ICeNewsletter_September2020

Page 1

Vol.19 / September 2020 ขั ้น ตอนการดาเนิ น กระบวนการ ทางศุ ล กากรในระบบ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบไร้ เ อกสาร Insight ระบบฐานข้อมู ล RMTS Online (2)

บีโอไอ

เชิ ญ ชวน ผู้ ป ระกอบการ

ร่ ว มสนั บ สนุ น ท้ อ งถิ่ น

ผ่ า น มาตรการเศรษฐกิ จ ฐานราก

ภาพจาก: https://www.facebook.com/Aarlamin/photos/a.189789548417258/216423855753827/?type=3&theater


“ถ้าคุณหาทางออกไม่เจอ”

Single Window for

Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th

www.ic.or.th


04

07 09

บีโอไอเชิญชวนผู ้ประกอบการร่วมสนับสนุน ท้องถิน่ ผ่านมาตรการเศรษฐกิจฐานราก “ผู ้ให้ (ผู ้ประกอบการ): ได้รับสิทธิยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล ผู ้รับ (ท้องถิน่ ): ได้รับการสนับสนุน”

มาตรการสนับสนุนผู ้ประกอบการ ใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติไทย

12

14 23

การใช้ Incoterms ให้ถูกต้อง ตามกฎของ ICC และสอดคล้องกับ สัญญาซือ้ ขาย

ที่ปรึกษา • กรองกนก มานะกิจจงกล • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพท์ : 0 2936 1429 ต่อ 201 e-mail : icn@ic.or.th

ขัน้ ตอนการดาเนิน กระบวนการทางศุลกากร ในระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร

Insight ระบบฐานข้อมูล RMTS Online (2)

28 ยกระดับ S-Curve เดิม เติม S-Curve ใหม่ (1)

จิต เป็น นาย กายเป็น บ่ าว

การส่งเสริมการลงทุนที่ดีและสร้างแรงกระตุ้นให้เกิดผลลัพธ์ต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยรวมนัน้ นอกจากการประกาศใช้ มาตรการและนโยบายของภาครัฐที่ดึงดูดให้นักลงทุนทัง้ ชาวไทยและชาวต่างประเทศต้องเล็งเป้ าเข้ามาตัง้ ฐานการผลิตพร้อมหอบเม็ดเงินเข้ามาลงทุนใน ประเทศแล้ว การส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในระบบฐานราก ได้แก่ ชุ มชนหมู ่บ้าน องค์กรท้องถิ่น สหกรณ์ และวิสาหกิจชุ มชน ยังถูกกาหนดให้เป็นเป้ าหมายที่ภาครัฐให้ความสาคัญอีกด้วย การออกมาตรการส่งเสริมการลงทุนเศรษฐกิจฐานรากของสานักงานคณะกรรมการ ส่ งเสริ มการลงทุ น หรื อ บี โอไอ จึ งเป็ นอี กหนึ่ งกลไกขั บเคลื่ อนส าคั ญในการกระตุ้ นและ สนับสนุ นภาคเอกชนให้ลงทุนด้านการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้ างความเข้ มแข็งให้กั บ องค์กรท้องถิน่ สหกรณ์ และวิสาหกิจชุ มชน เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้าน การผลิตหรือให้บริการในประเภทกิจการที่บีโอไอกาหนด เช่ น กิจการด้านการเกษตรและเกษตร แปรรูป กิจการในกลุ่มอุ ตสาหกรรมเบา และกิจการท่องเที่ยวชุ มชน ตลอดจนการสนับสนุนให้ มีบริหารจัดการทรัพยากรนา้ แบบองค์รวมด้วย ประโยชน์ ที่ ผู้ ป ระกอบการในชุ มชนท้ อ งถิ่ น จะได้ รั บ จากมาตรการนี้ คื อ การน า ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเข้ามาเป็นส่วนประกอบสาคัญในกระบวนการผลิตของชุ มชนเพื่อ เพิ่มทัง้ ปริมาณและมู ลค่าของผลผลิต และยังเป็นการนาความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีและ นวัตกรรมใหม่ ๆ มาสู่ภาคเกษตร ต่อยอดสู่การปรับเปลี่ยนแนวทางการผลิตสินค้าและบริการ ตัง้ แต่กระบวนการต้นนา้ จนถึงปลายนา้ รวมถึงการส่งเสริมด้านการตลาดอีกด้วย โดยภาคเอกชนที่ขอรับส่งเสริมการลงทุนตามมาตรการนีจ้ ะได้รับสิทธิและประโยชน์ตาม โครงการ ซึ่ งแบ่งเป็น 2 กรณี ประกอบด้วย โครงการที่กิจการดาเนินการอยู ่เดิมและโครงการที่ สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลยังไม่สนิ ้ สุด หรือเป็นโครงการลงทุนใหม่ที่ยื่นขอรับการส่งเสริม ทัง้ นี้ ผู ้ประกอบการที่สนใจสามารถยื่นขอรับส่งเสริมการลงทุนได้จนถึงวันทาการสุดท้ายของปี 2564 และสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่กองประสานและพัฒนาปั จจัยการลงทุน สานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน โทรศัพท์ 0 2553 8144 สมาคมสโมสรนักลงทุนพร้อมให้การสนับสนุนแก่ภาคเอกชนที่ต้องการส่งเสริมการลงทุน ให้แก่องค์กรท้องถิน่ ด้วยบริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ผ่านการให้บริการแบบออนไลน์ของ สมาคม ฯ ตลอดจนการให้บริการด้านหลักสูตรฝึ กอบรมและสัมมนาที่หลากหลายและเหมาะสม กับกิจกรรมที่สนับสนุนการประกอบการของชุ มชนฐานราก โดยผู ้ที่สนใจสามารถดูรายละเอียด หลักสูตรและเลือกลงทะเบียนเพื่อสมัครร่วมสัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถาม ข้ อมู ลเพิ่ มเติ มได้ ที่ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่ อ 205-209 หรื อติ ดตามข้ อมู ลข่ าวสาร ของสมาคม ฯ ได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3

icn


บีโอไอ เชิญชวนผู้ประกอบการ ร่วมสนับสนุนท้องถิ่น ผ่าน มาตรการเศรษฐกิจฐานราก

ผู้ใ ห้ (ผู้ประกอบการ): ได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ผู้รับ (ท้องถิ่น): ได้รับการสนับสนุน คุ ณ อิ ส ริ ย า เฉลิ ม ศิ ริ กองยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนงาน สานั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น

ปั จจุ บันบริษัทเอกชนขนาดใหญ่หลายบริษัทได้มีการ ลงทุนเพื่อทากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรท้องถิ่น สหกรณ์ วิ ส าหกิ จ ชุ มชน เช่ น การสนั บ สนุ น ด้ า นเครื่ อ งจั ก รและ อุ ปกรณ์เ พื่อ ลดต้น ทุ นและลดการใช้ แ รงงานในการผลิ ต การฝึ กอบรมและการให้ความรู้ทางเทคนิคต่าง ๆ ให้กับ ชุ มชนในท้ อ งถิ่ น ท่ า นทราบหรื อ ไม่ ว่ า การลงทุ น หรื อ ค่ า ใช้ จ่ า ยเหล่ า นั ้น สามารถขอรั บ สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ก าร ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคลตามมาตรการส่ ง เสริ ม การ ลงทุนเศรษฐกิจฐานรากจากบีโอไอได้ รู ป แบบแนวคิ ด ของมาตรการ มาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น เศรษฐกิ จ ฐานราก มีรูปแบบแนวคิดที่จะส่งเสริมให้ผู้ประกอบการรายใหญ่ท่ีมี ศั ก ยภาพที่ สู ง กว่ า เข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว มสนั บ สนุ น องค์ ก ร ท้องถิ่นเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้าน ก า ร ผ ลิ ต ห รื อ ใ ห้ บ ริ ก า ร ใ น ป ร ะ เ ภ ท กิ จ ก า ร ต า ม ที่ คณะกรรมการกาหนด ได้แก่ กิจการด้านการเกษตรและ เกษตรแปรรู ป กิ จ การในกลุ่ ม อุ ตสาหกรรมเบา กิ จ การ ท่องเที่ยวชุ มชน รวมถึงกรณีการสนับสนุนองค์กรท้องถิ่น ในการด าเนิ น การเพื่ อ บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรน ้า แบบ องค์รวม

icn 4

โครงการลั ก ษณะใดที่ ส ามารถขอรั บ การส่ ง เสริ ม ตามมาตรการนี้ และจะได้รับสิทธิและประโยชน์อะไร? กรณีทโครงการที่สามารถขอรับส่งเสริมการลงทุนตาม มาตรการนี้จ ะแบ่ ง เป็ น 2 กรณี ได้ แ ก่ กรณี ท่ี 1 กิ จ การที่ ดาเนิ น การอยู ่ เ ดิ ม ซึ่ ง • เป็ น โครงการที่ อ ยู ่ ใ นประเภทกิ จ การที่ ข อรั บ การส่ ง เสริ ม ได้ ใ นปั จ จุ บั น • เป็ น โครงการ ที ่ เ คย ได้ ร ั บ การส่ ง เสริ ม แต่ ไม่ เ คยได้ รั บ สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ด้ า นภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคลหรื อ สิ ท ธิ ไ ด้ สิ้น สุ ด แล้ ว เงื่อนไข 1. ต้องมีเงินลงทุนขัน้ ตา่ ของแต่ละโครงการไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท (ไม่รวมค่ าที่ดินและทุ นหมุ นเวียน) โดยต้อ ง สนับสนุนองค์กรท้องถิน่ ไม่น้อยกว่า 2 แสนบาทต่อราย 2. ต้องเสนอแผนความร่วมมือกับองค์กรท้องถิ่น ในการสนั บ สนุ น เพื่ อ ยกระดั บ ขี ด ความสามารถในการ แข่ ง ขั น ด้ า นการผลิ ต หรื อ ให้ บ ริ ก าร หรื อ การบริ ห าร จัดการนา้ แบบองค์รวม ซึ่ งจะต้องครอบคลุมทัง้ ในส่วน ของการดาเนินการเพื่อบรรเทาสถานการณ์ภัยแล้งและ การแก้ไขปั ญหานา้ ท่วม โดยแผนการดาเนินการบริหาร จั ด การน ้า จะต้ อ งได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากส านั ก งาน ทรัพยากรนา้ แห่งชาติและสอดคล้องกับแผนการบริหาร จัดการทรัพยากรนา้ ของประเทศ


สิทธิและประโยชน์ ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 3 ปี เป็นสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 120 ของเงินสนับสนุน โดยไม่รวม ค่าที่ดินและทุนหมุ นเวียน โดยจะคานวณมู ลค่ายกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลจากเงินลงทุนที่จ่ายจริงในการสนับสนุน องค์กรท้องถิ่นตามที่สานักงานกาหนด กรณีท่ี 2 โครงการที่สทิ ธิยกเว้นภาษี เงินได้นติ บิ ุ คคล ยังไม่สิน้ สุด หรือเป็นโครงการลงทุนใหม่ท่ียื่นขอรับการ ส่ง เสริม ซึ่ งจะได้ รับสิทธิแ ละประโยชน์การยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เงื่อนไข 1. ต้ อ งมี เ งิ น ลงทุ น ในการสนั บ สนุ น องค์ ก ร ท้องถิ่นไม่น้อยกว่า 2 แสนบาทต่อราย 2. ต้ อ งเสนอแผนความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก ร ท้องถิ่นในการสนับสนุนเพื่อยกระดับขีดความสามารถ ในการแข่ ง ขั น ด้ า นการผลิ ต หรื อ ให้ บ ริ ก าร หรื อ การ บริหารจัดการนา้ แบบองค์รวม ซึ่ งจะต้องครอบคลุมทัง้ ในส่ ว นของการด าเนิ น การเพื่ อ บรรเทาสถานการณ์ ภั ย แล้ ง และการแก้ ไ ขปั ญหาน ้า ท่ ว ม โดยแผนการ ดาเนินการบริหารจัดการนา้ จะต้องได้รับความเห็นชอบ จากสานักงานทรัพยากรนา้ แห่งชาติและสอดคล้องกับ แผนการบริหารจัดการทรัพยากรนา้ ของประเทศ

สิทธิและประโยชน์ เพิ่ ม วงเงิ น การยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคลเป็ น สัดส่วนไม่เกินร้อยละ 120 ของเงินสนับสนุน โดยไม่รวมค่า ที่ดิ น และทุน หมุ นเวี ย น โดยจะค านวณมู ล ค่ ายกเว้น ภาษี เงิ นได้นิ ติ บุคคลจากเงิ นลงทุน ที่จ่ ายจริง ในการสนั บสนุ น องค์กรท้องถิ่นตามที่สานักงานกาหนด

โดยผู ้สนใจสามารถยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุน ได้จนถึงวันทาการสุดท้ายของปี 2564 ทั ้ง นี้ หากท่ า นผู ้ อ่ า นมี ข้ อ สงสั ย หรื อ ต้ อ งการ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม สามารถสอบถามได้ ท่ี กองประสานและพัฒ นาปั จ จัย การลงทุน (คุณ จัน จีร า เบอร์ โ ทรศั พ ท์ 0 2553 8144 หรื อ คุ ณ วรรณนิ ภ า เบอร์โทรศัพท์ 0 2553 8197)

5 icn


“รายใหญ่ พบ รายเล็ ก ”

เพื่ อ อ านวยความสะดวกให้ ผู้ ป ระกอบการ รายใหญ่ ได้พบกับองค์กรท้องถิ่นที่ต้องการได้รับการ สนั บ สนุ น ได้ ง่ า ยขึ้ น บี โ อไอจึ ง ได้ ท าความร่ ว มมื อ กั บ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในการ คั ด เลื อ กวิ ส าหกิ จ ชุ มชนหรื อ สหกรณ์ ท่ี มี ศั ก ยภาพ ในการพัฒ นาจานวน 500 ราย เพื่ อเป็ นฐานข้อมู ล ให้ กั บ ผู ้ ป ระกอบการรายใหญ่ ท่ี ต้ อ งการสนั บ สนุ น นอกจากนี้ แ ล้ ว เพื่ อ ให้ ก ารสนั บ สนุ น ได้ ต รงกั บ ความต้ อ งการของท้ อ งถิ่ น มากที่ สุ ด บี โ อไอจึ ง ได้ ร่ ว มมื อ กั บ ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร ส านั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี แห่งชาติ และสถาบัน วิจัย วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เพื่อร่วมกันกาหนดรู ปแบบ การสนั บ สนุ น ต่ า ง ๆ เช่ น เทคโนโลยี เครื่ อ งจั ก ร อุ ปกรณ์ และการพั ฒ นานวั ต กรรมที่ ผู้ ป ระกอบการ รายเล็กต้องการ ไว้เพื่อเป็นแนวทางในการสนับสนุน ซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ ก ารช่ วยเหลื อ สนั บ สนุ น นั ้น เกิ ด ผลใน เชิงพาณิชย์ได้อย่างแท้จริง ภาพจาก: https://twitter.com/ThaiPBS/status/ 976673405733777409/photo/1 icn 6

ตั ว อย่ า งโครงการสามารถขอรั บ การส่ ง เสริ ม ตามมาตรการนี้ • บริษัท A ทาธุ รกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ โดย บริษัทได้สนับสนุนกิจการของวิสาหกิจชุ มชนที่ทากิจการ ผลิตเส้นหมี่แปรรู ป โดยไปช่ วยสนับสนุนด้านเครื่องจักร และอุ ปกรณ์ เ พื่ อ ลดต้ น ทุ น และลดการใช้ แ รงงานในการ ผลิต เพื่อให้สามารถผลิตได้เพียงพอกับความต้องการ ของลู ก ค้ า การออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ใ ห้ มี คุ ณ ภาพและ ความปลอดภั ย และสามารถเก็ บ รั ก ษาได้ น านยิ่ ง ขึ้ น เป็นต้น • บริ ษั ท B ท าธุ รกิ จ ผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากยาง สั ง เคราะห์ โดยบริ ษั ท ได้ ด าเนิ น การสนั บ สนุ น สหกรณ์ สวนยางพาราในพืน้ ที่ใกล้เคียงในการวิจัยและพัฒนา และ ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ น ้ า ย า ง ดิ บ ข อ ง ส ห ก ร ณ์ ใ ห้ ไ ด้ มาตรฐานสากล เช่ น มาตรฐาน Good Agricultural Practices: GAP และ มาตรฐาน Good Manufacturing Practice: GMP หรือการสนับสนุนเครื่องคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมสาหรับการทดสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ระบบการจั ด เก็ บ ฐานข้ อ มู ล และวางระบบควบคุ ม มาตรฐานของห้องทดสอบผลิตภัณฑ์ เป็นต้น


มาตรการสนับสนุนผู้ประกอบการ

ใช้ หุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติไทย มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ปั จจุ บันแนวโน้มการดาเนินธุ รกิจ การค้าขาย และการ ผลิ ต ในระบบอุ ตสาหกรรม มี ก ารน าเทคโนโลยี ขั ้น สู ง ทั ้ง หุ่ น ยนต์ แ ละระบบอั ต โนมั ติ เ ข้ า มาใช้ เ ป็ น ส่ ว นส าคั ญ ในการ จัด การด้ า นการผลิ ต การบริ การ และส่งเสริ ม การตลาด เพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตสินค้า เพิ่มยอดขาย ไปจนถึงการ เพิ่มจานวนผู ้มารับบริการให้มากขึน้ นับเป็นการนาเทคโนโลยี มาใช้ เป็นเครื่องมือเพื่อเพิ่มช่ องทางการตลาดที่เหมาะสมกับ แนวโน้มในปั จจุ บัน จากแนวโน้มดังกล่าว จึงส่งผลให้อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ ในภูมิ ภาคเอเชี ย ที่มี อั ตราการใช้ หุ่ น ยนต์แ ละระบบอัต โนมั ติ เติ บ โต สู ง ที่ สุ ด ใ น โล ก จา กข้ อ มู ล ข อ ง International Federation of Robotics (IFR) พบว่า ปี 2562 ภูมิภาค เอเชี ย มีย อดขายหุ่น ยนต์จ านวน 285,000 ยู นิ ต นั บ เป็ น ยอดขายสูงสุดจากยอดขายทั่วโลกจานวน 421,000 ยู นิต และคาดการณ์ว่าน่าจะมีอัตราการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง จากข้ อ มู ล การเติ บ โตดั ง กล่ า ว หน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ ก ากั บ ดู แ ลงานด้ า นส่ ง เสริ ม การลงทุ น อย่ า งส านั ก งาน คณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น หรื อ บี โ อไอ จึ ง ให้ ความสาคัญกับกิจการในกลุ่มอุ ตสาหกรรมผลิตเครื่องจักร หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ที่รวมทัง้ กลุ่มผู ้ผลิต (Supply Side) และกลุ่มผู ้ใช้ (Demand Side) โดยสนับสนุนและผลักดันให้ เกิ ด การใช้ อุ ตสาหกรรมหุ่ น ยนต์ แ ละระบบอั ต โนมั ติ ใ น ภาคอุ ตสาหกรรมขนาดใหญ่ให้มากขึ้น เพื่อขับเคลื่อนให้เกิด การผลิตหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Supply) ซึ่ งจะนาไปสู่ การพัฒนาอุ ตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติทงั ้ ระบบ โดยบี โอไอได้ ออกมาตรการพิ เศษ ได้ แก่ “มาตรการ ส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุ งประสิทธิภาพการผลิต” เพื่อ ส่งเสริมให้ภาคอุ ตสาหกรรมนาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติมาใช้ ใน การปรับปรุ งประสิทธิภาพการผลิตในโรงงาน ซึ่ งผู ้ได้รับส่งเสริม การลงทุนสามารถนาเงินลงทุนที่ใช้ สาหรับปรับปรุ งประสิทธิภาพ นัน้ มาลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคล 50% เป็นระยะเวลา 3 ปี ข้อมู ลจาก: https://www.boi.go.th/upload/ejournal/2020/05/index.html ภาพจาก: shorturl.at/crCL8

ยิ่งไปกว่านัน้ มาตรการนีย้ ังมีความพิเศษเพิ่มขึ้น อีกด้วยการเพิ่มสิทธิแ ละประโยชน์ หากโครงการนัน้ ใช้ ร ะ บ บ อั ต โ น มั ติ ที่ มี ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง ห รื อ ส นั บ ส นุ น อุ ตสาหกรรมผลิตระบบอัตโนมัติในประเทศไทยไม่น้อยกว่า 30% ของมู ลค่าระบบอัตโนมัตทิ ่มี ีการปรับเปลี่ยน โดยจะได้รับ สิทธิยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลจาก 50% เพิ่มเป็น 100% ของเงินลงทุน (ไม่ร วมค่า ที่ดินและทุนหมุ นเวีย นในการ ปรับปรุ ง) เป็นระยะเวลา 3 ปี อันจะเป็นการกระตุ้นและ ดึงดูดให้ผู้ประกอบการที่ต้องการปรับปรุ งประสิทธิภาพ การผลิตหันมาใช้ ระบบอัตโนมัติของไทยมากขึน้ จากข้อมู ลผู ้ประกอบการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน ตา ม มา ต ร กา ร ส่ งเ ส ริ มก า ร ล ง ทุ น เพื่ อ ป รั บ ป รุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต ภายใต้ ม าตรการย่ อ ย “การ ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต” ในช่ วงเดื อ นมกราคม 2561 ถึ งเดื อ นมิ ถุ น ายน 2563 พบว่า มีโครงการที่ได้รับอนุมัติตามมาตรการนี้จานวน 54 โครงการ มู ลค่าเงินลงทุนระบบอัตโนมัติ 5,610 ล้านบาท โดยเป็นโครงการที่สนับสนุนอุ ตสาหกรรมการผลิตระบบ อัตโนมัติในประเทศไทย มู ลค่า 2,508 ล้านบาท หรือคิดเป็น 45% ของมู ลค่าระบบอัตโนมัติทงั ้ หมดตามมาตรการนี้ จากตัวเลขดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การให้ส่งเสริม ตามมาตรการข้างต้น นอกจากจะส่งเสริมการนาหุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติม าใช้ ในกิจการสาหรั บภาคการผลิ ต ภาคงานบริ การ และการส่ ง เสริ ม ด้ า นการตลาดของ ผู ้ประกอบการแล้ว ยังเป็นการสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ ใช้ ร ะบบอั ต โนมั ติ ข องไทยเพื่ อ ทดแทนการน าเข้ า จาก ต่างประเทศอย่างได้ผลและเป็นที่ยอมรับอีกด้วย ทั ้ง นี้ ผู ้ ป ระกอบการที่ ส นใจจะน าหุ่ น ยนต์ แ ละ ระบบอัตโนมัติเข้ามาใช้ ในโครงการทัง้ กิจการที่เคยหรือ ไม่ เ คยได้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น จากบี โ อไอมาก่ อ น สามารถขอรับสิทธิประโยชน์ตามมาตรการส่งเสริมการ ลงทุนเพื่อปรับปรุ งประสิทธิภาพการผลิตได้ โดยติดต่อ สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ไ ด้ ท่ี ห มาย เล ขโทรศั พ ท์ 0 2553 8111 ต่อ 1 7 icn


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29

สมัครใช้ บริการ eMT

ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online

ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พมิ พ์ใน ระบบ eMT Online

สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร

ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร

BOI Approve 30 วัน 7 วัน

30-60 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

เป็นเรื่อง ติดต่อ...

ยุงยาก

IC

สา ห รั บ คุ ณ

บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านเครื่องจักร

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 314-315


Insight ระบบฐานข้อมูล

RMTS Online (2) กฤตยา วิชยั ดิษฐ์ kittayad@ic.or.th

IC Focus ฉบั บ นี้ มาติ ด ตามกั น ต่ อ ในเรื่ อ งการ เตรียมความพร้อมเพื่อเปิ ดใช้ งานระบบฐานข้อมู ล RMTS Online ซึ่ ง ทางสมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น และส านั ก งาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ได้มีการจัด สัมมนาประชาสัมพันธ์ ไปเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2563 ที่ ผ่ า นมา และปั จจุ บั น อยู ่ ร ะหว่ า งการจั ด อบรมเชิ ง ปฏิบัติการ หรือ Workshop แบบ Online ผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มด้ า นการใช้ ง านระบบที่ ถูกต้องให้กับผู ้ประกอบการ และหากผู ้ใช้ บริการท่านใดยัง ไม่ ไ ด้ แจ้ ง คว า มประ สงค์ ในก ารเข้ ารั บ การ อบร ม Workshop สามารถติดต่อเพื่อขอเข้ารับการอบรม โดย สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ท่โี ทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-209

จากฉบับที่แล้ว ผู ้เขียนได้อธิบายรายละเอียดถึง ขั ้น ตอนและกระบวนการท างานของระบบฐานข้ อ มู ล RMTS Online รวมถึงความหมายของโครงสร้างการคีย์ ข้อมู ลของไฟล์สูตรอ้างอิง และ ไฟล์ชื่อรองวัตถุดิบ ที่ใช้ ส าหรั บ ยื่ น ข้ อ มู ล ผ่ า นระบบฐานข้ อ มู ล RMTS Online เพื่ อขออนุ มัติ บัญ ชี รายการวั ตถุ ดิบ และปริ ม าณสต็ อ ก สูงสุดกั นไปแล้ ว ในครัง้ นี้จ ะอธิบายถึงความหมายของ 2 โครงสร้างที่เหลือ คือ โครงสร้างการคียข์ อ้ มู ลไฟล์สตู ร ผลิตภัณฑ์ และ โครงสร้างการคีย์ข้อมู ลไฟล์กาหนดวัน น าเข้ า ครั ้ ง แรกของ Group MaxImport เกี่ ย วกั บ รายละเอียดและวิธีการคีย์ข้อมู ลให้ถูกต้อง

1. โครงสร้างการคีย์ข้อมู ลไฟล์สูตรผลิตภัณฑ์ หมายถึง โครงสร้างสาหรับการคีย์ข้อมู ลสาหรับการขออนุมัติ สูตรผลิตภัณฑ์ และการขออนุมัติแก้ไขสูตรผลิตภัณฑ์เดิมที่ได้รับอนุมัติแล้ว ซึ่ งจะต้องยื่นหลังจากได้รับอนุมัติบัญชี รายการวัตถุดิบและปริมาณสต็อกสูงสุด มีรายละเอียดการคีย์ข้อมู ลดังนี้

เมื่อผู ้ใช้ บริการคีย์ข้อมู ลเรียบร้อยแล้วจะต้องตรวจสอบความถูกต้องของข้อมู ลก่อนส่งเข้าระบบทุกครัง้ โดยต้อง ตรวจสอบเงื่อนไขในการคีย์ข้อมู ล ดังนี้ 9

icn


เงื่อนไขสาคัญในการคีย์ข้อมู ลเพื่อขออนุมัติสูตร ผลิตภัณฑ์ 1. การคีย์ข้อมู ลทุกช่ องจะต้องไม่เป็นค่าว่าง 2. การระบุ นา้ หนักของผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยหรือ Weight Per Piece จะต้ อ งระบุ เป็ น กิ โ ลกรั ม เท่ า นั ้ น ถึ ง แม้ ว่ า หน่ ว ยส่ ง ออกของผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ะมี ห น่ ว ยเป็ น อะไรก็ตาม เช่ น C62, SET และจาเป็นต้องระบุ ข้อมู ลใน ช่ องนา้ หนักของผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยไม่สามารถเว้นว่าง ได้ หากยังไม่ทราบนา้ หนักที่แน่ชดั สามารถระบุ นา้ หนัก เป็นตัวเลขประมาณการได้โดยให้ใกล้เคียงกับนา้ หนักจริง มากที่สุด 3. การคี ย์ ข้อ มู ล ช่ อง QTY_LOSS กรณี ท่ี ไ ม่ มี ส่วนสูญเสีย และกรณีหน่วยของวัตถุดบิ เป็นหน่วยที่นับ ได้ เช่ น C62, SET ซึ่ งจะไม่มีส่วนสูญเสีย ต้องคีย์ข้อมู ล เป็นเลขศูนย์เท่านัน้ 4. ปริมาณการใช้ วัตถุดิบรวมส่วนสูญเสียหรือ ช่ อง QTY_GROSS จะต้องเท่ากับ ช่ อง QTY_NET+ QTY_LOSS 5. ไฟล์สูตรผลิตภัณฑ์ 1 ไฟล์ สามารถบันทึก ข้อมู ลได้มากกว่า 1 Sheet และบันทึกข้อมู ลได้สูงสุด ไม่ เ กิ น 50 Sheet ความจุ ไฟล์ ไม่ เ กิ น 2 Mb และ จะต้องไม่มี Sheet ว่าง 6. ใน 1 Sheet 1 ผลิต ภัณฑ์ ในช่ อง Product Code มีได้หลายรุ ่น กรณี Usage เท่ากัน ให้ระบุ ชื่อรุ ่น ในช่ องถัดไป 7. การคี ย์ ข้ อ มู ล สามารถคี ย์ ไ ด้ ทั ้ง “อั ก ษร พิมพ์เล็ก” และ “อักษรพิมพ์ ใหญ่ ” แต่ห้ามคีย์ข้อมู ล เป็นภาษาไทย

เงื่อนไขส าคัญในการคีย์ข้อมู ลเพื่อขออนุมัติแก้ไ ข สูตรผลิตภัณฑ์ นอกเหนื อ จากเงื่ อ นไขในการคี ย์ ข้ อ มู ลตาม โครงสร้างปกติแล้ว ผู ้ใช้ บริการจะต้องตรวจสอบข้อมู ล เพิ่มเติมสาหรับการขออนุมัติแก้ไขสูตรผลิตภัณฑ์ ดังนี้ 1. การขออนุมัติแก้ไขสูตรผลิตภัณฑ์ จะต้องเป็น สู ต รผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ แ ล้ ว และต้ อ งคี ย์ ข้ อ มู ล รายการของวั ต ถุ ดิ บ ให้ ค รบทุ ก รายการที่ ใ ช้ ในสู ต ร ผลิตภัณฑ์นนั ้ 2. กรณีแ ก้ไขปริม าณการใช้ วัตถุ ดิบ ผู ้ ใช้ บ ริการ ต้ อ ง คี ย์ ชื่ อ Product Name, Product Code แ ล ะ Product Unit ให้ตรงกับสูตรผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้รับอนุมัติแล้ว และเมื่อการแก้ไขได้รับอนุมัติแล้ว ระบบจะทาการบันทึก เป็น Revision ถัดไป 3. กรณี แ ก้ ไ ขหน่ ว ยของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก าร ต้องคีย์ ชื่อ Product Name, Product Code ให้ ตรงกั บ สูตรผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับอนุมัติแล้ว และเมื่อการแก้ไขได้รับ อนุมัติแล้ว ระบบจะทาการบันทึกเป็นสูตรผลิตภัณฑ์ ใหม่ 4. กรณีท่ีคีย์รายการวัตถุดิบที่ต้องการใช้ ในสูตร ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม่ ค รบ ระบบจะบั น ทึ ก เฉพาะรายการที่ ผู ้ใช้ บริการคีย์ข้อมู ลมาเท่านัน้

2. โครงสร้ า งการคี ย์ ข้ อ มู ล ไฟล์ กาหนดวั น นาเข้ า ครั ้ง แรกของ Group_MaxImport หมายถึ ง โครงสร้ า ง สาหรั บ การคี ย์ ข้ อ มู ล เพื่ อ ขออนุ มั ติ กาหนดวั น นาเข้ า ครั ้ง แรกของรายการวั ต ถุ ดิ บ ที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ ป ริ ม าณสต็ อ ก สู ง สุ ด แบบ Max_Import หรื อ สต็ อ กแบบไม่ ห มุ น เวี ย น ว่ า จะเริ่ ม ใช้ สิ ท ธิ์ ใ นการนาเข้ า เมื่ อ ไร และสิ ้น สุ ด สิ ท ธิ์ เ มื่ อ ไร โดยมี ร ายละเอี ย ดการคี ย์ ข้ อ มู ล ดั ง นี้

icn 10


เงื่อนไขสาคัญสาหรับการคีย์ข้อมู ลเพื่อขออนุมัติ กาหนดวั นน าเข้ า ครัง้ แรกของ Group_MaxImport : **วันที่ท่รี ะบุ นนั ้ จะต้องอยู ภ่ ายใต้ระยะเวลาของโครงการ นัน้ ๆ** ทัง้ หมดที่อธิบายมาข้างต้น คือ โครงสร้างสาหรับ การคีย์ข้อมู ลเพื่อการใช้ งานในระบบฐานข้อมู ล RMTS Online ทั ้ง นี้ ผู ้ เ ขี ย นขอสรุ ป เพื่ อ ให้ เ ห็ น ความชัด เจน อีกครัง้ โดยมีโครงสร้างทัง้ หมด 4 โครงสร้าง ดังนี้ 1. โครงสร้างสาหรับการขออนุมัติสูตรอ้างอิง หมายถึง โครงสร้างสาหรับการยื่นข้อมู ลเพื่อขออนุมัติ บั ญ ชี ร ายการวั ต ถุ ดิ บ และปริ ม าณสสต็ อ กสู ง สุ ด แบ่งออกเป็น 1.1 สาหรับบัญชีรายการวัตถุดิบปกติ 1.2 ส าหรั บ บั ญ ชี ร ายการวั ต ถุ ดิ บ ที่ น ากลั บ เข้ามาซ่ อมแซมและส่งกลับออกไป (Return) 2. โครงสร้ า งส าหรั บ การขออนุ มั ติ ชื่ อ รอง หมายถึง โครงสร้างสาหรับการยื่นข้อมู ลเพื่อขออนุมัติ ชื่อรองวัตถุดิบและการขอแก้ไขชื่อรอง

3. โครงสร้างสาหรับการขออนุมัติสูตรผลิตภัณฑ์ หมายถึง โครงสร้ างสาหรั บการยื่น ข้อมู ลเพื่ อขออนุมั ติ สูตรผลิตภัณฑ์และแก้ไขสูตรผลิตภัณฑ์ แบ่งออกเป็น 3.1 สาหรับสูตรผลิตภัณฑ์ปกติ 3.2 ส าหรั บ สู ต รผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี น ากลั บ เข้ า มา ซ่ อมแซมและส่งกลับออกไป (Return) 4. โครงสร้ า งส าหรั บ การขออนุ มั ติ ก าหนดวั น น าเข้ า ครั ้ ง แร กข อง Group_MaxImport หมาย ถึ ง โครงสร้างสาหรับการยื่นข้อมู ลเพื่อขออนุมัติกาหนดวัน นาเข้าครัง้ แรกของรายการวัตถุดิบที่ได้รับอนุมัติปริมาณ สต็อกสูงสุดแบบไม่หมุ นเวียน หรือ Group_MaxImport จากโครงสร้างทัง้ หมด ผู ้ใช้ บริการสามารถเลือกใช้ งานได้ตามประเภทงานหรือข้อมู ลที่ต้องการขออนุมัติกับ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) โดย เลือกให้ถูกประเภทงานจะได้ไม่ติดปั ญหาใด ๆ ในฉบั บ หน้ า มาติ ด ตามความรู้ เ กี่ ย วกั บ ประเด็ น คาถามต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ ระบบฐานข้ อ มู ล RMTS Online ซึ ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การปฏิ บ ั ต ิ ง านของ ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารอย่ า งมาก โดยสมาคม ฯ ได้ ร วบรวมไว้ เพื ่ อ ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารจะได้ ใ ช้ เ ป็ น แนวทางในการป้ อ งกั น ข้ อ ผิ ด พลาดที่ อ าจเกิ ด ขึ ้น และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพใน การปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง นอกจากนัน้ สมาคม ฯ ยั ง มี อ ี ก 1 ช่ องทา งที ่ ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก า ร สา มา ร ถศึ ก ษ า รายละเอี ย ดวิ ธี ก ารคี ย์ ข้ อ มู ล ไฟล์ ต่ า ง ๆ ได้เ พิ่ ม เติ ม ผ่ า นคลิ ป วิ ดี โ อที่ ส มาคม ฯ ได้ จั ด ทาและเผยแพร่ ผ่ า น Facebook ของสมาคม ฯ โดยผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารสามารถเข้ า ไปกดถู ก ใจหรื อ ติ ด ตามหน้ า เพจของสมาคม ฯ ได้ ท่ี Investor Club Association – สมาคมสโมสรนักลงทุ น หรื อ หากต้ อ งการสอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม สามารถ ส่งข้อมู ลสอบถามได้ทาง E-mail: databaseonline@ic.or.th หรื อ โทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 512–515

สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

วิธีปฏิบัติ

หลัง

ได้รับการส่งเสริม การลงทุน วันที่ 18-20 กันยายน 2563 ณ โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพฯ รัชดา ลงทะเบี ย นออนไลน์ เ พื่ อ สารองที่ นั่ง ได้ ท าง http://icis.ic.or.th

11

icn


การใช้

Incoterms ให้ถูกต้อง

ตามกฎของ

ICC

และ สอดคล้อ งกั บ สัญญาซื้อ ขาย คุณวัชระ ปิ ยะพงษ์ ที่ปรึกษาองค์กรเอกชนชัน้ นาด้านการนาเข้าและส่งออก

การเลือกใช้ Incoterms ให้ถูกต้องตามกฎของหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce: ICC) และสอดคล้องกับสัญญาซื้อขายนัน้ ผู ้ซื้อและผู ้ขายต้องทาความเข้าใจให้ตรงกันในการเลือกใช้ เทอมสาหรับการค้าขาย ระหว่างกันว่า จะเลือกเทอมอะไรให้เหมาะสม และเทอมนัน้ ผู ้ขายต้องรับผิดชอบค่าใช้ จ่ายอะไรบ้าง กาหนดจุ ดส่งมอบที่จุด ไหน (Delivery) ความเสี่ยงในตัวสินค้าที่เสียหายเปลี่ยนจากผู ้ขายไปสู่ผู้ซื้อเมื่อไร ใครต้องรับผิดชอบในการดาเนิน พิธีการศุลกากร กฎ Incoterms ได้มีคาอธิบายไว้อย่างชัดเจน การเข้าใจเทอมที่ใช้ ทัง้ ผู ้ซื้อและผู ้ขาย เมื่อค้าขายกันโดย เลือกใช้ เทอมที่เหมาะสมตรงกันทัง้ สองฝ่ ายก็ไม่ต้องกลัวว่าใครจะเสียเปรียบก่อนจะส่งสินค้าหรือชาระเงิน กรณี ท่ี ใ ช้ เ ทอมผิ ด ตามมาด้ ว ยปั ญ หาค่ า ใช้ จ่ า ย (ค่ า ขนส่ ง ) ตัวอย่างเช่ น ผู ้ขาย (ไทย) โรงงานตัง้ อยู ่ท่ีจังหวัดชลบุ รี ผู ้ซื้อ (ลาว) ใช้ เทอม Ex Works = EXW (ทัง้ ผู ้ขายและผู ้ซื้อ ไม่เข้าเทอม) โดยในสัญญาต่อท้ายด้วย “หนองคาย” นั่นคือให้ไปส่งมอบสินค้าที่จังหวัดหนองคายและดาเนินพิธีการศุลกากร ขาออกให้ด้วย ผู ้ขายได้ดาเนินการส่งสินค้าตามสัญญานีแ้ ล้ว 2 ครัง้ ซึ่ งราบรื่นไม่มีปัญหา แต่มาเกิดปั ญหาในการค้าขาย ครัง้ ที่สาม เนื่องจากผู ้ขายได้ว่าจ้างบริษัทรับจ้างขนสินค้าจากจังหวัดชลบุ รีไปส่งที่จังหวัดหนองคาย และผู ้รับจ้างขอคิด ค่าขนส่งสินค้าเพิ่มขึน้ มากกว่าสองครัง้ ที่ผ่านมา เนื่องจากต้องขนส่งสินค้าจานวนมากกว่าสองครัง้ ก่อนหน้านี้ ผู ้ขายจึงแจ้ง ให้ผู้รับจ้างขนส่งสินค้าไปเก็บค่าขนส่งกับผู ้ซื้อ (กรณีนี้ ผู ้รับจ้างขนส่งสินค้าไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับผู ้ซื้อ เพราะผู ้ขายเป็น ผู ้ว่าจ้างผู ้ขนส่งสินค้า) โดยเรื่องนี้จบลงที่ผู้ขายยอมจ่ายค่าขนส่งสินค้าที่ผู้รับจ้างขนส่งเรียกเพิ่มมากกว่าสองครัง้ ก่อนหน้านี้ และได้ กลับไปเจรจากับผู ้ซื้อ เพื่อขอใช้ เทอมใหม่ให้ถูกต้องซึ่ งควรใช้ ตัง้ แต่การซื้อขายในสองครัง้ แรก แต่เนื่องจากผู ้ขายอยาก ขายของเลยตามใจผู ้ซื้อในการเลือกใช้ เทอม จากกรณี ท่ี ก ล่ า วมา ข้างต้น จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า เมื่อมีการใช้ เทอมผิดก็จะเกิด ปั ญหาทั ้ ง ผู ้ ซื้ อ แล ะผู ้ ข าย รวมไปถึ ง ผู ้ ท่ี เ กี่ ย วข้ อ งใน กระบวนการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง ด้วย ดังนัน้ ในการดาเนินการ ซื้อ ขาย ผู ้ซื้ อ และผู ้ข ายควร จะต้ อ งเข้ า ใจกฎ Incoterms โดยต้ อ งท าความเข้ า ใจกั น อย่ า งถู ก ต้ อ งและชัด เจนกั น ทั ้ ง สองฝ่ าย จะท าให้ เ กิ ด ประโยชน์สูงสุด icn 12


สมาคมสโมสรนักลงทุน

ช่วยแบ่งเบาภาระผู้ใช้บริการ ให้ธุรกิจฝ่าวิกฤต Covid-19 TOGETHER WE FIGHT

มอบส่วนลด

10%

ค่าบริการระบบงานเครื่องจักรและวัตถุดิบ

เป็นเวลา 6 เดือน ในงวดเดือนเมษายน – กันยายน 2563

ขยายเวลาชาระหนี้

งวดเดือนมีนาคม – สิงหาคม 2563

ค่าบริการระบบงานเครื่องจักรและวัตถุดิบ

ออกไปอีก ค่าบริการ ค่าบริการ ค่าบริการ ค่าบริการ

เดือนมีนาคม 2563 เดือนเมษายน 2563 เดือนพฤษภาคม 2563 เดือนมิถุนายน 2563

ชาระภายใน ชาระภายใน ชาระภายใน ชาระภายใน

3 เดือน

30 กรกฎาคม 2563 30 สิงหาคม 2563 30 กันยายน 2563 30 ตุลาคม 2563

ค่าบริการ เดือนกรกฎาคม 2563 ชาระภายใน 30 พฤศจิกายน 2563 ค่าบริการ เดือนสิงหาคม 2563 ชาระภายใน 30 ธันวาคม 2563

สอบถามเพิ่ ม เติ ม โทรศั พ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 401, 403


ขั้นตอนการดาเนินกระบวนการ

ทางศุลกากร ในระบบอิเล็กทรอนิกส์

แบบไร้เอกสาร คุ ณศุ ท ธิ กานต์ กริ ช ไกรวรรณ ผู ้ อานวยการศูนย์บริ การศุลกากร กรมศุ ลกากร

เมื่อผู ้นาของเข้ามีของส่งมาจากต่างประเทศ หรือ ผู ้ ส่ ง ของออกมี ข องส่ ง ออกไปต่ า งประเทศ การน าของ ออกไปจากอารั ก ขาศุ ล กากร หรื อ การส่ ง ของไ ป ต่างประเทศ ต้องผ่านการตรวจกากับจากกรมศุลกากร ซึ่ งปั จจุ บันกรมศุลกากรให้ดาเนินการได้ 2 รูปแบบ ดังนี้ 1. ขัน้ ตอนการดาเนินกระบวนการทางศุล กากรในระบบ อิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร เป็นของที่ใช้ ระบบการขนส่งที่กรมศุลกากรกาหนดให้ ปฏิบัติพิธีการศุลกากรในระบบอิเล็กทรอนิกส์ คือ การยื่น ใบขนสิน ค้า ในระบบอิเ ล็กทรอนิกส์ โดยผู ้ นาของเข้า หรื อ ผู ้ ส่ ง ของออกต้ อ งลงทะเบี ย นขอเป็ น ผู ้ ด าเนิ น การใน กระบวนการทางศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์ ขัน้ ตอนการดาเนินการ มีดังนี้ 1.1 การส่งข้อมู ลใบขนสินค้าในระบบพิธีการศุลกากร อิเล็กทรอนิกส์ ปั จจุ บันกรมศุลกากรได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ ในกระบวนงานการนาเข้า การส่งออก และการผ่าน ประเทศ เรียกว่า ระบบพิธีการศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์แบบ ไร้เอกสาร ผู ้ท่ีประสงค์จะดาเนินพิธีการศุลกากรในระบบ พิธีการศุลกากรอิเล็กทรอนิ กส์แบบไร้เอกสารต้องได้รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ เ ป็ นผู ้ ส่ ง ข้ อ มู ลในระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบ ไร้เอกสาร โดยศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จะเป็นผู ้ทดสอบโปรแกรมการส่งข้อมู ลต่าง ๆ และอนุมัติให้ เป็นผู ้ส่งข้อมู ลได้ ปั จจุ บันการส่งข้อมู ลสามารถดาเนินการ ได้ 4 วิธี ดังนี้ (1) ผู ้ น า ข อ งเ ข้ า ผู ้ ส่ ง ข อง อ อก จั ด ห า โปรแกรมการส่ ง ข้ อ มู ล และลายมื อ ชื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ส่งด้วยตนเอง icn

14

(2) ผู ้นาของเข้า ผู ้ส่งของออก จ้างตัวแทน ออกของที่ มี โ ปรแกรมการส่ ง ข้ อ มู ล และลายมื อ ชื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นผู ้ส่งให้ (3) ใช้ บริการเคาน์เตอร์เซอร์วิส ซึ่ งให้บริการ การบันทึกข้อมู ลใบขนสินค้าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของ ศุ ล ก า ก ร โ ด ย ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ ไ ด้ รั บ อ นุ มั ติ จ า ก กรมศุล กากรให้เป็นผู ้ให้บริการดังกล่าว ซึ่ งมีวิธีการใช้ บริการ ดังนี้ ผู ้นาของเข้า ผู ้ส่งของออก หรือตัวแทนออกของ ที่ไม่มีโปรแกรมการบันทึกข้อมู ล แต่มคี วามรู้ความเข้าใจ ในด้านการศุลกากร จะเป็นผู ้จัดทาข้อมู ลให้อยู ่ ในรูปแบบ ที่เหมาะสมตามแบบการให้บริการของเคาน์เตอร์เซอร์วิส และเป็นผู ้ตรวจสอบและรับผิดชอบข้อมู ลดังกล่าวด้วย ตนเอง โดยมีวิธีการดังนี้ (3.1) ผู ้ น าของเข้ า ผู ้ ส่ ง ของออก หรื อ ตั ว แทนออกของ จั ด ท าหนั ง สื อ มอบอ านาจเพื่ อ มอบ อานาจให้บุคคลผู ้รับมอบอานาจเป็นผู ้ยื่นข้อมู ลที่อยู ่ใน รู ป แบบที่ เ หมาะสมตามแบบการให้ บ ริ ก าร และเป็ น ผู ้ ล งลายมื อ ชื่ อ การตรวจสอบการบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ต่ อ เคาน์เตอร์บริการ พร้อมทัง้ ต้องมีเลขบัตรประชาชนของ ผู ้รับมอบอานาจจากผู ้น าของเข้า ผู ้ส่งของออก ที่ไ ด้ ลงทะเบียนเป็น “ผู ้รับมอบอานาจให้กระทาการแทน” ในการ ลงทะเบี ย นขอเป็ น ผู ้ ด าเนิ น การในกระบวนการทาง ศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์ แจ้งต่อเคาน์เตอร์บริการด้วย


(3.2) เมื่ อ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารเคาน์ เ ตอร์ บ ริ ก าร บันทึกข้อมู ล เพื่อจัดทาข้อมู ลให้อยู ่ในรูปแบบใบขนสินค้า บุ คคลที่ น าข้ อ มู ล ไปยื่ น ต่ อ เคาน์ เ ตอร์ บ ริ ก ารมี ห น้ า ที่ ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของการบั น ทึ ก ข้ อ มู ล หาก ตรวจสอบแล้ ว พบว่ า ข้ อ มู ล ถู ก ต้ อ ง และอนุ ญ าตให้ เคาน์เตอร์บริการส่งข้อมู ล เคาน์เตอร์บริการจะส่งข้อมู ล เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรและสั่งพิมพ์ ใบขน สินค้าที่ได้รับเลขที่ใบขนสินค้าออกจากระบบ บุ คคลที่นา ข้อมู ลไปยื่นมีหน้าที่ลงลายมือชื่ อในใบขนสินค้าดังกล่าว แทนผู ้นาเข้า ผู ้ส่งออก หรือตัวแทนออกของ ได้ (3.3) ใบขนสิ น ค้ า ที่ ไ ด้ ล งลายมื อ ชื่ อ ไว้ ใ น ข้ อ (2) ต้ อ งน ากลั บ ไปให้ ผู้ น าของเข้ า ผู ้ ส่ ง ของออก หรือ ตัวแทนออกของ เก็บในสถานประกอบการ (4) ใช้ บ ริ การการบั น ทึ กข้ อ มู ล โดยเจ้ า หน้ า ที่ ศุ ล กากร กรณี นี้ มี ค่ า ธรรมเนี ย มการบั น ทึ ก ข้ อ มู ล 100 บาท นอกเหนือจากค่าธรรมเนียมการผ่านพิธีการ ศุลกากร 200 บาท 1.2 การชาระค่าภาษี อากร เมื่อจัดทาและส่งข้อมู ลใบขนสินค้าในระบบพิธีการ ศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์แล้ว ระบบกรมศุลกากรจะแจ้งให้ ผู ้นาเข้า ผู ้ส่งออก ชาระค่าภาษี การชาระค่าภาษี ทาได้ 3 วิธี คือ (1) น าเงิ น สด บั ต รเดบิ ต หรื อ บั ต รเครดิ ต มายื่นขอชาระที่หน่วยงานการเงินของกรมศุลกากรที่ใด ก็ได้ ผู ้ชาระเงินจะได้รับใบเสร็จรับเงินแบบ กศก. 122 (2) ช าระเงิ น ผ่ า นระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข อง ธนาคารที่มีระบบการชาระเงินอัตโนมัติกับกรมศุลกากร ในขั ้น ตอนการยื่ น ใบขนสิ น ค้ า ในระบบพิ ธี ก ารศุ ล กากร อิเล็กทรอนิกส์ (e-Paymemt) (3) ชาระเงินผ่านธนาคารที่ทาความตกลงกับ กรมศุลกากรทัง้ ในรู ปแบบการชาระที่เคาน์เตอร์ธนาคาร หรื อ ระบบอิ เ ล็ กทรอนิ ก ส์ ท่ี ธนาคารให้ บ ริ การตามปกติ หรือชาระผ่านเคาน์เตอร์ 7-11 (e- Bill Paymemt) กรณีการชาระเงินในข้อ (2) และ (3) ผู ้ชาระเงิน สามารถพิ ม พ์ ใ บเสร็ จ รั บ เงิ น ด้ ว ยตนเองผ่ า นระบบ e-Tracking ของกรมศุลกากร และจะได้รับใบเสร็จรับเงิน แบบ กศก. 123 ผู ้นาของเข้า ผู ้ส่งของออกสามารถดูรายละเอียด เพิ่มเติมได้ท่ีเว็บไซต์กรมศุลกากร หัวข้อ “เรื่องน่ารู้ – การชาระค่าภาษี อากร ค่าธรรมเนียมศุลกากร รายได้อื่น และ/หรือเงินประกันของกรมศุลกากร มีวิธีใดบ้าง”

1.3 การตรวจปล่ อ ยของ และรั บ ของไปจาก อารักขา หรือส่งของออกไปต่างประเทศ เมื่อชาระค่าภาษี แล้ว ระบบอิเล็กทรอนิกส์ของ กรมศุ ล กากรจะคั ด เลื อ กใบขนสิ น ค้ า โดยพิ จ ารณา องค์ประกอบต่าง ๆ ของใดที่มีความเสี่ยง ระบบจะคัดเลือก ให้ เ ป็ น ใบขนสิ น ค้ า ที่ ต้ อ งผ่ า นการตรวจทางกายภาพ โดยเจ้าหน้าที่ศุลกากร เรียกว่า “ของต้องตรวจ” หาก ตรวจสอบแล้ วพบว่ าของถูกต้อ งก็ สามารถขอรับ ของ น าเข้ า ไปจากอารั ก ขาศุ ล กากร หรื อ ส่ ง ของออกไป ต่างประเทศได้ ของที่ไม่ มีความเสี่ย งจะไม่ ต้องผ่ านการ ตรวจทางกายภาพโดยเจ้าหน้าที่ศุลกากร และสามารถ นาของออกไปจากอารักขาศุลกากรหรือส่งออกไปนอก ราชอาณาจักรได้ ปั จจุ บัน กรมศุลกากรส่งข้อมู ลการตรวจปล่อย กลับไปยังผู ้ส่งข้อมู ลใบขนสินค้า และเฉพาะการส่งของออก ไปต่ า งประเทศ ผู ้ ส่ ง ข้ อ มู ล ใบขนสิ น ค้ า ขาออกสามารถ จัดพิม พ์ข้อมู ลการรับรองการส่งออกไว้ใ นมุ มล่ างขวา ของใบขนสินค้าขาออก และใบขนสินค้าขาออกที่มีข้อมู ล ดังกล่าวสามารถนาไปใช้ เป็นเอกสารประกอบแสดงการ ส่ ง ออกกั บ หน่ ว ยงานอื่ น ๆ ได้ เช่ น กรมสรรพากร สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นต้น 2. การด าเนิ น กระบวนการทางศุ ล กากรที่ ไ ม่ ต้ อ ง ด าเนิ น พิ ธี ก ารศุ ล กากรในระบบพิ ธี ก ารศุ ล กากร อิเล็กทรอนิกส์ กรมศุ ล กากรได้ ก าหนดให้ ก ารน าเข้ า และการ ส่งออกบางประเภทไม่ต้องดาเนินพิธีการศุลกากรในระบบ พิธีการศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ดังนัน้ ผู ้นาของเข้าหรือ ผู ้ ส่ ง ของออกไม่ ต้ อ งมาลงทะเบี ย นกั บ กรมศุ ล กากร ก็สามารถดาเนินการรับของ ส่งของ ชาระค่าภาษี อากร ได้ ได้แก่ 2.1 การนาของเข้าทางไปรษณีย์ 2.1.1 ของที่ ส่ ง มายั ง ผู ้ รั บ มี ร าคาศุ ล กากร ไม่เกิน 1,500 บาท และไม่ใช่ ของต้องห้ามนาเข้าหรือของ ที่ต้องขออนุญาตนาเข้า 2.1.2 ของที่มีลักษณะเป็นของตัวอย่างที่ใช้ ได้ เพี ย งการเป็ น ตั ว อย่ า ง ไม่ ส ามารถใช้ ป ระโยชน์จ าก ของตัวอย่างนัน้ ได้ ของในข้อ 2.1.1 และ 2.1.2 เนื่องจากเป็นของ ที่ มี ก ฎ ห ม า ย บั ญ ญั ติ ใ ห้ ย ก เ ว้ น อ า ก ร ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท กรมศุลกากรจะส่งมอบของให้บริษัทไปรษณีย์ไทย จากัด (มหาชน) เป็นผู ้นาของไปส่งให้ผู้รับ 15 icn


2.1.3 ของจากผู ้ส่งรายหนึ่งถึงผู ้รับรายหนึ่ง ในคราวเดียวกัน โดยมีราคาของไม่เกิน 40,000 บาท และเจ้าหน้าที่ศุลกากรและเจ้าหน้าที่บริษัทไปรษณีย์ไทย จากัด (มหาชน) ได้ร่วมกันเปิ ดตรวจของ โดยเจ้าหน้าที่ ศุ ล กากรเป็ น ผู ้ ป ระเมิ น ค่ า ภาษี อ ากรส าหรั บ ของนั ้ น เจ้าหน้าที่ศุลกากรจะส่งมอบของให้บริษัทไปรษณีย์ไทย จากัด (มหาชน) นาไปรอส่งมอบ ณ ที่ทาการไปรษณีย์ ใกล้บ้านผู ้รับของ พร้อมส่งแบบแจ้งการรับของให้ผู้รับ ของทราบ ผู ้รับของสามารถไปรับของได้ ณ ที่ทาการ ไปรษณี ย์ ต ามที่ แ จ้ ง และชาระค่ า อากรขาเข้ า และภาษี อื่น ๆ โดยจะได้รับใบเสร็จรับเงินของบริษัทไปรษณีย์ไทย จากัด (มหาชน) เป็นหลักฐานการชาระค่าภาษี กรณี ผู้ รั บ ของไม่ ป ระสงค์ จ ะรั บ ของ หรื อ มี ประเด็นร้องขอให้เจ้าหน้าที่ศุลกากรทบทวนการประเมิน ค่าภาษี อากร ผู ้รับของสามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ไปรษณีย์ เพื่อขอให้ดาเนินการได้ การขอให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ศุ ล กากรทบทวนการ ประเมินค่าภาษี ผู ้รับของสามารถจัดพิมพ์เอกสารการ ขอทบทวนการประเมินจากเว็บไซต์ของกรมศุลกากร และ ส่ ง เอกสารพร้ อ มหลั ก ฐานที่ แ สดงการซื้ อ ขายของ ดังกล่าวให้เจ้าหน้าที่ไปรษณีย์ เพื่อให้ส่งของนัน้ กลับไปที่ ทาการศุลกากร และผู ้รับของไปดาเนินการกับเจ้าหน้าที่ ศุลกากรต่อไป 2.2. การส่งของออกไปต่างประเทศทางไปรษณีย์ ของที่ส ามารถส่งออกทางไปรษณีย์ ได้โดย ไม่ต้องดาเนินพิธีการศุลกากร คือ (1) ของส่งออกที่ไม่เป็นของต้องห้ามหรื อ ต้องขออนุญาตก่อนส่งออก (2) ของที่ไม่ใช้ สิทธิประโยชน์ทางภาษี อากร หรือไม่ใช้ สิทธิยกเว้นอากรตามภาค 4 แห่งพระราชกาหนด พิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 (3) ของที่ ไ ม่ ป ระสงค์ จ ะน าหลั ก ฐานการ ส่งออกไปใช้ เครดิตค่าภาษี มูลค่าเพิ่ม คาเตือน การส่งตัวอย่างสินค้าหรือการส่ง ของออกที่ ป ระสงค์ จ ะใช้ ป ระโยชน์ ใ นเรื่ อ งการเครดิ ต ภาษี มูลค่าเพิ่ม ต้องปฏิบัติพิธีการศุลกากรด้วยระบบ พิธีก ารศุ ล กากรอิ เ ล็ กทรอนิก ส์แ บบไร้เ อกสารเท่ า นั ้น (4) ของทัว่ ไปที่ราคาไม่เกิน 10,000 บาท (5) อัญมณีท่มี ีราคาไม่เกิน 50,000 บาท icn 16

2.3 การนาเข้า ส่งออก ของบางชนิดทางด่าน ชายแดน (1) ก า ร น า ข อ ง ติ ด ตั ว เ ข้ า ม า ท า ง ด่ า น พรมแดน หรื อ จุ ดผ่ า นแดนถาวร หรื อ จุ ดผ่ า นแดน ชัว่ คราว หรือจุ ดผ่อนปรนทางการค้า โดยเป็นของที่มี มู ล ค่ า ไม่ เ กิ น 50,000 บาท (ห้ า หมื่ น บาทถ้ ว น) หรื อ กรณี เ ป็ น ของต้ อ งก ากั ด ในการน าเข้ า ตามกฎหมาย แต่ได้รับอนุญาตจากหน่วยงานที่รับผิดชอบให้นาเข้าได้ และผู ้ น าของเข้ า มี เ งิ น พร้ อ มที่ จ ะช าระอากรให้ เ สร็ จ ใน วันนาเข้านัน้ เจ้ า หน้ า ที่ ศุ ล กากรจะค านวณเงิ น ค่ า ภาษี และออกใบเสร็จรับเงินเป็นหลักฐานการชาระค่าภาษี (2) การส่งออกทางด่านชายแดน มู ลค่าของ ไม่เกิน 50,000 บาท และไม่เป็นของต้องเสียภาษี อากร ขาออก ไม่เป็นของต้องห้าม หรือต้องกากัดการส่งออก ไม่ใช้ สิทธิประโยชน์ทางภาษี อากร ไม่ใช้ สิทธิยกเว้นอากร ตามภาค 4 แห่ ง พระราชกาหนดพิ กัด อั ต ราศุ ล กากร พ.ศ. 2530 ให้ ยื่ น ใบแจ้ ง รายละเอี ย ดสิ น ค้ า ขาออก (กศก.153) เป็นแบบที่กรมศุลกากรกาหนดเพื่อกากับการ ส่งออกของทางด่านชายแดน


2.4 ก า ร น า เ ข้ า - ส่ ง อ อ ก โ ด ย ใ ช้ บ ริ ก า ร ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ข อ ง เ ร่ ง ด่ ว น ที่ ไ ป รั บ / ส่ ง ข อ ง ที่ สถานประกอบการ ก ร ม ศุ ล ก า ก ร อ นุ มั ติ ใ ห้ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ของเร่ งด่ ว นเป็ นผู ้ ด าเนิ นการด้ านพิ ธีการศุ ล กากรแทน ผู ้ น าของเข้ า /ผู ้ ส่ ง ของออกในระบบพิ ธี ก ารศุ ล กากร อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบไร้ เ อกสาร หากผู ้ น าของเข้ า หรื อ ผู ้ ส่ ง ของออกที่ ต กลงให้ ผู้ ป ระกอบการของเร่ ง ด่ ว น ด าเนิ น การด้ า นพิ ธี ก ารศุ ล กากรแทนตน ก็ ไ ม่ ต้ อ ง ลงทะเบียนเป็นผู ้นาของเข้า/ผู ้ส่งของออกกับกรมศุลกากร โดยของที่นาเข้า/ส่งออกต้องมีลักษณะดังนี้ (1) ของนาเข้าที่เป็นเอกสารต่าง ๆ ที่ไม่ต้อง เสี ย อากรตามภาค 2 แห่ งพระราชก าหนดพิ กัด อั ต รา ศุลกากร พ.ศ. 2530 (2) ข อ ง น า เ ข้ า ที่ ส่ ง ม า ยั ง ผู ้ รั บ มี ร า ค า ศุลกากรไม่เกิน 1,500 บาท และไม่ใช่ ของต้องห้ามนาเข้า หรื อ ของที่ ต้ อ งขออนุ ญ าตน าเข้ า หรื อ ของน าเข้ า ที่ มี ลั ก ษณะเป็ น ของตั ว อย่ า งที่ ใ ช้ ไ ด้ เ พี ย งการเป็ น ตั ว อย่ า ง ไม่สามารถใช้ ประโยชน์จากของตัวอย่างนัน้ ได้

(3) ของนาเข้ามู ลค่าไม่เกิน 40,000 บาท และไม่ เ ป็ น ของต้ อ งห้ า มน าเข้ า หรื อ เป็ น ของที่ ต้ อ ง ขออนุ ญ าตน าเข้ า และผู ้ น าของเข้ า ยิ น ยอมให้ ผู ้ ป ระกอบการของเร่ ง ด่ ว นท าหน้ า ที่ แ ทนตนในการ ดาเนินการด้านศุลกากร โดยผู ้ประกอบการของเร่งด่วน จะทาหน้าที่ด้านการศุลกากรพร้อมชาระค่าภาษี อากร ให้ ก่ อ น และจะน าของไปส่ ง ให้ ท่ี ส ถานประกอบการ ของผู ้ รั บ โดยกรมศุ ล กากรจะออกใบเสร็ จ รั บ เงิ น ค่าภาษี อากรตามรายชื่อผู ้นาของเข้า (4) ของส่ ง ออกที่ เ ป็ น เอกสารต่ า ง ๆ ที่ ไม่ ต้ อ งเสี ย อากรขาออก และไม่ เ ป็ น ของต้ อ งห้ า ม ส่งออก หรือเป็นของที่ต้องขออนุญาตส่งออก (5) ของส่งออกมู ลค่าไม่เกิน 500,000 บาท และไม่ เ ป็ น ของต้ อ งเสี ย ภาษี อ ากรขาออก ไม่ เ ป็ น ของต้องห้าม หรื อต้องกากัดการส่ งออก ไม่ใช้ สิท ธิ ประโยชน์ ทางภาษี อ ากร ไม่ ใ ช้ สิ ท ธิ ย กเว้น อากรตาม ภาค 4 แห่ ง พระราชก าหนดพิ กั ด อั ต ราศุ ล กากร พ.ศ. 2530 ภาพจาก: shorturl.at/ksP57 http://www.itd.or.th/event/itdevent20170516/

สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

การใช้หนังสือรับรอง ถิ่นกาเนิดสินค้า

ของอาเซียน (Form D, e-Form D) และ การรั บ รองถิ่ น กาเนิ ด สิ น ค้ า ด้ ว ยตนเอง

(SC1 และ SC2)

วันเสาร์ที่ 12 กันยายน 2563 โรงแรม มิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น

ลงทะเบียนออนไลน์เพื่อสารอง ทีน่ งั่ ได้ทาง http://icis.ic.or.th

17 icn


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

IC TALK ON ZOOM JOIN A TRAINING ON

Energize Your Talk for New Normal

<<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดสัมมนาออนไลน์ฟรีสาหรับสมาชิ กภายใต้โครงการ “IC Talk on Zoom” เรื่อง “Energize Your Talk for New Normal” เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2563 ผ่านโปรแกรม Zoom ที่สามารถรองรับ การฝึ กอบรมและสัมมนาในยุ ค Social Distancing ท่ามกลางสถานการณ์โควิด-19 ที่ทุกคนต้อง Work form Home หยุ ดเชื้อเพื่อชาติ แต่การเรียนรู้ก็ต้องไม่หยุ ดนิง่ การสัมมนาครัง้ นีไ้ ด้รับเกียรติจาก อาจารย์อรพินท์ ธีระตระกูลชัย ผู ้เชี่ ยวชาญด้านการพัฒนาบุ คลากร การปลุกพลัง และการทางานเป็นทีม เป็นวิทยากรบรรยายและทากิจกรรมประกอบการบรรยาย เพื่อให้สมาชิ กของ สมาคมฯได้รับความรู้และเพิม่ พลังใจจากการพู ดและร่วมทากิจกรรมกับวิทยากร เพื่อปลุกไฟในการทางาน (Energize Your Power) ส าหรั บ การด าเนิ น ชี วิ ต แบบปกติ ใหม่ (New Normal) โดยหั ว ข้ อ การบรรยายและการท ากิ จ กรรม ประกอบด้ ว ย สาเหตุ ที่ ท าให้ ก ารสื่ อ สารไม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ วิ ธี ก ารสร้ า งการสื่ อ สารให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในยุ ค New Normal เทคนิคการสื่อสารกับทีมเมื่อต้องทางานจากที่บ้าน (Work from Home) ทัง้ นี้ วิทยากรได้เปิ ดโอกาสให้ ผู ้เข้าร่วมสัมมนาได้ซกั ถามประเด็นปั ญหาที่เป็นข้อสงสัยทัง้ ในส่วนของการบรรยายและการทากิจกรรม ซึ่ งสามารถ โต้ตอบกับวิทยากรได้เสมือนอบรมในห้องสัมมนา เพื่อนาข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ ในการปฏิบัติงานและการดาเนินชี วิตได้ อย่างมีความสุขภายใต้สถานการณ์ที่ไม่ปกติในปั จจุ บัน สมาชิ กสมาคมฯสามารถติดตามหลักสูตรสัมมนาออนไลน์ที่น่าสนใจฟรีสาหรับสมาชิ กได้ที่ http://icis.ic.or.th ห รื อ www.ic.or.th ห รื อ ส อ บ ถ า ม ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ พิ ่ม เ ติ ม ท า ง โ ท ร ศ ัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 2 0 2 - 2 0 4 email: cus_service@ic.or.th icn 18


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

IC TALK ON ZOOM JOIN A TRAINING ON

The Power of Positive Feedback

<<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดสัมมนาออนไลน์ฟรีสาหรับสมาชิ กภายใต้โครงการ “IC Talk on Zoom” เรื่อง “The Power of Positive Feedback” เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2563 ผ่านโปรแกรม Zoom ที่สามารถรองรับการ ฝึ กอบรมและสัมมนาในยุ ค Social Distancing ท่ามกลางสถานการณ์โควิด-19 ที่ทุกคนต้อง Work form Home หยุ ดเชื้อเพื่อชาติ แต่การเรียนรู้ก็ต้องไม่หยุ ดนิง่ การสัมมนาครัง้ นีไ้ ด้รับเกียรติจาก ดร.ทวีวรรณ กมลบุ ตร ผู ้เชี่ ยวชาญด้านการบริหารจัดการทรัพยากร บุ คคล และงานบริก ารลูก ค้ า (Customer Service Excellent) เป็ นวิ ทยากรบรรยายและท ากิ จกรรมประกอบการ บรรยาย โดยหัวข้อการบรรยายและการทากิจกรรมประกอบด้วย Growth Mindset และปั ญหาของการให้ Feedback เทคนิค 3E เตรียมพร้อมก่อน Feedback เทคนิคการให้ Feedback แบบ VIP การสร้างบรรยากาศและพืน้ ที่ปลอดภัย 3R สร้า งผลลั พธ์ เสริมความสัม พันธ์ และการขอบคุณเป็นส่วนหนึ่งของการให้ Feedback ทั ง้ นี้ วิท ยากรได้เปิ ด โอกาสให้ ผู้ เ ข้ า ร่ว มสั ม มนาได้ ซ ักถามประเด็ น ปั ญหาที่ เ ป็ นข้ อ สงสัย ทั ง้ ในส่ ว นของการบรรยายและการท ากิ จ กรรม ซึ่ งสามารถโต้ตอบกับวิทยากรได้เสมือนอบรมในห้องสัมมนา เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาสามารถนาข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ ใน การปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ สมาชิ กสมาคมฯสามารถติดตามหลักสูตรสัมมนาออนไลน์ท่ีน่าสนใจฟรีสาหรับสมาชิ กได้ท่ี http://icis.ic.or.th หรือ www.ic.or.th หรือสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมทางโทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 202-204 email: cus_service@ic.or.th 19 icn


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

IC TALK ON ZOOM JOIN A TRAINING ON

Agile for Business

<<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดสัมมนาออนไลน์ฟรีสาหรับสมาชิ กภายใต้โครงการ “IC Talk on Zoom” เรื่อง “Agile for Business” เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ผ่านโปรแกรม Zoom ที่สามารถรองรับการฝึ กอบรมและ สัมมนาในยุ ค Social Distancing ท่ามกลางสถานการณ์โควิด -19 ที่ทุกคนต้อง Work form Home หยุ ดเชื้อ เพื่อชาติ แต่การเรียนรู้ก็ต้องไม่หยุ ดนิ่ง การสัมมนาครัง้ นี้ได้รับเกียรติจาก ดร. ภาวัต อุ ปถัมภ์เชื้อ ผู ้เชี่ ยวชาญด้านการลดต้นทุนและการเพิ่ม ประสิทธิภาพ เป็นวิทยากรบรรยายและทากิจกรรมประกอบการบรรยาย โดยหัวข้อการบรรยายและการทากิจกรรม ประกอบด้วย แนวคิด Agile/ทาไมต้องทา Agile, The 12 Agile Principle, องค์กรกับการประยุ กต์ใช้ Agile, Scrum Framework การนาแนวคิด Agile ไปใช้ และกรณีศึกษา ทัง้ นี้ วิทยากรได้เปิ ดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ซกั ถาม ประเด็นปั ญหาที่เป็นข้อสงสัย ซึ่ งสามารถโต้ตอบกับวิทยากรได้เสมือนอบรมในห้องสัมมนา เพื่อนาข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ ใน การปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึน้ สมาชิ กสมาคมฯสามารถติดตามหลักสูตรสัมมนาออนไลน์ที่น่าสนใจฟรีสาหรับสมาชิ กได้ที่ http://icis.ic.or.th หรื อ www.ic.or.th ห รื อ ส อ บ ถ า ม ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ พิ ่ ม เ ติ ม ท า ง โ ท ร ศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 2 0 2 - 2 0 4 email: cus_service@ic.or.th icn 20


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

IC TALK ON ZOOM JOIN A TRAINING ON

มนุษย์เงินเดือน ก็ รวยได้

<<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนาออนไลน์ ส าหรั บ สมาชิ ก ภายใต้ โ ครงการ “IC Talk on Zoom” เรื่ อ ง “มนุษย์เงินเดือนก็รวยได้ ” เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2563 ผ่านโปรแกรม Zoom ที่สามารถรองรับการฝึ กอบรมและ สัมมนาในยุ ค Social Distancing ท่ามกลางสถานการณ์โควิด-19 ที่ทุกคนต้อง Work form Home หยุ ดเชื้อ เพื่อชาติ แต่การเรียนรู้ก็ต้องไม่หยุ ดนิง่ การสัมมนาครัง้ นีไ้ ด้รับเกียรติจาก คุณอนันต์ พันธ์พิพัฒไพบู ลย์ ผู ้เชี่ ยวชาญด้านการวางแผนการเงิน CFP® และผู ้ ว างแผนการลงทุ น รั บ อนุ ญ าตจากสานั ก งานคณะกรรมการก ากั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ (ก.ล.ต.) เป็ นวิ ท ยากรบรรยายและท ากิ จ กรรมประกอบการบรรยาย โดยหั ว ข้อ การบรรยายและการท ากิ จ กรรม ประกอบด้ ว ย การสารวจสุข ภาพทางการเงิ น มนุ ษ ย์ เงิ น เดื อนแบบเรา.. ก าลั งเป็ นคนจนหรือ คนรวย? เริ่ม เขี ย น แผนการเงินเพื่อบรรลุเป้ าหมายในชีวิต กระบวนการสร้างความรวยในแบบฉบับมนุษย์เงินเดือน ทัง้ นี้ วิทยากรได้เปิ ด โอกาสให้ ผู้เ ข้ า ร่ว มสั มมนาได้ ซ ัก ถามประเด็ นปั ญ หาที่ เ ป็ นข้ อ สงสั ย ซึ่ ง สามารถโต้ ต อบกั บ วิท ยากรได้ เสมื อ นอบรม ในห้องสัมมนา เพื่อนาข้อมู ลที่ได้รับไปปรับใช้ กับการดารงชีวิตในยุ คปั จจุ บันได้อย่างมีความสุขแบบยัง่ ยืน สมาชิ กสมาคมฯสามารถติดตามหลักสูตรสัมมนาออนไลน์ที่น่าสนใจฟรีสาหรับสมาชิ กได้ที่ http://icis.ic.or.th หรื อ www.ic.or.th ห รื อ ส อ บ ถ า ม ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ พิ ่ ม เ ติ ม ท า ง โ ท ร ศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่ อ 2 0 2 - 2 0 4 email: cus_service@ic.or.th 21 icn


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน

เตรียมเอกสารกาหนด วันนาเข้าครัง้ แรก / ขอรับ Username และ Password ระบบ IC Online (ภายใน 1 วันทาการ)

ตามมาตรา 36 (1), (2)

คีย์บัญชีรายการ วัตถุดบิ / เตรียม เอกสารการลงทะเบียน เข้าสู่ระบบ RMTS สมัครใช้ บริการ RMTS

ขออนุมัติ บัญชีรายการ วัตถุดบิ กับ BOI

คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดบิ คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต

คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดบิ

ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน

BOI Approve

30 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

ทาให้คุณ ติดต่อ...

IC

สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านวัตถุดิบ

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 310, 313

ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน


ยกระดับ

เติม

เดิม

S-Curve(1) ใหม่

จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com

นับวันเทคโนโลยีมีบทบาทสาคัญเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ นอกจากสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา ตัง้ แต่เกิดจนตายแล้ว ทุกคนยังรับรู้และสัมผัสได้เป็นอย่างดีว่า เทคโนโลยีเองก็ถูกพัฒนาให้เปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด และรวดเร็ ว เพราะวั ฏ จั ก รของระบบการผลิ ต ทั่ ว โลกมี ลัก ษณะแบบเดี ยวกั น ที่ เรีย กว่ า S-Curve เมื่ อ สิน ค้ า หรื อ บริ ก ารใด ๆ ท าการผลิ ต และจั ด จ าหน่ า ยติ ด ตลาดไปถึ ง ระยะเวลาหนึ่ง ก็จะมีการคิดค้นวิจัยจนได้เทคโนโลยีใหม่ที่มี ความสามารถดีกว่า ประหยัดกว่า หรือช่ วยเพิ่มคุณค่าใหม่ ๆ ให้ กั บ สิ น ค้ า และบริ ก ารรู ป แบบเดิ ม เป็ น การน ามาใช้ แ ทน เทคโนโลยีเดิมหรือเพิ่มเติมต่อยอดจากสิ่งที่มีอยู ่ เกิดสิ่งที่ เราเรียกว่า Next S-Curve และ New S-Curve ดังรูป

ด้ ว ยเหตุ นี้เราจึ ง เห็ น พั ฒ นาการของกระบวนการ ผลิต กระบวนการให้บริการ ตลอดจนสินค้าและบริการใหม่ ๆ ที่มีความสามารถสูงกว่าเดิม อาทิ ระบบร้านค้าอัจฉริยะ (Intelligent Trading) ที่ใช้เทคโนโลยีทันสมัยเข้ามาช่ วยจัดการ ผสมผสานช่ องทางการซื้อขายแบบมีหน้าร้านกับการขาย แบบออนไลน์ ได้อย่างกลมกลืน โดยผู ้ซื้อสามารถสลับใช้ บริ ก ารทั ้ง สองช่ องทางได้ เ สมื อ นเป็ น ช่ องทางเดี ย วกั น (Omni Channel) การให้บริการและการทาการตลาดผ่าน Social Media ซึ่ งถื อเป็ นเทคโนโลยี การสื่อ สารสมั ยใหม่ ที่ องค์กรทัง้ หลายต้องมีและต้องใช้ในการทาการตลาดยุ คใหม่ (Digital Marketing) เป็ น การผนวกเอาความสามารถ ด้านการจัดแบ่งกลุ่มข้อมู ล วิเคราะห์ คาดการณ์ และให้ ข้อ เสนอแนะ (Data Analytics) ผ่ านความสามารถของ Digital Technology ในการเฝ้ าติดตาม สะกดรอย และบันทึก ข้อมู ลต่าง ๆ จากการคลิกกดไลค์ กดแชร์ และเปิ ดชมวิดีโอ คลิปต่างๆเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่ งมีความหมายมากกว่าแค่การ เ ป็ น “ ฐ า น ข้ อ มู ล ลู ก ค้ า ( Database)” ห า ก แ ต่ เ ป็ น “ฐานความรู้ เ กี่ ย วกั บ ลู ก ค้ า (Knowledge Base)” ที่ สามารถอธิบายพฤติกรรมต่าง ๆ ของลูกค้า และคาดการณ์ ไปถึงแนวโน้มในอนาคตได้เป็นอย่างดี

เทคโนโลยีมีมากมายหลายด้านตามการประยุ กต์ ใช้ งาน เฉพาะ เช่ น เทคโนโลยี ท างการแพทย์ ได้ แ ก่ การผ่ า ตั ด ส่องกล้อง การผ่าตัดแก้ไขภาวะสายตาผิดปกติด้วยเลเซอร์ หรือที่เรียกว่าเลสิก การใช้เลเซอร์ในการผ่าตัดแทนการกรีด ผิวหนังด้วยมีด เทคโนโลยีอาหารสาหรับการถนอมอาหาร เพื่อยืดอายุ ให้ยาวนานขึน้ ซึ่ งในอดีตจะใช้ วิธีการถนอมอาหาร ด้วยการทาให้หวานมาก เค็มมาก เย็นมาก หรือแห้งมาก แต่เทคโนโลยีอาหารใหม่ ในปั จจุ บันสามารถผสมผสานต่อยอด ให้เกิดรูปแบบการถนอมอาหารใหม่ ๆ อย่างเทคโนโลยีการทา แห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dry) หรือการทาแห้งแบบแช่ เยือกแข็ง (Freeze Dry) เทคโนโลยีวัสดุ เช่ น การพัฒนาวัสดุที่เป็น คาร์บอนไฟเบอร์ที่มีนา้ หนักเบา แต่มีความเหนียว แข็งแรง ทนทาน และรับนา้ หนักได้มาก และเทคโนโลยีดิจิทัลที่ฝังตัว อยู ่ในสมาร์ทโฟนที่เราใช้งานกันอยู ่ ในปั จจุ บัน 23

icn


การยกระดั บและปรั บปรุ ง กระบวนการผลิ ต ภายใน โรงงานใหม่ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย (Smart Manufacturing) ด้ วยการน าเทคโนโลยี หุ่ น ยนต์ แ ละระบบอั ต โนมั ติ (Robot and Automation) มาใช้ แทนแรงงานคนที่เริ่มหายากและมี ต้นทุนที่สูง โดยเฉพาะในกระบวนการผลิตที่เสี่ยงอันตราย มีความสกปรก มีอุณหภูมิในพืน้ ที่ปฏิบัติงานที่ร้อนมากหรือ หนาวมาก และสภาพของพนักงานที่เหนื่อยล้าจากการที่ ต้อ งออกแรงมากติ ด ต่ อ กั น ปั จ จั ย ดั ง กล่ า วเป็ น ปั ญ หาที่ โรงงานในประเทศญี่ปุ่นเคยเผชิญมาก่อน (ภาษาญี่ปุ่นเรียก สภาพนี้ว่ า 3K ประกอบด้ ว ย K ที่ 1 きつい KITSUI คิสึอิ ออกเสียงแบบคนญี่ปุ่นว่า คิซ่ึ ย แปลว่า เหนื่อย หนัก ยาก K ที่ 2 汚い KITANAI คิตะนะอิ ออกเสียงแบบคน ญี่ปุ่นว่า คิตะไน แปลว่า สกปรก และ K ที่ 3 危険 KIKEN คิเค็ง ออกเสียงแบบคนญี่ ปุ่นว่า ขิเค็ ง แปลว่าอัน ตราย) และเป็นเหตุผลให้เกิดการย้ายฐานการผลิตของโรงงานจาก ประเทศญี่ปุ่นมาในภูมิภาคอาเซียนในช่ วง 30-50 ปี ที่ผ่านมา รวมถึงประเทศไทย ดังนัน้ จะเห็นได้ว่า ปั ญหาการขาดแคลน แรงงานระดั บปฏิ บั ติ ก าร และการหาคนมาท างานในบาง กระบวนการผลิตไม่ ได้ที่โรงงานในประเทศไทยกาลังเผชิญอยู ่ ก็ไม่ต่างอะไรกับที่ญี่ปุ่นเคยประสบเมื่อ 30 ปี ก่อน

ระบบการทาฟาร์มอัจฉริยะ (Smart Farm) เป็นการทา เกษตรที่เที่ยงตรงแม่นยาสูง ผสมผสานการปลูกพืชมากมาย หลายชนิด แบ่งโซนและแบ่งพืน้ ที่เพาะปลูกออกเป็นแปลงย่อย ๆ แต่อยู ่ภายใต้ระบบการจัดการเดียวกัน ซึ่ งทาให้มองเห็นการ เติบโตของพืชแต่ละชนิดตามแผนการผลิตที่ได้กาหนดไว้ เป็น ผลให้ มี ผ ลผลิ ต ทยอยออกมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งทุ ก สั ป ดาห์ ควบคุมผลผลิตได้ทัง้ ปี โดยไม่ มีปัญหาเรื่องฤดูกาลอีกต่อไป ฟาร์ มแบบใหม่ นี้มี การประยุ กต์ ใช้ เทคโนโลยี ที่ เรี ยกว่ า IoT (Internet of Thing) ผ่านอุ ปกรณ์ตรวจวัดค่าต่างๆที่เรียกว่า เซนเซอร์ (Sensor) ซึ่ งติดตัง้ ไว้ที่จุดต่าง ๆ ในฟาร์ม โดยจะส่ง ข้อมู ลกลับมาที่แผงวงจรควบคุม (Microcontroller) สาหรับ สัง่ การต่างๆผ่านระบบอัตโนมัติตามที่ได้ตงั ้ โปรแกรมไว้ทัง้ การ ควบคุมการให้นา้ การให้ธาตุอาหาร การปรับสภาพอากาศ ภายในโรงเรือน การวิเคราะห์ความเป็นกรดด่างของดิน ควบคู่ ไปกับการใช้ข้อมู ลการเพาะปลูก ที่สาคัญใช้ แรงงานคนน้อยมาก แต่สามารถควบคุมการเพาะปลูกได้หลายสิบหลายร้อยไร่ icn 24

เทคโนโลยี ก ารจั ด การ วิ ท ยาการสมั ย ใหม่ นอกจากเทคโนโลยี ใ นการผลิ ตจะมี ค วามส าคั ญ มากแล้ว เทคโนโลยีที่ใช้ ในการบริหารจัดการ (Management Technology) ก็มีความสาคัญไม่แพ้กัน ดังนัน้ โมเดลการ จัด การองค์ ก รแบบใหม่ ๆ จึ ง ถู ก คิ ด ค้น ขึ้น เพื่ อ เตรี ย ม องค์กรให้พร้อมเผชิญหน้ากับทุกวิกฤติและความท้า ทาย ใหม่ ๆ หนึ่งในโมเดลที่ได้รับความนิยมคือ Performance Excellence Framework หรือกรอบการบริหารจัดการ องค์กรที่เป็นเลิศ ซึ่ งมีต้นแบบมาจาก Baldrige National Quality Award ในสหรั ฐ อเมริ ก า และถู ก น าไปอ้ า งอิ ง หรื อ ประยุ กต์ ใ ช้ ใ นหลายประเทศ เกณฑ์ แ ต่ ล ะข้ อ มี ก าร ปรับปรุ ง เปลี่ยนแปลงให้ทันสมัย สอดรับ กับบริบ ทโลกอยู ่ ตลอดเวลา และผนวกเอาหั ว ข้ อ ใหม่ ๆ เข้ า ไว้ เพื่ อ ให้ ผู ้บริหารองค์กรต่าง ๆ ได้ตระหนักและเห็นถึงความสาคัญ ของประเด็นเหล่านี้ ซึ่ งผมได้นาข้อคิดของ นพ.สิทธิศกั ดิ์ พฤกษ์ ปิ ติ กุ ล ผู ้ เ ชี่ ย วชาญและผู ้ ต รวจประเมิ น รางวั ล คุ ณ ภาพแห่ ง ชาติ มาขยายความเพิ่ ม เติ ม ตามหมวด ต่าง ๆ ดังนี้

หมวด 1 : ภาวะผู ้นาและการเปลี่ยนแปลง สร้างสมดุล ใหม่ ให้ กับธุ รกิจที่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของโลก และ ก่อให้ เกิดความยั่งยื นในอนาคต ทั ง้ นี้ผู้ นาจะต้ องก าหนด ทิศทางและเป้ าหมายขยายออกไปรอบทิศ พิจารณารอบด้าน ถึ งผู ้ มี ส่ วนได้ ส่ วนเสี ยทุ กกลุ่ ม ตั วอย่ างค าถาม (1) วิ สั ยทั ศน์ พั นธกิ จ และค่ านิ ยมองค์ กรต้ องปรั บ ไหม (2) ภาวะผู ้นาแบบใหม่ที่จาเป็นคืออะไร (3) กลไกการสื่อสาร และสร้างความผู กพันเพื่อให้บุคลากรเห็นความจาเป็นและ ร่วมมือกันปรับโฉมองค์กรจะทากันอย่างไร (4) มีความเสี่ยง ใหม่ ๆ ที่ต้องเตรียมรับมืออะไรบ้าง หมวด 2 : กลยุ ทธ์และรู ปแบบธุ รกิจ ควรมองไกล ไปในอนาคต ประมวลทุ ก เหตุ ก ารณ์ ที่ อ าจเป็ นไปได้ จากทัง้ แนวโน้ม (Trend) และความไม่แน่นอน (Uncertainty) โดยสร้ า งภาพในอนาคตถึ ง ทางเลื อ กและทางรอดไว้ หลาย ๆ ทางที่ เ รี ย กว่ า ฉากทั ศ น์ (Scenario) เพื่ อ เตรี ย มการรั บมื อ ไว้ ล่ ว งหน้ า แต่ ต้ อ งสรุ ป ให้ ไ ด้ ก่ อ นว่ า จะใช้ ทางเลือกใดที่เหมาะสมและตรงกับวิสัยทัศน์องค์กร มากที่ สุ ด จากนั ้น น ามาก าหนดจุ ดมุ ่ ง เน้ น ทางธุ รกิ จ ให้ ช ั ด เจน อาจไม่ จ าเป็ นต้ อ งท ามากมายหลากหลาย ประเภท แต่ ต้ องเก่ งเฉพาะด้ าน เชี่ ยวชาญเฉพาะอย่ าง แ ล ะ ส ร้ า ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ใ ห้ ลู ก ค้ า ไ ด้ จ ริ ง


ตั วอย่ า งค าถาม (1) กลยุ ทธ์ ที่ จ าเป็ น ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นมี อะไรบ้ า ง (2) รู ป แบบการท าธุ รกิ จ ในอนาคต (Business Model) ควรเป็นอย่างไร (3) ระบบงานและโครงสร้างองค์กร แบบใดที่ ตอบสนองและรองรั บกั บอนาคต (4) มี โอกาสเชิ ง กลยุ ทธ์ที่สาคัญอะไรบ้าง (5) นวัตกรรมใหม่ ๆ ที่น่าลงทุนมี อะไรบ้าง (6) แผนงานระยะสัน้ และระยะยาวที่จาเป็นคืออะไร (7) สมรรถนะหลักใหม่ที่ต้องเร่งสร้างคืออะไร (8) พันธมิตร กลุ่มใหม่ที่ต้องรีบจับไม้จับมือคือใคร หมวด 3 : ลูกค้าและตลาด แบ่งหน่วยธุ รกิจใหม่โดย เปลี่ยนการแบ่งจาก Function-based (ตามลักษณะงาน) ที่เป็นฝ่ ายและแผนกในแนวดิง่ (Silo) มาให้ความสาคัญกับ การท างานเป็ น กระบวนการแบบข้า มสายงานในแนวราบ (Cross-functional) และมุ ่ ง เน้ น ที่ ทั ก ษะความสามารถ Knowledge-based บู ร ณาการความเชี่ ย วชาญช านาญ ของบุ คลากรในองค์ ก ร เพื่ อ ผลั ก ดั น สิ น ค้ า และบริ ก ารที่ สอ ดค ล้ อ งกั บ แน วโ น้ ม ข อ งตลา ด สอ ดรั บกั บ กา ร เปลี่ยนแปลงของโลก และตรงตามความต้องการของลูกค้า โดยมอบหมายให้ มีผู้ รั บ ผิ ด ชอบที่ ช ัด เจนในแต่ ล ะกลุ่ ม งาน ตั ว อย่ า งค าถาม (1) ลู ก ค้ า และตลาดกลุ่ ม ใหม่ คื อ ใคร (2) ความต้ อ งการที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปของลู ก ค้ า คื อ อะไร (3) อะไรคือนวัตกรรมที่ต้องทาให้เกิดขึน้ (4) รูปแบบการทา ตลาดและสร้างความสัมพันธ์ แบบใหม่ หน้าตาเป็ นอย่างไร (5) จะใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ อะไรที่ทันสมัยมาช่ วย หมวด 4 : การวัดและวิเคราะห์ข้อมู ล เพราะถ้าองค์กร ไม่วัดก็จะไม่รู้(สถานะ) และเมื่อองค์กรไม่รู้ก็จะไม่สามารถบริหาร จัดการองค์กรให้ดีขนึ้ ได้ ตัวอย่างคาถาม (1) ระบบวัดผลต้อง ปรับเปลี่ยนอะไรบ้าง (2) เราจะติดตามความคืบหน้าของการ ปรับโฉมองค์กรอย่างไร (3) ความรู้ใหม่อะไรบ้างที่จาเป็นเพื่อ รองรั บอนาคต (4) เทคโนโลยี สารสนเทศอะไรบ้ า งที่ ต้ อ ง ปรับปรุ งเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง หมวด 5 : บุ คลากร จัดกระบวนทัพ ปรับโครงสร้าง องค์กร ลดกาลังคนในหน่วยงานสนับสนุนให้เล็กแต่กระชับ ด้วยการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ และโยกย้ายกาลังคน บางส่วนไปเสริมทัพหน่วยธุ รกิจใหม่ในการสร้างรายได้ด้วย การยกระดับและต่อยอดความสามารถเดิม (Up-skill) ให้สูงขึน้ ส่งเสริมเพิ่มเติมขีดความสามารถใหม่ (Re-skill) ให้หน่วยงาน ด้ า นสนั บ สนุ น ที่ โ ยกย้ า ยไป ตั ว อย่ า งค าถาม (1) ความรู้ ความสามารถ และอั ต ราก าลั ง คนที่ จ าเป็ น เพื่ อ รองรั บ อนาคตคืออะไร (2) โครงสร้างองค์กรที่เหมาะสมควรเป็น แบบใด (3) รู ปแบบการว่าจ้างและการบริหารจัดการบุ คลากร ต้องเปลี่ยนไหม (4) วัฒนธรรมองค์กรใหม่ควรเป็นอย่างไร (5) ระบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นไหม (6) ต้ อ งพั ฒ นาผู ้ น าและบุ คลากรเพิ่ ม เติ ม อะไรบ้ า ง (7) องค์กรจะจัดการการเปลี่ยนแปลงด้านบุ คลากรอย่างไร

หมวด 6 : กระบวนการ สร้างเครือข่ายและขยาย พันธมิตรทางธุ รกิจในด้านที่องค์กรไม่มีความชานาญและ ประสบการณ์มาก่อน แต่เอือ้ ให้การผลิตสินค้าและบริการ ในยุ คใหม่ มี ค วามแข็ ง แรงและครบวงจรมากขึ้ น ทั ้ง นี้ ไม่ควรดาเนินการตามมาตรฐานเพียงอย่างเดียว แต่ต้อง มี ก ารปรั บ ปรุ งให้ ดี ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อี ก ทั ้ง ยั ง ต้ อ ง พิจารณาสร้างสรรค์แนวคิดใหม่ ประเมินความเป็นไปได้ เลือกลงทุนในสิ่งที่จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหญ่อย่าง ก้ า วกระโดดควบคู่ พ ร้ อ มกั น ไปด้ ว ย ตั ว อย่ า งค าถาม (1) กระบวนการทางานต้องปรับเปลี่ยนอะไรบ้าง (2) จะใช้ เทคโนโลยีใหม่ ๆ ช่ วยในการควบคุมกระบวนการอะไรได้บ้าง (3) จะสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้ทันกับการแข่งขันอย่างไร (4) จะบริหารพันธมิตรและผู ้ส่งมอบกลุ่มใหม่ ๆ เพื่อสนับสนุน ความส าเร็ จ และช่ วยสร้ า งนวั ต กรรมใหม่ ๆ อย่ า งไร (5) ภาวะฉุกเฉินรู ปแบบใหม่ ๆ ที่ต้องเผชิ ญคืออะไร และจะ รับมืออย่างไร หมวด 7 : ผลลัพธ์ นอกจากองค์กรต้องมีตัวชีว้ ัด (KPIs) ในระดั บองค์ กรแล้ว จ าเป็ นต้ องถ่ ายทอดลงมายั ง หน่วยธุ รกิจต่าง ๆ ในระดับกระบวนการด้วย และถ้าเป็นไปได้ ในองค์ ก รที่ มี ค วามพร้ อ มควรถ่ า ยทอดลงไปถึ ง ระดั บ ตาแหน่งงาน และอาจส่งเสริม Passion ให้ทุกคนผ่าน OKRs (Objective and Key Results) ตัวอย่างคาถาม (1) ตัววัด ส าคั ญที่ ต้ องปรั บเปลี่ ยนคื ออะไร (2) เป้ าหมายคื ออะไร (3) คู่เทียบใหม่คือใคร (4) จะติดตามผลลัพธ์กันอย่างไร ซึ่ งปั จจุ บั น ส านั ก งานรางวั ล คุ ณ ภาพแห่ ง ชาติ ได้สร้างเครื่องมือเพื่อช่ วยผู ้บริหารองค์กรต่าง ๆ สาหรับใช้ ในการประเมินองค์กรของตนเอง ไม่ต่างอะไรกับชุ ดตรวจ เชือ้ ไวรัสโควิด-19 โดยองค์กรสามารถใช้ ชุดตรวจเพื่อตรวจ สุ ขภาพองค์ กรตามเกณฑ์ TQA ผ่ านโปรแกรมที่ ชื่ อว่ า “SMART-Ex” ซึ่ งเป็นเครื่องมือใหม่ที่จะช่ วยให้การพัฒนา องค์กรเป็นเรื่องง่ายมากขึ้น ที่มา https://www.tqa.or.th/ 2020/07/smart-ex-program/ นอกเหนือจากเทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหม่แล้ว การยกระดั บ S-Curve เดิ ม และเติ ม S-Curve ใหม่ นั ้น จะต้ อ งอาศัย ปั จ จั ย อื่ น ใดอี กบ้ าง ติ ดตามกั นได้ ใ นฉบั บ ต่อไป ภาพจาก: http://sroysudait.blogspot.com/p/blog-page_6184.html https://bwhclinicalandresearchnews.org/2017/07/19/the-new-wave-of-imaging-technology-in-medicine/ http://thaidatadive.com/services.php https://sites.google.com/site/jaruwankhemton/ 25

icn




จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว เส้าหลิน

ท่านเคยเดินเซเป๋ ไปเป๋ มาเหมือนคนเสียศูนย์ไหม! อาการที่เกิดขึ้นอาจเป็นเพราะสุขภาพร่างกาย หรือเป็น ผลข้ า งเคี ย งจากการที่ไ ด้ พ บเจอกั บ เหตุ การณ์ท่ี ไ ม่ เ คย คาดคิ ด ไม่ ค าดฝั น แต่ มั น ดั น มาเกิ ด ขึ้ น กั บ เราเสี ย นี่ หลังเกิดอาการเป๋ แล้ว ท่านทาอย่างไร? หลายตาราบอกว่าให้พยายามเรียก “สติ” หรือ บังคับ “จิต” ของตนให้กลับมาเร็วที่สุด หรือถ้าขณะนัน้ มีใครสักคนอยู ่ข้าง ๆ เห็นเข้า อาจเข้ามาช่ วยประคองไป ยังที่ปลอดภัย หากเปรียบเทียบกับคนป่ วยไข้ท่ีมีอาการ หนักถึงขัน้ เดินไม่ ไหวจนต้องมาฝึ กเดินกันใหม่ ทุกคนต้อง ผ่านการรักษาด้วยกายภาพบาบัดทัง้ สิน้ ค่อย ๆ ประคอง จนกลั บ มาเดิ น ได้ แ ข็ ง แรงดั ง เดิ ม ซึ่ งบางครั ้ง “จิ ต ” ก็ต้องการการบาบัดเช่ นกัน... บาบั ด จิ ต พั ฒ นาตน: ทุ ก ความสาเร็ จ ย่ อ มเป็ น ไปได้ "เธอจงระวังความคิดของเธอ เพราะความคิดของเธอจะกลายเป็นความประพฤติ เธอจงระวังความประพฤติของเธอ เพราะความประพฤติ ข องเธอจะกลายเป็ น ความเคยชิน เธอจงระวังความเคยชินของเธอ เพราะความเคยชินของเธอจะกลายเป็นอุ ปนิสัย เธอจงระวังอุ ปนิสัยของเธอ เพราะอุ ปนิสัยของเธอจะกาหนดชะตากรรมของ เธอชัว่ ชีวิต" คาสอนของหลวงพ่อชา สุภัทโท แม้ผ่านพ้นไป หลายสิบปี แต่ยังคงสะท้อนให้เห็นถึงสิ่งที่วนเวียน เกิดขึ้น และเปลี่ยนแปลงไปตามวัฏจักร ดังนัน้ การเปลี่ยนแปลง จึงถื อเป็น ด่า นแรกซึ่ งเราต้อ งบ าบั ดจิต ให้ เกิ ดความคิ ด และความเชื่อที่ว่า.... icn 28

1. การเปลี่ย นแปลงเป็ น ไปได้ เ สมอ เหตุ การณ์ ภายนอกเราไม่ ส ามารถควบคุ ม ได้ แต่ ส ามารถ ปรับเปลี่ยนใจของเราเองได้ เช่ น ฝนตกห้ามไม่ ได้ แต่เรา สามารถเลื อ กได้ ว่ า จะตอบสนองกั บ ฝนอย่ า งไร เช่ น ไม่ต้องออกจากบ้าน หรือออกจากบ้าน แต่หาร่มหรือ เสือ้ กันฝนติดตัวไปด้วย

2. เราไม่ส ามารถเปลี่ ย นแปลงอดีต ได้ แต่เรา สามารถเปลี่ยนแปลงผลกระทบจากอดีตหรือสามารถ ปรั บ ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ได้ เช่ น เราเคยถู ก ท าร้ า ย เมื่อวัยเด็กจนจิตใจได้รับบาดเจ็บ มีความฝั งใจในทางลบ ก็ ส ามารถแก้ ไ ขให้ ค วามบาดเจ็ บ หมดไปได้ เกิ ด การ เยียวยาขึน้ ได้ 3. การชื่ น ชมและการยอมรั บ อดี ต ท าให้ เ รา ส า ม า ร ถ จั ด ก า ร กั บ อ น า ค ต ไ ด้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น โ ด ย น า ประสบการณ์ ใ นอดี ต ที่ เ กิ ด ขึ้ น มาเรี ย นรู้ ว่ า เราใช้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ อ ะ ไ ร ถึ ง ผ่ า น พ้ น ม า ไ ด้ แ ล้ ว น า ความสามารถนั ้ น มาใช้ กั บ เหตุ ก ารณ์ ท่ี จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต เช่ น ถ้ า ตอนเด็ ก ถู ก ทอดทิ้ง ให้ ต้ อ งดิ้น รน เลี้ย งดู ตั ว เอง ท าให้ โ ตขึ้น มาเป็ น คนที่ พ่ึ ง ตนเองได้ เ ป็ น อย่างดี และจงชื่นชมตัวเอง 4. ความหวั ง เป็ น ส่ ว นที่ ส าคั ญ ส าหรั บ การ เปลี่ยนแปลง โดยต้องมีความรู้สึกว่าชีวิตต้องดีกว่าเดิม ต้ อ งมี ค วามเชื่ อ เรื่ อ งนี้ จึ ง จะมี พ ลั ง งานขั บ เคลื่ อ น ให้เปลี่ยนแปลง ดังนัน้ การเปลี่ยนแปลงเป็นไปได้เสมอ 5. คนส่ ว นใหญ่ เ ลื อ กที่ จ ะอยู ่ กั บ ความเคยชิ น มากกว่ า การเปลี่ ย นแปลง เพราะความคุ้ น เคยกั บ สิ่งเดิม ๆ เวลาที่จะเปลี่ยนแปลงก็กลัวที่จะพบกับสิ่งที่ไม่รู้ ไม่ชิน ต้องปรับตัวใหม่


6. เน้นส่วนดีและความเป็นไปได้ แทนที่จะเน้นไปที่ ปั ญหา ซึ่ งการใช้ ส่วนดีท่มี ีอยู ่จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในทางที่ดีได้ เปรียบเสมือนกับเราอยู ่ในห้องมืด ไม่ควรคิด จะแก้ไขความมืด เพียงแต่นาแสงสว่าง เข้าไปในห้อง ความมืด ก็จะไม่เป็นปั ญหา อีกต่อไป

7. การบาบัดจาเป็นต้องมุ ่งไปสู่ทิศทางที่เป็นบวก เสมอ เพราะโดยธรรมชาติ สิ่งที่เป็นบวกย่อมไม่ทาให้เรา เจ็ บปวดเพิ่ มเติ มจากเดิ ม และยัง ทาให้ เ รามีสุ ขภาพจิ ต ที่ ดี ขึ้น เช่ น ท าอย่ า งไรเขาจะมี ค วามสุ ข มากขึ้น ไม่ ใช่ คิดว่าทาอย่างไรจะได้แก้แค้นได้สาเร็จ ซึ่ งเป็นสิ่งที่เป็นไปใน ทิศทางตรงกันข้าม

นอกจากนี้ การที่เราเลือกบาบัดจิตให้เข้มแข็ง และ เชื่ อว่าทุกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นย่อมนามาซึ่ งสิ่งที่ดี ในอนาคต ยังช่ วยให้เราสามารถเลือกจาในสิ่งที่ควรจา และลืมในสิ่งที่ควรลืมได้อีกด้วย โดย จิม ควิก นักเขียน และครู ฝึ กสมองแห่ ง สถาบั น ควิ ก เลิ ร์ น นิ่ ง (Kwik Learning) ที่ ฝึ กทั กษะการอ่ า นเร็ ว และพั ฒ นาความจ า แนะน าวิ ธี ก ารย กเครื่ อ งสมองให้ ท างานอย่ า งมี ประสิทธิภาพด้วยเทคนิค 3 ข้อ คือ หนึ่ ง สร้ า งแรงจู งใจในการจดจ า สิ่ ง ใดที่ เ ป็ น ประโยชน์จาเก็บไว้ นอกนัน้ ละทิง้ ไป สอง หัดสังเกตและ ใส่ใจรายละเอียด ซึ่ งเป็นกุญแจสาคัญในการฝึ กความจา สาม มองหาวิธีการใหม่ๆในการเรียนรู้ อย่ายึดติดกับ การเรียนรู้หรือท่องจาในรูปแบบเดิมที่เคยชิน แล้วท่านจะ สามารถควบคุมจิตได้ ดังพุ ทธศาสนสุภาษิ ตที่ว่า... “จิ ตฺ ต ทนฺ ต สุ ข าวห ” แปลว่ า “จิ ต ที่ ฝึ กดี แ ล้ ว นาสุขมาให้”

อ้างอิง: หนังสือ “ซาเทียร์” จิตบาบัด และการพัฒนา ตนเอง” ผู ้เขียน ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พญ.นงพงา ลิม้ สุวรรณ ภาพจาก: shorturl.at/pGKV2

สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ เพียงคลิก

ออนไลน์

http:// icis.ic.or.th

หลักสูตรบีโอไอ หลักสูตรการใช้งานระบบ IC หลักสูตรด้านศุลกากร หลักสูตรการบริหารจัดการ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน

0 2936 1429 ต่ อ 205-209

29 icn


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ขั้ น ตอนการยื่ น สู ต รการผลิ ต เพิ่ ม เติ ม Q : บริ ษั ท มี ค วามประสงค์ จ ะด าเนิ น การยื่ น สู ต รการผลิ ต เพิ่ม เติ ม ส าหรั บ Project 1 บริ ษั ท จะต้ อ ง ดาเนินการตามขัน้ ตอนอย่างไรบ้าง และสามารถยื่นสูตรการผลิตเพิม่ เติมทางออนไลน์ ได้หรือไม่ A : ขัน้ ตอนการขออนุมัติสูตรการผลิตเพิม่ เติมมีดังนี้ 1. ยื่นหนังสือขออนุมัติสูตรการผลิตต่อสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) โดยมี เอกสารดังนี้ 1.1 หนังสือบริษัทขออนุมัติสูตรการผลิต ตามมาตรา 36 1.2 แบบการขอใช้ สิทธิและประโยชน์ มาตรา 36 (F IN RM 13) 1.3 รายละเอียดสูตรการผลิตและปริมาณการใช้ วัตถุดิบ 1.4 ภาพตัวอย่างผลิตภัณฑ์ จานวน 1 ชุ ด 1.5 กรรมวิธีการผลิตตามที่ได้รับอนุมัติจาก BOI 2. นาผลอนุมัติไปยื่นบันทึกต่อสมาคมสโมสรนักลงทุน (IC) 3. ขอดาวน์โหลดไฟล์ BIRLMDL และ BIRLFRM จากสมาคมฯ (IC) เพื่อใช้ ประกอบการตัดบัญชีต่อไป ปั จจุ บันการขออนุมัติสูตรการผลิตยังต้องยื่นเป็นเอกสาร แต่อยู ่ระหว่างการพัฒนาระบบเป็น แบบออนไลน์ ซึ่งเมื่อพัฒนาแล้วเสร็จจะมีการแจ้งจาก BOI เพื่อให้บริษัทปรับวิธีการดาเนินการต่อไป

ติ ดตาม FAQ 108 คาถามกั บงานส่ง เสริ มการลงทุน ได้ท าง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ประสบการณ์ ใหม่ ในวิกฤตนี้ จะเป็น “โอกาส” สาคัญของพนักงาน ในการเรียนรู้ระบบการขายสินค้าออนไลน์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์กับพนักงานในอนาคต

คุณอัยยวัฒน์ ศรีวัฒนประภา ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ ที่มา>> https://marketeeronline.co/archives/172150 ภาพจาก>> http://gurutourza.blogspot.com/2018/04/14000.html

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก

www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 201 อีเมล icn@ic.or.th

icn 30


ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ

@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ

Add friends

IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย

ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.