต อยู ่ แ ต่ กับ การเล่ น โทรศัพ ท์ แ ละดู เ ฟซบุ ๊ ก ส่ ง ผลให้ รู้ สึ กท้ อ ถึ ง ขั ้น มี ภาวะซึ ม เศร้ า จึ ง ตั ด สิ น ใจเข้ า รักษาตัวในโรงพยาบาลอีกรอบ และเริ่มทากายภาพบาบัด อย่างจริงจังทุกวัน จนกระทั่งคุณหมอแนะนาให้ลองใช้ วีลแชร์ หลังจากนั ้นชี วิตของเธอก็เริ่ มเปลี่ยนไป โดยมี วีลแชร์เป็นขาและต้องฝึ กกาลังแขนให้แข็งแรง
กรรณิการ์ ศรีวิจา
ผลคื อ เธอเริ่ ม ไปไหนมาไหนได้ ด้ ว ยตนเอง ไป ออกกาลังกาย ไปเที่ยวกับเพื่อน ๆ ได้ จนมาวันหนึ่งก็ มาถึงจุ ดเปลี่ยนให้เธอกลับมาใช้ ชีวิตประจาวันได้อย่างมี ความสุ ข เหมื อ นคนปกติ ทั่ ว ไป และท าเพจบั น ทึ ก จาก วี ล แชร์ เริ่ ม เป็ น ต้ น แบบให้ ผู้ พิ ก ารคนอื่ น ๆ มี ก าร แลกเปลี่ยนข้อมู ลซึ่ งกันและกัน ที่สาคัญคือ พยายามหา คุณค่า ใหม่ ในตั วเอง โดยไปเป็น อาสาสมั ครช่ วยงานใน วอร์ด คุย กับคนไข้ และสร้า งความรู้สึ กที่ว่ า “คุณค่ า ของเราหาได้เสมอ ถ้าเราอยากจะหา”
นอกจากนี้ คุณกรรณิการ์ยังมีความคิดว่า การ เดินไม่ได้ไม่ใช่ ขีดจากัดของชี วิต เพราะจากการฝึ กงาน พยาบาลที่ ผ่ า นมา ยั ง มี ง านอื่ น ที่ ส ามารถท าได้ เช่ น ฉี ด ยา เจาะเลื อ ด ซึ่ ง แรก ๆ คนไข้ อ าจระแวงอยู ่ บ้ า ง แต่เมื่อสามารถแสดงให้เ ขาเห็น ว่าเราท าได้จึงได้รับการ ยอมรับและเกิดความไว้วางใจ จากที่กล่าวมาข้างต้นเห็นได้อย่างชัดเจนว่า การมี “สมาธิ” ตัง้ มั่นไม่ หวั่นไหว ทาให้เธอสามารถอยู ่นิ่งกั บ ตัวเอง ไม่พ่งึ สิ่งอื่น หรือเมื่อมีสิ่งอื่นมารบกวนก็ไม่แกว่งไกว ตามง่ า ย ๆ การฝึ กสมาธิ ใ ห้ เ กิ ด ความนิ่ ง จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ สาคัญสาหรับการรับมือกับทุกสิ่งที่หมุ นวนเข้ามาในชีวิต โดยหลักการฝึ กง่าย ๆ เบือ้ งต้นคือ จัดท่าทางการนั่งให้ อยู ่ในลักษณะตัวตัง้ ตรง จากนัน้ ค่อย ๆ หลับตาแล้ว... เริ่มนับลมหายใจเข้า-ออก(ในใจ) โดยเมื่อหายใจเข้า ก็ให้เราเริ่มนับหนึ่ง หายใจออกนับหนึ่ง หายใจเข้านับสอง หายใจออกนั บ สอง หายใจเข้า นั บสาม หายใจออกนั บ สาม ไปตามลาดับจนถึงสิบ จะรู้สึกอุ ่น ๆ ที่ริมฝี ปากบน แต่ ห ากระหว่ า งนั บ แล้ ว จิ ต ใจวอกแวกไปเรื่ อ งอื่ น ให้ กลับมานับหนึ่งใหม่ ทาซ้ าไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะนับถึงสิบ
ภาพจาก: https://www.smartsme.co.th/content/225147 https://mgronline.com/local/detail/9610000120273 https://rb.gy/qusnum https://rb.gy/wimhsq
งานวิ จั ย เรื่ อ ง “สมาธิ ” ของมหาวิ ท ยาลั ย เพนซิ เ วเนี ย ค้ น พบว่ า เมื่ อ ให้ ผู้ ถู กวิ จั ย ชาวอเมริ กัน ที่ ไม่ เ คยนั่ ง สมาธิ ม าลองฝึ กนั่ ง สมาธิ โดยการตาม ลมหายใจและดูความคิดตัวเองวันละ 30 นาที เป็นเวลา 8 สัปดาห์ ผลลัพธ์ท่ีได้คือ บุ คคลเหล่านัน้ มีศักยภาพ ท า ง ส ม อ ง ม า ก ขึ้ น ถึ ง ส า ม ส่ ว น ไ ด้ แ ก่ 1 ) เ พิ่ ม ความสามารถในการจัดลาดับความสาคัญของงานก่อน และหลัง 2) เพิ่มความสามารถในการเพ่งสมาธิกับข้อมู ล ที่ต้ องการทาความเข้า ใจ 3) เพิ่ม ความสามารถเรื่ อ ง การตื่นตัว ใกล้ ๆ ปลายปี แบบนี้ จึ ง อยากชวนท่ า นมาเริ่ ม ฝึ ก “สมาธิ ” เพื่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ ญาและไปสู่ ค วามส าเร็ จ พร้อม ๆ กัน
สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ ออนไลน์
เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ หลักสูตรการใช้งานระบบ IC หลักสูตรด้านศุลกากร หลักสูตรการบริหารจัดการ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน
0 2936 1429 ต่ อ 205-209
21 icn
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
กรณียกเลิกบัตรส่งเสริมการลงทุน Q : บริษัทได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุนประเภทกิจการ ITC (โครงการขยาย) โดยวันครบเปิ ดดาเนินการ คือ วัน ที่ 4 ตุลาคม 2563 แต่บริษัทยังไม่เคยใช้ สิทธิแ ละประโยชน์นาเข้าเครื่อ งจักร สิทธิแ ละ ประโยชน์ น าเข้ า วั ต ถุ ดิ บ (MML ยั ง คงเต็ ม จ านวน) และยั ง ไม่ มี ร ายได้ ค รั ้ง แรก หากบริ ษั ท มี ความประสงค์ ที่ จ ะยกเลิ ก บั ต รส่ ง เสริ ม การลงทุ น หรื อ ด าเนิ น ธุ รกิ จ ต่ อ บริ ษั ท ควรจะต้ อ ง ดาเนินการอย่างไร A : 1. กรณี บริ ษัท ไม่ป ระสงค์ จะดาเนิน ธุ รกิจ ตามที่ไ ด้รั บส่ง เสริม การลงทุน ให้ ดาเนิ น การยื่ น ขอ ยกเลิกบัต รส่ง เสริม ซึ่ ง ตามกรณีที่บริษัท สอบถาม ไม่น่าจะมีภาระภาษี อากรใด ๆ ที่ต้อ ง ชาระคืน แต่หากเป็นนิติบุคคลต่างชาติจะต้องแก้ไขวัตถุประสงค์บริษัท เนื่องจากจะประกอบ ธุ รกิจตามขอบข่ายที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนต่อไปไม่ ได้ 2. กรณีบริษัทประสงค์จะดาเนินธุ รกิจตามที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนต่อ บริษัทสามารถยื่นขอ ขยายเวลาการเปิ ดดาเนินการได้ 1 ครัง้ (1 ปี ) โดยต้องแสดงแผนการลงทุนว่าจะสามารถ ลงทุนตามโครงการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนได้ภายในช่ วงเวลาที่ขอขยายเปิ ดดาเนินการ
ติ ดตาม FAQ 108 คาถามกั บงานส่ง เสริ มการลงทุน ได้ท าง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
พนักงาน คือ ทรัพยากรสาคัญของบริษัท การใส่ใจพนักงาน ทาให้กลุ่มบริษัท ทีโอเอ เพียบพร้อมไปด้วยบุ คลากรที่มีคุณภาพ มีความชานาญในแต่ละสาขาอาชีพ และอยู ่กับองค์กรมานาน ซึ่งการมี “ทีม” ที่ดีเช่ นนี้ ทาให้กลุ่มบริษัทพร้อมจะเดินหน้าต่อไป
คุณประจักษ์ ตั้งคารวคุณ ประธานที่ปรึกษากลุ่มบริษัท ทีโอเอ (TOA) ที่มา>> https://www.bangkokbiznews.com/recommended/detail/2336 ภาพจาก>> https://rb.gy/h4sdls
สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก
www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 201 อีเมล icn@ic.or.th
icn 22
สัมมนาสมาชิก
ครั้งที่
ข้อพึงระวังการตัดบัญชีวัตถุดิบ
และวัสดุจาเป็นแบบไร้เอกสาร ผ่านระบบ
IC Online System
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม วันจันทร์ที่ 16 พฤศจิกายน 2563 เวลา 9.30 – 11.30 น. เริ่มเข้าระบบ 8.45 น. ในปี 2561 สมาคมสโมสรนักลงทุนได้เปิ ดให้บริการระบบงานตัดบัญชีวัตถุดิบแบบไร้เอกสาร (Paperless)เพื่อ ตอบสนองต่อความต้องการของผู ้ใช้ บริการที่ได้รับสิทธิประโยชน์ด้านวัตถุดิบจากสานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ภายใต้นโยบายการบริหารงานที่มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพการให้บริการด้วยการนา เทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัยมาใช้ ในการพัฒนาระบบงานสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบ (Raw Material Tracking System: RMTS) เป็นรูปแบบไร้เอกสารครบวงจร และเชื่อมต่อข้อมู ลกับบีโอไอและกรมศุลากากรได้เต็มรูปแบบ สมาคม ฯ จัดการสัมมนาหลักสูตรนีข้ นึ้ จากการรวบรวมข้อมู ลซึ่ งเป็นปั ญหาและแนวทางการแก้ไขปั ญหา รวมถึงการป้ องกันไม่ให้เกิดปั ญหาในการใช้ งานระบบ เพื่อเผยแพร่ข้อมู ลที่เป็นประโยชน์สาหรับผู ้ใช้ บริการในการ นาไปใช้ เป็นแนวทางสาหรับใช้ ระบบงานตัดบัญชีวัตถุดิบแบบไร้เอกสาร (Paperless)ได้อย่างถูกต้อง และลด ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึน้
หัวข้อการสัมมนา 1. ข้อพึงระวังการตัดบัญชีวัตถุดิบและวัสดุจาเป็นแบบ ไร้เอกสารผ่านระบบ IC Online System 1.1 กรณีข้อมูลส่งออกตรงกับสูตรผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ อนุมัติ 1.2 กรณีข้อมู ลส่งออกไม่ตรงกับสูตรผลิตภัณ ฑ์ที่ ได้รับอนุมัติ 1.3 การตัดบัญชีวัตถุดิบและวัสดุจาเป็นด้วยเอกสาร การโอนสิทธิ์ (Report V) 1.4 การตั ด บั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ จ าเป็ น ส าหรั บ ผลิตภัณฑ์ที่นากลับมาซ่ อมแซม หมายเหตุ : หัวข้อการบรรยายอาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
สิ่งที่ผู้เข้าสัมมนาต้องเตรียม 1. ผู ้เข้าสัมมนาต้องมีโปรแกรม ZOOM และมีพนื้ ฐานใช้งานโปรแกรม 2. มีคอมพิวเตอร์หรืออุ ปกรณ์ท่ีเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เนต และมีอินเทอร์เน็ตที่รองรับการใช้งานได้ดี 3. การเรียนออนไลน์จะดาเนินการผ่านโปรแกรม ZOOM โดยทีมงาน จะติดต่อท่าน เพื่อนัดหมายสาหรับ Set Up ระบบ และทดสอบ การเชื่อมต่อออนไลน์กับท่านล่วงหน้า 1 วัน 4. สมาคม ฯ ขอสงวนสิ ท ธิ์ ก ารเข้ า ร่ ว มสั ม มนาเฉพาะสมาชิ ก ที่ลงทะเบียนตามรายชื่อไว้เท่านัน้
คุ ณ ชลพั ช ร พวงน้ อ ย วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน
สมาชิ ก
1 ท่าน
บริ ษั ท ละ
ด่วน !!! รับจานวนจากัด First come, First serve
ลงทะเบี ย นออนไลน์ http://icis.ic.or.th หรื อ สแกน QR Code
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกลูกค้าสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร 0 2936 1429 ต่อ 202-203 E-mail: jutaratb@ic.or.th, benjawank@ic.or.th, cus_service@ic.or.th
สนใจสมัคร หรือต่ออายุสมาชิก
สแกนเลย
สัมมนาสมาชิก
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม
ครั้งที่
ไขปัญหาการใช้สิทธิประโยชน์
ด้านเครื่องจักร ผ่านระบบ
eMT Online วันอังคารที่ 17 พฤศจิกายน 2563 เวลา 9.30 – 11.30 น. เริ่มเข้าระบบ 8.45 น. การให้บริการงานสิทธิและประโยชน์สาหรับเครื่องจักรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบครบ วงจร (Electronic Machine Tracking System: eMT Online) เป็นบริการหนึ่งที่สมาคม ฯ เปิ ดให้บริการแก่บริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน (บีโอไอ) ที่ได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นหรือลดหย่อนอากรขาเข้าเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ ตามมาตรา 28 และ มาตรา 29 เพื่อช่ วยเหลือกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนในการลด ต้นทุนการผลิตให้สามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้อีกทางหนึ่ง สมาคม ฯ จัด การสัมมนาหลัก สูตรนี้ขึ้น เพื่อ เผยแพร่ข้อ มู ล ที่เป็นประโยชน์เกี่ย วกับ ปั ญหา แนวทางการแก้ไ ขปั ญ หา และการป้ อ งกั นไม่ ใ ห้เกิ ด ปั ญ หาในการใช้ ง านระบบ เพื่ อ ผู ้ใช้ บริการสามารถนาไปใช้ ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง ลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึน้ และ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
หัวข้อการสัมมนา
คุ ณ กฤษดา ทั บ ทิ ม 1. 2. 3. 4. 5.
หัวหน้าแผนกบริการข้อมู ลเครื่องจักร สมาคมสโมสรนักลงทุน
สมาชิ ก บริ ษั ท ละ
1
ท่ า น
ด่วน !!! รับจานวนจากัด First come, First serve
สิ่งที่ผู้เข้าสัมมนาต้องเตรียม 1. ผู ้เข้าสัมมนาต้องมีโปรแกรม ZOOM และมีพนื้ ฐานใช้งานโปรแกรม 2. มีคอมพิวเตอร์หรืออุ ปกรณ์ท่เี ชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เนต และมีอินเทอร์เน็ตที่รองรับการใช้งานได้ดี 3. การเรียนออนไลน์จะดาเนินการผ่านโปรแกรม ZOOM โดยทีมงาน จะติดต่อท่าน เพื่อนัดหมายสาหรับ Set Up ระบบ และทดสอบ การเชื่อมต่อออนไลน์กับท่านล่วงหน้า 1 วัน 4. สมาคม ฯ ขอสงวนสิ ท ธิ์ ก ารเข้ า ร่ ว มสั ม มนาเฉพาะสมาชิ ก ที่ลงทะเบียนตามรายชื่อไว้เท่านัน้
ขัน้ ตอนการใช้สิทธิและประโยชน์ด้านเครื่องจักร นิยาม / คาจากัดความ ระยะเวลานาเข้าเครื่องจักร งานขออนุมัติก่อนนาเข้าเครื่องจักร งานขออนุมัติหลังนาเข้าเครื่องจักร
หมายเหตุ : หัวข้อการบรรยายอาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
ลงทะเบี ย นออนไลน์ http://icis.ic.or.th หรื อ สแกน QR Code
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม แผนกลูกค้าสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร 0 2936 1429 ต่อ 202-203 E-mail: jutaratb@ic.or.th, benjawank@ic.or.th, cus_service@ic.or.th
สนใจสมัคร หรือต่ออายุสมาชิก
สแกนเลย
สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ติ ด ต่ อ สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น โทร. 0 2936 1429 ต่ อ 512-523
ขอแจ้งเปลี่ยนวิธีการจัดส่งใบแจ้งหนี้ทางไปรษณีย์ เป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ใน 3
ช่องทาง ดังนี้
Download ใบแจ้งหนี้ ได้ที่ http://eservice.ic.or.th/DownloadInvoice/ โดยท่านสามารถสมัคร Download ใบแจ้งหนี้ ได้ที่
http://eservice.ic.or.th/DownloadInvoice/pdf/PDF_merged.pdf รับใบแจ้งหนี้ทาง E-mail ตามที่ท่านได้ให้ข้อมูลไว้กับสมาคมสโมสรนักลงทุน ผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ (Pop up Alert) เมื่อท่านเข้าใช้บริการระบบงาน RMTS และ ระบบงาน eMT Online
สมาคม ฯ จะยกเลิกการจัดส่งใบแจ้งหนี้ทางไปรษณีย์
ตั้งแต่ รอบบิลเดือน
พฤศจิกายน 2563 เป็นต้นไป
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ แผนกการเงิ น โทรศัพท์ 02
-936-1429 ต่อ 404 (คุณปารณีย์)
ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ
@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ
Add friends
IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย
ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !
สมาคมสโมสรนักลงทุน บริการจัดอบรมภายในองค์กร
IN-HOUSE TRAINING
✓ ประหยัดค่าใช้จ่าย ✓ ออกแบบเนื้อหาเฉพาะองค์กร
แนะน�ำหลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน ชื่อหลักสูตร
จ�ำนวน (วัน)
ค่าธรรมเนียมการจัดฝึกอบรม (บาท) 20 ท่าน 25 ท่าน
1
ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
44,000
2
วิธีการขอเปิดด�ำเนินการ ส�ำหรับกิจการที่ ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
44,000
3
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ ส�ำหรับกิจการที่ ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
44,000
4
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบ ส�ำหรับกิจการที่ ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1/2 วัน
25,000
5
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็น ส�ำหรับกิจการที่ ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
44,000
6
All Executives Need to Know about BOI (Japanese Version)
1 วัน
47,000
7
All Executives Need to Know about BOI (English Version)
1 วัน
47,000
8
Practical Knowledge BOI Promoted Investors
1 วัน
47,000
หมายเหตุ : ● ● ● ● ●
อัตราค่าธรรมเนียมรวมค่าวิทยากร เอกสารการฝึกอบรม ค่าเดินทาง และค่าด�ำเนินการ ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% และค่าที่พัก (ถ้ามี) อัตราค่าธรรมเนียมที่ระบุในเอกสาร เป็นอัตราประมาณการ ซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ขึ้นอยู่กับรูปแบบการฝึกอบรม จ�ำนวนผู้เข้าอบรม ประเภทวันที่จัดงาน จ�ำนวนวัน พื้นที่จัดงาน รายละเอียดเพิ่มเติมของเนื้อหา และอื่นๆ สมาคมขอสงวนสิทธิหา้ มบันทึกภาพและ/หรือเสียงในการอบรมทุกหลักสูตรทุกกรณี ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200% สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คุณวิลาสินี คุณกาญจนา คุณศิริรัตน์ หรือ คุณชาตรี แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205-209 E-mail : is-inhouse@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th
แนะน�ำหลักสูตรด้านศุลกากร และอื่นๆ ชื่อหลักสูตร 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
เกณฑ์การค�ำนวณก�ำไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดท�ำงบการเงินส�ำหรับกิจการที่ ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน กฎหมายศุลกากรและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร สิทธิประโยชน์ศุลกากรภายใต้ AEC สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอดอากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) กฎว่าด้วยถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Rules of Origin) การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุทรณ์ การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ ระงับคดีศุลกากร ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศIncoterm®2020 การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศ และ Incoterm®2020 การจ่ายสวัสดิการอย่างไร!! ไม่ต้องน�ำไปค�ำนวณ ค่าชดเชยเมื่อเลิกจ้างไม่ต้องส่งสมทบประกันสังคม การท�ำสัญญาจ้าง หนังสือเตือน หนังสือเลิกจ้าง การจ่ายค่าจ้างให้ถูกต้องตามกฎหมายภาคปฏิบัติจริง ข้อบังคับการท�ำงานและระเบียบปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับกฎหมายแรงงานใหม่
12 13 ความรูการสงออกและนําเขาทั้งระบบเพื่อใหไดประโยชนสูงสุด 14
ทางภาษีอากรภายใตกฎหมายศุลกากรฉบับใหม 15 ขอควรรูเกี่ยวกับความผิดทางศุลกากรตามกฎหมายใหม 16 กฎหมายศุลกากรฉบับใหม 2560 และวิธีการจัดเก็บ คาภาษีอากร
จ�ำนวน (วัน)
ค่าธรรมเนียมการจัดฝึกอบรม (บาท) 25 ท่าน 35 ท่าน
1 วัน
52,000
1 วัน 1 วัน
52,000
51,000
1 วัน
51,000
52,000
1 วัน
51,000
52,000
1 วัน
51,000
52,000
1 วัน
51,000
52,000
1 วัน
51,000
52,000
1 วัน
56,000
57,000
1 วัน
56,000
57,000
1 วัน
56,000
57,000
1 วัน 1 วัน
51,000
52,000
51,000
52,000
2 วัน
87,000
88,000
1 วัน
51,000
52,000
1 วัน
51,000
52,000
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คุณวิลาสินี คุณกาญจนา คุณศิริรัตน์ หรือ คุณชาตรี แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205-209 E-mail : is-inhouse@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th