Vol.17 / November 2018 การเดินทางของผู ้บริโภคยุ คใหม่ (Modern Customer Journey) โลกเปลี่ ย น สั ง คมป่ วน ตลาดเปิ ด (1)
อุ ต สาหกรรม
อากาศยาน และการซ่อมบารุง ดาวรุ่ ง พุ่ ง แรงของ
เอเชี ย
การกรอกข้อมูล เป็ นเรือ่ งยากสาหรับคุณ”
“หากคิดว่า
“ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติดว้ ยระบบ e-Expert พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมืองและกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร”
0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th
www.ic.or.th
อุ ตสาหกรรมอากาศยาน และการซ่ อมบารุ ง ดาวรุ ่งพุ ่งแรง ของเอเชีย
10
04
07
โลกเปลี่ยน สังคมป่ วน ตลาดเปิ ด (1)
16
การเดินทางของผู ้บริโภคยุ คใหม่ (Modern Customer Journey)
ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพ ท์ : 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร : 0 2936 1441-2 e-mail : icn@ic.or.th
เมื่อ “เชื่อมัน่ ” ความสาเร็จก็ไม่ไปไหน
ต้ อ งยอมรั บ ว่ า ในปั จจุ บั น การประกอบธุ รกิ จ การค้ า การลงทุ น ในอุ ตสาหกรรม ต่า งๆ หลายบริ ษัท ต้อ งปรับ กลยุ ทธ์ การบริห ารจัด การและการตลาด เพื่ อให้ส อดรับ กั บ แนวทางและนโยบายการส่งเสริมการลงทุนของภาครัฐ และสอดคล้องกับทิศทางของธุ รกิจ ในตลาดโลก โดยเฉพาะการด าเนิน ธุ รกิจ ด้า นการค้า ระหว่า งประเทศที่ ต้อ งมี การส่ งสิ น ค้ าออก ไปขายในต่างประเทศและการนาเข้าวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนอะไหล่เพื่อการผลิตสินค้า ซึ่งการขนส่ง สินค้าต้องอาศัยพาหนะหลากหลายประเภทผ่านเส้นทางการขนส่งต่างๆ ทัง้ ทางนา้ ทางบก และทางอากาศ การขนส่ ง ที่ ส าคั ญ เป็ น ที่ นิ ย ม และได้ รั บ การยอมรั บ จากนานาประเทศทั ้ง ด้ า น ความรวดเร็ ว และความปลอดภั ย คงจะหนี ไ ม่ พ้ น การขนส่ ง ทางอากาศโดยใช้ เ ครื่ อ งบิ น พาณิชย์ซ่ึงรวมถึงเครื่องบินที่ใช้ในอุ ตสาหกรรมด้านการท่องเที่ยวด้วย จะเห็นได้จากจานวน สนามบิ น ที่ มี ม ากมายในแต่ ล ะประเทศ เพื่ อ รองรั บ การขนส่ ง ผู ้ โ ดยสารและสิ น ค้ า ทาง อากาศยาน ตลอดจนการพัฒนาด้านโลจิสติกส์ท่ีต่อยอดการขนส่งสินค้าไปยังโรงงานหรือ บริษัทต่างๆปลายทาง การเติบโตของธุ รกิจ เครื่องบิน พาณิชย์นี้ส่งผลต่อการขยายตัวของอุ ตสาหกรรม อากาศยานและการซ่ อมบารุ งให้มีแนวโน้มเติบโตมากขึ้นโดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย-แปซิ ฟิก สาหรับประเทศไทยให้ความสาคัญกับอุ ตสาหกรรมนีเ้ ช่ นกัน โดยตัง้ ให้เป็น 1 ใน 10 อุ ตสาหกรรม เป้ า หมาย และมี ม าตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ทั ้ง ด้ า นสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ย กเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคล การยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร และการยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบที่ใช้ สาหรับ การผลิตเพื่อส่งออก เพื่อเน้นยา้ ให้เกิดการพัฒนาและการลงทุนมากขึน้ ในอนาคต สาหรับการดาเนินงานของสมาคมสโมสรนักลงทุนนัน้ พร้อมสนับสนุนทุกอุ ตสาหกรรม ด้วยระบบการให้บริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ตลอด 24 ชัว่ โมง ผ่านการให้บริการแบบ ออนไลน์ และสมาคมฯกาลังพัฒนาระบบงานบริการด้านงานตัดบัญชีวัตถุดิบแบบไร้เอกสาร ให้สามารถรองรับผู ้ใช้ บริการแบบออนไลน์ เพื่อก้าวเข้าสู่การให้บริการออนไลน์เต็มรูปแบบ นอกจากนี้ยั ง มี บ ริ ก ารด้ า นหลั ก สู ต รฝึ กอบรมและสั ม มนาที่ มี ก ารพั ฒ นาหลั ก สู ต รใหม่ ๆ ให้สอดคล้องกับการพัฒนาศักยภาพบุ คลากรให้มีความรู้ ความสามารถ และความชานาญ ในการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ให้สอดรับกับธุ รกิจขององค์กร โดยผู ้ท่สี นใจสามารถดูรายละเอียด หลักสูตรและเลือกลงทะเบียนเพื่อสมัครร่วมสัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือสอบถาม ข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ี โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 หรือติดตามข้อมู ลต่างๆของสมาคมฯ ได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3
icn
อุ ตสาหกรรมอากาศยาน และการซ่ อมบารุ ง ดาวรุ ่ ง พุ ่ ง แรงของ เอเชี ย
มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
การขับเคลื่อนประเทศไทยเพื่อไปสู่ประเทศไทย 4.0 ต้ อ งอาศัย เทคโนโลยี ขั ้น สู ง นวั ต กรรม และความคิ ด สร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและบริการ เพื่อให้สอดรับกับ นโยบายการส่ง เสริ มการลงทุน ของภาครัฐที่ต้อ งการให้ ภาพรวมของประเทศไทยเป็ น ศู น ย์ ก ลางแห่ ง เทคโนโลยี อุ ตสาหกรรมของภูมิภาคเอเชีย อุ ตสาหกรรมที่ได้รั บอานิสงส์จากยุ คของดิจิทั ล และการใช้ เทคโนโลยีท่เี อือ้ ประโยชน์ต่อการใช้ ชีวิตของผู ้คน ในทุกย่างก้าว ซึ่ งมีความสาคัญมากต่อการดาเนินธุ รกิจ การค้าขาย และการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งผลต่อ การคมนาคมขนส่งทัง้ ภายในประเทศและระหว่างประเทศ เรากาลังพู ดถึง “อุ ตสาหกรรมอากาศยานและการซ่ อมบารุ ง หรือ MRO (Maintenance, Repair and Overhaul)” หลายหน่วยงานด้านอุ ตสาหกรรมการบินต่างเห็น พ้องต้องกันว่ า อุ ตสาหกรรมอากาศยานและการซ่ อม บารุ งนีก้ าลังได้รับความนิยมอย่างมาก และมีแนวโน้มที่จะ ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยภูมิภาคที่มีการเติบโตมากที่สุด คื อ ภู มิ ภาคเอเชี ย -แปซิ ฟิ ก ในภาพรวมคาดการณ์ ว่ า จ านวนเครื่ อ งบิ น พาณิ ช ย์ ทั่ ว โลกจะเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น 2 เท่ า คิดเป็นมู ลค่ากว่า 6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่ งแบ่งเป็นการ ซื้ อ เพื่ อ ทดแทนเครื่ อ งบิ น ที่ มี อ ยู ่ เ ดิ ม และการซื้ อ เพื่ อ รองรั บ การขยายตั ว ของอุ ตสาหกรรมการบิ น โดยใน จ านวนเครื่ อ งบิ น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น นั ้น จะอยู ่ ใ นภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟิกประมาณร้ อยละ 40 ของจ านวนเครื่ องบิน ใหม่ ทัง้ หมด ทาให้ในปี 2579 ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกจะมีจานวน เครื่องบินพาณิชย์มากที่สุดในโลก icn
4
ส าหรั บ ส่ ว นแบ่ ง ตลาดเครื่ อ งบิ น ในอี ก 20 ปี ข้างหน้า ประเทศจีนจะเป็นตลาดหลัก และอาเซียนจะก้าว ขึ้นมามี ขนาดฝู งบิ นใหญ่เ ป็น อันดั บ 4 ของโลก รองจาก อเมริกาเหนือ ยุ โรป และจีน ด้านการซ่ อมบารุ งอากาศยาน (MRO) ในภูมิภาค เอเชีย-แปซิ ฟิก นับว่าเป็นตลาดการซ่ อมบารุ งเครื่องบิน พาณิชย์ท่ใี หญ่ท่สี ุดคิดเป็นร้อยละ 31 ของมู ลค่าการซ่ อม บารุ งเครื่องบินทัว่ โลก โดยมีรายงานจากการวิเคราะห์ของ บริษัทที่ปรึกษาในอุ ตสาหกรรมอากาศยานระบุ ว่า ในอีก 10 ปี ข้างหน้า มู ลค่าตลาดซ่ อมบารุ งเครื่องบินพาณิชย์ ของภู มิ ภ าคเอเชี ย -แปซิ ฟิ กจะเพิ่ ม เป็ น ร้ อ ยละ 36 หรื อ คิด เป็ น อั ต ราการเติ บ โตร้ อ ยละ 6.1 ต่ อ ปี นอกจากนั น้ ยังคาดการณ์ว่าจะมีจานวนเครื่องบินพาณิชย์ในเอเชี ย (รวมจีนและอินเดีย) ประมาณร้อยละ 40 ของทัง้ โลก และ ตลาดการซ่ อมบ ารุ งเครื่ อ งบิ น จะมี มู ลค่ า สู ง กว่ า อเมริกาเหนือถึง 2 เท่า
เมื่อความต้องการอากาศยานและการซ่ อมบารุ ง มี ก ารขยายตั ว ปั จจั ย ด้ า นค่ า แรงในการซ่ อมบ ารุ ง อ า ก า ศ ย า น เ ป็ น อี ก ป ร ะ เ ด็ น ห นึ่ ง ที่ ท า ใ ห้ เ อ เ ชี ย มี ความได้เปรียบ เพราะค่าแรงช่ างซ่ อมเครื่องบินโดยเฉลี่ย ต่ากว่ายุ โรปมากกว่าร้อยละ 30 และต่ากว่าอเมริกาเหนือ มากกว่าร้อยละ 10 จึงส่งผลให้เอเชียกลายเป็นแหล่งที่ตงั ้ ที่ น่า สนใจของบริ ษั ท ในอุ ตสาหกรรมอากาศยานและซ่ อม บารุ ง หลายประเทศในเอเชีย เช่ น ไทย สิงคโปร์ มาเลเซี ย เวียดนาม และฟิ ลิปปิ นล์ มองเห็นโอกาสที่จะใช้ อุตสาหกรรมนี้ ในการช่ วยขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ของประเทศโดยก าหนด นโยบายและมาตรการต่างๆเพื่อดึงดูดการลงทุน
สาหรับประเทศไทย อุ ตสาหกรรมอากาศยานและ การซ่ อมบ ารุ ง เป็น 1 ใน 10 อุ ตสาหกรรมเป้ าหมายใน การพั ฒ นาประเทศ โดยภาครั ฐ ได้ ด าเนิ น โครงการ พัฒนาสนามบินอู ่ตะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก เพื่ อ ยกระดั บ ให้ ไ ทยเป็ น ศู น ย์ ซ่ อมบ ารุ ง ที่ ส าคั ญ ของ ภูมิภาคเอเชีย นอกจากนัน้ สานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ ยังออกมาตรการส่งเสริม การลงทุ น ในกิ จ การผลิ ต หรื อ ซ่ อมอากาศยานและ ชิน้ ส่วนอากาศยาน โดยให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ยกเว้น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคล ยกเว้ น อากรขาเข้ า เครื่ อ งจั ก ร และยกเว้ น อาการขาเข้ า วั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช้ ใ นการผลิ ต เพื่ อ ส่ ง ออก และหากโครงการตั ้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ร ะเบี ย ง เศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวั น ออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ซึ่ งอยู ่ใน 3 จังหวัดของภาคตะวันออก ได้แก่ ชลบุ รี ระยอง และฉะเชิ งเทรา จะได้รับ สิทธิและ ประโยชน์ทางภาษี เพิ่มเติมด้วย โดยผู ้ประกอบการที่สนใจ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากบีโอไอทาง อีเมล head@boi.go.th
ข้อมู ลจาก : https://www.airbus.com/newsroom/press-releases/en/2018/06/airbusand-thai-sign-agreement-to-proceed-with-joint-venture-mro.html ภาพจาก: https://www.mro-network.com/maintenance-repair-overhaul/etihadengineering-looks-expanded-production-3d-printing http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=1014494 https://www.intelligent-aerospace.com/articles/2013/07/utc-aero-st-aero.html
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
การตีความกฎข้อบังคับ เกี่ยวกับ
เลตเตอร์ออฟเครดิต
เพื่อการคา้ ประกัน ในการค้าระหว่างประเทศ
(INTERNATIONAL STANDBY PRACTICES 1998)
ISP 98
วันศุกร์ท่ี 16 พฤศจิกายน 2561 โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุ งเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)
Origin สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
กฎว่าด้วยถิน่ กาเนิดสินค้า
Rule of
วันเสาร์ท่ี 24 พฤศจิกายน 2561 โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุ งเทพฯ (ถนนวิภาวดีรงั สิต)
5
icn
RMTS 1. ขธธนุมัตผบัญ ชฝ ร าฬการทัต ถุดผบ 1.1 ขธบัญชฝ ราฬการทัต ถุดผบ (BIRTMML) 1.2 ขธเอผ่ มชื่ ธ ราฬการทั ตถุ ดผบ (BIRTDESC) 1.3 ขธบัญชฝ ราฬการฯลผ ต ภั ณ ฑ์แ ละสู ต รการฯลผ ต (BIRTFRM) 1.4 ขธปรับ ฬธดฐานข้ธมู ล ทั ต ถุดผบ (BIRTADJ) 2. ขธธนุมัตผ สั่น ปล่ธ ฬทัต ถุดผบ 2.1 ขธธนุ มั ตผ สั่น ปล่ ธ ฬทั ตถุ ดผบแบบปกตผ 2.2 ขธธนุ มั ตผ สั่นปล่ ธ ฬทัต ถุดผ บแบบใื น ธากร 2.3 ขธธนุ มั ตผ สั่นปล่ ธ ฬทัต ถุดผ บแบบถธนการใช้ ธนาใารใา้ ประกั น 3. ขธธนุญ าตฯ่ธ นฯัน ใช้ ธ นาใารใา้ ประกัน ทัต ถุ ดผบ 3.1 ขธฯ่ ธ นฯั น ใช้ ธ นาใารใา้ ประกั น ทั ตถุดผ บ 4. ขธธนุญ าตตั ด บัญ ชฝ ทัต ถุ ดผบ 4.1 ขธตัด บัญ ชฝ ทัต ถุ ดผบ 4.2 ขธปรั บ ฬธดทั ตถุดผ บ
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม
0 2936 1429 ต่อ 314 - 315
e-mail : counterservice@ic.or.th www.ic.or.th
โลกเปลี่ยน สังคมป่วน ตลาดเปิด (1)
จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com
เมื่อ 20 กว่าปี ก่อน ผมได้มีโอกาสเข้าไปยุ ่งเกี่ยวกับ การจั ดนิท รรศการและสัมมนาเกี่ ยวกั บเทคนิค วิธีการใน การบริหารจัดการองค์กร ตลอดจนแนะนาเครื่องมือในการ ยกระดั บ ผลิ ต ภาพในกระบวนการท างานให้ สู ง ขึ้ น บรรยากาศภายในงานแสนคึ ก คั ก ไม่ ไ ด้ มี แ ต่ เ พี ย ง คนทางานเท่านัน้ แม้กระทัง่ นักศึ กษาระดับอุ ดมศึ กษาก็ยัง เข้ามาค้นคว้าหาความรู้เปิ ดหูเปิ ดตากัน ในช่ วงเวลานัน้ เพิ่ง เ ริ่ ม มี โ ท ร ศั พ ท์ พ ก พ า ซึ่ ง มี ร า ค า สู ง อี ก ทั ้ ง ยั ง ไ ม่ มี ความสามารถรอบด้านเช่ นสมาร์ทโฟน (Smart phone) ในปั จจุ บันที่เราสามารถดูหนัง ฟังเพลง ถ่ายรูป นาทาง เล่นเกม และทาอย่างอื่นได้อีกสารพัด ผู ้คนในยุ คนัน้ ยังคงใช้ การ “จด” และการ “จา” แต่ ในปั จจุ บั นโลกเปลี่ยนและก้าวเข้าสู่ ยุ คของความก้ าวล ้า น าสมั ย ของเทคโนโลยี สั ง คมเกิ ด ความปั่ น ป่ วนจากแนวคิ ด ที่ ไ ม่ ยึ ด ติ ด กั บ สิ่ ง เดิ ม อี กต่ อ ไป ตลาดใหม่ๆก็เปิ ดกว้างมากขึน้ หลากหลายขึน้ และท้าทายมากขึน้ ความรู้ด้ านการจัด การสมั ยใหม่ท่ี แพร่ หลายไม่ไ ด้ เกิดจากการตกผลึกทางความคิดในระยะเวลาสัน้ หากแต่ ได้ผ่านการทดลองวิจัยและนาไปใช้ ในองค์กรนาร่อง เพื่อให้ แน่ใจว่าความรู้นัน้ ๆจะช่ วยทาให้องค์กรต่างๆมีสมรรถนะ ที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชดั กว่าความรู้ด้านการวางแผนกลยุ ทธ์ องค์กรที่เรียกว่า Balanced Scorecard ที่เป็นที่นิยม อย่ า งมากในสองทศวรรษที่ ผ่ า นมาจะเกิ ด ขึ้ น ก็ ใ ช้ เ วลา หลายปี และเมื่อความรู้ดังกล่าวถูกถ่ายทอดและนาไปใช้ อย่ า งแพร่ ห ลายก็ เ กิ ด ข้ อ คิ ด เห็ น ว่ า ความรู้ นั ้น ๆยั ง ไม่ เพียงพอ จึงมีการเก็บข้อมู ลโดยเข้าไปศึ กษาวิจัยในบริษัท ที่ทดลองใช้ ซ่ึ งมีทงั ้ ที่ประสบความสาเร็จและล้มเหลวจนรูว้ า่ อะไรคือกุญแจสาคัญสู่ความสาเร็จ ถึงได้มีการผลิตตารา ออกมาต่อเนื่องอีกหลายเล่ม เพื่อขยายมุ มมองของการใช้ เครื่องมือหรือระบบการจัดการนัน้
ปี 2005 ผู ้เขียนสองท่าน W. Chan Kim และ Renee Mauborgne ได้ร่วมกันแต่งหนังสือชื่ อดังติดอันดับขายดี ที่สุดเล่มหนึ่งของโลก จากการศึ กษาวิจัยมาเกือบทศวรรษ ด้ ว ยการเปิ ดแนวคิ ด ใหม่ ท างด้ า นกลยุ ทธ์ ก ารตลาด ในชื่ อ Blue Ocean Strategy หนังสือที่ทาให้นักธุ รกิจ และนั ก การตลาดต้ อ งหั น กลั บ มาส ารวจตรวจสอบ ตัวเองว่า ยังติดกับดักทาธุ รกิจวนเวียนอยู ่ใน "น่านนา้ สีแดง” ที่สุดท้ายต้องจบลงด้วยการแข่งขันกันส่งเสริมการขาย และลดราคามาสู่ ก ารแสวงหาตลาดใหม่ ท่ี เ รี ย กว่ า “น่านนา้ สีคราม” ทุกวั นนี้อินเทอร์เ น็ตเป็น ช่ องทางการสื่อสารหลั ก แบบเปิ ดกว้ า งที่ เ ชื่ อ มคนและเชื่ อ มโลกเข้ า หากั น แบบ ไร้รอยต่อ เกิดสังคมแห่งการแลกเปลี่ย นเรีย นรู้แบบไม่มี ขีดจากัด โลกธุ รกิจเริ่มปรับตัวจาก B2B (Business to Business) จนกลายมาเป็น B2C (Business to Customer) และกาลังเพิ่มพลังความสามารถทางธุ รกิจไปจนถึง C2C (Customer to Customer) โดยตัดคนกลางออกไปอย่าง สิ้ น เชิ ง ท าให้ โ ลกการค้ า และการแข่ ง ขั น ทางธุ รกิ จ เปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ ผ่านไปหนึ่งทศวรรษ Kim และ Mauborgne กลับมา อีกครัง้ พร้อมงานศึ กษาวิจัยแนวคิดใหม่ท่ีสอดรับกับยุ ค อินเทอร์เ น็ต นวั ตกรรม และความก้ าวลา้ น าหน้า ของ เทคโนโลยี หนังสือ Blue Ocean Shift ที่เปิ ดตัวเมื่อปี 2017 เป็นหนังสือที่สอดรับกับความท้าทายใหม่ในโลกปั จจุ บัน หนังสือเล่มนีไ้ ด้นาเสนอตัวอย่างจริงที่สร้างแรงบันดาลใจ จากองค์ ก รและอุ ตสาหกรรมหลากหลายที่ ส ามารถ ฝ่ ามรสุม ก้า วไปสู่ น่า นน ้าใหม่ สีค รามได้อ ย่า งมั่นใจด้ ว ย การสร้างสิ่งใหม่จากแนวคิดเดิมที่เป็นการทาลายอย่าง สร้ างสรรค์ (Creative Destruction) มาสู่ การสร้ างสรรค์ แบบไม่ทาลาย (Nondestructive Creation) 7
icn
ในการปฎิ รูป โครงสร้ างทางอุ ตสาหกรรม เยอรมั น ก าลั ง บอกว่ า การผลิ ต จะเข้ า สู่ ยุ ค 4.0 ซึ่ งเป็ นยุ คที่ เครื่ อ งจั ก รและระบบการผลิ ต อั ต โนมั ติ ส ามารถคุ ย กั บ เครื่องจักรด้วยกันได้ สามารถสื่อสารสร้างสัมพันธ์กับใคร ก็ได้ในโลกผ่านโครงข่ายอินเทอร์เน็ต และข้อมู ลมากมายถูก จัด เก็บ ไว้ใ นคลาวด์ (Cloud) ที่ พ ร้อ มจะน าไปใช้ วิ เ คราะห์ และสังเคราะห์ให้กลายเป็นความชาญฉลาดเทียม (Artificial Intelligence: AI) และประเทศชัน้ นาต่างๆในโลกต่างเห็นพ้อง ต้ อ งกั น ในเรื่ อ งที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น ดั ง จะเห็ น ได้ ว่ า แม้ แ ต่ มนุษย์เราเองก็มีร่างอวตารในโลกเสมือน บางคนมีมากมาย หลายร่างในหลายสถานะบนสังคมออนไลน์
ในธุ รกิจค้าปลีกและค้าส่ง ผู ้ประกอบการกาลังขยาย ช่ องทางเพื่ อ เปิ ดตั ว เองให้ ลู กค้ า เป้ า หมายเข้ า ถึ ง และท า ธุ รกรรมต่างๆได้ง่ายดายด้วยตัวเอง โดยมี Application (App) บนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องมือสาคัญ ก่อนหน้านีบ้ างคน อาจจะบอกว่ารถยนต์เป็นปั จจัยที่ห้าของมนุษย์ แต่ผมเชื่อว่า สมาร์ทโฟนต่างหากที่แทรกตัวเข้าไปอยู ่ทุกที่และเป็นปั จจัย ที่ ห้ าอย่ างแท้ จริ ง ในขณะที่ Internet of Things (IoT) จะ กลายเป็ น องค์ ป ระกอบหรื อ ชิ้ น ส่ ว นส าคั ญ ที่ จ ะฝั งตั ว เข้าไปอยู ่ในเครื่องจักรอุ ปกรณ์ท่ไี ม่มีชีวิตแทบทุกอย่าง ในธุ รกิจบริการ ตลาดใหม่ๆกาลังเกิดขึ้นอีกมากมาย และทุกคนก็สามารถเข้าถึงได้ไม่ยากในยุ คนี้ ไม่จาเป็นต้อง รู้จั ก ไม่ จ าเป็ น ต้ อ งเห็ น หน้ า ไม่ ต้ อ งสนใจว่ า อี กฝ่ ายอยู ่ ที่ไหน ไกลกันมากน้อยเพียงใด เพราะเทคโนโลยีได้เชื่อมโลก และเชื่ อมเราเข้า หากัน หมดแล้ ว ตลาดใหม่ท่ี น่า สนใจและ นักธุ รกิจกาลังเข้าไปก็คือ ตลาดผู ้สูงวัย (หลังเกษี ยณอายุ 60 ปี จนถึง 80 ปี ) เป็นตลาดใหม่ท่จี าเป็นต้องใช้ ทงั ้ ไฮเทค (ความก้าวลา้ นาสมัย) และไฮทัช (สัมผัสที่อบอุ ่นและห่วงใย)
ดั ง นั ้ น ถ้ า เชื่ อใ นสิ่ ง เดิ มก็ ใ ห้ ป รั บ ป รุ งข องเดิ ม (กระบวนการเดิม สินค้าและบริการเดิม) ให้ดีมีประสิทธิภาพ มากขึ้ น ในทางกลั บ กั น ถ้ า เราเชื่ อ ในสิ่ ง ใหม่ แ ต่ ไ ม่ แ น่ ใ จ ในศักยภาพและความสามารถของตัวเราเอง ก็มอบหมาย ให้คนที่เชื่อมัน่ ในสิ่งเดียวกันที่มีความมุ ่งมั่นตัง้ ใจที่จะทามัน มาช่ วยผลักดันแทนเราตามแนวคิด Corporate Venture Capital ความน่ า กลั ว อยู ่ ท่ี ค นจ านวนไม่ น้ อ ยหยุ ดการ เรียนรู้ก็เท่ากับหยุ ดตัวเองกับยุ คสมัยที่ตัวเองอยู ่ แม้ว่า สภาพแวดล้อมจะเปลี่ยนไป แต่เรากลับไม่สนใจที่จะปรับตัว ให้สอดคล้องไปกับมัน พอใจกับสิ่งที่มีอยู ่ อยู ่กับภาพจา และความสาเร็จเดิมๆซึ่ งมุ ่งเน้น Function มากไป แต่คนที่ ร่ ว มสมั ย จะไม่ ย อมปล่ อ ยตั ว เองให้ ยึ ด ติ ด อยู ่ กั บ สิ่ ง เก่ า ๆ หากแต่สามารถสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ แต่งเติม เสริมต่อ ให้ เ กิ ด ความแตกต่ า งตามสมั ย นิ ย ม ให้ ค วามส าคั ญ กั บ Fashion ที่ไม่หยุ ดนิ่ง สาหรับคนที่นาสมัย คือ คนที่กล้าที่ จะลงมือทาในสิ่งที่ใหม่ สิ่งที่ใหญ่ และสิ่งที่ยาก แม้ว่าจะไม่ แน่ใจว่าสิ่งนัน้ จะประสบความสาเร็จหรือได้รับผลลัพธ์ท่ีดี หรือไม่ โดยไม่กลัวความล้มเหลว มองความผิดพลาดเป็น บทเรีย นที่ต้ อ งก้ า วข้ า มผ่ า นมัน ไปให้ ได้ และมุ ่ง มั่นค้ น หา อนาคต (Future) สาหรับงานสร้างสรรค์และนวัตกรรมนัน้ ก็เหมือนกับ การวิ่งทะยานหรือกระโจนไปข้างหน้า ทุกวันที่ก้าวออกไปใน ที่เวิง้ ว้างอาจยังไม่ได้อะไร ยังไม่เจอในสิ่งที่มุ่งหวัง หรืออาจ ล้มลงก็ได้ แต่ให้แน่ใจว่าเป็นการล้มที่ไม่ได้อยู ่ท่ีเดิม “ล้มไป ข้างหน้า” ต่างจากคนที่คิดแบบเดิม ทาแบบเดิม ระมัดระวัง และอยู ่กับพืน้ ที่เดิมๆ พืน้ ที่ท่ีตัวเองปลอดภัย ซึ่ งนอกจาก จะได้รับผลลัพธ์ท่ตี กลงไปทีละน้อยๆและล้มลงไปในที่สุดแล้ว การล้มนัน้ ยังเป็นการ “ล้มลงที่เดิม” ความแตกต่างของ สองเหตุ ก ารณ์ ก็ คื อ คนสร้ า งสรรค์ แ ละคนที่ มุ่ ง สร้ า ง นวัตกรรม แม้จะล้มแต่ก็เป็นการล้มไปข้างหน้า ล้มหลังจาก ก้าวไปแล้วหลายก้าว ได้ประสบการณ์แปลกใหม่ในทุกก้าว ที่เดินไป ได้เรียนรู้ตลอดการก้าวเดิน แม้ว่าจะต้องลุกขึ้น มาลุ ย ใหม่ อี ก ครั ้ง ก็ จ ะรู้ แ ล้ ว ว่ า ต้ อ งเดิ น ต่ อ ไปอย่ า งไร ให้แข็งแรงขึน้ ในขณะที่คนที่ย่าอยู ่กับที่ซ่ึ งในที่สุดก็ต้องล้มลงเช่ นกัน ทัง้ จากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป จากความต้องการ ของตลาดที่ เ กิ ด ขึ้ น ใหม่ จากเทคโนโลยี ท่ี ทั น สมั ย กว่ า เทคโนโลยีแบบเดิม เมื่อลุกขึ้นมาอีกครัง้ ความกลัวจะมา เยือนหนักกว่าเดิม เพราะคราวนีไ้ ม่รู้ว่าจะก้าวต่อไปทางไหน ขาดการเรี ย นรู้ ขาดประสบการณ์ ก ารลองผิ ด ลองถู ก กลัวความผิดหวัง กลัวความล้มเหลวที่จะเกิดขึ้นอีกครัง้ ที่ ส าคั ญ เมื่ อ ลุ ก ขึ้ น มาใหม่ จ ะไม่ เ ห็ น ใครรอบข้ า ง เพราะ คนอื่ น ๆต่ า งเดิ น ไกลออกไปจากจุ ดเดิ ม ไปหาตลาดใหม่ ไปหาลู่ทางใหม่ๆและไปสร้างสิ่งใหม่ๆแล้ว
icn 8
จะดีกว่าไหม ถ้าจะเปลี่ยนแรงขับนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง กลายเป็นแรงส่งให้เราไปอยู ่ในจุ ดใหม่ แค่เพียงเปลี่ยนกรอบ ความคิด (Paradigm shift) ยอมที่จะทิง้ สิ่งเดิมเมื่อค้นพบ สิ่งใหม่ การวิจัยพัฒนาและแสวงหาสิ่งใหม่ต้องทาควบคู่ ไปกับการทาสิ่งเดิม โดยมองว่าสิ่งเดิมคือฐานของรายได้แต่ ไม่ ยั่ ง ยื น การสร้ า งสิ่ ง ใหม่ ใ ห้ ม าฆ่ า ธุ รกิ จ เดิ ม ที่ เ ราท าอยู ่ ตลอดเวลาต่างหากที่จะทาให้ธุรกิจและองค์กรมีความยั่งยืน อยู ่เสมอ ดังนัน้ อย่ารอให้คนอื่น ธุ รกิจอื่น องค์กรอื่น มาสร้าง ความปั่ นป่ วนจนธุ รกิจของเราต้องล่มสลาย (Disruption) แต่เราต้องพร้อมที่จะเป็นผู ้สร้างสิ่งใหม่ให้มาฆ่าธุ รกิจของ ตัวเราเอง สิ่งนีต้ ่างหากที่จะทาให้เราเป็นที่หนึ่งอยู ่เสมอ ในโลกนี้มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นมากมาย สิ่งใดก็ตาม ที่ ก่ อ ตั ว และขยายวงใหญ่ ขึ้ น ก็ ก ลายเป็ น แนวโน้ ม ใหม่ และอาจจะกลายเป็นแนวโน้มโลกในที่สุด (Mega Trend) เรา ลองส ารวจตรวจสอบรอบตั ว เราว่ า มี อ ะไรบ้ า งที่ กาลั ง ก่อตัว ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของ ผู ้คน (Social Change) เทคโนโลยีใหม่ท่ีก้าวไกลกว่าเดิม (Technological Change) สิ่งแวดล้อม การรณรงค์และ ภาวะโลกร้อน (Environmental Change) สภาพเศรษฐกิจ การค้า การแข่งขันและอัตราแลกเปลี่ยน (Economic Change) และสุ ด ท้ า ย คื อ นโยบายของรั ฐ และกฎหมาย (Political Change) ที่กล่าวมาทัง้ หมดนัน้ รวมเรียกว่า STEEP อาทิ (1) สังคมผู ้สูงวัย ซึ่ งในแต่ละประเทศมีจานวนเพิ่มสูงขึ้น อย่ า งเห็ น ได้ ชั ด และหลายประเทศเข้ า สู่ ส ภาวะนั ้ น ไปเรียบร้อยแล้ว (2) อัตราการเกิดน้อยลง (3) พฤติกรรม คนที่ติดความสะดวกสบาย และพยายามที่จะไม่เคลื่อนที่ ไปในที่ต่างๆอันเนื่องมาจาก (4) การจราจรติดขัดโดยเฉพาะ ในเมืองใหญ่ท่ีเราต้องใช้ เวลาในการเดินทางมาก (5) อินเทอร์เน็ต ที่ส ามารถท าให้ ทุ กคนท างานที่ ไ หนก็ ได้ แ ละไม่ พ ลาดการ ติดต่อ (6) คนห่วงใยในสุขภาพ ความเป็นอยู ่และอาหารการกิน (7) อากาศที่บริสุทธ์ ไม่มีมลพิษ ความพยายามในการลดขยะ จากความเจริญก้าวหน้า และ (8) การออกกาลังกายที่ทุกคน พยายามที่จะเลือกทาอย่างน้อยหนึ่งอย่าง
FAQ 108
เมื่อความบันเทิงรูปแบบต่างๆและการนอนหลับของ คนเป็นสิ่งน่ากลัวที่ Netflix ต้องเอาชนะให้ได้ และแปลงเป็น แรงขั บ ไปสู่ เ ป้ าหมายกระทั่ ง ประสบความส าเร็ จ ในที่ สุ ด ด้วยยอดสมาชิ กที่เติบโตอย่างรวดเร็ว เมื่อการซื้อสินค้า ออนไลน์กาลังเป็นภัยคุกคามอย่างหนักต่อธุ รกิจค้าปลีก ศูนย์การค้า และห้ างสรรพสินค้ า การเปลี่ ยนแนวคิดให้ ห้ า งสรรพสิ น ค้ า กลายเป็ น พื้ น ที่ ชี วิ ต ที่ พ ร้ อ มรั บ กั บ ดิจิทัลไลฟ์ จึงเกิดขึ้น เมื่อการทาธุ รกรรมทางการเงินง่าย เพี ย งพลิ กฝ่ ามื อ ชี วิ ต ติ ด โมบายของผู ้ ค นจึ ง ได้ รั บ การ ตอบสนองด้วยรูปแบบการใช้ จ่ายที่ง่ายและทันสมัยมากขึ้น ธนาคารและสถาบันการเงินได้พลิกโฉมแปลงร่างให้ตัวเอง เป็นกระเป๋ าเงินไร้สายและกระเป๋ าเงินออนไลน์ในที่สุด และนี่คือ ตั ว อย่ า งของธุ รกิ จ ที่ ไ ม่ ห ยุ ดนิ่ ง มี พ ลวั ต ร และเติ บ โต ไปพร้อมกับยุ คสมัยอยู ่เสมอ ในฉบับหน้า มาติดตามกันต่อว่า ความเปลี่ยนแปลง ของโลกยุ คดิจิทัลจะมีอะไรอีกบ้าง และจะมีบทบาทต่อการ ใช้ ชี วิ ต ของคนยุ คนี้ หรื อ สร้ า งความปั่ นป่ วนในสั ง คม ปั จจุ บันได้เช่ นไร และเราจะเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือ กับการเปลี่ยนแปลงที่กาลังเกิดขึน้ ได้อย่างไร ภาพจาก : http://www.panaromic.com/digital-business-services.php https://www.sanook.com/money/539813/ https://www.prachachat.net/property/news-93773 https://www.mxphone.net/250417-dtac-change-dtac-hall-with-smart-services/
คาถามกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น www.faq108.co.th แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น 9
icn
การเดินทางของผู ้บริโภคยุ คใหม่ Modern Customer Journey
ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th
ในการดาเนินธุ รกิจ “ลูกค้า” คือ “กุญแจสาคัญ” ของความสาเร็จ หากเจ้าของธุ รกิจสามารถมัดใจลูกค้า ให้ อ ยู ่ กั บ ตนเองได้ ก็ เ ปรี ย บเสมื อ นมี กุ ญ แจไว้ ใ นก ามื อ สาหรับไขประตูสู่ความสาเร็จ อย่างไรก็ตาม การที่จะทา ให้ ลู ก ค้ า เกิ ด ความภั ก ดี ต่ อ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารนั ้น ไม่ ใ ช่ เรื่องง่าย ดังที่ Kerry Bodine นักวิจัยด้านการออกแบบ ประสบการณ์ของลูกค้าเคยกล่าวไว้ว่า “ประสบการณ์ ที่ ลู ก ค้ า ประทั บ ใจไม่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น โดย บั ง เอิ ญ ” (Great customer experiences don’t happen by accident) เครื่องมือหนึ่งที่เป็นที่นิยมในการทาความเข้าใจ พฤติกรรมของลูกค้าเพื่อนาไปสู่การสร้างกลยุ ทธ์ทาง การตลาดก็ คื อ เส้ น ทางการเดิ น ทางของผู ้ บ ริ โ ภค (Customer Journey) ที่แสดงให้เห็นเส้นทางของผู ้บริโภค ตัง้ แต่ ก่อ นเข้ ามาเป็ นลู กค้ า จนถึง จุ ดที่ กลายเป็น ลูกค้ า ในที่ สุ ด ก่ อ นหน้ า นี้ เ ราสามารถมองเห็ น Customer Journey เป็ น เส้ น ตรงไม่ ซับ ซ้ อ น เพราะช่ องทางการ สื่อสารและสื่อในสมัยนัน้ ไม่ได้มีมากมายและหลากหลาย ประเภทเหมือนสมัยนี้ ซึ่ ง Customer Journey แบบทัว่ ไปนัน้ เริ่มจากการที่ลูกค้าเห็นโฆษณา ทาให้เกิดการตระหนักรู้ (Awareness) จนเกิดความคุ้นเคย เมื่ อคุ้น เคยจนเกิ ด ความไว้วางใจก็จะเกิดการตัดสินใจที่จะเลือกซื้อ จากนัน้ ก็จะนาไปสู่การซื้อสินค้าหรือบริการนัน้ ๆในที่สุด จากที่กล่าวมาข้างต้นแสดงให้เห็น การตัดสินใจ เลือกซื้อสินค้าหรือบริการของผู ้บริโภคที่ไม่ซบั ซ้ อน แต่ใน ยุ คปั จจุ บันที่เทคโนโลยีดิจิทัล ใหม่ๆที่ทันสมัยไม่ว่าจะเป็น เทคโนโลยีแบบ Real-time การใช้ เทคโนโลยีในการสื่อสาร เทคโนโลยี Cloud, Big Data, Robotics, Machine Learning (Ai) และอื่นๆที่กาลังเข้ายึดพืน้ ที่ซื้อขายสินค้า และบริการ (Marketplace) ล้วนเข้ามาเปลี่ยนรูปแบบ icn 10
การด าเนิ น ชี วิ ต ของผู ้ ค นตลอดจนการด าเนิ น ธุ รกิ จ ทาให้ เกิ ดสภาวะการเปลี่ย นแปลงที่ เรี ยกกัน ว่า Digital Disruption ส่ ง ผลให้ เ กิ ด นวั ต กรรมและรู ป แบบธุ รกิ จ ขึ้น มาใหม่ ตั ว อย่ า งที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ คื อ Amazon, Netflix, Hulu Plus ที่ทาให้วงการสื่อและวงการบันเทิง หรือการค้าต้อง “หยุ ดชะงัก” โดยการเปลี่ยนวิธีการเข้าถึง ของผู ้บริโภคและช่ องทางการซื้อขาย ทาให้การตัดสินใจ ซื้ อ สิ น ค้ า และบริ ก ารของผู ้ บ ริ โ ภคเปลี่ ย นแปลงไป จากเส้ น ทางการเดิ น ทางของผู ้ บ ริ โ ภคในรู ป แบบเดิ ม เปลี่ย นไปสู่ เส้ น ทางการเดิ น ทางของผู ้ บ ริ โ ภคยุ คใหม่ (Modern Customer Journey) เพื่ออธิบายพฤติกรรม ของผู ้บริโภคยุ คดิจิทัลที่ลึกซึ้งและซับซ้ อนกว่าเดิม สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปที่สะท้อนให้เห็นบนเส้นทางการ เดินทางของผู ้บริโภคยุ คใหม่ คือ การตัดสินใจซื้อสินค้าหรือ บริ ก ารอย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง อาจจะไม่ ไ ด้ เ ริ่ ม จากการเห็ น โฆษณาเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป (Awareness) แต่อาจจะ ประกอบไปด้ ว ยการค้ น หาข้ อ มู ล ของสิ น ค้ า หรื อ บริ การ ผ่าน Search engine หรือ Application ต่างๆ (Findability) การได้ รั บ การบอกเล่ า จากคนใกล้ ตั ว ถึ ง คุ ณ สมบั ติ ท่ี ดี ของสิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร นั น้ ๆ (Reputation) จนเกิ ด ความไว้ ว างใจที่ จ ะตั ด สิ น ใจเลื อ กซื้ อ และน าไปสู่ การซื้ อ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารนั ้ น ๆ (Conversion) ในที่ สุ ด ก็ เ ป็ นได้ ซึ่ งเส้นทางของผู ้บริโภคยุ คใหม่ไม่ได้สิน้ สุดที่การซื้อสินค้าหรือ บริการพีย งเท่า นัน้ แต่ ยัง ส่ง ต่อ ประสบการณ์ข องการ บริโภคสินค้าและบริการนัน้ ๆไปสู่ผู้บริโภคอื่นๆด้วยการรีววิ สินค้าและบริการนัน้ ๆอีกด้วย (Advocacy)
ดั ง นั ้น การด าเนิ น ธุ รกิ จ ควรมี การวางแผนและ กลยุ ทธ์ทางการตลาดที่ดีจากการใช้ Customer Journey ให้เกิดประโยชน์ สามารถมัดใจลูกค้าให้อยู ่กับเราได้ แต่สิ่ง สาคัญของยุ คดิจิทัลที่เราควรตระหนักไว้เสมอ คือ สภาวะ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ ตลอดเวลา กลยุ ทธ์แบบหนึ่งอาจ สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพียง“ระยะหนึ่ง” เท่ า นั ้น เพราะในโลกที่ การค้ น หาข้ อ มู ล เป็ น เรื่ อ งง่ า ยแค่ เพี ย งปลายนิ้ว นั ้น ท าให้ ลู ก ค้ า สามารถมองหาตั ว เลื อ ก ใหม่ๆที่พร้อมจะทาให้ Journey ของเขาดีขนึ้ ได้ตลอดเวลา ภาพจาก: https://www.slideshare.net/DopplerEmailMarketing/cmo-definir-elcustomer-journey-de-tu-negocio-tristn-elosegui https://www.vendasta.com/blog/following-modern-customer-journey https://webprofits.agency/resources/customer-advocacy/
สมาคมสโมสรนักลงทุ นจะจั ดสัมมนาฟรี ให้กับ สมาชิ กในหัวข้อ “Customer Journey” ในวันศุกร์ท่ี 7 ธันวาคม 2561 เวลา 13.00-16.30 น. ณ โรงแรม อมารี ดอนเมือง สมาชิกที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียด เพิ่ม เติ มได้ท่ี แผนกลู กค้ าสั มพั นธ์ และสื่ อสารองค์กร โทรศั พ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 203 (คุ ณ เบญจวรรณ) ต่ อ 202 (คุ ณวิ จิ ตรา) E-mail: Cus_servive@ic.or.th, Benjawank@ic.or.th, Vijittraj@ic.or.th ที่ ม า: https://kerrybodine.com/why-journey-maps/ https://www.g-able.com/thinking/customer-journey/the-new-customer-journeyon-digital-marketing-road/ https://blog.ourgreenfish.com/th/digital-disruption-คืออะไร -business
สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ ออนไลน์
เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ หลักสูตรการใช้งานระบบ IC หลักสูตรด้านศุลกากร หลักสูตรการบริหารจัดการ
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม Call Center 0 2936 1429 ต่อ 700
11 icn
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิ ญเข้าร่วม สัมมนาฟรีสมาชิก ครัง้ ที่ 5
Supported by:
Customer Journey วันศุกร์ท่ี 7 ธันวาคม 2561 เวลา 13.00-16.30 น. ห้องกินรี 1 โรงแรม อมารี ดอนเมือง ท าความเข้ า ใจกั บ การจั ด การเพื่ อ มุ ่ ง เน้ น ลู ก ค้ า และตลาด (Customer and Market Focus) และรู้ จั ก กั บ กลยุ ทธ์ ในการบริหารประสบการณ์ลูกค้าด้วยเทคนิค Customer Journey Mapping ซึ่ งเป็นเครื่องมือที่ทาให้เข้าใจลูกค้าแบบ Insight การดาเนินการในมุ มมองของลูกค้าเพื่อมาใช้ ผลิตภัณฑ์และบริการของธุ รกิจ ช่ วยสร้างประสบการณ์ที่ดีตัง้ แต่ต้นจนจบให้กับลูกค้า เป็นมาตรฐานคุณภาพจนเกิดความจงรักภักดี ซึ่ งจะยึดลูกค้าไว้ได้อย่างแข็งแกร่งทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว รวมทัง้ เป็นการสร้าง มูลค่าเพิม่ ให้กับสินค้า/บริการ และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กร
ค่าธรรมเนียม การอบรม
ราคา/ท่าน (ราคารวม VAT)
สมาชิกสมาคมท่านแรก
ฟรี
สมาชิกท่านที่ 2 เป็นต้นไป
856 บาท/ท่าน
บุ คคลทัว่ ไป
1,284 บาท/ท่าน
ลงทะเบียนออนไลน์ได้ทาง http://icis.ic.or.th เหมาะสาหรับ ผู ้บริหารที่ดูแลงานด้านการขาย การตลาด และลูกค้าสัมพันธ์ รวมถึงงานบริการ และผู ้ทต่ี ้องการ นาความรู้ไปใช้ ในการพัฒนาองค์กร
วิทยากร
คุณณัฐพัชร์ ล้อประดิษฐ์พงษ์
หัวข้อการบรรยาย
ที่ปรึกษาด้านการพัฒนาองค์กรและการจัดการเชิงกลยุ ทธ์
1. ทาความรู้จกั กับ TQA หมวด 3 การจัดการเพื่อมุ ง่ เน้นลูกค้าและตลาด 2. Customer Segmentation and Targeted Customer 3. Voice of Customer 4. การจัดการเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า 5. Customer Complaint Management 6. เทคนิคการจัดทา Customer Journey Mapping: Step-by-step 7. การเขียน Journey Mapping ในมุ มของลูกค้า 8. กาหนด Customer Touch Point 9. การสัมภาษณ์ประสบการณ์ลูกค้าเพื่อค้นหา Pain point และประเมิน ความพึงพอใจ 10. การศึ กษาเชิ งปริมาณ (Quantitative Method) เพื่อระบุ Touch Point ที่สาคัญ 11. การวิเคราะห์เพื่อค้นหาโอกาสในการปรับปรุ งและสร้างนวัตกรรมบริการ 12. ตัวอย่าง กรณีศึกษา Customer Journey Mapping และการวิเคราะห์ ของธุ รกิจชัน้ นา 13. ถาม-ตอบ ***หัวข้อบรรยายอาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
ด่วน !!! รับจานวนจากัด First come, first served
USB Flash Drive 8GB
สมัครและชาระเงิน 3 ท่าน รับฟรี 1 อัน สมัครและชาระเงิน 5 ท่าน รับฟรี 2 อัน สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม แผนกลูกค้าสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร 0 2936 1429 ต่อ 203 (เบญจวรรณ) ต่อ 202 (วิจิตรา) โปรดกรอกแบบตอบรับส่งกลับมาที่ โทรสาร 0 2936 1441-2 E-mail: Cus_service@ic.or.th, Benjawank@ic.or.th, Vijittraj@ic.or.th
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
การอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร (Workshop) หลั ก สู ต ร “การยื่นเรื่องขออนุมัติตัดบัญชีวัตถุดิบแบบไร้เอกสาร” และ “การจัดทาใบขนสินค้าขาออก เพื่อใช้ ตัดบัญชีวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น ด้วยระบบ BOI อิเล็กทรอนิกส์” สาหรับผู ้ใช้ บริการ และบริษัท Shipping สานักงานใหญ่ กรุ งเทพฯ
สานักงานสาขา จังหวัดชลบุ รี
<<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น ได้ จั ด อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร (Workshop) หลักสูตร “การยื่นเรื่องขออนุมัติตัดบัญชี วัตถุดิบแบบไร้เอกสาร” และ “การจัดทาใบขนสินค้าขาออก เพื่ อ ใช้ ตั ด บั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ จ าเป็ น ด้ ว ยระบบ BOI อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ” ให้ กั บ ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารและบริ ษั ท ตั ว แทน ออกของ (Shipping) ณ สานั ก งานใหญ่ กรุ ง เทพฯ เมื่ อ วั น ที่ 17 กั น ยายน 2561 และที่ ส านั ก งานสาขา จั ง หวั ด ชลบุ รี เมื่ อ วั น ที่ 26 กั น ยายน 2561 เพื่ อ ให้ สามารถดาเนินงานตามขัน้ ตอนของระบบงานตัดบัญชี วัตถุดิบแบบไร้เอกสาร และการจัดทาใบขนสินค้าขาออก เพื่อใช้ ตัดบั ญชี วัตถุดิบ และวัสดุจ าเป็นได้อ ย่างถูกต้อ ง โดย คุณวีรพงษ์ ศิ ริวัน ผู ้จัดการสมาคมสโมสรนักลงทุน ให้เกียรติกล่าวเปิ ดการอบรม นอกจากนี้ยังได้รับเกียรติ จากวิ ท ยากรผู ้ เ ชี่ ย วชาญของสมาคมและบริ ษัท ซี ที ไ อ โลจิสติกส์ จากัด ร่วมบรรยายพร้อมรับฟั งข้อเสนอแนะ และความคิ ด เห็ น จากผู ้ ใ ช้ บ ริ การ ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ใ ช้ ง านระบบ เพื่ อ น าข้ อ มู ลที่ ไ ด้ ม าปรั บ ปรุ งและพั ฒ นาระบบให้ มี ความเหมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ การท างานของ ผู ้ใช้ บริการอันจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการอบรม แบ่งจัดเป็นสองรอบในช่ วงเช้ าและช่ วงบ่าย
1 3 icn
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
สัมมนาสมาชิกครัง้ ที่ 4
Supported by:
ความท้าทายของ HR ในโลกยุ ค 4.0 <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนาส าหรั บ สมาชิ ก ครัง้ ที่ 4 ในหัวข้อ “ความท้าทายของ HR ในโลกยุ ค 4.0” เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2561 ณ ห้องกินรี 1 โรงแรม อมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุ งเทพฯ เพื่อให้สมาชิกได้รับความรู้ เกี่ยวกับงานบริหารด้านทรัพยากรบุ คคลยุ คดิจิทัล ประเด็น สาคัญ คือ การเปลี่ยนโฉมหน้าของ HR ให้กลายเป็น Digital HR Management ในโลกของการทาธุ รกิจยุ ค 4.0 หัวข้อการ บรรยายประกอบด้วย การบริหารจัดการข้อมู ลด้วย Big Data การปรับปรุ ง Job Description ของพนักงาน เนื่องจาก Routine Job จะถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์ (Artificial Intelligence: AI) และระบบ Automation มากขึ้น เป็นต้น โดยได้รับเกียรติ จาก คุณ สุกัญ ญา รัศ มีธรรมโชติ อาจารย์พิเ ศษ วิช า Human Resource Management วิ ท ยากรและที่ ป รึ ก ษา อิ ส ระ เป็ นวิ ทย ากร บ ร ร ย าย พ ร้ อ มตอบ ข้ อ ซั ก ถา ม ของผู ้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาถึ ง กรณี ปั ญหาต่ า งๆด้ า นงาน HR อีกด้วย
icn
14
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
การสร้างวัฒนธรรม
KaizenDNA วันศุกร์ท่ี 23 พฤศจิกายน 2561 เวลา 9.00-16.00 น. ณ โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุ งเทพฯ
หัวข้อการสัมมนา • ความสาคัญของ Kaizen ต่อการสร้าง องค์กรให้ยงั่ ยืน • กระบวนการสร้างวัฒนธรรมองค์กร • การสร้างพฤติกรรมที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลง • องค์ประกอบและขัน้ ตอนการดาเนินงานของ Kaizen DNA • หลักในการสังเกตเพื่อค้นหาจุ ดปรับปรุ ง • เทคนิคการพัฒนาทักษะการคิดค้นและ ปรับปรุ งงาน • หลัก 3 ลอง E-C-R-S, SCAMPER, 7R, Poka-Yoka • การสร้างกระบวนการทาซ้ าที่เข้มแข็ง
คุ ณ กาพล กิ จ ชระภู มิ วิทยากรที่ปรึกษาด้านบริหารการผลิต
เหมาะสาหรับ ผู ้บริหาร ผู ้จัดการ/หัวหน้าฝ่ าย/ หัวหน้าแผนก และผู ้ท่สี นใจทัว่ ไป
อัตราค่าสัมมนา ประเภท
อัตรา ค่าสัมมนา
Early Bird สมัครและชาระเงิน ภายในวันที่ 9 พ.ย. 61
สมาชิก
3,745 บาท/คน
3,424 บาท/คน
บุ คคลทัว่ ไป
4,280 บาท/คน
3,959 บาท/คน
อัตรานีร้ วมค่าเอกสาร อาหารว่าง อาหารกลางวัน และภาษีมูลค่าเพิ่ม ค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200%
สนใจสมั ค รเข้ า ร่ ว มอบรมสามารถลงทะเบี ย นออนไลน์ เ พื่ อ สารองที่ นั่ ง ได้ท่ี h t t p : / / i c i s . i c . o r . t h สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
Call Center โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 โทรสาร 0 2936 1441-2
หรือทาง www.ic.or.th
เมื่อ
“เชื่อมัน่ ”
ความสาเร็จก็ ไม่ ไปไหน เส้าหลิน
• ชอบผลัดวันประกันพรุ ่ง • กลัวการเปลี่ยนแปลง • ยอมแพ้อะไรง่ายๆ • ชอบแก้ตัว อาการต่ า งๆเหล่ านี้เป็ น สิ่ง สะท้อ นถึง ความเชื่ อ มั่น ที่เริ่มจะหดหาย ซึ่ งหลายศาสตร์แห่งความสาเร็จมักกล่าวว่า หากเราต้องการปี นภูเขาสักลูก แต่กลับเริ่มด้วยความกลัว หรือถอดใจ คงยากที่จะได้ชื่นชมความงามบนยอดเขา การสลัดความกังวล ความกลัว และความไม่แน่ใจ จนสามารถควบคุมสถานการณ์หรือแก้ไขปั ญหาต่างๆได้ ด้ ว ยตั ว ของเราเอง สามารถจั ด สรรให้ ต นเองออกจาก สภาวะที่ ก ดดั น ต่ า งๆได้ ย่ อ มน าพาไปสู่ สิ่ ง ที่ มุ่ ง หวั ง จน กลายเป็นความสาเร็จ แล้วอะไรที่ทาให้อาการเหล่านีห้ ายไป? คาตอบคือ “ความเชื่อมัน่ ในตนเอง” ถึงเวลาหรือยัง... “เสริมความเชื่อมัน่ ในตัวคุณ” เมื่ อ กล่ า วถึ ง Jack Ma คงไม่ มี ใ ครไม่ รู้ จั ก เขามี เทคนิ ค ในการน าพาชี วิ ต สู่ ค วามส าเร็ จ ที่ ส ะท้ อ นถึ ง ความเชื่อมัน่ ในตนเองได้เป็นอย่างดี อาทิ “ถ้าคุณมีความฝั นที่ยิ่งใหญ่ สิ่งสาคัญกว่าคือต้อง ล้อมรอบตัวเองด้วยคนที่เชื่อมัน่ ในตัวคุณ” “อย่ า ท้ อ แท้ เมื่ อ ไม่ มี ใ ครช่ วยคุ ณ จงมี ค วามสุ ข จงภาคภูมิใจ แม้ไม่มีใครช่ วยก็ไม่ใช่ เรื่องเลวร้าย” “ไม่ว่าคุณจะเก่งขนาดไหน แต่ไม่รู้วิธีทางานร่วมกับ คนอื่นๆ ความฝั นของคุณก็จะเป็นแค่ฝันเฟื่ อง” icn
16
“คุณคือคนพิเศษเสมอ จงคิด เสมอว่า โลกใบนี้มี คน 7 พันล้านคน แต่มีเพียงคนเดียวเท่านัน้ ที่เหมือนคุณ ทุกอย่าง ก็คือตัวคุณเอง”
ดังนัน้ การสร้างความเชื่ อมั่นในตนเอง ควรเริ่ม ตัง้ แต่... รู้จักพึ่งตนเอง ใช้ ความสามารถของตนเองให้ มากที่สุด จะทาให้เราสามารถพัฒนาตนเอง ได้อย่างมาก คนที่ขาดการพึ่งพาตนเองจะทา ให้ เ กิ ด ความอ่ อ นแอ หรื อ มั ก จะรอคอยแต่ ความช่ วยเหลือจากผู ้อื่น มี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น โดยฝึ กเคลื่ อ นไหว ร่า งกายให้ มี ค วามกระฉับ กระเฉง เดิน ให้ เ ร็ ว กว่าปกติ 20-30% สร้างบุ คลิกการเดิน การยืน อย่างคนมัน่ ใจในตนเอง ฝึ กการพู ดต่อหน้าที่ชุมชนและการฝึ กแสดง ความเห็น เมื่อพู ดบ่อยๆจะทาให้เกิดความมั่นใจ มากขึน้ ฝึ กพู ดบวกกั บ ตั ว เองบ่ อ ยๆ เช่ น ฉั น ท าได้ ฉันสู้ตาย เป็นต้น ฝึ กสบตาเวลาพู ดหรื อ สนทนากั บ คู่ ส นทนา การหลบตามั ก ท าให้ ผู้ ส นทนาตี ค วามไปใน ทิศทางต่างๆ ฝึ กมองโลกในแง่ดี และฝึ กยิม้ ให้กว้างหรือยิม้ แบบเปิ ดเผยจะทาให้ชนะความกลัว เสริมสร้าง ความมัน่ ใจได้อีกทางหนึ่ง
นอกจากการสร้างความเชื่ อมั่นในตนเองข้างต้น แล้ว ขณะเดียวกันต้องแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ต่างๆเหล่านีค้ วบคู่ไปด้วย คือ วิธีแก้การผลัดวันประกันพรุ ่ง ในการวางแผน แต่ ล ะครั ้ง ไม่ ค วรคิ ด ขึ้ น มาแบบลอยๆควร ก าหนดให้ ชัด เจนทั ้ง การวางแผนและเวลา ที่ แ น่ น อน ผลลั พ ธ์ ท่ี ค าดว่ า จะได้ และแผน ฉุ ก เฉิ น หากงานที่ ท าไม่ ไ ด้ เ ป็ น ไปตามแผนที่ วางไว้ เมื่อทาแบบนี้บ่อยๆจะช่ วยให้สามารถ ทาตามแผนได้ง่ายขึน้ วิธีแก้ ไม่ ให้ กลั วกั บการเปลี่ย นแปลง เปลี่ย น “ความกลั ว ” ให้ ก ลายเป็ น “ความกล้ า ” เราต้องกล้าที่จะเสี่ยงแล้วเรียนรู้ไปพร้อมๆกัน วิธีแก้ไม่ยอมแพ้อะไรง่าย จงเปลี่ยนตัวเองให้ เป็นคนดือ้ ด้าน ไม่ยอมแพ้ มีความมุ ่งมั่นสูง ไม่ทาตัวโอนอ่อนไปตามสิ่งยั่วยุ ยอมเหนื่อย ยอมลาบากเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ วิธีแก้นิสัยชอบแก้ตัว ปรับพฤติกรรมเสียใหม่ อย่ า กลั ว เสี ย หน้ า หากต้ อ งรั บ ความผิ ด แต่จงน้อมรับความผิดด้วยความกล้าหาญ และพร้อมที่จะแก้ไขใหม่ให้ดียิ่งขึน้
จะเห็นได้ว่าการทาให้ตนเองมีความเชื่อมัน่ ที่มากขึ้น ต้องพยายามคิดถึงข้อดีของตนเองหรือสิ่งที่ท่านเคยทา ในอดี ต แล้ ว ประสบความส าเร็ จ ได้ รั บ ค าชมจากผู ้ อื่ น จะช่ วยเสริมความเชื่อมั่นในตนเองได้ แต่หากท่านไม่มั่นใจ ก็ ค วรเรี ย นรู้ เ พิ่ ม เติ ม ทั ้ง จากตนเองหรื อ ผู ้ ท่ี เ คยประสบ ความสาเร็จมาแล้วลองมาปรับใช้ เมื่อเกิดความเชื่ อมั่น ย่ อ มผลั ก ดั น ให้ ท่ า นก้ า วข้ า มอุ ปสรรคทั ้ ง ปวงไปได้ ด้วยดี ภ า พ จ า ก : http://everything-voluntary.com/10-ways-to-almost-instantlygrow-your-self-confidence
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
ข้อผิดพลาดทางด้านบัญชี ของกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรม อมารี ดอนเมือง
อีกหนึ่งช่ องทางชาระค่าบริการผ่านระบบ
QR Code
**สาหรั บ การชาระเงิ น สดที่ ส มาคมเท่ า นั ้น ** สมาคมสโมสรนั กลงทุ น ได้ เ พิ่ ม ช่ องทางการช าระค่ าบริ การผ่ า นระบบ QR Code โดยสามารถชาระผ่าน Mobile Banking ได้ทุกธนาคาร สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย ไม่มียอดขัน้ ตา่ ในการชาระ
เปิ ดให้ บ ริ ก ารแล้ ว วั น นี้ ณ เคาน์ เ ตอร์ ชาระค่ า บริ ก าร
17 icn
การระบุ สิทธิในหน้าใบขนสินค้าขาออก
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
Q : สืบเนื่อ งจากประกาศสานั กงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุ น ที่ ป.8/2561 ข้ อ ที่ 7 ว่าด้วยการขอตัดบัญชีวัตถุดิบ ข้อ 1.1 ได้อธิบายไว้ว่า "...ต้องระบุ ในใบขนสินค้าขาออกว่า มีการใช้ สิทธิแ ละประโยชน์ ตามมาตรา 36” จึงอยากทราบว่า บริษัท จะต้อ งระบุ ประโยค ดังกล่าวหรือไม่ หรือเพียงแค่ระบุ เลขที่บัตรส่งเสริมตามปกติในแต่ละรายการเหมือนเดิม A : ใบขนสิ น ค้ า ขาออกที่ จ ะน ามาตั ด บั ญ ชี ไ ด้ จ ะต้ อ งบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ในช่ องสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ว่ า ใช้ สิท ธิ ประโยชน์ BOI ส่ ว นการระบุ เลขที่ บัต รส่ง เสริ ม เข้ าใจว่า เป็ น ข้อ ก าหนดของกรม ศุลกากร ไม่ใช่ BOI ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
คนสาคัญมาก สุดท้ายในการบริหารทุกอย่าง จะมากองรวมอยู ่ตรงคน ประเทศที่มี การปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงอยู ่เสมอ คนจะมีคุณภาพ แต่ถ้าประเทศไหนไม่ได้สร้างคนให้มีคุณภาพ ไม่ว่าขยับทาอะไร ปั ญหาก็จะมาจุ กที่คน เป็นคอขวดเสมอ
ดร.ลักขณา ลีละยุ ทธโยธิน
ประธานกรรมการบริ หาร บริษัท เซเรบอส (ประเทศไทย) จากั ด ที่มา>> http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/606425 ภาพจาก>> http://www.matithainews.com/?p=21021
สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก
www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 211 โทรสาร 0 2936 1529
icn 18
ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ
@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ
Add friends
IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย
ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !
สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น บริ ก ารจั ด หลั ก สู ต ร
IN-HOUSE TRAINING ประหยัดค่าใช้ จ่าย ออกแบบเนือ้ หาเฉพาะองค์กร แนะนาหลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน ชื่อหลักสูตร
จานวน (วัน)
ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท)
25 ท่าน
35 ท่าน
1 ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
32,000
35,000
2 วิธีการขอเปิ ดดาเนินการ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
32,000
35,000
3 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
32,000
35,000
4 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1/2 วัน
23,000
25,000
5 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
32,000
35,000
หมายเหตุ : • อัตราค่าธรรมเนียมรวมค่าวิทยากร เอกสารการฝึ กอบรม ค่าเดินทาง และค่าดาเนินการ • ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิม่ 7% และค่าที่พัก (ถ้ามี) • อัตราค่าธรรมเนียมที่ระบุ ในเอกสาร เป็นอัตราประมาณการ ซึ่ ง อาจมีก ารเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ขึ้นอยู ่กับ รูปแบบการฝึ กอบรม จานวนผู ้เข้าอบรม ประเภทวันที่จัดงาน จานวนวัน พืน้ ที่จัดงาน รายละเอียดเพิ่มเติมของเนือ้ หา และอื่นๆ • สมาคมขอสงวนสิทธิห้ามบันทึกภาพและ/หรือเสียงในการอบรมทุกหลักสูตรทุกกรณี • ค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200%
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม 0 2936 1429 ต่อ 207 โทรสาร 0 2936 1441-2
website : www.ic.or.th
e-mail : is_inhouse@ic.or.th
แนะนาหลักสูตรด้านศุลกากร และอืน่ ๆ ชื่อหลักสูตร
จานวน (วัน)
ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท) 25 ท่าน
35 ท่าน
1
เกณฑ์การคานวณกาไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดทางบการเงินสาหรับ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
1
40,000
43,000
2
กฎหมายศุลกากรและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร
1
40,000
43,000
3
สิทธิประโยชน์ศุลกากรภายใต้ AEC
1
40,000
43,000
4
สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอด อากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone)
1
40,000
43,000
5
กฎว่าด้วยถิน่ กาเนิดสินค้า (Rules of Origin)
1
40,000
43,000
6
พิธีการทางศุลกากรระบบใหม่และสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากรระบบอิเล็กทรอนิกส์
2
78,000
85,000
7
การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย ความผิด และการดาเนินคดีศุลกากร (Post Review Post Audit Investigation Audit)
1
47,000
50,000
8
การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ และ Incoterm®2010
1
45,000
48,000
9
ระบบการวางแผนจัดซื้อ
1
51,000
54,000
10
การบริหารการจัดซื้อ จัดเก็บ และจัดส่ง
1
45,000
48,000
11
เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า
1
45,000
48,000
และอีกหลากหลายหลักสูตร เพือ่ พัฒนาองค์กร และบุ คลากร • • • • • • • • •
หลักสูตรด้านบริหารการผลิต อาทิ 5ส TPM TQM Kaizen หลักสูตรด้านบัญชีและภาษี หลักสูตรด้านการนาเข้า-ส่งออก หลักสูตรด้านกฎหมาย อาทิ กฎหมายเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ หลักสูตรด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน หลักสูตรด้านบริหารจัดการองค์กร (Management) หลักสูตรด้านการบริหารทรัพยากรบุ คคล (Manpower) หลักสูตรด้านการตลาด (Marketing) ฯลฯ
ตารางสัมมนาประจ�ำเดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561 วันสัมมนา
ชื่อหลักสูตร
สถานที่จัด
วิทยากร
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 3/2561 การใช้สทิ ธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 3/2561 วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 5/2561 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ ได้รับการส่ง เสริมการลงทุน ครั้งที่ 9/2561 วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 6/2561 (รับวุฒิบัตร) วิ ธี ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ กิ จ การที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 9/2561 ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบ และแนวทางปฏิบัติส�ำหรับผู้จัดท�ำบัญชีของกิจการที่ได้รับส่งเสริมการ ลงทุน ครั้งที่ 5/2561 (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) วิ ธี ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ วั ต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ กิ จ การที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 10/2561 วิ ธี ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ กิ จ การที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 10/2561
โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)
วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน
โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)
อัตราค่าสัมมนา สมาชิก
บุคคลทั่วไป
หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน 3 พ.ย. 2561 (09.00-12.00 น.) 4 พ.ย. 2561 (09.00-12.00 น.) 10 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 10 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 16-18 พ.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 24 พ.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 24-25 พ.ย. 2561 (09.00-17.30 น.) 15 ธ.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 22 ธ.ค. 2561 (09.00-17.00 น.)
โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)
วิทยากรจาก BOI
1,605
1,926
วิทยากรจาก BOI
1,605
1,926
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
3,210
3,745
5,350
6,420
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี
4,280
5,350
วิทยากรจาก BOI
3,210
3,745
วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน
2,675
3,745
วิทยากรจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
2,996
3,852
คุณธเนศ เครือโสภณ
3,745
4,815
วิทยากรจากกรมศุลกากร
5,350
6,206
ดร.อิทธิกร ข�ำเดช อาจารย์สมพร ไพสิน
5,029
5,885
คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี
3,210
4,280
วิทยากรจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
คุณเมธี แสงมณี
2,996
3,852
คุณก�ำพล กิจชระภูมิ
3,745
4,280
วิทยากรจากกรมศุลกากร
2,996
3,852
วิทยากรจากกรมศุลกากร
2,996
3,852
หลักสูตรการบริหารจัดการ 3 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 6 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 8 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 10-11 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 13-14 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 16 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 17 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 20 พ.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 23 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 24 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 25 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 28 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 29 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 30 พ.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 13 ธ.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 14 ธ.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 15 ธ.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 19 ธ.ค. 2561 (09.00-16.30 น.)
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ
โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)
การตีความกฎข้อบังคับเกีย่ วกับเลตเตอร์ออฟเครดิตเพือ่ การค�ำ้ ประกัน ในการค้าระหว่างประเทศ (INTERNATIONAL STANDBY PRACTICES 1998 (ISP 98))
โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)
พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน ฉบับปี 2017 INCOTERMS®2010 ข้อบังคับทางการค้าระหว่างประเทศ ทักษะส�ำคัญส�ำหรับผู้จัดการยุคใหม่ การน�ำเข้า-ส่งออกและสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรภายใต้กฎหมาย ศุลกากรฉบับใหม่ (e-Import-e-Export & e-Tax Incentive)
ข้อควรรู้เกี่ยวกับความผิดทางศุลกากรตามกฎหมายใหม่ 2560 ข้อผิดพลาดทางด้านบัญชีของกิจการที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD&CPA) การสร้างวัฒนธรรม Kaizen DNA กฎว่าด้วยถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Rule of Origin) สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอดอากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) ร่าง พ.ร.บ. “Transfer Pricing” การเตรียมความพร้อมและการป้องกัน กรณีถูกตรวจสอบ (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA) ขั้นตอนการขออนุญาตท�ำงานของชาวต่างชาติในประเทศไทย เจาะลึกการตีความ ISBP No.745E (INTERNATIONAL STANDARD BANKING PRACTICE) ส�ำหรับการตรวจเอกสารส่งออกและน�ำเข้า ภายใต้เลตเตอร์ออฟเครดิต การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศและ INCOTERMS®2010 เทคนิคการบริหารการผลิตส�ำหรับหัวหน้างาน การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การ อุทธรณ์ การประเมินอากร ความผิด และโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศลุ กากร เกณฑ์การค�ำนวณก�ำไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดท�ำ งบการเงินส�ำหรับกิจการที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่าง การขออนุมัติ CPD&CPA)
โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)
คุณเมธี แสงมณี
3,424
4,280
คุณวิรดา ยูวะเวส พ.ต.อ. หญิง นัฐวินุศ หัสดินทร ณ อยุธยา
2,996
3,852
โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)
ดร.อิทธิกร ข�ำเดช
3,210
4,280
โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
2,996
3,852
วิทยากรจากกรมศุลกากร
4,280
5,136
คุณวิชัย มากวัฒนสุข
2,996
3,852
โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)
คุณเมธี แสงมณี
2,996
3,852
วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน
1,605
2,675
วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน
1,605
2,675
วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน
1,070
1,070
วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน
1,605
2,675
วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน
1,605
2,675
วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน
1,070
1,070
หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT Online 25 พ.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 11 พ.ย. 2560 (09.00-17.00 น.) 12 พ.ย. 2560 (09.00-16.00 น.) 23 ธ.ค. 2561 (09.00 -17.00 น.) 16 ธ.ค. 2561 (09.00-17.00 น.) 17 ธ.ค. 25661 (09.00-16.00 น.)
วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักรด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (eMT Online) ครั้งที่ 9/2561 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (RMTS) ครั้งที่ 9/2561 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ IC Online System ครั้งที่ 9/2561 วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักรด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (eMT Online) ครั้งที่ 10/25661 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (RMTS) ครั้งที่ 10/2561 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ IC Online System ครั้งที่ 10/2561
ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)
หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจสมัครเข้าร่วมอบรม สามารถลงทะเบียนออนไลน์เพื่อส�ำรองที่นั่งได้ที่ http://icis.ic.or.th หรือผ่านทาง www.ic.or.th หากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ Call Center โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 โทรสาร 0 2936 1441-2