ICeNewsletter_November2019

Page 1

Vol.18 / November 2019 การตัดบัญชีวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น แบบไร้เอกสาร สาหรับผลิตภัณฑ์ที่นากลับ มาซ่ อมแซม (สูตรการผลิต Revision 0)

เมื่อ KM ผสาน AI ทาให้ธุรกิจไร้เทียมทาน (1)

เมืองอัจฉริยะ สไตล์ ทรู ดิจิทัล พาร์ค


“หากคุณจับต้นชนปลายไม่ถูก”

Single Window for

Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th

www.ic.or.th


04

เมืองอัจฉริยะสไตล์ “ทรู ดิจิทัล พาร์ค”

06 09 การตัดบัญชีวัตถุดิบและวัสดุจาเป็นแบบไร้เอกสาร สาหรับผลิตภัณฑ์ท่นี ากลับมาซ่ อมแซม (สูตรการผลิต Revision 0)

“BOI e-Services”

14

ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพ ท์ : 0 2936 1429 ต่อ 201 โทรสาร : 0 2936 1441 e-mail : icn@ic.or.th

16

เมื่อ KM ผสาน AI ทาให้ธุรกิจไร้เทียมทาน (1)

สมดุลความคิด (ลบ&บวก) สายกลางสู่ความสาเร็จ

ปั จจุ บันการผลักดันให้ประเทศไทยกลายเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart city) ถือเป็น ภารกิจหลักของภาครัฐ ได้มีการดาเนินการกระจายการพัฒนาไปยังจังหวัดที่เป็นศูนย์กลาง การท่องเที่ยวซึ่ งเป็นเป้ าหมายของการพัฒนาให้เป็นเมืองอัจฉริยะ เช่ น จังหวัดชลบุ รี และ ภูเก็ต เป็นต้น โดยแนวทางของการพัฒนาคือ การใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่ทันสมัยและชาญฉลาดในการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการและการบริหารจัดการเมือง ลดค่าใช้ จ่ายและการใช้ ทรัพยากรของเมืองและประชากรเป้ าหมาย มุ ่งเน้นการออกแบบที่ดี และการมีส่วนร่วมของภาคธุ รกิจและภาคประชาชนในการพัฒนาเมืองภายใต้แนวคิดการ พัฒนาเมืองน่าอยู ่เมืองทันสมัยให้ประชาชนในเมืองมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความสุขอย่างยัง่ ยืน นอกเหนือจากการพัฒนาจังหวัดท่องเที่ยวให้กลายเป็นเมืองอัจฉริยะแล้ว การสร้าง เมืองอัจฉริย ะในเขตเมืองหลวงก็เป็นอีกหนึ่งความท้าทายของทัง้ ภาครัฐและเอกชน โดย ปั จจุ บันมีการเปิ ดตัวอย่างเป็นทางการไปแล้ว คือ ทรู ดิจิทัล พาร์ค ซึ่ งเป็นเมืองอัจฉริยะ สาหรับคนทางานรุ ่นใหม่ในพืน้ ที่ใจกลางกรุ งที่มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมกับการผลิตคนพันธุ ์ ดิจิทัลอย่างมาก ด้วยการสร้างสรรค์และออกแบบอย่างลงตัวให้เป็นพืน้ ที่แบบ “One Roof, All Possibilities” (ที่เดียว ทุกความเป็นไปได้) ภายใต้แนวคิดการผสมผสานพืน้ ที่สาหรับ การทางานและพักผ่อนในที่เดีย วกัน มีทาเลที่ตัง้ ที่อยู ่ใกล้เมืองและระบบขนส่งสาธารณะ โดยมีจุดเด่นอยู ่ท่ี Innovation Space ซึ่งผู ้มาใช้ บริการสามารถเรียนรู้ สัมผัส และทดลอง เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆได้จากการแนะนาของวิทยากรและผู ้เชี่ ยวชาญจากบริษัทชัน้ นา นอกจากนี้ ทรู ดิจิทัล พาร์ค ยังถูกจัดให้เป็นพืน้ ที่นิคมอุ ตสาหกรรมด้านดิจิทัลที่ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุนจากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ อีกด้วย นับได้ว่าเมืองอัจฉริยะช่ วยเปิ ดโอกาสให้นักธุ รกิจรุ ่นใหม่สามารถก้าวข้ามขีดจากัดด้าน พืน้ ที่การทางาน อุ ปกรณ์อานวยความสะดวกต่างๆที่จาเป็น และเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่ทันสมัยเหมาะสมกับการดาเนินธุ รกิจ ถือเป็นความสาเร็จอีกก้าวหนึ่งของการผลักดันให้ เกิดเมืองอัจฉริย ะขึ้นในประเทศไทย อันเป็นการส่งเสริมให้เกิดธุ รกิจสตาร์ทอัพเพิ่มมากขึ้น และช่ วยกระตุ้นการสร้างบุ คลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านได้มากขึน้ อีกด้วย สมาคมสโมสรนักลงทุนพร้อมสนับสนุนการพัฒนาอุ ตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลทุก รูปแบบ เพื่อให้ประเทศไทยกลายเป็นฮับด้านอุ ตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล และผลักดันให้เกิด เมื องอั จฉริย ะทั่ว ทุ กพื้นที่ ข องประเทศ ด้ ว ยระบบการให้ บริ ก ารที่ ดี สะดวก และรวดเร็ ว ตลอด 24 ชั่วโมง ผ่านการให้บริการแบบออนไลน์ และบริการด้านหลักสูตรฝึ กอบรมและ สั ม มนาที่ ช่ วยสนั บ สนุ น สตาร์ ท อั พ และพั ฒ นาบุ คลากรให้ มี ค วามเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า น โดยผู ้ท่สี นใจสามารถดูรายละเอียดหลักสูตรและเลือกลงทะเบียนเพื่อสมัครร่วมสัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ี โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-209 หรือติดตามข้อมู ลต่างๆของสมาคมฯได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3

icn


เมืองอัจฉริยะสไตล์

ทรู ดิจิทัล พาร์ค มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล คื อ สิ่ ง ที่ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง กระแส ความรุ ่งเรืองและความเจริญเติบโตของประเทศ ยิ่งเมืองใด ประเทศใดมี เทคโนโลยีแ ละนวั ตกรรมดิจิทัล ที่ทันสมัยและ ขัน้ สูงมากเพียงใด ก็ยิ่งแสดงให้เห็นถึงความสมาร์ทของ ประเทศนัน้ (Smart Country) ได้อย่างชัดเจน ในหลายประเทศจึงพยายามกระตุ้นและผลักดันให้มี การพัฒนาบ้านเมืองให้กลายเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เป็ น สั ง คมแห่ ง เทคโนโลยี เ พื่ อ ต่ อ ยอดสู่ ก ารเป็ น ประเทศที่ มี เ ศรษฐกิ จ ยุ คดิ จิ ทั ล และประเทศไทยเราก็ ไ ม่ น้ อ ยหน้ า ในการผลั ก ดั น เพื่ อ ให้ เ กิ ด การส่ ง เสริ ม และ สนับสนุนให้เกิดเมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City ผ่าน มาตรการกระตุ้ น ของภาครั ฐ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ สร้ า ง บรรยากาศที่ เ อื้อ ต่ อ การสร้ า งและส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด ชุ มชน เทคโนโลยีและระบบนิเวศในการพัฒนาอุ ตสาหกรรมดิจิทัล ของไทย “ทรู ดิจิทัล พาร์ค” เป็ นหนึ่งในความสาเร็จของ แนวคิดเมืองอัจฉริยะที่เกิดขึ้นในประเทศไทยจากพืน้ ฐาน สาคัญคือ การมีผู้ประกอบการที่สามารถใช้ ประโยชน์จาก เทคโนโล ยี แ ละนวั ต กรรมต่ า งๆเข้ า ไปช่ วย บริ ห าร จั ด การเมื อ งให้ มี พื้น ที่ ส าหรั บ บ่ ม เพาะผู ้ ป ระกอบการ ยุ คใหม่ เป็นศูนย์รวมผู ้มีความรู้ทางเทคโนโลยีท่ีสามารถ พัฒนาสินค้าหรือบริการให้ตอบสนองต่อความต้องการ ผู ้บริโภคยุ ค 4.0 ได้ นับได้ว่าเป็นเมืองที่มีระบบนิเวศและ สภาพแวดล้ อ มที่ เ หมาะสมกั บ การผลิ ต คนพั น ธุ ์ ดิ จิ ทั ล อย่างแท้จริง

icn

4

เป็นที่น่าภาคภูมิใจว่า ทรู ดิจิทัล พาร์ค นับเป็น ศูนย์กลางด้านนวัตกรรมดิจิทัลแห่งแรกในประเทศไทยที่มี ขนาดใหญ่ ท่ี สุ ด ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ เป็ น โครงการที่ ส นั บ สนุ น นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของ ภาครัฐอย่างชัดเจน ภายใต้แนวทางการขับเคลื่อนประเทศ และสังคมไปในทิศทางของนวัตกรรมดิจิทัล อีกทัง้ ยังเป็น พืน้ ที่ให้ผู้คนสามารถรับรู้การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี ได้อย่างสะดวก เป็นแหล่งสร้างสรรค์นวัตกรรม อาชีพ หรื อ องค์ ค วามรู้ ใ หม่ ในฐานะ Tech Entrepreneur Campus ที่ ส ามารถตอบโจทย์ ใ ห้ กั บ ผู ้ ป ระกอบการ เทคโนโลยีและเป็นฮับทางด้านนวัตกรรมดิจิทัล โครงการนี้ ตั ้ง อยู ่ บ นถนนสุ ขุ ม วิ ท ใกล้ กั บ สถานี รถไฟฟ้ าปุ ณณวิถี ประกอบด้วยพืน้ ที่ 3 ส่วนหลัก คือ Work Space (พืน้ ที่เพื่อการสร้างสรรค์นวัตกรรมดิจิทัล) Lifestyle Space (พืน้ ที่ร้านค้าและร้านอาหาร) และ Living Space (ที่พักอาศัย) สร้างสรรค์ขึ้นภายใต้แนวคิด “One Roof, All Possibilities” (ที่เดียว ทุกความเป็นไปได้) เป็น การผสมผสานพืน้ ที่สาหรับการทางานและการพักผ่อนไว้ ในที่เดียวกันแวดล้อมด้วยระบบนิเวศครบวงจรในแนวคิด Open Innovation อีกทัง้ ยังเป็นศูนย์รวมบริษัทข้ามชาติ ยักษ์ ใหญ่ สตาร์ทอัพ ผู ้ประกอบการ นักลงทุน รวมถึง หน่วยงานภาครัฐ โดยพื้ น ที่ ภ ายในส่ ว นที่ เ ป็ น Work Space นั ้ น ประกอบไปด้วย 4 ส่วนหลักๆ ได้แก่ 1. Co-Working Space พื้ น ที่ ส าห รั บ ท าง า น พักผ่อน และจัดการอบรมสัมมนา 2. Office Space พืน้ ที่สานักงานให้เช่ า ห้องสาหรับ จัดประชุ มและกิจกรรม แพนทรี และโซนพักผ่อน


3. Innovation Space พื้นที่แสดงเทคโนโลยีและ นวัตกรรมใหม่ๆที่ผู้ใช้ งานสามารถสัมผัส ทดลอง และ เรียนรู้จากวิทยากรและบริษัทชัน้ นา 4. Event Space พืน้ ที่สาหรับจัดประชุ ม สัมมนา ศูนย์บริการทางธุ รกิจ ศูนย์บริการครบวงจรจากภาครัฐ และคาเฟ่ โครงการ ทรู ดิ จิ ทั ล พาร์ ค ถู กออกแบบมาให้ ตอบโจทย์ ส มาร์ ท ซิ ตี้ แ ละความยั่ ง ยื น รวมถึ ง เรื่ อ ง สิง่ แวดล้อม โดยเน้นให้ผู้มาใช้ บริการสามารถใช้ ชีวิตได้ทัง้ ภายในและภายนอกอาคาร มี ก ารพั ฒ นาพื้น ที่ ส่ ว น ไลฟ์ สไตล์ เพื่อให้คนรุ ่นใหม่มีพื้นที่สาหรับการใช้ ชีวิตทา กิจกรรมต่างๆได้ และการมีทาเลที่ตัง้ ที่อยู ่ ใกล้เมืองและ ระบบขนส่งสาธารณะ ตลอดจนการติดตัง้ อินเทอร์เน็ต ความเร็ว 1 GB จานวน 2 เส้น ภายในอาคารซึ่ งเป็นโครงสร้าง พืน้ ฐานที่ดีและสาคัญ ล้วนช่ วยเปิ ดโอกาสให้ผู้มาใช้ บริการ สามารถเข้าถึงนวัตกรรมได้สะดวกเพิ่มมากขึน้ ด้ า นการพั ฒ นาสภาพแวดล้ อ มให้ เ อื้อ ต่ อ การ สร้ า งชุ มชนดิ จิ ทั ล นั ้น ทรู ดิ จิ ทั ล พาร์ ค ได้ อ อกแบบ พืน้ ที่ให้ตรงกับความต้องการของผู ้ประกอบการรุ ่นใหม่ โดยสร้ า งสภาพแวดล้ อ มที่ เ หมาะสมกั บ การบ่ ม เพาะให้ พวกเขาเหล่านัน้ ได้เติบโตและพัฒนาธุ รกิจของตนไปสูก่ าร เป็นองค์กรขนาดใหญ่ นอกจากนี้ ภายในพืน้ ที่ยังมีบริษัท เทคโนโลยีขนาดใหญ่เข้ามาใช้ บริการ ด้วยความพร้อม ทางด้านเทคโนโลยี องค์ความรู้ และเงินทุน บริษัทเหล่านี้ จะเป็นผู ้สนับสนุนกลุ่มสตาร์ทอัพตัง้ แต่บ่มเพาะจนเติบโต เป็นบริษัทใหญ่ ได้

นอกจากจะสนั บ สนุ น ด้ า นเงิ น ทุ น แล้ ว บริ ษั ท ขนาดใหญ่ยังสามารถให้คาปรึกษาแก่สตาร์ทอัพได้อีก ด้วย อีกทัง้ ยังมีองค์กรภาครัฐที่มีบทบาทสาคัญในการ ขั บ เคลื่ อ นการสร้ า งผู ้ ป ระกอบการรุ ่ น ใหม่ เ ข้ า มาเปิ ด ให้ บ ริ การในพื้น ที่ เช่ น ส านั กงานนวั ต กรรมแห่ง ชาติ และสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (Depa) เป็นต้น จากการรวมตัวกันขององค์ประกอบทัง้ หมดที่กล่าวมา ข้างต้นจึงกลายเป็นระบบนิเวศที่เหมาะสาหรับขับเคลื่อน และสร้างโอกาสให้กับผู ้ประกอบการด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ของไทยให้เกิดขึน้ จนกลายเป็นชุ มชนคนดิจิทัลที่สามารถ ผลิตสตาร์ทอัพที่มีคุณภาพของประเทศไทย ส่งผลต่อ การเติบโตด้านเศรษฐกิจ การจ้างงาน และการสร้าง ธุ รกิจพืน้ ฐานของประเทศต่อไป

ทรู ดิจิทัล พาร์ค จัดเป็นพืน้ ที่นิคมอุ ตสาหกรรม ด้านดิจิทัลที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากสานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ นับเป็น โอกาสที่ดีสาหรับผู ้ประกอบการที่ได้รับการส่งเสริมการ ลงทุน เนื่องจากบีโอไอกาหนดไว้ว่า โครงการที่เข้ามา ตั ้ง ในพื้น ที่ นิ ค มอุ ตสาหกรรมด้ า นดิ จิ ทั ล จะได้ รั บ สิ ท ธิ ประโยชน์ ย กเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคลเพิ่ ม ขึ้ น อี ก 1 ปี จากที่โครงการได้รับเดิม ดังนัน้ หากบริษัทใดที่ได้รับการ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น จากบี โ อไอแล้ ว หากเข้ า มาตั ้ ง สถานประกอบการที่น่กี ็จะได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิม่ ขึน้ อีก 1 ปี จากที่ได้รับเดิม ผู ้ ป ระกอบการที่ ส นใจสามารถเข้ า เยี่ ย มชม ทรู ดิจิทัล พาร์ค หรือสอบถามได้ท่โี ทรศัพท์ 0-2090-4968 หรื อ เว็ บ ไซต์ : https://www.truedigitalpark.com, https://www.facebook.com/TrueDigitalPark ข้อมู ลจาก: https://www.boi.go.th/upload/ejournal/2019/05/index.html, https://travel.trueid.net/detail/yX91AaY5LpPX ภาพจาก: https://www.iurban.in.th/pr/truedigitalpark/ https://www.iphonemod.net/true-digital-park-now-open.html https://www.bangkokbiznews.com/recommended/detail/1492

5

icn



วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29

สมัครใช้ บริการ eMT

ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online

ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พมิ พ์ใน ระบบ eMT Online

สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร

ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร

BOI Approve 30 วัน 7 วัน

30-60 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

เป็นเรื่อง ติดต่อ...

ยุงยาก

IC

สา ห รั บ คุ ณ

บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านเครื่องจักร

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 314-315


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

กิ จ กรรมสมาชิ ก ครั้งที่ 4/2562

Supported by:

การใช้อัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ตาม พระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 50) พ.ศ.2562 < < สม า ค ม สโ ม สร นั ก ลงทุ น จั ด สั ม ม น า ฟ รี ส า ห รั บส ม า ชิ ก ครัง้ ที่ 4/2562 เรื่อง “การใช้ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ตามพระราชบั ญ ญั ติ แ ก้ ไ ขเพิ่ม เติ ม ประมวลรั ษ ฎากร (ฉบั บ ที่ 50) พ.ศ.2562” เมื่ อ วั น ที่ 30 กั น ยายน พ.ศ.2562 ณ ห้ อ งกิ น รี 1 โรงแรม อมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุ งเทพฯ เพื่อให้สมาชิกได้รับ ความรู้ แ ละความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ พระราชบั ญ ญั ติ แ ก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 50) พ.ศ.2562 ที่กาหนดให้กิจการที่มี ธุ รกรรมทางการเงิ น เป็ น เงิ น ตราต่ า งประเทศบางกรณี ส ามารถ เลื อ กใช้ ส กุ ล เงิ น ที่ ใ ช้ ใ นการด าเนิ น งานเป็ น สกุ ล เงิ น อื่ น นอกจาก เงินตราไทยได้ โดยมีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2562 การสั ม มนาครั ้ง นี้ สมาคมฯได้ รั บ เกี ย รติ จ าก คุ ณ สุ เ ทพ พงษ์พิทักษ์ วิทยากรผู ้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายภาษี อากร บรรยาย หั ว ข้ อ การสั ม มนา อาทิ Update การใช้ อั ต ราแลกเปลี่ ย นตาม พระราชบั ญ ญั ติ แ ก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ประมวลรั ษ ฎากร (ฉบั บ ที่ 50) พ.ศ.2562 การรั บมาหรื อ จ่า ยไปของเงิ น ตราต่ า งประเทศระหว่ า ง รอบบัญชี หลักเกณฑ์การคานวณทางภาษี กรณีบริษัทดาเนินงาน และบันทึกบัญชี โดยใช้ เงินสกุลต่างประเทศ การใช้ อัตราแลกเปลี่ยน ในการนาเข้า-ส่งออกสินค้า การคานวณกาไร-ขาดทุนจากอัตรา แลกเปลี่ยน การใช้อัตราแลกเปลี่ยนในการออกใบกากับภาษี ใบลดหนี้ ใบเพิ่ ม หนี้ ส าหรั บ การส่ ง ออกสิ น ค้ า และบริ ก าร การใช้ อั ต รา แลกเปลี่ยนสาหรับลงรายงานภาษี ซื้อภาษี ขาย กรณีศึกษาปั ญหา ภ า ษี เ กี่ ยว กั บอั ต ร า แ ลก เ ป ลี่ ย น เ งิ น ต ร า ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ต า ม พระราชบัญ ญั ติใ หม่ การใช้ อั ตราแลกเปลี่ ยนเมื่ อ มีก ารทา Swap, Option และ Forward และแนวทางปฏิ บัติ ใ นการขอคื น ภาษี ก รณี บริษัทใช้ สกุลเงินต่างประเทศ โอกาสนี้ วิท ยากรได้ตอบข้อซักถาม ต่ า งๆจากผู ้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาเพื่ อ ให้ ส ามารถน าไปใช้ เ ป็ น แนวทาง ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง สาหรั บ กิ จ กรรมต่ างๆของสมาคมฯที่น่ าสนใจ สามารถติ ด ตามได้ ที่ www.ic.or.th หรื อ Call Center โทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 700 icn 8


AI

เมื่อ KM ผสาน ทาให้ธุรกิจไร้เทียมทาน (1)

จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com

ในการท างานใดๆให้ เกิ ด ผลที่ ดี มี ค วามชาญฉลาด และทาให้เกิดความสามารถในการแข่งขันที่แท้จริงแล้ว ไม่ใช่ แค่การมีข้อมู ลดีๆ มีสารสนเทศมากๆ (​Data and Information) แบบนักวิเคราะห์ มีความรู้จากการศึ กษาค้นคว้าเรื่องราว เก่าๆ (Academic Knowledge) แบบนักวิชาการ หรือมี ความสามารถในการลงมือปฏิบัติ (Action) แบบคนงาน หรื อ ช่ างฝี มื อ เท่ า นั ้ น เพราะหากขาดซึ่ งการจั ด การ (Management) ที่ ดี ที่ จ ะท าให้ อ งค์ ป ระกอบต่ า งๆกั น นั ้น มาบู รณาการสร้างสรรค์ให้เกิดความรู้ที่ถูกต้องและตรงกับ วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ก็คงยากที่จะแข่งขันกับผู ้อื่นได้ การจั ดการมีความส าคัญ มากขึ้นในยุ คที่เทคโนโลยี ลื่ น ไหลและกระแสข้ อ มู ล ท่ ว มท้ น จนหลายคนแยกไม่ อ อก ด้วยซ้ าว่าสิ่งไหนดีมีประโยชน์หรือสิ่งไหนลวงทาให้เข้าใจผิด สิ่งที่องค์กรยุ คใหม่ต้องให้ความสาคัญคือ (1) การจัดการ เชิงกลยุ ทธ์ (Strategic Management) ที่จะช่ วยให้องค์กร สามารถปิ ดช่ องว่างระหว่างความสามารถที่เรามีในปั จจุ บัน กับวิสัยทัศน์ที่เราต้องการจะเป็นในอนาคต (2) การจัดการ ความรู้ (Knowledge Management) ที่ช่วยเพิ่มทักษะ ความสามารถให้กับคนในองค์กรได้พัฒนาตนเองให้พร้อม ที่จะรับกับงานใหม่ๆ (3) การจัดการเทคโนโลยี (Technology Management) การลงทุ น ในเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย อย่ า งไร ถึงจะเหมาะสมและสอดคล้องกับทิศทางที่องค์กรกาลังจะไป อะไรจาเป็นและคุ้มค่าสาหรับองค์กรในขณะที่เม็ดเงินสาหรับ ใช้มีอยู ่อย่างจากัด

KM แบบเดิ ม ถอยไป A I ขอร่ ว มแจมด้ ว ย Knowledge Management (KM) ไม่ ใช่ เรื่องใหม่ มี ก ารพู ดถึ ง และน ามาใช้ ในองค์ ก รมานานมากกว่ า 20 ปี แล้ ว เป็ นการจั ด การเพื่ อ เอื้ อ ให้ เ กิ ด ความรู้ ใ หม่ เป็นความพยายามที่จะนาความรู้ที่มีอยู ่และประสบการณ์ ต่ า งๆของบุ คลากรในองค์ ก รมาใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ แ ละ พั ฒ นานวั ต กรรมที่ จ ะท าให้ มี ค วามได้ เปรี ย บเหนื อ คู่ แ ข่ ง ทางธุ รกิ จ แต่ ดูเหมือ นว่ าองค์ กรในประเทศไทยที่ป ระสบ ความส าเร็ จ ด้ า นการก่ อ ให้ เ กิ ด วั ฒ นธรรมการเรี ย นรู้ แบ่ ง ปั น และใช้ ค วามรู้ นั น้ ในการสร้ า งสรรค์ สิ่งใหม่ ๆ ยั ง มี ไม่มากนัก อาจเรียกว่าน้อยมากก็ได้ จุ ดเริม่ ต้นของ KM ในฐานะที่เป็นหนึ่งในการจัดการ ที่มีอิทธิพลและส่งผลต่อความก้าวหน้าอย่างมากทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกาลังจะมีบทบาททางด้าน ธุ รกิ จ อย่ า งมากมายมหาศาลในยุ คนี้ ผู ้ ที่ มี คุ ณู ป การ ต่อพัฒนาการของ KM 3 ท่าน ได้แก่ • Peter Senge กู รู ด้ า นองค์ ก ารแห่ ง การเรี ย นรู้ เพื่อการแข่งขัน • Peter Drucker กู รู ผู้ เ ผยให้ เ ห็ น ถึ ง กุ ญ แจสู่ ความเติบโตขององค์กรในอนาคต และผลิตภาพ จะเพิม่ ขึน้ ได้โดยความรู้เป็นตัวนา • Prof. Ikujiro Nonaka ผู ้จุดประกายให้บุคลากร และองค์ ก รหั น มามุ ่ ง เน้ น การใช้ ป ระโยชน์ จ าก Tacit Knowledge (ความรู้ที่อยู ่ในตัวคน) และ Explicit Knowledge (ความรู้ที่อยู ่ในระบบ) 9

icn


จากปิ รามิ ด ของความรู้ (ดั ง ภาพสามเหลี่ ย มที่ มี ฐานล่างเป็นข้อ มู ล ระดับสูงขึ้นมาเป็นสารสนเทศ ระดับสู ง ขึ้น มาอี ก ขั น้ เป็ น ความรู้ และส่ ว นยอดปลายแหลมคมเป็ น ปั ญญา) ที่นาเสนอโดย American Productivity and Quality Center นัน้ ผู ้เขียนขอขยายความเพิ่มเติมถึง ความสัมพันธ์ของ 4 องค์ประกอบของปิ รามิดดังกล่าว ดังนี้

จากฐานล่ างที่ เป็นข้ อมู ล (Data) ส่ งผ่านกลายเป็ น ข่ า วสาร (Information) ด้ ว ยการสร้ า งความสั ม พั น ธ์ (Relations) ข อง ชุ ดข้ อมู ลผ่ า นก าร ส ร้ า งโ ม เดลท า ง คณิ ตศาสตร์ และสถิติ น าไปสู่ การพิ จารณาตั ดสิ นใจเพื่ อ การวางแผน พัฒนา และปรับปรุ งองค์กร โดยมี Pattern เป็นส่วนสาคัญในการวิเคราะห์ จากข่ า วสาร (Information) ต่ อ ยอดกลายเป็ น ความรู้ (Knowledge) ด้ ว ยการลงมื อ ปฏิ บั ติ (Action) ให้ เป็ นไปตามแผนที่ ก าหนดไว้ เพื่ อขยายโอกาสใหม่ๆ หรื อ ปรั บ ปรุ งแก้ ไ ขปั ญหาเดิ ม ที่ ผ่ า นมาขององค์ ก ร โดยมี Principle และ Procedure เป็นแนวทางในการดาเนินการ จากความรู้ (Knowledge) ในสถานการณ์ ต่ า งๆ ก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ ญา (Wisdom) ผ่ า นกระบวนการเรี ย นรู้ (Learning) ด้วยการทบทวนแผนงาน ขัน้ ตอนปฏิบัติ และผลลัพธ์ ทัง้ ข้ อผิ ด พลาดและผลสาเร็ จนั บ ครัง้ ไม่ ถ้ว น จนท าให้ เรา ค้นพบบางสิง่ ที่สามารถตอบคาถามทัว่ ไปได้แบบรู้แจ้งเห็นจริง ความรู้จะแผ่ขยายและกว้างไกลออกไปทัว่ ทัง้ องค์กร ได้ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดังสมการที่ว่า Knowledge = (People + Information) sharing เมื่อคนในองค์กรนาความรู้ ที่ มี ไ ปลงมื อ ปฏิ บั ติ ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลลั พ ธ์ แ ละความเข้ า ใจ ในสิง่ นัน้ แล้วนาเรื่องราวที่เกิดขึน้ มาแบ่งปั นให้ผู้อื่น ความรู้ จะแผ่ขยายกว้างไกลส่ งผลออกไปในวงกว้างมากแค่ ไหน ขึ้น อยู ่ กั บ ว่ า มี ก ารแลกเปลี่ ย น เรี ย นรู้ หรื อ แบ่ ง ปั น ให้ แ ก่ สังคมในวงกว้างบ่อยครัง้ มากน้อยแค่ ไหน ยิ่งให้ยิ่งได้ เพราะ ความรู้ที่เกิดขึน้ จะก่อให้เกิดความรู้ใหม่ๆจากการปฏิบัติของ ผู ้ค นในบริบ ทและสภาพแวดล้อ มที่ แตกต่า งกั นออกไปอี ก มากมาย icn 10

สาหรับ ความรู้ ที่มี อ ยู ่ใ นองค์ ก ร อาจจ าแนกได้ เป็ น 3 ระดับ ดังนี้ 1. ความรู้ ห ลั ก (Core Knowledge) เป็ นความรู้ ในระดั บพื้น ฐานที่ ทุกคนในองค์ก รต้ องการหรื อ ต้ อ งรู้ เช่ น ความรู้ เกี่ ย วกั บ องค์ ก ร ความรู้ ใ น งานและความรั บ ผิ ด ชอบ ความรู้ เ กี่ ย วกั บ ผลิตภัณฑ์ เป็นต้น 2. ความรู้ระดับก้าวหน้า (Advanced Knowledge) เป็นความรู้ที่ทาให้องค์กรไปสู่จุดของการแข่งขันได้ เป็นความรู้ที่ มีความเฉพาะเจาะจง ซึ่ งแตกต่า ง จากคู่แข่ง 3. ความรู้เชิงนวัตกรรม (Innovative Knowledge) เป็ น ความรู้ ใ หม่ ที่ ไ ม่ เ คยมี ใ ครคิ ด หรื อ รู้ ม าก่ อ น ซึ่ งจะท าให้ อ งค์ ก รเป็ นผู ้ น าทางการตลาด หรื อ กลา ยเป็ นผู ้ ส ร้ า ง กา ร เป ลี่ ยน แ ปลง ใน อุ ตสาหกรรมนัน้ ๆ เราจะสร้ า ง ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นากระบวนการ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ (Knowledge Sharing) ในรู ป แบบเดิ ม แล้ ว ต่ อ ยอดด้ ว ยเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล (Digital Technology) และข้อมู ลจานวนมาก (Big Data) ในโลกอินเทอร์เน็ต เพื่อ สร้ า งศัก ยภาพและความสามารถการแข่ ง ขั น ใหม่ ให้ แ ก่ องค์ ก รได้ อ ย่ างไร แล้ ว AI จะเข้ า มาเป็น ผู ้ เล่ น หน้ า ใหม่ ใน รู ป แบบไหน เป็น สิ่ง ที่ ผู้ บริ ห ารองค์ ก รต้ องช่ วยกัน คิ ด และ นามาใช้ KM แบบเดิ ม ถอยไป AI ขอมีส่ ว นร่ ว ม Community of Practice หรือ CoP เป็นหนึ่งใน กิ จ กรรมที่ ห ลายองค์ ก รที่ ส่ ง เสริ ม วั ฒ นธรรมการเรี ย นรู้ ผ่ า น แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ (K n o wl e dg e Management – KM) เพื่ อ ที่ จ ะท าให้ อ งค์ ก รสามารถ เก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่สัง่ สมอยู ่ในตัวบุ คลากร CoP ถูก นามาใช้ ในการดาเนินการรวบรวมจัดเก็บข้อมู ลความรู้ไว้ ในระบบที่พนักงานทุกคนสามารถเข้าถึง เรียนรู้ และนามา ปรับประยุ กต์ใช้ ในงานของตัวเอง ซึ่ งนอกจากจะช่ วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางานของพนักงานแล้วยังช่ วยเพิ่ม ความสามารถขององค์กรโดยรวมได้อีกด้วย


การเปิ ดพื้น ที่ แ ห่ ง การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ โ ดยการ จั ด หาหรื อ จั ด วางมุ มใดมุ มหนึ่ ง ในองค์ ก รส าหรั บ การ จัดกิจกรรม หรือนากิจกรรมดังกล่าวเข้าไปเป็นส่วนหนึ่ง ของงานประจา โดยหมุ นเวียนเปลี่ยนหัวข้อเรื่องพู ดคุยกัน ไปเรื่อยๆตามสถานการณ์และความต้องการของพนักงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ในโรงงานอุ ตสาหกรรมของประเทศญี่ ปุ่ น มี กิ จ กรรมนี้ ส อดแทรกอยู ่ แ ล้ ว ในพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น โดยหั วข้ อ หลั กของการพู ดคุย มั กเกี่ย วกั บ คุณ ภาพของ สิ น ค้ า ในกระบวนการผลิ ต เพราะถื อ ว่ า ฝ่ ายผลิ ต เป็ น หน่วยงานหลักในการสร้างคุณค่าให้แก่องค์กร อีกทัง้ เป็น แหล่งรวมของพนักงานจานวนมาก และมีหน่วยงานอื่นๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ ฝ่ ายซ่ อมบ ารุ งเครื่ อ งจั ก ร ฝ่ าย คลังสินค้าและขนส่ง ฝ่ ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ ายเทคนิค วิศวกรรม ฝ่ ายวางแผนการผลิต และฝ่ ายจัดซื้อ โดยทั่วไปในการเปลี่ยนกะการทางาน พนักงานใน กะเดิ ม ที่ ก าลั ง จะออกกะและพนั ก งานกลุ่ ม ใหม่ ท่ี ก าลั ง จะเข้ากะจะมีเวลาเหลื่อมกันอย่างน้อย 10-15 นาที สาหรับ การมาพบปะส่งถ่ายข้อมู ลระหว่างกัน เป็นการรับช่ วงต่อ และฝากให้สะสางงานบางอย่างที่อาจดาเนินการค้างอยู ่ ให้ แล้วเสร็จ ซึ่ งจะกระทากัน ณ บริเวณพืน้ ที่ปฏิบัติงานของ หน่วยผลิตนัน้ ๆ ในขณะที่หากประเด็นของการพู ดคุยเป็น หัวข้อใหญ่เกี่ยวกับเรื่องคุณภาพ อาทิ การตรวจพบของเสีย ในกระบวนการ การแจ้งเคลมสินค้าที่มีข้อบกพร่องจาก ลูกค้า จะมีพื้นที่ส่วนกลางสาหรับการพู ดคุยแลกเปลี่ย น ข้อมู ลเรื่องดังกล่าว โรงงานบางแห่งใช้ วิธีการสื่อสารผ่าน การจั ด เสี ย งตามสายให้ พ นั ก งานได้ ยิ น กั น ทั ้ง โรงงาน ผลลัพธ์ของการพู ดคุยนอกจากพนักงานในหน่วยงานจะ ได้อภิปรายแลกเปลี่ยนข้อมู ลเพื่อหาสาเหตุสาหรับแก้ไขหรือ ป้ องกันปั ญหาไม่ให้เกิดซ้ าแล้ว ผู ้ป ฏิบัติงานในหน่วยงาน อื่นๆยังได้รับทราบข้อสรุ ปผลของการหารือจากบอร์ดข่าว ในขณะที่ ใ นส่ ว นของส านั ก งานก็ อ าจจะมี ก ารจั ด ประชุ ม ให้พนักงานพู ดคุยกันในห้องเป็นหลัก ซึ่ งญี่ปุ่นเรียกพืน้ ที่ใน รูปแบบนีว้ ่า “บา (Ba)”

แต่ส ภาพการท างานในโลกปั จจุ บัน หลายองค์ก ร โดยเฉพาะธุ รกิจภาคบริการที่พนักงานหลายหน่วยงานต้อง นัง่ ทางานและประจาการหน้าจอคอมพิวเตอร์ การจะไปเข้า ร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จึงเป็นเรื่องที่ทาได้ยาก การ สื่อสารผ่านช่ องทางอินเทอร์เน็ตจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ ถู ก น ามาใช้ เนื่ อ งจากพนั ก งานคุ้ น เคยกั บ แพลตฟอร์ ม ดังกล่าวอยู ่แล้ว ตัวอย่างเช่ น แพลตฟอร์มของ Microsoft Office ที่ อ งค์ ก รทั่ ว ไปใช้ ง านกั น อยู ่ ปั จจุ บั น นอกจาก Microsoft Office ยั ง มีเครื่อ งมือ ใหม่ ๆ ที่ช่ วยในการสร้ า ง องค์กรแห่งการเรียนรู้ เช่ น SharePoint ที่ทาหน้าที่เสมือน Intranet ในองค์กร โดยผู ้ใช้ งานสามารถสร้างเพจกลาง ที่เป็น Portal Site ให้พนักงานทุกคนสามารถเข้ามาดูข้อมู ลได้ ในขณะเดี ย วกั น ก็ เปิ ดสิ ท ธิ ใ ห้ พ นั ก งานสามารถสร้ า งเพจ Team Site สาหรับพนักงานบางกลุ่มที่ทางานร่วมกัน เพื่อ ติดตามและเห็นภาพความก้าวหน้าของงานร่วมกันได้ จนไป ถึงการสร้างเพจแบบ Personal Site ที่เป็นหน้าเพจของ พนักงานเอง

นอกจากนี้ Microsoft ยั ง มี ซ อฟต์ แ วร์ ที่ ส่ ง เสริ ม การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และการสร้างสังคมออนไลน์ ภายในองค์กรในรู ปแบบระบบปิ ด โดยผู ้ใช้ งานไม่ต้องกังวล เช่ นเดี ยวกั บ การใช้ เครื่ อ งมื อ สาธารณะทั่ว ไป อาทิ Video ที่ทาหน้าที่เหมือน Youtube Yammer ที่ทาหน้าที่เหมือน facebook หรื อ แม้ แ ต่ ก ารสร้ า งแอปพลิ เ คชัน ง่ า ยๆได้ อย่างรวดเร็วผ่าน PowerApps การสร้าง Dashboard เพื่อ รายงานผลงานต่ า งๆผ่ า น Power BI และอี กหลากหลาย เครื่องมือ ดั งนัน้ ทั กษะที่เราคุ้น ชิ นกับ การใช้ งานสื่ อสังคม ออนไลน์ทัว่ ไปก็สามารถนามาปรับกับการใช้ เครื่องมือที่เป็น ระบบปิ ดในองค์กรที่เฉพาะคนในองค์กรเท่านัน้ จะสามารถ มองเห็นได้ 11

icn


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้แ บบพบปะเห็นหน้าในพื้น ที่ จริ ง (Physical Space) เมื่ อ ผสมผสานกั บ การใช้ พื้น ที่ เสมื อ นผ่ า นซอฟต์ แ วร์ ใหม่ ๆ ที่ ทั น สมั ย (Cyberspace) รวมถึ ง การจั ด เก็ บ องค์ ค วามรู้ ม ากมายไว้ ใ นระบบ ประกอบกับการที่องค์กรนา Machine Learning เข้ามา เรียนรู้ข้อมู ลเหล่านัน้ ด้วยประสิทธิภาพและความสามารถ ในการจดจ าแบบไม่ มี ขี ด จ ากั ด การเข้ า ถึ ง และดึ ง ข้ อ มู ล ออกมาใช้ ง านได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว การคิ ด วิ เ คราะห์ แ ละ ประมวลผลข้อมู ลจานวนมากได้ ในระยะเวลาอันสัน้ ส่งผล ให้ พ นั ก งานทุ ก คนสามารถน าข้ อ มู ล ความรู้ จ ากแหล่ ง ต่างๆทัง้ ภายในและภายนอกที่เก็บสะสมไว้ในระบบออกมา ใช้ ไ ด้อ ย่า งทั นท่ว งที เสมื อนมี ที่ป รึก ษาชัน้ เลิศ มาคอยให้ ค าแนะน า โดยมี เ ราเป็ น ผู ้ พิ จ ารณาตั ด สิ น ใจในขั น้ ตอน สุ ด ท้ า ย น อ ก จ า ก นี้ Machine Learning ยั ง มี ความสามารถในการคาดการณ์อนาคต สร้างทางเลือก ทางรอดบนพื้น ฐานของเหตุ แ ละผลผ่ า นตั ว แบบ (Data Model) ที่เราจัดวางไว้ คอยตรวจติดตามสิง่ ผิดปกติแทน เรา และแจ้ ง เตื อ น (Alert) เมื่ อ มี สั ญ ญาณบ่ ง ชี้ว่ า การ ด าเนิ น การของเราก าลั ง จะไปสู่ ห นทางที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความผิดพลาดได้

จากที่กล่าวมาข้างต้น Professor Nonaka ได้สรุ ป วงจรแห่ ง การเรี ย นรู้ ไ ว้ ใ นชื่ อ SECI Model ที่ แ สดงให้ เ ห็ น วงจรของการถ่ายโอนความรู้จากคนสู่คน (Socialization) จากคนสู่ เครื่ อ งจัก ร (Externalization) จากเครื่ อ งจั ก รสู่ เครื่ อ งจั ก รด้ ว ยกั น (Combination) และจากเครื่ อ งจั ก ร กลับไปสู่คนอีกครัง้ (Internalization) วนแบบนีไ้ ปเรื่อยๆ อย่างไม่มีที่สนิ ้ สุด เรียกกันว่า เกลียวความรู้ (Knowledge Spiral) เครื่องจักรหรือคอมพิวเตอร์ ในอดีตอาจถูกใช้ เป็น เพียงที่จัดเก็บและประมวลผลข้อมู ลบางอย่างตามที่ผู้ใช้ งาน กาหนดเท่านัน้ แต่ ในปั จจุ บันเครื่องจักรที่ว่าได้กลายมาเป็น AI ที่มีความสามารถในการเรียนรู้สงิ่ ใหม่ คิดพิจารณา และ คาดการณ์อนาคต ตลอดจนสร้างทางเลือกในการตัดสินใจ ได้ด้วย จึงไม่แปลกที่ต่อไปพวกเราจะมีเพื่อนร่วมงานเป็น AI มานั่งทางานอยู ่ข้างๆ อาจทาหน้าที่เป็นผู ้ช่วยแพทย์ใน โรงพยาบาล ผู ้ ช่ วยนิ ติ ก รในส านั ก งานทนายความ ผู ้ช่วยผู ้พิพากษาในศาล ผู ้ช่วยวิศวกรควบคุมงาน ผู ้ช่วย พนักงานขายและบริการในร้านค้าต่างๆ หรือแม้แต่ผู้ช่วย นาทางในการเดินทางในชีวิตประจาวัน การนา AI มาผสานในกระบวนการบริหารธุ รกิจ สามารถช่ วยให้องค์กรเติบโตท่ามกลางเศรษฐกิจยุ คดิจิทัล ได้อย่างไรอีกบ้าง ติดตามได้ ใน ICN ฉบับต่อไป

ภาพจาก : https://www.myhubintranet.com/what-is-knowledge-management/ https://catlintucker.com/2018/10/communities-of-practice/ http://www.thaismescenter.com/5-วิธีทางาน-สไตล์ญี่ปุ่ น-อยากรวย ต้องทาตาม/ https://www.thewindowsclub.com/add-yammer-page-to-microsoftteams-in-office-365 https://towardsdatascience.com/coding-deep-learning-forbeginners-types-of-machine-learning-b9e651e1ed9d

สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ ออนไลน์

เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th

icn 12

หลักสูตรบีโอไอ

หลักสูตรด้านศุลกากร

หลักสูตรการใช้งานระบบ IC

หลักสูตรการบริหารจัดการ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน

0 2 9 3 6 1 4 2 9 ต่ อ 2 0 5 - 2 0 9


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน

เตรียมเอกสารกาหนด วันนาเข้าครัง้ แรก / ขอรับ Username และ Password ระบบ IC Online (ภายใน 1 วันทาการ)

ตามมาตรา 36 (1), (2)

คีย์บัญชีรายการ วัตถุดบิ / เตรียม เอกสารการลงทะเบียน เข้าสู่ระบบ RMTS สมัครใช้ บริการ RMTS

ขออนุมัติ บัญชีรายการ วัตถุดบิ กับ BOI

คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดบิ คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต

คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดบิ

ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน

BOI Approve

30 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

ทาให้คุณ ติดต่อ...

IC

สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านวัตถุดิบ

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 310, 313

ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน


BOI

-Services

ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th

ในยุ คที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล มี อิ ท ธิ พ ลและส่ ง ผลต่ อ การพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมของโลก เพื่อปฏิรูปประเทศไทยสู่การเป็น ดิจิทัลไทยแลนด์ (Digital Thailand) ที่สามารถสร้างสรรค์ และใช้ ป ระโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทั ลได้อย่ างเต็ม ศักยภาพ รั ฐ บาลจึ ง ก าหนดนโยบายและแผนงานที่ ช่ วยผลั ก ดั น ให้มีการปรับเปลี่ยนหน่วยงานภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ในฐานะหน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ มี บ ทบาทในการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ได้ มี ก ารด าเนิ น การเพื่ อ ตอบสนองนโยบาย ของรัฐบาลให้สามารถนาเทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสมมาใช้ เพื่ อ รองรั บ การพั ฒ นาอุ ตสาหกรรมเป้ า หมาย ด้ ว ยการ ปรับเปลี่ยนการบริการให้เป็นรูปแบบการบริการออนไลน์มาก ยิ่ง ขึ้น เพื่ อ ยกระดับ ระบบบริ การทางอิ เ ล็ กทรอนิกส์ข อง ส านั ก งานฯให้ มี ค วามทั น สมั ย เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการ ท างาน และอ านวยความสะดวกให้ แ ก่ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารตาม นโยบายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงการสร้างความพึงพอใจ ให้กับนักลงทุนในการขอรับการส่งเสริมการลงทุนมากยิ่งขึน้

icn 14

ในช่ วงที่ผ่านมา บีโอไอได้เปิ ดให้บริการออนไลน์ ในหลายส่วนงาน ได้แก่ ระบบสนับสนุนงานส่งเสริม การลงทุน (e-Investment) ระบบการขอใช้ สิทธิและ ประโยชน์ ย กเว้ น ภาษี เงิ น ได้ นิ ติ บุ คคลผ่ า นระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Tax) ระบบอิเล็กทรอนิกส์สาหรับ งานสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ด้ า นเครื่ อ งจั ก ร (eMT) ระบบ อิเล็กทรอนิกส์สาหรับงานสิทธิประโยชน์ด้านวัตถุดิบ (RMTS) ระบบแจ้งผลการดาเนินการและความคืบหน้า โครงการ (e-Monitoring) ระบบตรวจสอบสถานภาพ เอกสารทางอินเทอร์เน็ต (Doc Tracking) ระบบ Single Window for Visa and Work Permit System ระบบค้นหาสิทธิและประโยชน์เบื้องต้น ระบบการขอ อนุ ญ าตถื อ กรรมสิ ท ธิ์ ท่ี ดิ น ออนไลน์ (e-Land) ระบบขยายเวลาน าเข้ า วั ต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ จ าเป็ น ต า ม ม า ต ร า 36 (Online) แ ล ะ ร ะ บ บ e-Mail แจ้งเตือนให้บริษัทรายงานการดาเนินการตามเงื่อนไข ของโครงการ นอกจากเหนื อ จากวั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ในการ อานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ บริการแล้ว ระบบต่างๆ ที่มีการเปิ ดให้บริการตามที่กล่าวมาข้างต้นยังมีหน้าที่ ในการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล จากกระบวนการท างาน เพื่ อ น าข้ อ มู ล เหล่ า นั ้น ไปสร้ า งนวั ต กรรมบริ ก ารให้ สามารถบริ ก ารตอบสนองต่ อ นั ก ลงทุ น ได้ ส ะดวก รวดเร็ ว แม่ น ย า และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพตรง ตาม ความต้องการของนักลงทุนยิ่งขึน้


จากที่กล่าวมาข้างต้น สมาคมฯเห็นถึงความสาคัญ ข อ งข้ อมู ล เ กี่ ย ว กั บ ร ะบ บ อ อน ไ ล น์ ต่ าง ๆที่ บี โ อ ไ อ เปิ ดให้บริการ (BOI e-Services) จึงจัดสัมมนาฟรีสมาชิก ครัง้ ที่ 5/2562 ในหัวข้อ “BOI e-Services” เพื่อให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และเปิ ดโอกาสให้สมาชิ กของสมาคมฯ ซึ่ งเป็นผู ้ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากบีโอไอได้ซกั ถาม ประเด็นปั ญหาที่เป็นข้อสงสัย เพื่อนาข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ ใน การปฏิบัติงานได้อย่า งถูกต้องตามหลั กเกณฑ์ วิ ธีการ และเงื่อนไขที่บีโอไอกาหนดไว้ โดยการสัมมนาจะจัดขึ้นใน วันพุ ธที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 เวลา 13.00-16.30 น. ณ ห้องแคทลียา 1 โรงแรม รามา การ์เด้นส์

ทั ้ง นี้ สมาชิ กสมาคมฯที่ ส นใจสมั ค รเข้ า ฟั ง การ บรรยายสามารถสมั ค รเข้ า ร่ ว มผ่ า นการลงทะเบี ย น ออนไลน์เพื่อสารองที่นั่งได้ท่ี http://icis.ic.or.th หรือ ผ่ า นทาง www.ic.or.th โดยสมาคมฯจะเริ่ ม เปิ ดให้ ลงทะเบี ย นเพื่ อ ส าร องที่ นั่ ง ไ ด้ ตั ้ ง แต่ วั น ที่ 5 -2 2 พฤศจิ กายน พ.ศ.2562 และขอสงวนสิ ท ธิ์ ใ นการปิ ด รับสมัครลงทะเบียนเมื่อจานวนผู ้สมัครเข้าร่วมสัมมนา ครบจ านว น สอบ ถามร าย ละเอี ย ด เพิ่ ม เติ ม ไ ด้ ท่ี แผนกลู ก ค้ า สั ม พั น ธ์ แ ละสื่ อ สารองค์ ก ร โทรศั พ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 202 (คุ ณ จุ ฑารั ต น์ ) ต่ อ 203 (คุณเบญจวรรณ) E-mail: cus_servive@ic.or.th, jutaratb@ic.or.th, benjawank@ic.or.th

ผ่ า นบริ ก าร 6 ระบบ

ที่มา: https://www.boi.go.th/upload/report/2561/index.html https://www.boi.go.th/index.php?page=boi_online_services_form&language=th

ภาพจาก: https://www.boi.go.th/un/boi_online_services_form https://www.youtube.com/watch?v=RsLWmHT7kcg

สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ

ส่วนสูญเสียวัตถุดิบ

ส มั ค ร

สาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน วันเสาร์ท่ี 16 พฤศจิกายน 2562 เวลา 09.00-12.00 น. โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

ออนไลน์

15 icn


สมดุลความคิด (ลบ บวก) สายกลางสู่ความสาเร็จ

SUCCESS

เส้าหลิน

หนึ่ ง ในคุ ณ สมบั ติ ข องผู ้ ท่ี จ ะประสบความส าเร็ จ ของหลายๆสานักมักกล่าวว่า... ต้องหมัน่ คิดบวก มองโลกในแง่ดี เต็มที่กับสิ่งที่ทา มัน่ ใจเสมอว่าฉันต้องทาได้ คุ ณ สมบั ติ ต่ า งๆข้ า งต้ น ล้ ว นถูก ต้ อ งส าหรั บ การ ที่ ใ ครสั ก คนจะไปสู่ เ ป้ า หมายที่ ตั ้ง ไว้ เปรี ย บได้ กั บ นั ก วิ่ ง มาราธอนชาวเคนยา วัย 34 ปี “อีลิอุด คิปโชเก้” ที่สร้าง ประวัติศาสตร์การวิ่งมาราธอนในโครงการ Ineos 1.59 Challenge ที่กรุ งเวียนนา ประเทศออสเตรีย อีลิอุ ด คิปโชเก้ ถือ เป็น นักวิ่งมาราธอนคนแรก ที่สามารถทาลายสถิติการวิ่งมาราธอนระยะทางไกล 26.2 ไมล์ หรือ 42.2 กิโลเมตร ภายในเวลาไม่ถึง 2 ชัว่ โมง ด้วยเวลา 1 ชัว่ โมง 59 นาที 40 วินาที ซึ่ งสถิติดังกล่าวสร้าง ความภาคภูมิใจให้แก่คิปโชเก้และทีมงานเป็นอย่างมาก

icn 16

กว่าเขาจะมาถึงวัน นี้ได้ ต้องผ่านอุ ปสรรคในการ ฝึ กฝนมามากมาย ไม่ว่าจะเป็นความท้อที่ถาโถมจากการ ฝึ กหนัก ผู ้คนดูถูกเหยีดหยามว่าไม่มีทางทาได้ บวกกับ ความตัง้ ใจที่มากเกินไปจนกลายเป็นความกดดัน แต่เขา โชคดี ท่ี สามารถค้ น หาหนทางที่ เหมาะสมให้แ ก่ ตนเองได้ และพบกับความสาเร็จในที่สุด หนทางที่ว่าเหมาะสมคืออะไร?

บางครั ้ ง ร่ า งกายก็ ต้ อ งการประจุ ลบ  ความสุข ตรงข้ามกับ ความทุกข์  ความสาเร็จ ตรงข้ามกับ ความล้มเหลว  คิดบวก ตรงข้ามกับ คิดลบ เปรียบดังประจุ ไฟฟ้ ายังมีขัว้ บวก-ขัว้ ลบ จึงจะเกิด เป็ นกระแสไฟฟ้ าที่ ส่องสว่ างให้ แก่ผู้ คน หากไม่ มีอย่ างใด อย่างหนึ่งเกิดขึน้ ย่อมส่งผลตรงข้าม นามาซึ่ งความมืดมิด… มนุษย์ก็เช่ นกัน… เมื่ อ เราหายใจเอาอากาศเข้ า ปอดสู่ ก ระแสเลื อ ด อากาศประจุ ไฟฟ้ าลบจะประกบอนุ มู ล อิ ส ระประจุ บวก จากการเผาผลาญร่างกาย ทาให้เป็นกลาง ซึ่ งนอกจาก จะช่ วยเพิ่ม ประสิ ทธิ ภาพระบบเผาผลาญของร่ างกาย ยังช่ วยล้างพิษและเสริมระบบภูมิคุ้มกัน ในทางตรงกันข้าม ที่ท่อี ากาศมีสัดส่วนประจุ ไฟฟ้ าลบ น้อยแต่มีประจุ บวกมาก เราจะรู้สึกเซง็ อ่อนล้า ปวดหัวง่าย หลายคนเกิดอาการภูมิแพ้ เพราะฝุ ่ นและมลภาวะต่างๆ ลอยฟุ ้ งอยู ่ในอากาศที่เราหายใจเข้าไป เดาได้ไม่ยากว่า เป็นสภาพอากาศในห้องปิ ดที่เปิ ดแต่เครื่องปรับอากาศ ทาให้อ ากาศระบายไม่ดี อากาศในเมือ งที่ มีการจราจร ติดขัดแออัด รวมถึงอากาศแห้งแล้งต่อเนื่องยาวนาน


การคิดลบจึงถือว่ามีประโยชน์อยู ่บ้างสาหรับการ ดาเนินชีวิต ไม่ว่าท่านจะเป็นนักวิ่ง นักธุ รกิจ นักศึ กษา พนั กงานบริ ษั ท เอกชน หรื อ ประชาชนทั่ว ไป ล้ ว นแล้ ว แต่ต้องดาเนินชีวิตอยู ่บนความระมัดระวัง คือ 1. ไม่มั่น ใจจนเกิ น ไป บางครั ้งการทาอะไรอย่า ง บ้ า บิ่ น หรื อ มุ ่ ง ท าอะไรเสี ย สุ ด โต่ ง โดยไม่ ส นใจ คาวิจารณ์หรือกระแสตอบรับ เป็นเหตุให้ ไม่ ได้ เตรีย มรั บ มือ กับ ปั ญหาที่ อาจจะเกิ ด ขึ้น อย่ า ง คาดไม่ ถึง เมื่ อผิ ด หวั งจากการที่ ไ ม่ สามารถ แก้ ไ ขปั ญ หาได้ ก็ จ ะเกิ ด อาการช้ าใจมากกว่ า คนอื่นเป็นพิเศษ ดังนัน้ เราจึงควรถ่อมตน ไม่มั่นใจ จนกลายเป็นอวดดี มีแผนสารอง และรับฟั ง ค าแนะนดี ๆ ที่ จ ะช่ วยให้ สิ่ ง ที่ เ ราก าลั ง ท าอยู ่ สมบู รณ์มากยิ่งขึน้ 2. รู้ ข้ อ จ ากั ด และก าลั ง ของตนเอง ไม่ รั บ ปาก ทาอะไรให้ ใครซะทุกเรื่อง เพราะกลัวการไม่เป็น ที่ ย อมรั บ ไม่ ท าเกิ น กาลั ง จนเพิ่ ม ทุ กข์ ให้กั บ ตนเอง ลองปฏิเสธให้เป็นเพื่อผลลัพธ์ท่ดี ีกว่า 3. คาดหวังให้น้อยลงสักนิด ยอมรับความจริง อย่างมีสติ เพราะถ้าเรามองทุกอย่างเป็นบวก เกิ น ไป อาจท าให้ ไ ม่ เ ข้ า ใจวิ ถี ข องธรรมชาติ ที่เกิดขึน้ 4. มองบางสิ่ ง ให้ เ ป็ น ลบเพื่ อ ผลลั พ ธ์ ท่ี ชัด ขึ้ น ซึ่ ง จะทาให้ เราสามารถรั บรู้ ถึง ปั ญ หาได้ อย่ า ง ถี่ ถ้ว น และมองเห็ น ปั ญ หาที่ อ าจเกิ ด ขึ้น ได้ ใ น อนาคตจากการคิด ล่ ว งหน้ า ในการวางแผน และการเตรียมรับมือ

FAQ 108

ก า ร คิ ด ล บ ใ น บ า ง ค รั ้ ง จ ะ ช่ ว ย ท า ใ ห้ เ กิ ด ความรอบคอบ ไม่ให้เกิดความพลัง้ พลาด แต่ก็ควรอยู ่ ในขอบเขตของการคิด ลบแบบไม่ หวาดระแวงจนเกิ นไป โดยให้ เ ริ่ ม ต้ น มองว่ า (1) ปั ญ หาและอุ ปสรรคเป็ น เรื่ อ ง ธรรมดา (2) มองมุ มบวกของปั ญ หาและอุ ปสรรคว่ า อาจมีข้อดีท่ีซ่อนอยู ่ เช่ น ถ้ามองปั ญหาอุ ปสรรคต่างๆ เป็นดัง่ หนามทุเรียน แต่เมื่อผ่าเปลือกทุเรียนสาเร็จย่อมได้ ลิม้ รสหวานของเนือ้ ทุเรียน เป็นต้น (3) ทาอะไรบางอย่าง ที่ส ร้ า งสรรค์ แ ละเกิ ด ประโยชน์ คื อ น าสิ่ ง ที่ ไ ด้จ ากการ มองลบมาท าการปรั บ ปรุ ง และวางแผนป้ อ งกั น ให้ เ กิ ด ปั ญหาอุ ปสรรคน้อยลง หรือไม่เกิดอีกเลย ลอง! ค้ น หาทางสายกลางในแบบฉบั บ ของท่ า น แล้วก้าวต่อไปให้ถึงเป้ าหมายที่ต้องการ ภาพจาก: https://www.matichon.co.th/sport/sportscoop/ news_1711106 https://www.smethailandclub.com/trick-3289id.html

คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น

แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น 17 icn


ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ

@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ

Add friends

IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย

ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !


ระบุประเภทเครื่องจั กรผิ ดในบัญชี รายชื่อเครื่องจัก ร

มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

Q : ในกรณีท่บี ริษัทขออนุมัติบัญชีรายการเครื่องจักรไปแล้ว เมื่อตรวจสอบภายหลังพบว่า บริษัท ใส่ประเภทเครื่องจักรบางรายการผิด บริษัทจะสามารถดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้องได้หรือไม่ และต้อง ดาเนินการอย่างไร (ตัวอย่างเช่ น SLOPE BARREL ตอนขออนุมัติบัญชีรายการเครื่องจักรระบุ ประเภทไว้ เ ป็ น “เครื่ อ งจั ก ร” แต่ ท่ี ถู ก ต้ อ ง SLOPE BARREL ต้ อ งระบุ ประเภทเป็ น “อะไหล่ เครื่องจักร”) A : กรณีต้องการแก้ไขให้ถูกต้อง หากบริษัทยังไม่ได้ใช้ สิทธิประโยชน์สั่งปล่อยเครื่องจักร (อะไหล่) รายการนั ้น ให้ ยื่ น ขอยกเลิ ก รายการเครื่ อ งจั ก รก่ อ น จากนั ้น ให้ ยื่ น ขออนุ มั ติ ใ หม่ ในบั ญ ชี รายการอะไหล่ แต่ ห ากใช้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ สั่ง ปล่ อ ยเครื่ อ งจั ก ร (อะไหล่ ) รายการนั ้น ไปแล้ ว จะยกเลิกรายการเครื่องจักรนัน้ ไม่ได้ และในกรณีนบี้ ริษัทจะยื่นขออนุมัติเป็นชื่ออะไหล่ ไม่ ได้ด้วย เนื่องจากระบบ eMT Online จะล็อกไม่ ให้บริษัทยื่นขอชื่ออะไหล่โดยใช้ชื่อที่ซ้ ากับชื่อเครื่องจักร ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

เราต้องไม่คดิ เอาเปรียบเขา คือเสียเปรียบนิดหน่อยไม่เป็นไร เราต้องการขายในระยะยาว ตรงนีล้ ่ะทีท่ าให้เราได้ ใจจากลูกค้าของเรา

คุณศุภลักษณ์ อัมพุ ช ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เดอะมอลล์ กรุ ๊ป จากัด ที่มา>> http://www.koratstartup.com/special-interview-ศุภลักษณ์-อัมพุ ช/ ภาพจาก>> https://www.tidkhao.com/ติดข่าวไทย/127228/

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก

www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 201 โทรสาร 0 2936 1441

icn 18


สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น บริ ก ารจั ด หลั ก สู ต ร

IN-HOUSE TRAINING  ประหยัดค่าใช้ จ่าย  ออกแบบเนือ้ หาเฉพาะองค์กร แนะนาหลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน ชื่อหลักสูตร

จานวน (วัน)

ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท)

25 ท่าน

35 ท่าน

1 ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

2 วิธีการขอเปิ ดดาเนินการ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

3 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

4 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1/2 วัน

23,000

25,000

5 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

หมายเหตุ : • อัตราค่าธรรมเนียมรวมค่าวิทยากร เอกสารการฝึ กอบรม ค่าเดินทาง และค่าดาเนินการ • ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิม่ 7% และค่าที่พัก (ถ้ามี) • อัตราค่าธรรมเนียมที่ระบุ ในเอกสาร เป็นอัตราประมาณการ ซึ่ ง อาจมีก ารเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ขึ้นอยู ่กับ รูปแบบการฝึ กอบรม จานวนผู ้เข้าอบรม ประเภทวันที่จัดงาน จานวนวัน พืน้ ที่จัดงาน รายละเอียดเพิ่มเติมของเนือ้ หา และอื่นๆ • สมาคมขอสงวนสิทธิห้ามบันทึกภาพและ/หรือเสียงในการอบรมทุกหลักสูตรทุกกรณี • ค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200%

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม  0 2936 1429 ต่อ 207 โทรสาร 0 2936 1441-2

website : www.ic.or.th

e-mail : is_inhouse@ic.or.th


แนะนาหลักสูตรด้านศุลกากร และอืน่ ๆ ชื่อหลักสูตร

จานวน (วัน)

ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท) 25 ท่าน

35 ท่าน

1

เกณฑ์การคานวณกาไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดทางบการเงินสาหรับ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

1

40,000

43,000

2

กฎหมายศุลกากรและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร

1

40,000

43,000

3

สิทธิประโยชน์ศุลกากรภายใต้ AEC

1

40,000

43,000

4

สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอด อากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone)

1

40,000

43,000

5

กฎว่าด้วยถิน่ กาเนิดสินค้า (Rules of Origin)

1

40,000

43,000

6

พิธีการทางศุลกากรระบบใหม่และสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากรระบบอิเล็กทรอนิกส์

2

78,000

85,000

7

การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุ ทรณ์การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศุลกากร

1

47,000

50,000

8

การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ และ Incoterm®2010

1

45,000

48,000

9

ระบบการวางแผนจัดซื้อ

1

51,000

54,000

10

การบริหารการจัดซื้อ จัดเก็บ และจัดส่ง

1

45,000

48,000

11

เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า

1

45,000

48,000

และอีกหลากหลายหลักสูตร เพือ่ พัฒนาองค์กร และบุ คลากร • • • • • • • • •

หลักสูตรด้านบริหารการผลิต อาทิ 5ส TPM TQM Kaizen หลักสูตรด้านบัญชีและภาษี หลักสูตรด้านการนาเข้า-ส่งออก หลักสูตรด้านกฎหมาย อาทิ กฎหมายเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ หลักสูตรด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน หลักสูตรด้านบริหารจัดการองค์กร (Management) หลักสูตรด้านการบริหารทรัพยากรบุ คคล (Manpower) หลักสูตรด้านการตลาด (Marketing) ฯลฯ


ตารางสัมมนาประจ�ำเดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562 น สัมวัมนา

ชื่อหลักสูตร

สถานที่จัด

วิทยากร

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

อัตราค่าสัมมนา สมาชิก

บุคคลทัว่ ไป

วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี

4,280

5,350

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)

วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน

5,350

6,420

วิทยากรจาก BOI

1,605

1,926

วิทยากรจาก BOI

1,605

1,926

วิทยากรจาก BOI วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

โรงแรม อไรซ์ โฮเต็ล ศรีราชา จังหวัดชลบุรี

วิทยากรจาก BOI วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

3,210

4,280

4,815

5,885

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณมุกดาวดี เทียนทอง

4,280

5,350

คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

4,280

5,350

วิทยากรจากกรมศุลกากร

2,996

3,852

ดร.วรกร แช่มเมืองปัก

4,280

5,350

วิทยากรจากกรมศุลกากร

5,350

6,206

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณเมธี แสงมณี

2,996

3,852

คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

4,280

5,350

คุณสว่าง รงคะศิริพันธ์

4,280

5,350

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

คุณเมธี แสงมณี

3,424

4,280

คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา คุณวิรดา ยูวะเวส พ.ต.อ. หญิง นัฐวินุศ หัสดินทร ณ อยุธยา วิทยากรจากกรมศุลกากร

4,280

5,350

2,996

3,852

หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน กรุงเทพ ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบและแนวทางปฏิบัติ 2-3 พ.ย. 2562 ส�ำหรับผู้จัดท�ำบัญชีของกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 5/2562 (อยู่ระหว่างการ (09.00-17.30 น.) ขออนุมัติ CPD&CPA) 8-10 พ.ย. 2562 วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน (09.00-17.00 น.) ครั้งที่ 6/2562 (รับวุฒิบัตร) 16 พ.ย. 2562 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบส�ำหรับกิจการที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (09.00-12.00 น.) ครั้งที่ 3/2562 17 พ.ย. 2562 การใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับกิจการ ที่ได้รับการส่งเสริม (09.00-12.00 น.) การลงทุน ครั้งที่ 3/2562 2 พ.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน 30 พ.ย. 2562 วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน (09.00-16.00 น.) ครั้งที่ 5/2562 30 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจ�ำเป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน 21 ธ.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน ชลบุรี 2 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 23-24 พ.ย. 2562 (09.00-17.00 น.)

วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนครั้งที่ 1/2562 (จังหวัดชลบุรี) ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบ และแนวทางปฏิบัติ ส�ำหรับ ผู้จัดท�ำบัญชีของกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนครั้งที่ 1/2562 (จังหวัดชลบุรี) (CPD & CPA)

โรงแรม อไรซ์ โฮเต็ล ศรีราชา จังหวัดชลบุรี

หลักสูตรการบริหารจัดการ 2 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 6 พ.ย. 2562 (09.00-16.30 น.) 7 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 9 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 13 พ.ย. 2562 (09.00-16.30 น.) 16-17 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 13 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 19 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 20 พ.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 21 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 22 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 23 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 26 พ.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 27 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 28 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 30 พ.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)

พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน ฉบับปี 2017 การวิเคราะห์ข้อมูลบัญชีการเงิน และแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจทางบัญชี ด้วย Dashboard ผ่าน Power BI Desktop (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA) การเขียนสัญญาจ้าง หนังสือเตือน หนังสือเลิกจ้าง การจ่ายค่าจ้างให้ถกู ต้องตามกฎหมาย แรงงาน สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอดอากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) เทคนิคการจัดเตรียมเอกสารรับ - จ่ายเงินให้สรรพากรยอมรับและถูกต้องตาม พ.ร.บ.การบัญชี (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA) การน�ำเข้า-ส่งออกและสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรภายใต้กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ (e-Import - e-Export e-Tax Incentive) INCOTERMS®2010 ข้อบังคับทางการค้าระหว่างประเทศ ข้อควรรู้เกี่ยวกับความผิดทางศุลกากรตามกฎหมายใหม่ 2560 ข้อผิดพลาดทางด้านบัญชีของกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขอ อนุมัติ CPD & CPA) เจาะลึกกฎหมายแรงงาน ประเด็นส�ำคัญที่ผู้บริหาร หัวหน้างานต้องรู้ภาคปฏิบัติจริงต้อง ท�ำอย่างไร การจัดการซัพพลายเชนด้วยลีน (Lean-Green & Profitable Through Supply Chain) กฎว่าด้วยถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Rule of Origin) พ.ร.บ. “Transfer Pricing” การเตรียมความพร้อมและการป้องกันกรณีถูกตรวจสอบ (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA) การจ่ายสวัสดิการอย่างไร!! ไม่ต้องน�ำไปค�ำนวณ ค่าชดเชยเมื่อเลิกจ้าง ไม่ต้องส่งสมทบ ประกันสังคม ขั้นตอนการขออนุญาตท�ำงานของชาวต่างชาติในประเทศไทย การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรกับเขตการค้าเสรี FTA ทุกความตกลง

14 ธ.ค. 2562 (09.00-17.00 น.)

จัดเต็มประเด็นส�ำคัญ!! การใช้สิทธิประโยชน์การน�ำเข้า - ส่งออกและพิธีการศุลกากร ส�ำหรับกิจการ ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI

17 ธ.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 17 ธ.ค. 2562 (09.00-16.30 น.) 21 ธ.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)

การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศ และ Incoterms®2010 เกณฑ์การค�ำนวณก�ำไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดท�ำงบการเงินส�ำหรับ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA) การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุทธรณ์การประเมิน อากร ความผิด และโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศุลกากร

3 พ.ย. 2562 (09.00 – 17.00 น.) 1 ธ.ค. 2562 (09.00 – 17.00 น.) 22 ธ.ค. 2562 (09.00 – 17.00 น.)

วิ ธี เ ตรี ย มข้ อ มู ล งานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ส� ำ หรั บ เครื่ อ งจั ก รด้ ว ยระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (eMT Online)

หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT online

วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับวัตถุดิบด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) วิ ธี เ ตรี ย มข้ อ มู ล งานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ส� ำ หรั บ เครื่ อ งจั ก รด้ ว ยระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (eMT online)

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)

3,210

4,280

คุณศุทธิกานต์ กริชไกรวรรณ คุณภาคภูมิ บูรณบุณย์

4,280

5,350

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

คุณเมธี แสงมณี

2,996

3,852

คุณวิชัย มากวัฒนสุข

2,996

3,852

วิทยากร จากสมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากร จากสมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากร จากสมาคมสโมสรนักลงทุน

2,140

3,210

2,675

3,745

2,140

3,210

หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจส�ำรองที่นั่งเข้าร่วมสัมมนาได้ที่ คุณวิลาสินี, คุณกาญจนา, คุณศิริรัตน์, คุณชาตรี แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205, 206, 207, 209 โทรสาร 0-2936-1441 E-mail : is-investor@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.