IC_eNewsletter_October2019

Page 1

Vol.18 / October 2019 ธุ รกิจยุ ค 4.0 VS. ความเสี่ยง จั ด การธุ รกิจ ด้ วยแนวคิด ใหม่ และเทคโนโลยี ทั น สมั ย (2)

เขตส่งเสริมกิจการพิเศษ ในพืน ้ ที่

EEC

เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

ภาพจาก: https://www.gennextbrands.com/


“มีปญ ั หาไม่รู้จะโทรปรึกษาใคร”

Single Window for

Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th

www.ic.or.th


04 07

เขตส่งเสริมกิจการพิเศษ ในพีน้ ที่เขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก: EEC

ธุ รกิจยุ ค 4.0 VS. ความเสี่ยง

14

ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพ ท์ : 0 2936 1429 ต่อ 201 โทรสาร : 0 2936 1441 e-mail : icn@ic.or.th

17

จัดการธุ รกิจด้วยแนวคิดใหม่ และเทคโนโลยีทนั สมัย (2)

วิถีนางงาม (สาเร็จได้) มากกว่าคาว่าพยายาม

การกระตุ้นและผลักดันให้เกิดการลงทุนในประเทศไทยเป็นภารกิจสาคัญของภาครัฐ ที่ตัง้ เป้ าให้มีการขยายฐานการลงทุน และฐานการผลิตที่สาคัญในประเทศ สร้างเศรษฐกิจ โดยรวมให้ เ ติ บ โต ช่ วยกระจายความเจริ ญ และรายได้ สู่ ชุ มชนส่ ง ผลให้ ป ระชาชนมี ชี วิ ต ความเป็นอยู ่ท่ดี ียิ่งขึน้ มาตรการหนึ่งที่หน่วยงานภาครัฐอย่างสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ ประกาศใช้เพื่อช่ วยกระตุ้นการลงทุน ได้แก่ ประกาศ กกท. ที่ 6/2561 ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2561 เรื่อง มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวัน ออก (EEC) หรือ มาตรการ EEC ใหม่ ท่ีมีก ารปรับ ในส่วนของพื้น ที่เป้ าหมาย กิ จการเป้ าหมาย เงื่อนไขและสิทธิประโยชน์ท่ีได้รับเพิ่มเติมจากมาตรการ EEC เดิมที่ประกาศใช้เมื่อปี 2560 กล่าวได้ว่ามาตรการ EEC ฉบับล่าสุดนีเ้ อือ้ ประโยชน์แก่ผู้ประกอบการเป็นอย่างมาก ทัง้ ด้านการกาหนดพืน้ ที่เขตเศรษฐกิจพิเศษที่เป็นการเฉพาะมากขึ้น โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ เขตส่ ง เสริ ม เพื่ อ กิ จ การพิ เ ศษ เขตส่ ง เสริ ม เพื่ อ กิ จ การอุ ตสาหกรรมเป้ า หมาย และนิ ค ม อุ ตสาหกรรมหรือเขตอุ ตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนที่อยู ่ใน 3 จังหวัด EEC นอกจากนี้ ยังให้ความสาคัญเกี่ยวกับการพัฒนาบุ คลากรไทยในด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอีกด้วย โดยผู ้ขอรับส่งเสริมการลงทุนตามสิทธิประโยชน์ภายใต้มาตรการ EEC นี้จะต้องมีแผนความร่วมมือเพื่อพัฒนาบุ คลากรด้านวิท ยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้ได้ตาม เกณฑ์ท่ีได้รับอนุมัติส่งเสริมฯ เช่ น จานวนบุ คลากรที่รับการฝึ กอาชี พในโครงการ เป็นต้น โดยต้ อ งด าเนิ น การให้ ได้ ต ามระยะเวลาที่ก าหนดไว้ ในมาตรการ ซึ่ งจะส่ง ผลให้ป ระเทศไทย มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้น สามารถ รองรับการเติบโตของอุ ตสาหกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้อย่างเพียงพอ ทัง้ นี้ผู้ประกอบการที่มีความประสงค์จะขอรับการส่งเสริมการลงทุนตามมาตรการ EEC ใหม่ จะต้องยื่นคาขอรับสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมพร้อมกับบันทึกข้อตกลง (MOU) หรือ สัญญาความร่วมมือเพื่อพัฒนาบุ คลากรภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2562 นี้ สมาคมสโมสรนักลงทุน พร้อมสนับสนุน ผู ้ป ระกอบการที่ขอรับส่งเสริม การลงทุน ตามมาตรการ EEC ใหม่ ซึ่งการดาเนินธุ รกิจจะช่ วยผลักดันให้เศรษฐกิจการลงทุนในประเทศ เติบโต สร้างบุ คลากรที่มีความสามารถและมีคุณภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมถึง บุ คลากรด้านอื่นๆโดยเฉพาะในกลุ่มอุ ตสาหกรรมเป้ าหมาย ด้วยระบบการให้บริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ วตลอด 24 ชัว่ โมง ผ่ า นการให้ บริ ก ารแบบออนไลน์ และบริ ก ารด้ า นหลั ก สู ต ร ฝึ กอบรมและสัม มนาที่ มี ก ารพั ฒ นาหลั ก สู ต รใหม่ ๆ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การพั ฒ นาบุ คลากร ในทุก สาขาวิชาชี พ โดยผู ้ท่ีส นใจสามารถดูร ายละเอียดหลักสู ต รและเลือ กลงทะเบีย นเพื่ อ สมัครร่วมสัม มนาได้ท าง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่ม เติม ได้ท่ี โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 หรือติดตามข้อมู ลต่างๆของสมาคมฯได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3

icn




วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29

สมัครใช้ บริการ eMT

ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online

ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พมิ พ์ใน ระบบ eMT Online

สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร

ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร

BOI Approve 30 วัน 7 วัน

30-60 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

เป็นเรื่อง ติดต่อ...

ยุงยาก

IC

สา ห รั บ คุ ณ

บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านเครื่องจักร

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 314-315


จัดการธุ รกิจ

ด้วยแนวคิดใหม่

เทคโนโลยีทันสมัย (2)

และ

จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com

แนวโน้ ม การเปลี่ ย นแปลงโลกทั ง้ 2 ด้ า นนั น้ ด้ า นที่ หนึ่ ง คื อ การเปลี่ ย นแปลงในอุ ปสงค์ ห รื อ ความต้ อ งการ ความรู้ ความสามารถใหม่ ในองค์ กร (Changes in the demand for talent) ประกอบด้วย (1) ระบบอัตโนมัติ (Automation) ในบทสรุ ปบอกว่า เกือบครึ่งหนึ่งของตาแหน่งงานในสหรัฐอเมริกาจะถูกแทนที่ ด้วยระบบอัตโนมัติในปี ค.ศ. 2050 ซึ่ งถ้าการคาดการณ์นี้ ถูกต้อง สาหรับประเทศที่พัฒนาแล้ว สิ่งนีค้ งเกิดขึน้ ในเวลา ที่ ไ ล่ เลี่ ย กั น หรื อ หลั ง จากนั น้ เล็ ก น้ อ ย แต่ ในประเทศก าลั ง พั ฒ นาคงเกิ ด ขึ้ น ล่ า ช้ าไปกว่ า เวลาที่ ค าดการณ์ ไ ว้ พอสมควร หากมองในแง่ดีแล้ว สาหรับประเทศไทยก็พอยัง มี เ วลาในการปรั บ ตั ว และรั บ มื อ กั บ การเปลี่ ย นแปลงด้ า น แรงงานอยู ่บ้าง แต่ในที่สุดก็คงหลีกเลี่ยงไม่ ได้ เพราะปั จจุ บัน มี สั ญ ญาณเตื อ นให้ เ ห็ น แล้ ว ในบางอุ ตสาหกรรม ทั ้ง ใน รูปแบบของแขนกลในโรงงาน หุ่นยนต์ที่เป็นรูปร่าง จนถึง AI ที่จับต้องไม่ ได้แต่มีการทางานเลียนแบบสมองคน (2) การวิเคราะห์ข้อมู ลขนาดใหญ่ (Big data and advanced analytics) มีการประมาณการว่าข้อมู ลจานวน 2.5 quintillion bytes (quintillion bytes เท่ า กั บ ล้า นล้ า นล้ า นไบท์ หรื อ 10 ยกก าลั ง 18) เกิ ด ขึ้น ทุ ก วั น เพราะทุ กคนในโลกใช้ อิ นเทอร์เน็ต เป็ น ช่ องทางหลั กในการ สื่ อ สารชี วิ ต ประจ าวั น แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ และท าธุ รกิ จ กล่าวได้ว่าถ้าเราอยากจะรู้ว่าใครหรือกลุ่มคนคิดอะไร สนใจ อะไร ต้องการอะไร และกาลังจะทาอะไร สามารถวิเคราะห์ ได้ จากข้อความ ภาพ และเสียงที่อยู ่ในโลกออนไลน์ การตาม ติดชีวิตลูกค้าจึงเกิดขึน้ ได้ง่ายมาก

(3) การเข้า ถึง ข้อ มู ล และการสร้ างสรรค์ ให้ เกิ ด ไอเดีย ใหม่ (Access to information and ideas) รายงาน ดังกล่าวคาดการณ์ว่าในปี ค.ศ. 2020 ประชากรโลก 7.6 พั น ล้ า นค นจ ะใช้ อุ ปกรณ์ พกพา ขน าดเล็ ก ( Smart devices) กว่า 11.6 พันล้านเครื่อง ในการเข้าถึงสิ่งต่างๆ ในโลกนี้ ปั จจุ บันการแจ้งเตือน การระบุ ตาแหน่ง และการ ตอบรับ สามารถทาได้ผ่านนาฬิ กาข้อมือ ในอนาคตปากกา ที่เราใช้ กระเป๋ าที่เราถือ สิ่งต่างๆที่ติดตัวเราหรือแวดล้อม ตัวเราในสถานที่ต่างๆก็สามารถจะสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์ กับเราได้อย่างน่าทึ่ง (4) ความเรียบง่ายภายใต้ความซับซ้ อนของโลก (Simplicity in complexity) ผลสารวจพบว่า ผู ้จัดการ หรือผู ้ บริหารในส่ วนต่ างๆขององค์กรต่างพู ดตรงกันว่ า ความซับซ้ อนของระบบและโครงสร้างขององค์กรกาลังเป็น ปั ญหา สร้างความเทอะทะ และทาให้สมรรถนะโดยรวมของ องค์กรตกต่าลง การทาสิ่งต่างๆให้สามารถใช้ งานได้ง่าย เหมือนกับที่เด็กเล็กๆสามารถใช้ สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตได้ แม้ ไม่รู้หนังสือ ไม่ต้องอ่านคู่มือการใช้ งาน การออกแบบ UI/UX (User interface / User experience) ของแอปพลิเคชัน (Application) ที่ผู้ใช้ งานเพียงแค่มองเห็นก็สามารถเรียนรู้ และเข้าใจ ใช้งานหรือทางานได้ในทันที เป็นความท้าทายใหม่ ในโลกธุ รกิจ (5) ความว่ อ งไวและการสร้ า งสิ่ ง ใหม่ (Agility and Innovation) การที่ต้องตอบสนองให้ทันกับความต้องการ ของลูกค้า แนวโน้มของตลาด และการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าอย่างมากในปั จจุ บัน ทาให้งานทาซ้ าที่เราคุ้นชินและทาอยู ่ทุกวันไม่ ใช่ เรื่องสาคัญ ที่พ นั ก งานจะต้ อ งใส่ ใจอี ก ต่ อ ไป แต่ ก ารประดิ ษ ฐ์คิ ด ค้ น สิง่ ใหม่กาลังกลายเป็นงานหลักที่ทุกคนต้องทามากขึน้ คาว่า “นวัตกรรม” จึงไม่ ใช่ เป็นแค่แฟชัน่ แต่เป็นความอยู ่รอด 7

icn


(6) กลยุ ทธ์ ใหม่ที่ สอดรับ กับ ความต้อ งการลู กค้ า (New customer strategies) ในรายงานระบุ ว่ า ผู ้ บ ริ โ ภค ร้อยละ 66 จาก 60 ประเทศยินดีและเต็มใจที่จ ะจ่ายให้กั บ สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ทาให้ผู้เขียนนึกถึง การรณรงค์งดใช้ถุงพลาสติกในบ้านเรา ซึ่ งที่ผ่านมามีความ พยายามหลายครั ้ง แต่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ผล แต่ ในครั ้ง นี้ ผู้ เ ขี ย น ค่อนข้างเชื่อมัน่ อย่างมาก เพราะหน่วยธุ รกิจมากมายขานรับ อีกทัง้ ผู ้บริโภคก็ตระหนักกับการรณรงค์ดังกล่าว เห็นได้จาก การที่ธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่และห้างสรรพสินค้าชัน้ นาต่าง ออกมาสนั บสนุ น บางแห่ งถึ งขั น้ ก าหนดเป็น นโยบายและมี เป้ าหมายชั ด เจนว่ า “งดให้ ถุ ง พลาสติ ก แบบ 100%” ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นสะท้อนให้เห็นถึงความยืดหยุ ่นในการ ปรั บ ตั ว ของภาคธุ รกิ จ ให้ ส อดรั บ กั บ สภาพแวดล้ อ มที่ เปลี่ยนแปลงไป การกาหนดแผนกลยุ ทธ์ทางธุ รกิจแบบยาวๆ ที่มองไกลออกไป 5-10 ปี แบบในอดีตคงไม่เหมาะสมอีกต่อไป แล้ว เพราะการวางแผนที่ยิ่งไกลความถูก ต้อ งยิ่ง น้อ ยลง กลยุ ทธ์ 1 ปี หรือ 2 ปี จึงมีความเป็นไปได้สูงและแม่นยากว่า ในรายงานดังกล่าวยังได้ ให้ข้อสรุ ปถึงแรงขับสาคัญ (The driving forces of change) ที่ ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การ ปฏิ วั ติ รู ป แบบและ วิ ธี ก ารท างา นขอ งอง ค์ ก ร ธุ รกิ จ ซึ่ งเชื่ อ มโยงกั บ แนวโน้ ม การเปลี่ ย นแปลงในด้ า นที่ ส อง อันได้แก่ ด้านของการเปลี่ยนแปลงในอุ ปทานหรือการจัดหา ให้มีความรู้ความสามารถใหม่ที่องค์กรต้องการ (Changes in the supply for talent) เป็นสิง่ ที่ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์ก รอิส ระต่า งๆของประเทศนั น้ ๆต้อ งหัน หน้ ามาท า ความเข้าใจให้ตรงกันเพื่อลงมือปฏิบัติให้สอดรับกัน ซึ่ งแรงขับ สาคัญประกอบด้วย 6 หัวข้อ ได้แก่ 1. ส่ ว นผสมของโครงสร้ า งประชากรที่ เ ปลี่ ย นไป (A new demographic mix) ในภูมิภาคเอเชีย ประเทศที่ได้ ชื่อว่าเข้าสู่สังคมผู ้สูงวัยอย่างเต็มตัวแล้วคือ ประเทศญี่ปุ่น จากสถานการณ์ ข าดแคลนแรงงานในระดั บ ปฏิ บั ติ ก าร ประกอบกั บ ค่ า แรงและค่ า ครองชี พ ที่ สู ง เป็ น ผลให้ ห ลาย ทศวรรษที่ ผ่ า นมา เกิ ด การย้ า ยฐานอุ ตสาหกรรมมายั ง ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อผนวกเข้ากับอัตราการ เกิดที่น้อยและผู ้สูงวัยจานวนมาก ทาให้ปัจจุ บันญี่ปุ่นขาด แคลนแรงงานอย่ า งหนั ก ถึ ง ขนาดต้ อ งออกนโยบายให้ ชาวต่างชาติสามารถเข้ามาทางานในประเทศได้ ไม่ว่าจะเป็น แรงงานในภาคเกษตรกรรมหรือ ภาคอุ ตสาหกรรม แม้ว่ า ญี่ปุ่นจะได้ชื่อว่าเป็นประเทศชัน้ นาที่มีการใช้ หุ่นยนต์และระบบ อัตโนมัติอย่างมากก็ตาม icn 8

2. การขาดแคลนทั ก ษะความสามารถใหม่ (Skill imbalances) สิ่ ง ที่ จ ะเป็ นปั ญหาของทั ้ง โลกในอนาคต นอกจากเรื่องการขาดแคลนแรงงานในเชิ งปริมาณซึ่ งอาจ คลี่คลายด้วยการนาระบบอัตโนมัติมาแทนที่แรงงานไร้ทักษะ ระดับล่าง แต่การขาดแคลนแรงงานคนรุ ่นใหม่ที่มีทักษะการ คิ ด วิ เ คราะห์ แ ละเชี่ ย วชาญในเทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ ต่ า งหาก ที่ ก าลั ง กลายเป็ น ปั ญ หาใหญ่ ข องทั ง้ โลก ส าหรั บ ประเทศ ที่ พั ฒ นาแล้ ว อย่ า ง สหรั ฐ อเมริ ก า ยุ โรป ญี่ ปุ่ น คงมี แรงดึงดูดแรงงานกลุ่มนีม้ ากพอสมควร แต่สาหรับประเทศ ที่กาลังพัฒนาเป็นเรื่องที่ยากมากที่จะหาบุ คลากร Talent เข้ามาเติมเต็มความต้องการ การฝึ กอบรมคนรุ ่นใหม่ด้วย STEM Education และฝึ กฝนทักษะผ่านการทาโครงงาน (Project-based learning) เป็นแนวทางที่ต้องดาเนินการ อย่างเร่งด่วน ยกตัวอย่างในประเทศไทย เช่ น ระบบ ECC Model ที่เน้นสร้างบุ คลากรตามความต้องการของบริษัท เมื่อเรียนจบแล้วสามารถเข้าทางานได้ทันที ระบบการศึ กษา แบบทวิภาคีที่เรียนภาคทฤษฎีในสถาบันการศึ กษาควบคู่กับ ฝึ กปฏิ บั ติใ นสถานประกอบการทุก ปี หรือ พนัก งานที่เพิ่ม ทักษะใหม่ๆผ่านระบบ Re-skill และ Up-skill program

3. การย้ายต าแหน่งภูมิรัฐ ศาสตร์และพลังอ านาจ ทางเศรษฐกิ จ (Shifting geopolitical and economic power) ภู มิ ภ าคเอเชี ย ก าลั ง กลายเป็ น หมุ ดหมายใหม่ ที่ ทุ ก ประเทศในโลกจั บ ตามองในแง่ ข องศั ก ยภาพและ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ที่ เ ติ บ โ ต สู ง ม า ก ขึ้ น อย่างต่อเนื่องจนขึน้ แท่นรับเหรียญรางวัลผงาดเทียบเคียง กับประเทศตะวันตกไปแล้ว อาทิ ประเทศจีน ญี่ปุ่น เกาหลี สิงคโปร์ อินเดีย และที่กาลังตามมาติดๆก็คือประเทศในกลุ่ม อาเซียน เพราะฉะนัน้ การค้าการแข่งขันจะยิง่ เข้มข้นขึน้ อย่าง มากในภู มิ ภ าคนี้ ใครคิ ด จะท าธุ รกิ จ อะไรก็ ต้ อ งค านึ ง ถึ ง เรื่องนีใ้ ห้ดี


4. ความแตกต่างหลากหลายและการหาประโยชน์ จากการรวมกลุ่มกัน (Diversity and inclusion) หมด ยุ คการทางานตามฟังก์ชนั่ ในแนวตัง้ (Silo) ที่แบ่งแยกกัน เ ป็ น แ ผ น ก / ฝ่ า ย ห า ก แ ต่ โ ล ก อ น า ค ต ต้ อ ง ก า ร ความสามารถที่ ห ลากหลายแบบร่ ว มด้ ว ยช่ วยกั น เพื่ อ สร้างสิง่ ใหม่ที่ไม่เคยทามาก่อน การรวมตัวกันของคนจาก ต่างแผนกต่างฝ่ ายจึงกลายเป็นคาตอบของการทางานใน ยุ คสมัยใหม่ คาว่า Cross-cultural และ Cross-functional alignment กลายเป็ นรู ป แบบของการท างานแบบใหม่ โครงสร้ า งองค์ ก รจะเป็ น แบบแบนราบ ชัน้ บั ง คั บ บั ญ ชา น้อย แต่เปิ ดโอกาสให้ทุกคนปล่อยของกันอย่างเต็มที่ 5. ความต้องการส่วนตนและการประกอบอาชีพ อิสระ (Individualism and Entrepreneurship) ในหลาย องค์กรแก้ไขปั ญหาที่คนรุ ่นใหม่ไม่อยากทางานกับองค์กร ใหญ่ ๆ แต่ อ ยากจะทาอะไรที่ ส ร้ า งสรรค์ แ ปลกใหม่ มี อิ ส ระ ทางความคิ ด ของตั ว เองมากขึ้ น ด้ ว ยการจั ด ให้ มี โครงสร้างองค์กรแบบผสมผสาน ส่งเสริมให้เกิด Startups ขึ้น ภายในโครงสร้ า งใหญ่ เสริ ม สร้ า งจิ ต วิ ญ ญาณการ ประกอบการ (Entrepreneurial spirit) โดยท าตั ว เป็ น เจ้ า มือ หลัก (Corporate venture capital) ในการให้ ทุ น สนับสนุนแทนการจ้างงานเป็นพนักงานประจา กลายเป็น แรงดึ ง ดู ด ส าคั ญ ที่ ท าให้ ค นรุ ่ น ใหม่ อ ยากท างานกั บ องค์กรใหญ่ 6. การอยู ่ดีมีสุขและมีเป้ าหมาย (Well-being and Purpose) นอกจากปรัชญาการท างานและการใช้ ชีวิ ตแบบ Work-Life balance ที่ได้รั บความนิยมในทศวรรษที่ ผ่านมา สิ่งที่กาลังตามมาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงในยุ คใหม่ก็คื อ Work-Life Integration ของคนยุ ค Startups ที่ได้ทาในสิ่ง ที่ตนเองหลงใหลและสิ่งนั น้ สามารถกลายเป็ นธุ รกิ จที่ สร้ าง รายได้ไปในตัว สาหรับคนยุ คนีค้ งไม่มีอะไรจะสร้างความสุขได้ เท่ากับบรรยากาศแบบนีอ้ ีกแล้ว

สิ่งที่จ ะเกิด ขึ้นกับ การเปลี่ยนแปลงใหม่ ในโลกยุ ค ปั จ จุ บั น จนถึ ง อนาคตนี้ จะเกิ ด ขึ้น ทั ง้ ฝั่ ง Demand และ Supply ซึ่ ง ไม่ มี ใ ครหลี ก หนี ไ ปได้ ความยื ด หยุ ่ น และการ ปรับตัวจึงน่าจะเป็นทางออกที่สาคัญสาหรับทุกคน

การทาธุ รกิจ (Business Cycle) ที่เริ่มต้นจาก คนหนึ่งคนที่มองเห็นโอกาสและพัฒนาขึ้นมาเป็นธุ รกิจ นับ ได้ ว่ า เป็ นผู ้ ป ระกอบการ (Entrepreneur) หรื อ ผู ้ ก่ อ ตั ้ ง (Founder) ที่ ก่ อ ร่ า งสร้ า งธุ รกิ จ นั ้น ๆขึ้ น มาด้ ว ยตั ว เอง มี รู ป แบบการด าเนิ น งานแบบค่ อ ยเป็ นค่ อ ยไป อาศั ย ระยะเวลานานกว่ า ธุ รกิ จ จะเป็ น รู ป เป็ นร่ า งจนสามารถ วางใจได้

ในทางวิชาการ รายละเอียดวงจรของการทาธุ รกิจ มักถูกระบุ ไว้ ในเอกสารที่เรียกว่า แผนธุ รกิจ หรือ Business plan ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย 4 องค์ ป ระกอบ คื อ (1) Business model รู ป แบบแนวทางการท าธุ รกิ จ (2) Investment model ความต้ อ งการเงิ น ทุ น เข้ า มาใช้ ใ นการลงทุ น ทาง ธุ รกิ จ (3) Operation model การเลื อกด าเนิ นการเพื่ อให้ เกิ ด สินค้าและบริการตามห่วงโซ่ คุณค่า (Value chain) ตัง้ แต่ การวิจัยพัฒนา การจัดหาและนาเข้าวัตถุดิบเพื่อนามาใช้ ในการผลิต การผลิต การจัดเก็บและกระจายสินค้า จนถึง การตลาดและการจั ด จ าหน่ า ย (4) Profit model การก าหนดราคาและการแบ่ ง สรรปั นส่ ว นก าไรกั บ คู่ ค้ า แ ล ะ ช่ อ ง ท า ง ก า ร จั ด จ า ห น่ า ย ที่ ไ ด้ ค า ด ห วั ง ไ ว้ การประมาณการรายได้ รายจ่าย และผลกาไรที่จะเกิดขึ้น ในแต่ละปี เพื่อวิเคราะห์ความน่าสนใจของผลตอบแทนว่า มากพอสาหรับการลงทุนหรือไม่ (Return on investment) และจะใช้เวลากี่ปีในการคืนทุน (Payback period) สิ่ ง ที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น คื อ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้น บนกระดาษ (On paper) แต่ ในการท าธุ รกิ จ จริง ผู ้ป ระกอบการต้ อ ง เผชิ ญกั บปั ญหา อุ ปสรรค และสิ่งที่ เกิดขึ้น แบบไม่ คาดคิ ด เสมอ ซึ่ งต้องใช้ ฝีมือและความทุ่มเทเพื่อที่จะฝ่ าฟั นไปให้ได้ การด าเนิ น ธุ รกิ จ ในอดี ต ต้ อ งใช้ เวลานานกว่ า จะสามารถ เติ บ โตได้ อ ย่ า งมั่ น คง ธุ รกิ จ ที่ เ ติ บ ใหญ่ จ นกลายเป็ น อาณาจั ก รทุ ก วั น นี้ล้ ว นแล้ ว แต่ เริ่ ม ต้ น จากการท าธุ รกิ จ ขนาดเล็กมาแล้วแทบทัง้ สิน้ คาว่า SMEs จึงเป็นเหมือนจุ ดเริ่มต้น ของผู ้ประกอบการทุกรายที่กว่าจะขยายจนกลายเป็นบริษัท ขนาดใหญ่ ได้ต้องใช้เวลาทัง้ ชีวิตหรือข้ามรุ ่นกันทีเดียว มี ค นเปรี ย บความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ของ SMEs ที่ ใ ช้ เวลานานหลายสิ บปี ว่า มีแนวทางการเติ บโตแบบ 4S คื อ (1) Start (2) Strong (3) Survive และ (4) Sustain 9

icn


(1) ระยะเริม่ ต้น (Start) เป็นช่ วงเวลาที่ยากลาบาก อย่างมากสาหรับการดาเนินธุ รกิจ แทบทุกธุ รกิจเริ่มจาก ขนาดเล็ ก เนื่ อ งจากมี เ งิ น ทุ น น้ อ ย บริ ห ารงานแบบ ค่อยเป็นค่อยไป ใช้ เวลากว่าลูกค้าและตลาดจะรู้จักจนเกิด ความเชื่ อ มั่น ในการซื้ อ ซ้ าและบอกต่ อ เปรี ย บเที ย บแล้ ว ไม่ต่างจากเดือนแรกๆของการตัง้ ครรภ์ที่ต้องฟู มฟั กและ ระมัดระวังเป็นพิเศษ เงินทุนที่มีจากัดทาให้ไม่สามารถจะ เสี่ยงกับอะไรได้เลย จึงมักใช้ ระยะเวลา 1-3 ปี เป็นอย่างน้อย กว่าธุ รกิจจะเข้าที่เข้าทาง (2) ระยะแข็งแรงเติบโต (Strong) เมื่อธุ รกิจเริม่ เป็นที่ รู้จัก สินค้าและบริการเริ่มฮิ ตติดตลาด การขยายธุ รกิจจาก พื้นที่ ตลาดเล็ กๆแคบๆออกไปเพื่ อเพิ่มฐานลู กค้ าใหม่ ๆที่ จะ ก่อให้เกิดรายได้มากขึ้น จากการก้าวเดินเริ่มขยับปรับเป็นวิ่ง ในระยะเวลา 3-5 ปี อัตราการเติบโตของธุ รกิ จเป็นไปแบบ ก้ า วกระโดด ตั ว เลขผลประกอบการต่ อ ปี สู ง กว่ า เดิ ม หลายเท่าตัว

(3) ระยะโต้ ค ลื่ น เพื่ อ ความอยู ่ ร อด (Survive) ธุ รกิจจะอยู ่ ได้ยาวหรือสัน้ วัดกันที่ระยะนี้ และนับได้ว่าเป็น ช่ วงระยะเวลาที่ ย าวนานที่ สุ ด ของ SMEs ก่ อ นที่ บ าง องค์กรจะเติบโตกลายเป็นธุ รกิจขนาดใหญ่ หรือกลายเป็น ธุ รกิ จ ข้ า มชาติ ต่ อ ไป สภาพแวดล้ อ มที่ ผั น ผวนทาง เศรษฐกิจและการแข่งขันทางธุ รกิจที่ทวีความรุ นแรงมาก ขึ้นทุกปี เป็นตัววัดฝี มือในการบริหารงานของธุ รกิจนัน้ ได้ เป็นอย่างดีว่าจะได้ไปต่อหรือต้องม้วนเสื่อกลับบ้าน ธุ รกิจ ที่สามารถประคองตัวเองผ่านร้อนผ่านหนาวและยืนหยัด อยู ่ ได้ 10-30 ปี ขนึ้ ไปก็ถือว่ามีปีกกล้าขาแข็งพอสมควร (4) ร ะ ย ะ มั่ น ค ง เ ข้ ม แ ข็ ง ( Sustain) เ ศ ร ษ ฐี มหาเศรษฐี หรือเจ้าสัวรายใหญ่ ในประเทศไทยล้วนแล้วแต่ ฝ่ าฟั นและผ่านมรสุมน้อยใหญ่ ในแต่ละช่ วงเวลามาแล้ ว ทัง้ สิน้ ด้วยการทุ่มเทใช้ เวลาทัง้ ชีวิตตัง้ แต่วัยรุ ่นจนเข้าสู่ยุค สูงวัย มีเงินทุนสะสมพร้อมที่จะขยายขอบเขตทางธุ รกิจ ออกไปตามวิสัยทัศน์ของตน อีกทัง้ มีลูกหลานที่เป็นกาลัง สาคัญในการสืบสานธุ รกิจใหม่ๆ ผู ้สืบทอดที่มีการศึ กษา ที่ สู ง กว่ า มากและจ านวนไม่ น้ อ ยจบการศึ กษาจาก ต่างประเทศที่บ่มเพาะให้ มีหูตากว้างไกลจากการเห็นโลก กว้างใหญ่ ทาให้สามารถนาวิทยาการความก้าวหน้ามา ช่ วยพัฒนาให้ธุรกิจเดิมมีความทันสมัยมากขึน้ จึงไม่แปลก ที่ธุรกิจขนาดใหญ่จานวนไม่น้อยจะมีอายุ มากกว่า 50 ปี icn 10

ในขณะที่การประกอบธุ รกิจของคนรุ ่นใหม่ในยุ คนี้ ซึ่ งเป็นยุ คที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทช่ วยลดและตัดขัน้ ตอน ให้สัน้ และกระชับมากกว่าเดิม ยุ คที่ข้อมู ลข่าวสารช่ วยทาให้ ผู ้ ป ระกอบการเข้ า ใจพฤติ ก รรมของลู ก ค้ า และแนวโน้ ม ความต้องการของตลาดได้ง่ายมากขึ้น แนวคิดของธุ รกิจ ยุ คใหม่ที่ใช้ เทคโนโลยีแ ละข้อมู ลให้เกิดประโยชน์จึงแตกต่า ง จากแนวคิดของ SMEs ซึ่ งเป็นธุ รกิจรูปแบบเดิมเป็นอย่างมาก ข้อแตกต่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนที่สุดคือระยะเวลาที่ใช้ ในการ เติบโตของธุ รกิจที่สัน้ กว่ากันมาก ธุ รกิจยุ คใหม่ต้อง Start ให้ ไ ด้ ภ ายใน 1 ปี ต้ อ ง Strong ให้ ไ ด้ ภ ายใน 3 ปี ต้ อ ง Survive ให้ ไ ด้ ภ ายใน 5 ปี และต้ อ งรั ก ษาความยั่ ง ยื น Sustain ด้วยการเปลี่ยนแปลงตัวเองอยู ่ตลอดเวลา เพราะ หากไม่เปลี่ยน ไม่ปรับ ก็ไม่รอด

ธุ รกิจเกิดใหม่ ในยุ คนี้ที่เรียกว่า Startup จึงเป็น ธุ รกิ จ ขนาดเล็ ก แต่ มี พ ลั ง มหาศาลโดยอาศัย พลั ง อ านาจ ของ Technology ผ่านแนวคิดที่เรียกว่า 4V ประกอบด้วย (1) ขยายได้ไม่มีขีดจากัด (Volume) (2) พร้อมตอบสนอง ต่อ ความต้ อ งการที่ แ ตกต่ า งหลากหลายของลู ก ค้ า แต่ ล ะ กลุ่มย่อย (Variety) (3) รวดเร็วว่องไวตอบสนองได้ ในทันที (Velocity) และ (4) พร้อมเติมเต็มความต้องการใหม่ๆให้กับ ลูกค้าอยู ่เสมอ (Value) โดยไม่หยุ ดหรือยึดติดกับสินค้าและ บริ ก ารแบบเดิ ม ๆ ทุ ก วั น นี้ทุ ก องค์ ก รจึ ง ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย น กระบวนการบริหารรูปแบบเดิมด้วยการผสมผสานแนวคิด ใหม่ จะเห็ น ได้ จ ากองค์ ก รขนาดใหญ่ ห ลายรายลงทุ น สนับสนุน Tech Startups เพราะเล็งเห็นถึงความสาคัญของ บริบทที่เปลี่ยนแปลงซึ่ งส่งผลให้ต้องปรับรู ปแบบและวิธีการ ดาเนินธุ รกิจ ภาพจาก : https://www.educba.com/successful-entrepreneur/shorturl.at/syBM5 Https://adamfletcher.net/the-excitement-of-project-based-learning/ https://scottdylan.com/mental-health/searching-for-the-elusive-worklife-balance-here-are-4-ways-to-achieve-this/


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน

เตรียมเอกสารกาหนด วันนาเข้าครัง้ แรก / ขอรับ Username และ Password ระบบ IC Online (ภายใน 1 วันทาการ)

ตามมาตรา 36 (1), (2)

คีย์บัญชีรายการ วัตถุดบิ / เตรียม เอกสารการลงทะเบียน เข้าสู่ระบบ RMTS สมัครใช้ บริการ RMTS

ขออนุมัติ บัญชีรายการ วัตถุดบิ กับ BOI

คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดบิ คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต

คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดบิ

ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน

BOI Approve

30 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

ทาให้คุณ ติดต่อ...

IC

สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านวัตถุดิบ

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 310, 313

ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

จ.ชลบุรี สมำคมสโมสรนักลงทุนจัดสัมมนำ “จัดเต็มประเด็นสำคัญ !! กำรใช้สิทธิประโยชน์กำรนำเข้ำ -ส่งออก และพิธีกำรศุลกำกรสำหรับกิจกำรที่ได้รับกำรส่งเสริมกำรลงทุนจำก BOI” <<เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2562 สมาคมสโมสรนักลงทุน จัดสัมมนา เรื่อง “จัด เต็ม ประเด็น สาคัญ !! การใช้ สิท ธิ ประโยชน์ก ารน าเข้า -ส่ง ออก และพิธ ีก ารศุล กากร สาหรับกิจการที่ได้รับการส่ง เสริม การลงทุน จาก BOI” ณ โรงแรม อไรซ์ โฮเต็ล ศรีราชา จังหวัดชลบุ รี เพื่อให้ สมาชิ ก และผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารได้ รั บ ความรู้ แ ละความเข้ า ใจ เกี่ยวกับการใช้สิทธิประโยชน์การนาเข้า-ส่งออก และพิธีการ ศุลกากรสาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนจาก BOI โดยได้รับเกียรติจาก คุณภาคภูมิ บู รณบุ ณย์ นักวิชาการ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ช านาญการพิ เ ศษ ส านั ก งาน คณะกรรมการส่ง เสริ มการลงทุน และ คุ ณศุ ทธิ กานต์ กริ ช ไกรวรรณ ผู ้ อ านวยการศู น ย์ บ ริ ก ารศุ ล กากร เป็ นวิ ทยากรบรรยายในหัว ข้ อ ภาพรวมสิท ธิป ระโยชน์ ที่ได้รับจากบีโอไอ ข้อมู ลที่ต้องใช้ ในการตัดบัญชีวัตถุดิบ จากการส่ ง ออก การขยายเวลาน าเข้ า วั ต ถุ ดิ บ ตาม มาตรา 36 การดาเนินการชาระภาษี อากรวัตถุดิบ การ ปฏิ บั ติ เ มื่ อ สิ ้ น สุ ดสิ ท ธิ ป ระโยชน์ พ. ร.บ.ศุ ลกากร พ.ศ.2560 ที่สาคัญ ความรับผิดในการเสียอากรขาเข้าข า อ อ ก พิ ธี ก า ร ศุ ล ก า ก ร น า เ ข้ า -ส่ ง อ อ ก ท า ง อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ การน าข้ อ มู ล การน าเข้ า -ส่ ง ออกมาใช้ ประโยชน์ กฎหมายศุลกากรที่เกี่ยวข้องกับการโอนย้ายใน ประเทศ และข้อพึงระวังในการนาเข้ากับประเด็นที่น่าสนใจ ตลอดจนเปิ ดโอกาสให้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาได้ ซั ก ถาม กรณีปัญหาต่างๆ

สาหรั บ กิ จ กรรมต่ า งๆของสมาคมที่ น่ า สนใจ สามารถติ ด ตามได้ ที่ www.ic.or.th หรื อ Call Center โทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 700 icn 12


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

IC

Focus Group

สมำคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด กิ จ กรรม

ไขปัญหำระบบงำนสิทธิประโยชน์ด้ำนวัตถุดิบ สำนักงำนสำขำนครรำชสีมำ <<<เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2562 สมาคมสโมสรนักลงทุน จัด กิ จ กรรม “ไขปั ญ หาระบบงานสิท ธิป ระโยชน์ด ้า น วัต ถุด ิบ ” ณ ส านั ก งานสาขานครราชสี ม า เพื่ อ เป็ น การแลกเปลี่ยนข้อมู ล ความคิดเห็น และแนวทางแก้ไข ปั ญ หาการใช้ ง านระบบสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ด้ า นวั ต ถุ ดิ บ กั บ ผู ้ใช้ บริการ เพื่อให้สามารถใช้ งานระบบได้อย่างถูกต้อง กิ จ ก ร ร ม ค รั ้ ง นี้ คุ ณ บั ง อ ร ฐิ ต ะ ไ พ ศ า ล ผ ล ผู ้ อ านวย การศู น ย์ เ ศรษ ฐกิ จ การลงทุ น ภาคที่ 2 ให้เกียรติก ล่าวเปิ ดงานและต้อนรับ โดยมีวิ ทยากรจาก สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น บรรยายเนื้ อ หาพร้ อ มตอบ ข้อซักถาม รับฟังปั ญหา และข้อเสนอแนะ จากผู ้เข้าร่วม กิ จ กรรมเพื่ อ น าข้ อ มู ลที่ ไ ด้ รั บ ไปพั ฒ นาระบบงาน สิทธิประโยชน์ด้านวัตถุดิบของสมาคมฯต่อไป

สำนั ก งำนสำขำชลบุ รี << <เมื่ อวันที่ 12 กันยายน 2562 สมาคมสโมสรนั กลงทุ นจัดกิ จกรรม “ไขปั ญ หาระบบงานสิท ธิป ระโยชน์ด้า นวัตถุดิบ ” ณ สานักงานสาขา ชลบุ รี เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมู ล ความคิดเห็น และแนวทางแก้ไข ปั ญหาการใช้ งานระบบสิทธิประโยชน์ด้านวัตถุดิบกับผู ้ใช้ บริการ เพื่อให้ สามารถใช้ งานระบบได้อย่างถูกต้อง กิ จ กรรมครั ้ง นี้ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ ากวิ ท ยากรของสมาคมสโมสร นั ก ลงทุ น บรรยายเนื้ อ หาพร้ อ มตอบข้ อ ซั ก ถาม รั บ ฟั งปั ญหา และข้ อเสนอแนะ จากผู ้เ ข้ า ร่ว มกิ จ กรรมเพื่ อ น าไปพั ฒนาระบบงาน สมาคมฯต่อไป

สาหรั บ กิ จ กรรมต่ างๆของสมาคมที่ น่ า สนใจ สามารถติ ด ตามได้ ท่ี www.ic.or.th หรือ Call Center โทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 700 13 icn


ธุรกิจยุค 4.0 VS.

ความเสี่ยง ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th

การดาเนินงานของธุ รกิจยุ ค 4.0 ซึ่ งเป็นยุ คของ เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก ผู ้ประกอบการต้องเผชิ ญกับปั จจัย ความไม่ แ น่ น อนและซับ ซ้ อ นหลายประการ โดยเฉพาะ ความเสี่ยงอันสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนผ่านด้านดิจิทัล ที่ ส่ ง ผ ล ใ ห้ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ลู ก ค้ า เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง อย่า งไร้ข อบเขตและตลอดเวลาด้ วยพลังของเทคโนโลยี นั บ เป็ น ความท้ า ทายส าหรั บ ผู ้ บ ริ ห ารองค์ ก รอย่ า งมาก ในการน าพานาวาธุ รกิ จ ให้ ส ามารถก้ า วพ้ น วิ ธี คิ ด และ แบบแผนทางธุ รกิ จ แบบเดิ ม ๆเพื่ อ สร้ า งโอกาส และ ความอยู ่รอด การบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งจึ ง เข้ า มามี บ ทบาท ส าคั ญ ในการสนั บ สนุ น กระบวนการบริ ห ารจั ด การให้ องค์ ก รสามารถด าเนิ น งานได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งหรื อ เกิ ด ผลกร ะทบที่ องค์ ก รยอมรั บ ได้ ห ากเกิ ด เหตุ ก ารณ์ ความเสี่ยงขึ้น ด้วยการทาหน้าที่ติดตามความเสี่ยงต่างๆ ขององค์ ก รและส่ ง สั ญ ญาณเตื อ นภั ย ให้ ฝ่ ายบริ ห าร รับทราบล่วงหน้า เพื่อนาข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ เป็นแนวทาง ในการตั ด สิ น ใจแก้ ไ ขปั ญหาได้ ซึ่ งแนวทางการบริ ห าร จั ด ก า ร ค ว า ม เ สี ่ ย ง ที ่ จ ะ น า ม า ป ระ ยุ ก ต์ ใ ช้ นั ้น ต้ อ ง สอ ด คล้ อ ง กั บ โ ค รง ส ร้ าง แ ล ะวั ฒ น ธร ร ม อง ค์ ก ร เพื่ อ ก าหนดกลยุ ทธ์ อ งค์ กรที่ จ ะเพิ่ ม ความเชื่ อ มั่น ให้ กั บ ผู ้บริหารและสนับสนุนให้องค์กรบรรลุเป้ าหมาย

icn 14

ประเภทความเสี่ ย ง 1. ความเสี่ ย งทางกลยุ ทธ์ (Strategic Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการกาหนดแผนกลยุ ทธ์ และแผนด าเนิน งานที่ ถูกนาไปปฏิบั ติไ ม่เ หมาะสมหรื อ ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ ปั จจั ย ภายในและสภาพแวดล้ อ ม ภายนอก ส่งผลกระทบต่อการบรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจ ขององค์กร ซึ่ งแหล่งที่มาของความเสี่ยงทางกลยุ ทธ์ สามารถจาแนกได้ 2 ประเภท คือ ปั จจัยความเสี่ยง ภายนอก อาทิ สภาวะการแข่งขัน การเปลี่ยนแปลง นโยบาย กระแสสังคม การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ซึ่ งปั จจัยนีส้ ่งผลกระทบอย่างมากต่อการดาเนินธุ รกิจ ยุ ค 4.0 ส่วนปั จจัยความเสี่ยงภายใน คือ ปั จจัยภายใน ที่อ งค์ กรสามารถควบคุ ม ได้ แต่ ยั ง คงส่ ง ผลกระทบ หรือเป็นอุ ปสรรคต่อการดาเนินการตามแผนกลยุ ทธ์ เพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ าหมาย ได้ แ ก่ โครงสร้ า งองค์ ก ร กระบวนการและวิธีปฏิบัติงาน ความเพียงพอของ ข้อมู ล และเทคโนโลยีสนับสนุนการให้บริการ เป็นต้น


2. ความเสี่ ย งการด าเนิ น งาน (Operational Risk) คื อ ค ว า ม เ สี่ ย ง ที่ จ ะ เ กิ ด ค ว า ม เ สี ย ห า ย อั น เนื่ อ งมาจากการขาดการก ากั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี หรื อ ขาดธรรมาภิ บ าลในองค์ ก ร รวมถึ ง การขาดการ ควบคุมที่ดี แบ่งออกเป็น 2.1 ความเสี่ยงจากบุ คลากร (People Risk) เป็ น ความเสี่ ย งการปฏิ บั ติ ง านที่ เ กิ ด จากความล้ ม เหลว หรือความไม่เหมาะสมของบุ คลากร รวมถึงความสามารถ และจริยธรรมของบุ คลากร ซึ่ ง ส่งผลกระทบทางลบต่ อ การด าเนิ น งานหรื อ ฐานะทางการเงิ น ขององค์ ก ร ด้วยเหตุผลหลัก 3 ประการ คือ 2.1.1 บุ ค ล า ก ร ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง า น อ า จ มี ความสามารถไม่เพียงพอหรือมีความสามารถแต่ ไม่ตรง กับลักษณะของงาน (Incompetency) 2.1.2 บุ คล ากรภาย ในองค์ ก รทุ จ ริ ต (Fraud) เช่ น การปลอมแปลงเอกสาร 2.1.3 จานวนบุ คลากรไม่เพียงพอต่อการ ปฏิบัติงาน (Inadequacy)

2.3 ความเสี่ยงทางเทคโนโลยี (Technology Risk) เป็นความเสี่ยงที่เกิดจากระบบคอมพิวเตอร์ หรือ เครือข่ายสื่อสารขององค์กรเกิดความล้มเหลว ล้าสมัย และไม่มีประสิทธิภาพ ทาให้การดาเนินงานหยุ ดชะงักหรือ ไม่สามารถให้บริการได้ เช่ น ข้อมู ลไม่ถูกต้อง ข้อมู ลไม่มี ความปลอดภัยจากการโจรกรรม การไม่สามารถกู้ระบบ ได้ อ ย่ า งทั น ท่ ว งที เป็ น ต้ น ซึ่ ง ความเสี่ ย งประเภทนี้ ส่ ง ผลกระทบอย่ า งมี นั ย ยะส าคั ญ สู ง สุ ด ส าหรั บ การ ดาเนินธุ รกิจยุ ค 4.0 2.4 ความเสี่ ย งจากเหตุ ปั จจั ย ภายนอก (External) เกิ ด จากสาเหตุ ภ ายนอกองค์ ก รที่ ส่ ง ผล กระทบต่ อ การด าเนิ น งานหรื อ ฐานะทางการเงิ น ของ องค์ กร เช่ น การเปลี่ ย นแปลงกฎหมาย การจ้ า ง ผู ้บริการภายนอก และภัยธรรมชาติ เป็นต้น 3. ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจและการเงิน ทั ้ ง ใ น รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร ช ะ ล อ ตั ว ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบีย้ และ สภาพคล่องทางการเงิน 4. คว า มเ สี่ ย ง ด้ า น ป ฏิ บั ติ ต า ม กฎ ห มา ย / กฎระเบียบ (Compliance Risk) คือ ความเสี่ยงที่เกิด จากการไม่สามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องซึ่ งเป็นอุ ปสรรคการปฏิบัติงาน 5. ความเสี่ ย งทางธุ รกิ จ (Business Risk) เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงข้ อ ตกลงหรื อ สมมติ ฐ าน ทางธุ รกิ จ ที่มี ผ ลกระทบต่ อ ความสามารถการแข่ ง ขั น โดยเฉพาะความเสี่ยงในการลงทุน

2.2 ความเสี่ ย งในกระบวนการปฏิ บั ติ ง าน (Process Risk) เป็นความเสี่ยงที่เกิดจากความล้มเหลว หรือความไม่เหมาะสมของกระบวนการ แม้บุคลากรของ องค์กรจะเป็นผู ้มีความสามารถตรงลักษณะงาน ตัง้ ใจ ท างานด้ ว ยความขยั น หมั่ น เพี ย รและซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต แต่ความเสี่ยงอาจมีสาเหตุจากระบบการควบคุมภายใน ไม่ดีพอหรือไม่เหมาะสม (Internal Control Risk) เช่ น การแบ่งแยกหน้าที่การทางานไม่เหมาะสม กาหนดขอบเขต อานาจอนุมัตไิ ว้ ไม่ชดั เจน เป็นต้น

6. ความเสี่ ย งทางชื่ อ เสี ย ง ( Reputation Risk) เกิ ด จ า กก า ร ด าเ นิ นง า นที่ มี ผ ล กร ะ ทบ ต่ อ ภาพลักษณ์และชื่อเสียงองค์กร เช่ น การร้องเรียนเรื่อง คุณภาพสินค้า หรือการไม่ยอมรับของชุ มชน

15 icn


มาตรฐานการบริ ห ารความเสี่ย งระดับ สากล มาตรฐานการบริหารความเสี่ยงระดับสากลที่เป็นที่ รู้จักกันอย่างกว้างขวางในประเทศต่างๆที่องค์กรสามารถ เลือกเพื่อนามาประยุ กต์ใช้ ให้สอดคล้องกับโครงสร้างและ วัฒนธรรมองค์กร ได้แก่ 1. AAIRM กาหนดขึ้นโดย The AIRMIC, ALARM, IRM, (AAIRM), Standard 1 2. Australia and New Zealand Standard 4360 ที่เรียกว่า Risk Management System Standard (AS/NZ 4360) 3. M-o-R (Management of Risk : Guidance for Practitioners) 4. มาตรฐาน COSO สร้างมาตรฐานที่เป็นกรอบ แนวคิดของการบริหารความเสี่ยงทั่วทัง้ องค์กร (Enterprise Risk Management (ERM) Framework) 5. ISO 31000 6. Enterprise Risk Management: ERM ที่มา: http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.php? id=549&section=4&issues=26 https://www.matichonweekly.com/hotnews/ article_134272 http://web.kmutt.ac.th/internal\audit/Upload/ Standard01.doc ภาพจาก: https://blog.v-comply.com/unpredictable-risks-everybusiness-look/ https://www.pointabove.com/strategy/reputation-risk-jobapplicants/ https://www.ipvisie.com/blog/security/ceo-fraude

การที่องค์กรจะสามารถตัดสินใจเลือกใช้ มาตรฐาน การบริ ห ารความเสี่ ย งรู ป แบบใดมาใช้ ใ นการบริ ห าร จั ด การต้ อ งมี ค วามเข้ า ใจโครงสร้ า งและวั ฒ นธรรม องค์กรของตนเองอย่างถ่องแท้ รวมถึงความสัมพันธ์ ขององค์กรต่อสภาวะแวดล้อมภายนอก โดยเฉพาะยุ ค 4.0 ที่การเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยี ส่งผลกระทบ (Disruptive) ต่อกระบวนการดาเนินธุ รกิจ เป็นสาคัญ องค์กรในยุ ค 4.0 จึงไม่ควรมองข้ามจุ ดเปลี่ยน สาคัญทางเทคโนโลยี รวมถึงเป้ าหมายของการลงทุน พัฒนาภายใต้แนวคิดความสามารถในการปรับเปลี่ยนได้ อย่างรวดเร็วและเท่าทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลง อัน จะนาไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมทางธุ รกิจทัง้ สินค้า และบริการ ตลอดจนสร้างประสบการณ์ใหม่ๆที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าจนไม่อาจเปลี่ยนใจ ไปหาคู่แข่งได้ ผู ้ ส นใ จศึ กษาข้ อ มู ลร าย ล ะเอี ย ด เพิ่ ม เติ ม สามารถสมั ครเข้า ร่ วมสั มมนาหั ว ข้อ “กลยุ ทธ์ก าร จัด การความเสี่ ย งส าหรั บ ผู ้ ป ระกอบการยุ ค 4.0” จั ด โดยสมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น ในวั น อั ง คาร ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2562 เวลา 09.00-16.00 น. ณ โรงแรม บู เลอวาร์ด กรุ งเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โ ด ย ล ง ท ะ เ บี ย น อ อ น ไ ล น์ เ พื่ อ ส า ร อ ง ที่ นั่ ง ไ ด้ ที่ http://icis.ic.or.th หากต้องการสอบถามข้อมู ลเพิ่มเติม กรุ ณาติดต่อ คุณกาญจนา แผนกฝึ กอบรมและบริการ นักลงทุน โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 206

สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

กลยุ ทธ์ การจัดการความเสี่ยง สาหรับ

ผู ้ประกอบการ ยุค

วันอังคารที่ 29 ตุลาคม 2562 โรงแรม บู เลอวาร์ด กรุ งเทพฯ icn 16

4.0 ลงทะเบีย น อ อ น ไ ล น์


วิถีนางงาม (สาเร็จได้) มากกว่าคาว่า“พยายาม”

เส้าหลิน

หลากหลายเวที ก ารประกวดไม่ ว่ า จะเป็ น เวที ประกวดนางสาวไทย Miss Universe, Miss Thailand, Miss Grand ล้ ว นมี เ กณฑ์ ก ารตั ด สิ น ในการคั ด เลื อ ก อย่างเข้มข้น เพื่อให้เหลือสาวงามเพียงคนเดียวที่จะได้ มงกุฎนัน้ ไปครอบครอง ซึ่ งนางงามหลายคนอาจเคยมี ประสบการณ์ผ่านเวทีการประกวดมาบ้าง ซึ่ งผลที่ได้รับ มีทัง้ ผิดหวังและสมหวัง แต่สุดท้ายก็เลือกที่จะประกวด จนกว่าจะประสบความสาเร็จ เดสฮอนา บาร์เบอร์ (Deshauna Barber) เป็น ตั ว อย่ า งหนึ่ ง ของหญิ ง สาวที่ มี ค วามใฝ่ ฝั น อยากเป็ น นางงาม โดยเธอได้ผ่านเวทีการประกวดแล้วตกรอบมา ไม่ตา่ กว่า 5 ครัง้ แต่ไม่ละความพยายาม ยังคงเดินหน้า ประกวดจนได้ รั บ ต าแหน่ ง สาวงามสหรั ฐ อเมริ ก าหรื อ มิสยู เอสเอ ในปี 2016 นอกจากนี้ยังเป็นทหารหญิงและ นักวิเคราะห์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศประจากองทัพสหรัฐ อีกด้วย เช่ นเดี ยวกับ…ผู ้ ท่ีประสบความสาเร็จ ในทางธุ กิ จ หรือการดาเนินชี วิตที่พลาดมากี่ครัง้ ก็ยังลุกขึ้นสู้เสมอ อาทิ พ ล เ อ ก ฮ า ร์ แ ล น ด์ เ ด วิ ด แ ซ น เ ด อ ส์ เจ้าของแบรด์ KFC>> ถู ก ร้ า นอาหารปฏิ เ สธไม่ รั บ ไก่ ท อดไปขายกว่ า 1,009 ครัง้ คิคุโอะ อิเบะ เจ้าของแบรนด์ G-Shock>> เขวี้ ย งนาฬิ กาต้ น แบบออกจากหน้ า ต่ า งชัน้ 2 เพื่อทดสอบความแข็งแกร่งกว่า 300 ครัง้ ตลอด 3 ปี อีลอน มัสก์ เจ้าของแบรนด์ SPACEX>> จรวดระเบิด 3 ครัง้ บริษัทเกือบล้มละลายก่อนที่ จะนาดาวเทียมขึน้ อวกาศได้สาเร็จ

สิ่งที่ทาให้ผู้ประสบความสาเร็จเหล่านีไ้ ม่หยุ ดที่จะ ก้าวต่อ คือ ความพยายาม แต่แค่นนั ้ ! พอแล้วหรือ?

พยายามอย่า งมี ศิ ล ปะ (ในการใช้ ชีวิ ต ) หลายท่านคงบอกว่ า ได้พยายามแล้ว นะ มีการ วางเป้ าหมาย อดทน คิดบวก และตัง้ ใจสุดๆแล้ว ทาไม ยังเหมือนเดิม ซึ่ งหากพิจารณากันตามนิยามของคาว่า คว า มพ ย าย า ม คื อ ก าร ล งมื อ ท า … แม้ จ ะรู้ สึ ก ยากล าบาก… แม้ โ ดนผู ้ ค นดู ถู ก … แม้ จ ะผิ ด หวั ง ซ้ าๆ ซึ่ งความพยายามของคนที่มีโอกาสประสบความสาเร็จ ในชี วิตจะเป็นการกระทารู ปแบบหนึ่ง ที่ทาซ้ าๆ ไปเรื่อยๆ เช่ นกัน แต่จุดเด่นคือต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ เข้ามาช่ วยเพื่อพัฒนาต่อยอดอย่างมีศิลปะ ตั ว อย่ า งความพยายาม

17 icn


ศิ ล ปะในที่ นี้ คื อ ศิ ล ปะในการใช้ ชี วิ ต โดย “Ken Mogi” นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ด้ า นสมองชาวญี่ ปุ่ น ผู ้ เ ขี ย น หนั ง สื อ อิ คิ ไ ก (IKIGAI) ความหมายของการท างาน ความหมายของการมี ชี วิ ต อยู ่ ได้ ร ะบุ กฎ 10 ข้ อ ของ IKIGAI หรือ “ศิลปะในการใช้ ชีวิต” ดังนี้ 1. จงกระตื อ รื อ ร้น กั บ ชี วิ ต แบบไม่ มีวั น เกษี ย ณ (Stay active; don’t retire) เรี ย นรู้ แ ละตื่ น เต้ น กั บ สิ่ ง ใหม่ ๆ รั ก ในสิ่ ง ที่ ท า ท าในสิ่ ง ที่ ส าคั ญ และมี คุ ณ ค่ า ต่อชี วิต ทาหน้าที่ของตนเองให้ดีท่ีสุด ชื่ นชมกับสิ่งดีๆ รอบตัวอยู ่เสมอ 2. จงทาอะไรให้ช้าลง (Take it slow) เพื่อคิด ใคร่ครวญในสิ่งต่างๆก่อนลงมือทา ไม่กระตือรือร้นจน ลนลานแบบทาอะไรรีบๆโดยไม่ ได้มองภาพรวมในระยะยาว 3. จงอย่ า กิ น ให้ อิ่ ม เกิ น ไป (Don’t full your stomach) ใช้ กฎ 80% คือให้หยุ ดกินทันที เมื่อเริม่ รู้สึกอิม่ 4. จงแวดล้อมไปด้วยเพื่อนที่ดีๆ (Surrounding yourself with good friends) การได้ รั บ ฟั ง พู ดคุ ย แบ่งปั นทุกข์สุขกับเพื่อนๆ ให้คาแนะนาซึ่ งกันและกัน

5. จงฟิ ตร่างกายให้ดีเอาไว้ตอ้ นรับวันเกิดของเรา ในปี หน้า (Get in shape for your next birthday) ร่ า งกายของเราก็ ต้ อ งการได้ รั บ การดู แ ล บ ารุ งรั กษา การออกก าลั ง กายอย่ า งสม่ า เสมอจะท าให้ ร่ า งกาย แข็งแรง อ้างอิง:

เพจลงทุนแมน และหนังสือ “อิคิไก ความหมายของการมีชีวิตอยู ่” Ken Mogi ผู ้เขียน, คุณวุ ฒิชยั กฤษณะประกรกิจ ผู ้แปล ภาพจาก: http://bri.mcu.ac.th/?p=7350 https://missuniverse.in.th/gallery/centara#next http://www.sollabeauty.com/blog/27-ikigai

FAQ 108 icn 18

6. จงยิ้ม เข้า ไว้ (Smile) นอกจากจะท าให้ จิ ต ใจ ผ่อนคลายแล้ว ยังช่ วยทาให้มีเพื่อนเพิ่มขึน้ 7. จงเชื่ อมต่อกับธรรมชาติ (Reconnect with nature) การได้ท่องเที่ยวพักผ่อนตามแหล่งธรรมชาติ ต่างๆ จะช่ วยเพิ่มพลังงานให้ตัวเองอยู ่เสมอๆ เพราะเรา เป็นส่วนหนึ่งบนโลกใบนี้

8. จงขอบคุ ณ ในสิ่ ง ที่ เ รามี อ ยู ่ (Give thanks) และกตั ญญู ต่ อ บุ คคล จะท าให้ รู้ สึ กโชคดี ท่ี ไ ด้มี ชีวิ ต อยู ่ และจะยิ่งเพิ่มพู นความสุขให้เราในทุกๆวัน 9. จงอยู ่กับปั จจุ บันทุกขณะทุกเวลา (Live the moment) “วันนี้” และ “ขณะนี้” คือช่ วงเวลาที่ดีท่ีสุด จงใช้ มั น ให้ ดี ท่ี สุ ด ท าให้ เ ป็ น ช่ วงเวลาที่ มี คุ ณ ค่ า และ น่าจดจา 10. จงตามหา IKIGAI ของคุณ (Follow your IKIGAI) จงใช้ ชีวิ ต อย่ า งมี ค วามหมายในทุ ก ๆวั น และ ขับเคลื่อนชีวิตของเราไปข้างหน้าจนกว่าจะถึงวันสุดท้าย ของชีวิต จากกฎทั ้ ง 10 ข้ อ ข้ า งต้ น ถื อ เป็ นสิ่ ง ที่ ห นุ น ให้ ความพยายามของเรานัน้ ไม่ไร้ผล และค้นพบความสุข ในขณะที่ ไ ด้ ท า… ท่ า นพร้ อ มหรื อ ยั ง ที่ จ ะพยายามอี ก ไม่ ว่ าจะกี่ ครั ง้ เพื่ อ ให้ วิ ถีแห่ ง ความสาเร็ จนั น้ มาอยู ่ กับ ท่านอย่างถาวร

คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น


สิทธิประโยชน์เพิม่ เติมเพื่อพัฒนาพืน้ ที่อุตสาหกรรม

มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

Q : บริ ษั ท ได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ จ ากบี โ อไอตามมาตรา 27 มี ช าวต่ า งชาติ เ ป็ นเจ้ า ของ กรรมสิทธิ์ที่ดินซึ่ ง ตัง้ อยู ่ในนิคมอุ ตสาหกรรมดับบลิ วเอชเอตะวันออก (มาบตาพุ ด) จ.ระยอง ขอสอบถามว่า บริษัทจะได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม อีก 1 ปี หรือไม่ A : ตาม ประกาศ กกท. ที่ 2/2557 เรื่อง นโยบายและหลักเกณฑ์การส่งเสริมการลงทุน ข้อ 9.2.3 หากตัง้ สถานประกอบการในนิคมอุ ตสาหกรรมหรือเขตอุ ตสาหกรรมที่ได้รับ ส่งเสริม การลงทุน จะได้รั บยกเว้ นภาษี เ งินได้นิติ บุคคลเพิ่มขึ้นอี ก 1 ปี แต่ รวมแล้ ว ไม่ เ กิ น 8 ปี แต่ ต้ อ งไม่ เ ป็ นกิ จ การที่ มี เ งื่ อ นไขบั ง คั บ ต้ อ งตั ้ง ในนิ ค มอุ ตสาหกรรม และไม่เป็นกิจการที่มีเงื่อนไขไม่ ให้สิทธิประโยชน์เพิม่ เติมตามคุณค่าของโครงการ ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ให้หิวกระหายใคร่รู้อย่างต่อเนื่อง รู้จักอ่อนน้อมถ่อมตน รู้สถานะตนเองตลอดเวลา เพราะสิ่งนัน้ จะช่ วยเหนี่ยวรัง้ ไม่ ให้เรา หลงระเริงกับความสาเร็จเกินไปนัก

คุณอิทธิพัทธ์ กุลพงษ์วณิชย์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เถ้าแก่น้อย ฟู ๊ ดแอนด์มาร์เก็ตติง้ จากัด (มหาชน) ที่มา>> https://positioningmag.com/1152818 ภาพจาก>> https://www.marketingoops.com/news/biz-news/tkn-grow-ipo/

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก

www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 201 โทรสาร 0 2936 1441

icn 19


ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ

@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ

Add friends

IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย

ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !


สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น บริ ก ารจั ด หลั ก สู ต ร

IN-HOUSE TRAINING  ประหยัดค่าใช้ จ่าย  ออกแบบเนือ้ หาเฉพาะองค์กร แนะนาหลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน ชื่อหลักสูตร

จานวน (วัน)

ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท)

25 ท่าน

35 ท่าน

1 ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

2 วิธีการขอเปิ ดดาเนินการ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

3 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

4 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1/2 วัน

23,000

25,000

5 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน

1 วัน

32,000

35,000

หมายเหตุ : • อัตราค่าธรรมเนียมรวมค่าวิทยากร เอกสารการฝึ กอบรม ค่าเดินทาง และค่าดาเนินการ • ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิม่ 7% และค่าที่พัก (ถ้ามี) • อัตราค่าธรรมเนียมที่ระบุ ในเอกสาร เป็นอัตราประมาณการ ซึ่ ง อาจมีก ารเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ขึ้นอยู ่กับ รูปแบบการฝึ กอบรม จานวนผู ้เข้าอบรม ประเภทวันที่จัดงาน จานวนวัน พืน้ ที่จัดงาน รายละเอียดเพิ่มเติมของเนือ้ หา และอื่นๆ • สมาคมขอสงวนสิทธิห้ามบันทึกภาพและ/หรือเสียงในการอบรมทุกหลักสูตรทุกกรณี • ค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200%

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม  0 2936 1429 ต่อ 207 โทรสาร 0 2936 1441-2

website : www.ic.or.th

e-mail : is_inhouse@ic.or.th


แนะนาหลักสูตรด้านศุลกากร และอืน่ ๆ ชื่อหลักสูตร

จานวน (วัน)

ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท) 25 ท่าน

35 ท่าน

1

เกณฑ์การคานวณกาไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดทางบการเงินสาหรับ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

1

40,000

43,000

2

กฎหมายศุลกากรและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร

1

40,000

43,000

3

สิทธิประโยชน์ศุลกากรภายใต้ AEC

1

40,000

43,000

4

สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอด อากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone)

1

40,000

43,000

5

กฎว่าด้วยถิน่ กาเนิดสินค้า (Rules of Origin)

1

40,000

43,000

6

พิธีการทางศุลกากรระบบใหม่และสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากรระบบอิเล็กทรอนิกส์

2

78,000

85,000

7

การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุ ทรณ์การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศุลกากร

1

47,000

50,000

8

การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ และ Incoterm®2010

1

45,000

48,000

9

ระบบการวางแผนจัดซื้อ

1

51,000

54,000

10

การบริหารการจัดซื้อ จัดเก็บ และจัดส่ง

1

45,000

48,000

11

เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า

1

45,000

48,000

และอีกหลากหลายหลักสูตร เพือ่ พัฒนาองค์กร และบุ คลากร • • • • • • • • •

หลักสูตรด้านบริหารการผลิต อาทิ 5ส TPM TQM Kaizen หลักสูตรด้านบัญชีและภาษี หลักสูตรด้านการนาเข้า-ส่งออก หลักสูตรด้านกฎหมาย อาทิ กฎหมายเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ หลักสูตรด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน หลักสูตรด้านบริหารจัดการองค์กร (Management) หลักสูตรด้านการบริหารทรัพยากรบุ คคล (Manpower) หลักสูตรด้านการตลาด (Marketing) ฯลฯ


ตารางสัมมนาประจ�ำเดือน กันยายน – ตุลาคม 2562 วันสัมมนา

ชื่อหลักสูตร

สถานที่จัด

หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน 6-8 ก.ย.2562 (09.00-17.00 น.) 7 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)

14 ก.ย.2562 (09.00-12.00 น.) 14 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 25 ก.ย. 2562 (09.00-15.30 น.) 28 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 28 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 5 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 5 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 19 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 26 ต.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 9 ต.ค. 2562 (09.00-17.00 น.)

วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ ครั้งที่ 5/62 (รับวุฒิบัตร) (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับวัตถุดบิ และวัสดุจำ� เป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา การลงทุน (ถนนรัชดาภิเษก) แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ ของทีน่ ำ� เข้ามาเพือ่ ใช้ ในการวิจยั และพัฒนา รวมทัง้ การทดสอบทีเ่ กีย่ วข้อง (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) ตามมาตรา 30/1 ครั้งที่ 1/2562 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับ โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา การส่งเสริมการลงทุน (ถนนรัชดาภิเษก) All Executives Need to Know about BOI (English Version) เซ็นทารา แกรนด์ แอ็ท เซ็นทรัล พลาซ่า ลาดพร้าว ครั้งที่ 1/2562 กรุงเทพ (ถนนวิภาวดีรังสิต) วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ ครั้งที่ 4/2562 (ถนนสุขุมวิท 5) วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับวัตถุดบิ และวัสดุจำ� เป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ การลงทุนประเภทกิจการ IPO (International Procurement Office) และ (ถนนสุขุมวิท 5) กิจการ ITC (International Trading Centers) หลักเกณฑ์และปัญหาการใช้สิทธิและประโยชน์ที่ได้รับตาม พ.ร.บ.ส่งเสริม โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ การลงทุน ครั้งที่ 1/2562 (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) วิธปี ฎิบตั เิ กีย่ วกับวัตถุดบิ และวัสดุจำ� เป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา การลงทุน (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 5/2562 (ถนนสุขุมวิท 5) วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับ โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา การส่งเสริมการลงทุน (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ กลยุทธ์การวางแผนภาษีส�ำหรับกิจการ BOI ครั้งที่/2/2562 (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)

หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน ชลบุรี 7 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 14 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 21-22 ก.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 26 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)

จัดเต็มประเด็นส�ำคัญ!! การใช้สทิ ธิประโยชน์การน�ำเข้า - ส่งออกและพิธกี าร ศุลกากร ส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจาก BOI (จังหวัดชลบุร)ี แนวทางปฏิบัติระบบงานช่างฝีมือ Single Window for Visas and Work Permit (จังหวัดชลบุรี) ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบ และ แนวทางปฏิบัติส�ำหรับ ผู้จัดท�ำบัญชีของกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562 (จังหวัดชลบุรี) (CPD & CPA) วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (จังหวัดชลบุรี)

หลักสูตรการบริหารจัดการ 10 ก.ย. 2562 (09.00-16.30 น.) 11 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 18 ก.ย. 2562 (09.00-16.30 น.) 18 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 21 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 24 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 26 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 27 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 28 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 3 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 5 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 9 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 9 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 10 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 16 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 16 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)

กระบวนการ การรับ-จ่ายเงิน อิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment System) ส�ำหรับผู้ประกอบการและผู้ปฎิบัติงานทางบัญชีและการเงิน เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า เทคนิคและการเตรียมความพร้อมทางการบัญชีส�ำหรับกิจการที่ได้รับ สิทธิประโยชน์ส่งเสริมการลงทุนจาก BOI ข้อผิดพลาดทางด้านบัญชีของกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA) การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุทธรณ์การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศลุ กากร การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศ และ INCOTERM®2010

พ.ร.บ. “Transfer Pricing” การเตรียมความพร้อมและการป้องกันกรณี ถูกตรวจสอบ (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA) เทคนิควิธีปฏิบัติการคืนอากรตามมาตรา 29 แห่ง พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ. 2560 กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ 2560 และวิธีจัดเก็บค่าภาษีอากร สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความตกลงระหว่างประเทศภายใต้ JTEPA การส่งเสริมการใช้สิทธิประโยชน์ FTA อาเซียน - จีน กลยุทธ์การท�ำสัญญาการค้าระหว่างประเทศ เงื่อนไขการขนส่งและการส่ง มอบสินค้าระหว่างประเทศ (CONTRACT & INCOTERMS®2010) เจาะลึกกระบวนการตรวจสอบภายในยุคใหม่แบบครบวงจร เทคนิคการจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ เทคนิคการเช็คสต็อกอย่างมีประสิทธิภาพ

17 ต.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 18 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)

ความรู้การน�ำเข้าและส่งออกทั้งระบบเพื่อให้ ได้ประโยชน์สูงสุด เกณฑ์การค�ำนวณก�ำไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดท�ำงบ การเงินส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขอ อนุมัติ CPD&CPA) ขัอบังคับการท�ำงานและระเบียบปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎหมาย แรงงานใหม่

8 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 15 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 6 ต.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 27 ต.ค. 2562 (09.00-17.00 น.)

วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับวัตถุดิบ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักร ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (eMT Online) วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับวัตถุดิบ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักร ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (eMT online)

หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT online

วิทยากร

อัตราค่าสัมมนา สมาชิก

บุคคลทั่วไป

วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน

5,350

6,420

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

วิทยากรจาก BOI

2,140

2,354

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

3,745

5,885

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI

3,210

3,745

วิทยากรจาก BOI

2,675

3,745

วิทยากรจาก BOI อ.สมชาย แสงรัตนมณีเดช ที่ปรึกษากฎหมายภาษีอากรอิสระให้เอกชน

2,675

3,745

5,350

5,885

4,280

5,350

4,815

5,350

โรงแรม อไรซ์ โฮเต็ล ศรีราชา จังหวัดชลบุรี โรงแรม แปซิฟิค พาร์ค ศรีราชา จังหวัดชลบุรี

คุณศุทธิกานต์ กริชไกรวรรณ คุณภาคภูมิ บูรณบุณย์ คุณอทิตยา อภิชาตบุตร์ คุณพรชนก ธีระเทพ

โรงแรม อไรซ์ โฮเต็ล ศรีราชา จังหวัดชลบุรี โรงแรม อไรซ์ โฮเต็ล ศรีราชา จังหวัดชลบุรี

วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

4,815

5,885

วิทยากรจาก BOI

3,210

4,280

คุณมุกดาวดี เทียนทอง

4,280

5,350

คุณคัตลิยา กุญชร ณ อยุธยา

2,996

3,852

ดร.วรกร แช่มเมืองปัก คุณเมธี แสงมณี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

4,280

5,350

2,996

3,852

คุณวิชัย มากวัฒนสุข

2,996

3,852

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

คุณเมธี แสงมณี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

3,424

4,280

ผู้เชี่ยวชาญด้านการคืนอากร

3,210

4,280

วิทยากรจากกรมศุลกากร

3,210

4,280

วิทยากรจากกรมศุลกากร

2,996

3,852

วิทยากรจากกรมศุลกากร

2,996

3,852

คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี

3,210

4,280

ดร.วรกร แช่มเมืองปัก

4,280

5,350

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

3,210

4,280

คุณคัตลิยา กุญชร ณ อยุธยา

2,996

3,852

คุณวัชระ ปิยะพงษ์

2,996

3,852

โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5)

คุณเมธี แสงมณี

2,996

3,852

คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

4,280

5,350

โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)

วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน

2,675

3,745

2,140

3,210

2,675

3,745

2,140

3,210

หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจส�ำรองที่นั่งเข้าร่วมสัมมนาได้ที่ คุณวิลาสินี คุณกาญจนา คุณศิริรัตน์ หรือ คุณชาตรี แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205-209 โทรสาร 0-2936-1441-2 E-mail : is-investor@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.