Vol.18 / September 2019 “เสริมทัพการลงทุน” ด้วยมาตรการ บีโอไอเพื่อลดความเหลื่อมลา้ ขัน้ ตอนการลงทะเบียนเพื่อดาเนิน กระบวนการใดๆกับกรมศุลกากร
ลงทุน
การส่งเสริมการ ใน เขตวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
“มีปญ ั หาไม่รู้จะโทรปรึกษาใคร”
Single Window for
Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 คุณพัชรี ต่อ 314 patchareek@ic.or.th
www.ic.or.th
การส่งเสริมการลงทุน ในเขตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
04
“เสริมทัพการลงทุน” ด้วยมาตรการบีโอไอเพื่อลดความเหลื่อมลา้
16 18 Standby Letter of Credit
ที่ปรึกษา • วีรพงษ์ ศิ ริวัน • สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการบริหาร ปริญญา ศรีอนันต์ บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ • สิริวรรณ ฉลากรไชยา • กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพ ท์ : 0 2936 1429 ต่อ 201 โทรสาร : 0 2936 1441 e-mail : icn@ic.or.th
09 12
จัดการธุ รกิจด้วยแนวคิดใหม่ และเทคโนโลยีทนั สมัย (1)
24
ขัน้ ตอนการลงทะเบียนเพื่อดาเนิน กระบวนการใดๆกับกรมศุลกากร
27
การใช้ อั ตราแลกเปลี่ ยนเงิน ตราต่ า งประเทศ “ใจ” ที่ไม่ว้าวุ ่น ตามพระราชบั ญญั ติแ ก้ ไขเพิ่ม เติม ความสาเร็จย่อมชัดเจน ประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 50) พ.ศ.2562
ปั ญหาด้านความเหลื่อมลา้ เป็นปั ญหาที่ได้รับการยอมรับว่าเกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก ไม่ ได้มีแต่ ในประเทศไทยเท่านัน้ ปั จจัยสาคัญที่ก่อให้เกิดปั ญหาดังกล่าว คือ ความเหลื่อมลา้ ทางด้านรายได้ที่ส่งผลให้คุณภาพชี วิตของคนในประเทศแตกต่างกัน ดังนัน้ หากเราสามารถ ขจัดปั ญหาความยากจน และทาให้เกิดการกระจายรายได้ได้อย่างเหมาะสมก็จะช่ วยลดปั ญหา ความเหลื่อมลา้ ทางด้านรายได้ อันจะนาไปสู่คุณภาพชีวิตของคนในสังคมที่ดีขนึ้ ภาครั ฐ ในประเทศไทยหลายหน่ ว ยงานมุ ่ ง ให้ ค วามสาคั ญ ในการด าเนิน การแก้ไ ขปั ญ หา ดังกล่าวผ่านโครงการต่างๆมากมายที่ร่วมกันออกมาตรการสาหรับช่ วยเหลือ สนับสนุน และ ดูแลประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มผู ้มีรายได้น้อยให้สามารถหารายได้เพื่อนามาใช้ ในการดูแลตัวเองและ ครอบครัวได้เป็นอย่างดี ทางด้านเศรษฐกิจ หน่วยงานภาครัฐ อย่างสานัก งานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ก็มีก ารดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปั ญหาข้างต้นเช่ นกัน ล่าสุดบี โอไอได้ออก 5 มาตรการส าคัญเพื่ อช่ วยลดและแก้ไขปั ญหาด้านความเหลื่อ มลา้ โดยมาตรการดัง กล่า ว จะช่ วยกระตุ้นให้เกิดการลงทุนจากเม็ดเงินของผู ้ประกอบการทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ และมุ ่ ง เน้ น การเพิ่ ม สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ต่ า งๆให้ กั บ นั ก ลงทุ น เพื่ อ จู งใจให้ เ กิ ด การลงทุ น ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่ น การยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล การให้สิทธิหักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้ า และ ค่าประปา เป็นต้น มาตรการสนับสนุนให้เกิดการลงทุนในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษและในพื้นที่เขตชายแดน เป็นหนึ่งมาตรการของบีโอไอที่หวังกระตุ้นให้เกิดการกระจายการลงทุนไปสู่ภูมิภาค ไม่กระจุ กตัว อยู ่ ในพืน้ ที่จากัด ช่ วยให้สามารถกระจายรายได้ไปสู่ชุมชนทั่วประเทศ นอกจากนีย้ ังมีมาตรการ ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากที่ช่วยสนับสนุนให้องค์กรท้องถิน่ มีความสามารถมากขึน้ รวมถึงการ ช่ วยพัฒนาศักยภาพทัง้ ด้านการผลิตและผลิตภัณฑ์ โดยเน้นการนาเทคโนโลยีมาใช้ ในกระบวนการ ทางานมากขึน้ ตบท้ายด้วยมาตรการส่งเสริม SMEs ที่จะช่ วยให้กิจการขนาดเล็กสามารถยื่นขอรับ การส่งเสริมการลงทุนได้ง่ายขึ้น อีกทัง้ ยังผ่อนผันให้ผู้ประกอบการ สามารถนาเครื่องจักรที่ใช้ แล้วในประเทศมาใช้ในโครงการได้เป็นการช่ วยลดต้นทุนการผลิต ให้ผู้ประกอบการสามารถมุ ่งเน้น การสร้างประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์และบริการได้มากขึน้ มาตรการทั ้ง หมดที่ ก ล่ า วมานี้ ล้ ว นมุ ่ ง หวั ง ให้ ป ระชาชนโดยรวมของประเทศได้ รั บ ความเท่าเทียมกันด้วยการลดความเหลื่อมลา้ และสร้างความเสมอภาคทัง้ ด้านรายได้และคุณภาพ ชีวิต อันจะนาไปสู่การสร้างฐานรากที่มนั่ คงเพื่อต่อยอดสู่เศรษฐกิจของประเทศที่แข็งแกร่งต่อไป สมาคมสโมสรนักลงทุนพร้อมสนับสนุนผู ้ประกอบการที่สนใจลงทุนในกิจการประเภทต่างๆ ภายใต้มาตรการสนับสนุนของภาครัฐ ด้วยระบบการให้บริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ตลอด 24 ชัว่ โมง ผ่านการให้บริการแบบออนไลน์ และบริก ารด้านหลักสูตรฝึ กอบรมและสัมมนาที่มีก าร พั ฒ นาห ลั ก สู ต ร ให ม่ ๆ ให้ ส อด คล้ อ งกั บ ก าร บริ ห าร จั ด ก าร ข องกิ จ ก าร ทุ ก ปร ะ เภ ท ทัง้ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ โดยผู ้ที่สนใจสามารถดูรายละเอียดหลักสูตรและเลือก ลงทะเบียนเพื่อสมัครร่วมสัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 หรือติดตามข้อมู ลต่างๆของสมาคมฯได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3
icn
คุณ สุวิดา ธัญวงษ์ กองยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนงาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
การส่งเสริมการลงทุน ใน เขตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เขตวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี คื อ อะไร? เขตวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี คื อ พื้ น ที่ ท่ี ถู ก สร้ า งขึ้ น เพื่ อ เป็ น โครงสร้ า งพื้น ฐานที่ จ ะช่ วยสนั บ สนุ น ให้ภาคเอกชนมีการทากิจกรรมด้านการวิจัยและพัฒนา รวมถึงการต่อยอดงานวิจัยไปสู่การผลิตในเชิ งพาณิชย์ มากยิ่งขึ้น ปั จจุ บันบีโอไอให้การส่งเสริมกิจการประเภท 7.9.2.1 กิจการนิคมหรือเขตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology Park) โดยกาหนดเงื่อนไข คุณสมบัติของนิคมหรือเขตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้การส่งเสริมดังนี้ • มีศูนย์บ่มเพาะผู ้ประกอบการเพื่อให้คาปรึกษา ทางด้านธุ รกิจและด้านเทคโนโลยี • มี สิ่ ง อ านวยความสะดวกแก่ ผู้ ป ระกอบการ ที่เข้ารับการบ่มเพาะ • มีระบบการสื่อสารและโทรคมนาคมในประเทศ และระหว่างประเทศ • มีระบบไฟฟ้ าสารองจ่ายแบบต่อเนื่อง สิ ท ธิป ระโยชน์สาหรับ ผู ้พัฒ นาเขตวิท ยาศาสตร์ฯ สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น์ ที่ บี โ อ ไ อ ใ ห้ แ ก่ ผู ้ พั ฒ น า เขตวิทยาศาสตร์ฯ นอกเหนือจากการยกเว้นอากรนาเข้า เครื่องจักรและการอานวยความสะดวกในเรื่องวีซ่าและ ใบอนุ ญ าตท างานแล้ ว ก็ คื อ การยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคลในระดับ A1 ซึ่ งหมายถึงการให้สิทธิยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 8 ปี โดยไม่จากัดวงเงิน icn 4
กล่าวคือ ในช่ วง 8 ปี นับจากวันมีรายได้ครัง้ แรกของ โครงการ โครงการดังกล่าวมีภาษี เงินได้นิติบุคคลที่ต้อง เสี ย เป็ น จ านวนเท่ า ใด บี โ อไอจะยกเว้ น ให้ โ ดยไม่ ต้ อ ง เสี ย ภาษี เ ลย เพราะถื อ เป็ น การลงทุ น ในกิ จ การที่ เ ป็ น พื้น ฐานในการสร้ า งความยั่ ง ยื น ทางเศรษฐกิ จ ให้ กั บ ประเทศในระยะยาว นอกจากนี้ ยังให้สิทธิประโยชน์เป็น พิเศษแก่กิจการเป้ าหมายที่เข้าไปตัง้ ในเขตวิทยาศาสตร์ฯ อีกด้ว ย ซึ่ งจะกล่า วต่อ ไปในส่ว นของ “สิทธิ ประโยชน์ สาหรับการลงทุนในเขตส่งเสริม” เขตวิ ท ยาศาสตร์ฯ ที่พั ฒ นาโดยภาครัฐ นอกจากบี โ อไอจะให้ ก ารส่ ง เสริ ม การลงทุ น ในกิจการเขตวิทยาศาสตร์ฯของภาคเอกชนแล้ว บีโอไอ ยังให้การส่งเสริมเขตวิทยาศาสตร์ฯของภาครัฐอีกด้วย แต่การให้สิทธิประโยชน์จะมุ ่งให้กับผู ้ประกอบการที่เข้าไป ดาเนินกิจการในเขตวิทยาศาสตร์ฯของภาครัฐดังกล่าว เท่านัน้ เพราะบีโอไอไม่ให้สิทธิประโยชน์แก่โครงการที่รัฐ เป็นผู ้พัฒนาโดยตรง ดังนัน้ ถ้าเป็นเขตวิทยาศาสตร์ฯ ของภาครัฐจะไม่อยู ่ในข่ายที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ ในระดับ A1 ที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น แต่ คุ ณ สมบั ติ ข องการเป็ น เขตวิ ทยาศาสตร์ ฯที่ ไ ด้ รับ การส่ ง เสริ ม จะต้ อ งครบถ้ ว น ตามที่ บีโ อไอกาหนดเช่ นกัน ซึ่ งหน่ว ยงานภาครัฐที่เ ป็ น เจ้าของพืน้ ที่จะต้องมีการหารือกับบีโอไอก่อนทัง้ ในส่วน ของสิง่ ที่จัดให้มีในเขตวิทยาศาสตร์ฯและกิจการเป้ าหมาย เพื่อเสนอให้คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเห็นชอบให้ เป็ น เขตส่ ง เสริ ม การลงทุ น และก าหนดให้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ เพิ่มเติมแก่กิจการเป้ าหมายในพืน้ ที่
การส่ ง เสริ ม เขตวิ ท ยาศาสตร์ ฯ การส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาเขตวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ข องบี โอไอแบ่ งเป็ นสองรู ป แบบตามผู ้พั ฒ นา รูปแบบแรก คือ ผู ้ประกอบการภาคเอกชนยื่นขอรับการ ส่ ง เสริ ม ในกิ จ การประเภท 7.9.2.1 กิ จ การนิ ค มหรื อ เขตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถ้าโครงการดังกล่าวได้รับ การอนุมัติให้การส่งเสริมก็จะเรียกว่าเป็นเขตวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ท่ี ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม รู ป แบบที่ ส อง คื อ ภาครัฐเป็นผู ้พัฒนา ถ้าจะให้การส่งเสริมก็จะต้องเสนอ เรื่ อ งต่ อ คณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น เพื่ อ ให้ พิ จ ารณาเห็ น ชอบต่ อ เขตวิ ท ยาศาสตร์ ฯ ดั ง กล่ า ว การเห็นชอบในที่นี้ คือ การพิจารณาให้เขตวิทยาศาสตร์ฯ ดังกล่าวเป็น “เขตส่งเสริมการลงทุน”
3. เมื อ งนวั ต กรรมอาหาร (Food Innopolis) ในอุ ทยานวิ ท ยาศาสตร์ ป ระเทศไทย จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี และเมือ งนวัต กรรมอาหาร (Food Innopolis) ของ มหาวิ ท ยาลั ย 7 แห่ ง ได้ แ ก่ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มหาวิท ยาลัย ขอนแก่ น มหาวิ ท ยาลั ยสงขลานคริ น ทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุ รี (รายละเอียดของอาคารที่ได้รับการ ประกาศเป็นเมืองนวัตกรรมอาหาร เป็นไปตามประกาศ คณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ที่ 9/2561 วั น ที่ 14 กันยายน 2561 เรื่อง การกาหนดพืน้ ที่เมืองนวัตกรรม อาหาร (Food Innopolis) ส่วนขยาย)
หลั ก เกณฑ์ ท่ี เ กี่ ย วข้ อ งในเรื่ อ งนี้ คื อ ประกาศ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 2/2557 ลงวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เรื่ อง นโยบายและหลักเกณฑ์ การส่งเสริมการลงทุน ข้อ 8 ว่าด้วยการกาหนดให้พืน้ ที่ใด เป็นเขตส่งเสริมการลงทุน โดยเขตส่งเสริมการลงทุนตาม ข้อ 8.3 ก็คือ “เขตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology Park) ที่ ได้รั บการส่งเสริม หรือ ได้รั บ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ” เขตวิ ท ยาศาสตร์ฯ ที่ป ระกาศเป็ น เขตส่ ง เสริ ม ปั จ จุ บั น พื้ น ที่ ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร ป ร ะ ก า ศ เ ป็ น เขตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนมีดังนี้ 1. อุ ทยานวิท ยาศาสตร์ประเทศไทย (Thailand Science Park) ตั ้ง อยู ่ ท่ี อ าเภอคลองหลวง จั ง หวั ด ปทุมธานี ดาเนินการโดย สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และอุ ทยานวิทยาศาสตร์ ในภูมิภาคอีก 3 แห่ง ได้แก่ อุ ทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ ( จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่ ) อุ ท ย า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ภ า ค ตะวัน ออกเฉีย งเหนือ (จังหวัด ขอนแก่น ) และอุ ทยาน วิทยาศาสตร์ภาคใต้ (จังหวัดสงขลา) 2. อุ ทยานรังสรรค์น วัตกรรมอวกาศ (Space Krenovation Park: SKP) ดาเนินการโดย สานักงาน พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (สทอภ. หรือ GISTDA)
สิทธิประโยชน์สาหรับ การลงทุนในเขตส่ง เสริม ผลของการก าหนดให้ พื้น ที่ ใ ดเป็ น เขตส่ ง เสริ ม การลงทุนคือ กิจการที่ถูกกาหนดเป็นเป้ าหมายในพืน้ ที่นัน้ หากเข้าไปลงทุนในพืน้ ที่ก็จะได้รับสิทธิลดหย่อนภาษี เงินได้ นิติบุคคลร้อยละ 50 เป็นเวลา 5 ปี เพิ่มเติมจากสิทธิพืน้ ฐาน เช่ น หากสิทธิพนื้ ฐานด้านภาษี เงินได้นิติบุคคลของกิจการ เป้ าหมายคือการได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 8 ปี ถ้ า กิ จ การนี้ เ ข้ า ไปตั ้ ง อยู ่ ใ นเขตส่ ง เสริ ม การลงทุ น จะได้รับสิทธิลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติมด้วย ทาให้สิทธิทัง้ หมดคือ การได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 8 ปี และลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 อีก 5 ปี การลดหย่อนนีห้ มายความถึงการลดหย่อนอัตรา ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคลที่ ปั จจุ บั น อยู ่ ท่ี อั ต ราร้ อ ยละ 20 จึงเท่ากับว่า ผู ้ได้รับส่งเสริมการลงทุนจะเสียภาษี เงินได้ นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 10 สาหรับกาไรสุทธิในโครงการ ที่ได้รับการส่งเสริมเป็นเวลา 5 ปี นับจากวันที่สิน้ สุดสิทธิ ยกเว้นภาษี ฯ 5 icn
กิ จ การเป้ า หมายในเขตวิ ท ยาศาสตร์ฯ ประเภทของกิจการเป้ าหมายส่วนใหญ่จะเหมือนกันในทุกเขตวิทยาศาสตร์ฯ ยกเว้นเพียงเมืองนวัตกรรมอาหาร เท่านัน้ ที่จะมีกิจการเป้ าหมายมากกว่าพืน้ ที่อื่น 2 ประเภทกิจการ โดยสรุ ปได้ดังนี้ อุ ทยานวิ ท ยาศาสตร์ ประเทศไทยและภูมิ ภ าค
SKP
Food Innopolis
1.2 กิจการปรับปรุ งพันธุ ์พืชหรือสัตว์ (ที่ไม่เข้าข่าย กิจการเทคโนโลยีชีวภาพ)
-
-
3.9 กิจการบริการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เชิงสร้างสรรค์
-
-
5.6 กิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์
7.11 กิจการวิจัยและพัฒนา
7.12 กิจการเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
7.13 กิจการบริการออกแบบทางวิศวกรรม
7.14 กิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์
7.15 กิจการบริการสอบเทียบมาตรฐาน
7.19.1 กิจการสถานฝึ กฝนวิชาชีพ
8.1 กิจการพัฒนาเทคโนโลยีเป้ าหมาย ได้แก่ Biotechnology, Nanotechnology, Advanced Material Technology และ Digital Technology และกิจการประเภท 5.6, 7.11, 7.13-7.15 และ 7.19.1 ที่มีการสนับสนุนเทคโนโลยีเป้ าหมาย
ประเภทกิจ การ
สิ ท ธิเ พิ่ม เติ ม สาหรับ กิ จ การเป้ า หมาย กิจการเป้ าหมายในเขตวิทยาศาสตร์ฯเกือบทัง้ หมด อยู ่ ในกลุ่ม A1 ซึ่ งสิทธิพืน้ ฐานด้านภาษี เงินได้นิติบุคคล คือ ยกเว้นภาษี เงินได้ฯ 8 ปี โดยไม่จากัดวงเงิน ถ้ากิจการ เป้ าหมายนี้ เ ข้ า ไปตั ้ง อยู ่ ใ นเขตวิ ท ยาศาสตร์ ฯ จะได้ รั บ สิทธิลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เป็นเวลา 5 ปี เพิ่มเติมด้วย ยกเว้นกิจการในหมวด 8 และกิจการ สนั บ สนุ น หมวด 8 ที่ จ ะได้ รั บ สิ ท ธิ ย กเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคลเพิ่มเติม 2 ปี หากเข้าไปตัง้ อยู ่ในเขตวิทยาศาสตร์ฯ ซึ่ งในส่วนนีจ้ ะขออธิบายด้วยเหตุผลทางกฎหมายดังนี้
icn 6
เนื่องจากพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุนได้มีการ แก้ ไขเพิ่มเติมล่าสุดเมื่อปี พ.ศ. 2560 โดยเพิ่มมาตรา 31/1 ที่ ก าหนดให้ กิ จ การที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมขั ้น สู ง หรือกิจการวิจัยและพัฒนาตามที่คณะกรรมการส่งเสริม การลงทุนประกาศกาหนดได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เกินกว่า 8 ปี แต่ ไม่เกิน 13 ปี จึงทาให้เกิดประเภทกิจการใหม่ ในหมวด 8 ซึ่ งเป็ น กิ จ การด้ า นการพั ฒ นาเทคโนโลยี เป้ าหมายที่ประเทศไทยมีศกั ยภาพ ได้แก่ Biotechnology, Nanotechnology, Advanced Material Technology และ Digital Technology โดยให้ สิ ท ธิ พื้น ฐานด้ า นภาษี เงินได้นิติบุคคล คือ ยกเว้นภาษี เงินได้ฯ 10 ปี และไม่จากัด วงเงินยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล
ผลที่ต ามมาคือ กิ จการในหมวด 8 หากตัง้ ในเขตวิ ทยาศาสตร์ ฯจะไม่ส ามารถได้รั บสิ ทธิ ลดหย่ อนภาษี เ งิน ได้ นิติบุคคลร้อยละ 50 อีก 5 ปี ได้ สาเหตุเนื่องมาจากการให้สิทธิลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 นัน้ เป็นการให้ สิท ธิต าม พ.ร.บ. ส่งเสริม การลงทุ น มาตรา 35 (1) ซึ่ งกาหนดไว้ ว่า การลดหย่ อนภาษี เ งิน ได้ นิติ บุคคลร้อ ยละ 50 มีกาหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี โดยนับจากวันที่กาหนดระยะเวลาตาม “มาตรา 31” สิน้ สุดลง ซึ่ งมาตรา 31 เป็นมาตราที่ว่าด้วย การให้สิทธิยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลไม่เกิน 8 ปี ดังนัน้ เมื่อมาตรา 35 กาหนดไว้ว่า จะให้สิทธิลดหย่อนได้ก็ต่อเมื่อสิทธิ ตามมาตรา 31 สิ้นสุดลงแล้ว จึงแปลความได้ว่า มาตรา 35 จะใช้ ร่วมกับมาตรา 31 ได้เท่านัน้ ไม่สามารถใช้ ร่วมกับ มาตรา 31/1 ได้ ด้วยเหตุนี้ กิจการในหมวด 8 และกิจการประเภท 5.6 กิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ 7.11 กิจการวิจัยและ พัฒนา 7.13 กิจการบริการออกแบบทางวิศวกรรม 7.14 กิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ 7.15 กิจการบริการ สอบเที ยบมาตรฐาน 7.19.1 กิ จการสถานฝึ กฝนวิ ชาชี พที่ สนั บสนุนการพัฒ นา Biotechnology, Nanotechnology, Advanced Material Technology และ Digital Technology ซึ่ งสิทธิพืน้ ฐานคือการยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 10 ปี จึงมี การกาหนดเรื่อ งของสิ ทธิเ พิ่มเติม กรณี หากเข้า ไปตัง้ ในเขตวิ ทยาศาสตร์ ฯไว้ ในประกาศสานั กงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนที่ ป.7/2562 ลงวันที่ 7 มิถุนายน 2562 เรื่อง การได้รับสิทธิและประโยชน์ ในการยกเว้นหรือลดหย่อน ภาษี เงินได้นิติบุคคล ไว้ว่า จการในหมวด 8 การพัฒนาเทคโนโลยีเป้ าหมายและกิจการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีเป้ าหมาย หากตัง้ กิจการ กิในเขตวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ไี ด้รับการส่งเสริมหรือได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ จะให้ ได้รับสิทธิและ
ประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิตบิ ุ คคลเพิ่มเติมอีก 2 ปี แทนการลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคลตามมาตรา 35 (1) สรุ ป กิ จ การเป้ า หมายและสิ ท ธิเ พิ่ ม เติม สิ ท ธิด้า นภาษี เ งิน ได้นิ ติบุค คล ประเภทกิจ การ สิ ท ธิ พื้ น ฐาน
1.2
กิจการปรับปรุ งพันธุ ์พืชหรือสัตว์ (ที่ไม่เข้าข่ายกิจการเทคโนโลยีชีวภาพ)
A3 (ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล 5 ปี )
3.9
กิจการบริการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เชิงสร้างสรรค์ กิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ กิจการวิจัยและพัฒนา กิจการเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) กิจการบริการออกแบบทางวิศวกรรม กิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ กิจการบริการสอบเทียบมาตรฐาน กิจการสถานฝึ กฝนวิชาชีพ กิจการพัฒนาเทคโนโลยีเป้ าหมาย และกิจการประเภท 5.6, 7.11, 7.13, 7.14, 7.15 และ 7.19.1 ทีม่ ีการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีเป้ าหมาย
A1 (ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล 8 ปี โดยไม่จากัดวงเงิน ยกเว้นภาษีเงินได้ฯ)
5.6 7.11 7.12 7.13 7.14 7.15 7.19.1 8.1
ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล 10 ปี (ไม่จากัดวงเงิน ยกเว้นภาษีเงินได้ฯ)
สิ ท ธิ เ พิ่ ม เติม
ลดหย่อนอัตราภาษี เงินได้นติ ิบุคคล ร้อยละ 50 เป็นระยะเวลา 5 ปี
ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลเพิม่ เติม 2 ปี 7 icn
ผ่ อ นผั น ที่ ตั ้ ง EECi เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2561 คณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนเห็นชอบให้โครงการในประเภทกิจการ ที่เป็นเป้ าหมายในเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวั น ออก (EECi) หากตั ้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ อุ ทยาน วิทยาศาสตร์ฯที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น จะสามารถรั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ต าม มาตรการส่งเสริมการลงทุนใน EEC ได้ โดยมีเงื่อนไขว่า โครงการดั ง กล่ า วจะต้ อ งย้ า ยไปตั ้ง อยู ่ ในพื้น ที่ EECi ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2565 (เป็นระยะเวลาที่คาดว่า การพัฒนาพืน้ ที่ EECi จะแล้วเสร็จ) และมีความร่วมมือ ในการพั ฒ นาบุ คลากรไทยในด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ ในมาตรการ EEC (ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 8/2561 เรื่อง การผ่ อ นผั น หลั ก เกณฑ์ ท่ี ตั ้ง ส าหรั บ กิ จ การเป้ า หมาย ในเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor of Innovation หรื อ EECi) ลงวันที่ 14 กันยายน 2561)
ด้วยเหตุนี้ หากโครงการใดที่เป็นกิจการเป้ าหมายใน EECi แล้ ว มายื่ น ขอรั บ การส่ ง เสริ ม ในพื้ น ที่ อุ ทยาน วิทยาศาสตร์ประเทศไทยหรืออุ ทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ก็สามารถเลือกได้ว่าจะขอรั บสิทธิ ประโยชน์เ พิ่มเติ มแบบ เขตวิทยาศาสตร์ฯ หรือ EECi ก็ได้ โดยสิทธิเพิ่มเติมแบบ เขตวิ ท ยาศาสตร์ ฯ นั ้ น สามารถได้ รั บ ทั น ที เ มื่ อ อนุ มั ติ โครงการ เนื่อ งจากเป็ นสิ ทธิ ท่ีจ ะได้รั บเมื่อ ตัง้ อยู ่ ในพื้น ที่ ที่กาหนด แต่สิทธิเพิ่มเติมตามมาตรการ EEC นัน้ ผู ้ขอ จะต้องยื่นคาขอรับสิท ธิประโยชน์เ พิ่มเติม ตามมาตรการ EEC พร้อมกับ MOU หรือสัญญาความร่วมมือที่ทากับ สถานศึ กษาหรือ สถาบั น วิจั ย ภายในวั น ที่ 30 ธั นวาคม 2562 ทัง้ หมดนี้ คือ หนึ่งในมาตรการของบีโอไอที่สร้างขึ้น เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด การลงทุ น ที่ จ ะช่ วยพั ฒ นาทั ก ษะ เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม ข อ ง บุ ค ล า ก ร ไ ท ย แ ล ะ ผู ้ประกอบการ เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับ Value Chain และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุ ตสาหกรรม และบริ ก ารในประเทศ อั น จะน าไปสู่ ก ารสร้ า งฐาน อุ ตสาหกรรมแห่งอนาคต เพื่อให้ประเทศไทยก้าวพ้นการ เป็นประเทศที่มีรายได้ระดับปานกลาง และเติบโตอย่างยัง่ ยืน ได้ตามวิสัยทัศน์ของบีโอไอ ภาพจาก : https://www.cmu.ac.th/en/Organization/science_and_technology_ park/aboutus https://www.salika.co/2019/03/26/food-innopolis-rdi-hub-for-foodindustry/ https://www.bangkokpost.com/business/1708643/ptt-has-bigambitions-for-eeci-project
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
แนวทางปฏิบัติ เกี่ยวกับ การใช้ สิทธิและประโยชน์ยกเว้นอากรขาเข้า
สาหรับของที่นาเข้ามาเพื่อใช้ ในการวิจัยและพัฒนา
รวมทัง้ การทดสอบที่เกี่ยวข้องตามมาตรา 30/1
icn 8
ลงทะเบี ย น ออนไลน์
วันเสาร์ท่ี 14 กันยายน 2562 เวลา 09.00-12.00 น. โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29
สมัครใช้ บริการ eMT
ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online
ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พมิ พ์ใน ระบบ eMT Online
สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร
ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร
BOI Approve 30 วัน 7 วัน
30-60 วัน 7 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
เป็นเรื่อง ติดต่อ...
ยุงยาก
IC
สา ห รั บ คุ ณ
บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์
COUNTER ด้านเครื่องจักร
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 314-315
ขั้นตอน
การลงทะเบียน
เพื่อ ดาเนินกระบวนการใดๆ
กับกรมศุลกากร คุณศุทธิกานต์ กริชไกรวรรณ ผู ้อานวยการศูนย์บริการศุลกากร กรมศุลกากร
เนื่ อ งจากมี บุ คคลหลายฝ่ ายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ ดาเนินการด้านการศุลกากร เช่ น ผู ้นาของเข้า ผู ้ส่งของออก ตัวแทนผู ้ขนส่ง ตัวแทนออกของ ผู ้ควบคุมยานพาหนะ เข้ า ออก ผู ้ รั บผิ ด ชอบการบรรจุ และอื่ นๆ นอกจากนี้ การน าระบบพิ ธี ก ารศุ ล กากรอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบ ไร้เอกสารมาใช้ ในการนาของเข้ า ส่งของออก เป็นการ ดาเนินการแบบไม่มีเอกสารใดๆ จึงจาเป็นที่กรมศุลกากร ต้ อ งทราบว่ า บุ คคลหนึ่ ง ๆเกี่ ย วข้ อ งกั บ ขั ้ น ตอนใด ในกระบวนงานศุ ล กากร และมี ค วามเชื่ อ มโยงหรื อ มี ความรับผิดชอบระหว่างกันอย่างไร
icn 12
กรมศุ ล กากรจึ ง ได้ อ อกประกาศก าหนดให้ บุ คคล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การด าเนิ น การด้ า นการศุ ล กากร ต้องมาลงทะเบียนกับกรมศุลกากร ซึ่ งเป็นขัน้ ตอนแรก และมีความสาคัญ ผู ้ ส นใจสามารถค้ น หาวิ ธี ก ารลงทะเบี ย นและ เอกสา ร ที่ ใ ช้ ใ นการ ล งทะเ บี ย นจา กเว็ บ ไ ซ ต์ ข อ ง กรมศุลกากร ที่ www.customs.go.th หัวข้อ ผู ้ประกอบการ> การลงทะเบียนเป็นผู ้นาเข้า/ส่งออก
ข้อพึงรูเ้ กี่ยวกับเรือ่ งการลงทะเบียน 1. ในการลงทะเบี ย น ผู ้ ป ระกอบการต้ อ งเลื อ ก แบบคาขอให้ถูกต้องตามความประสงค์ท่จี ะลงทะเบียน โดยการลงทะเบี ย นครั ้ง หนึ่ ง ๆชุ ดการขอลงทะเบี ย น จะประกอบด้วย แบบคาขอ แบบแนบคาขอ และหลักฐาน ประกอบแบบคาขอและแบบแนบคาขอ แบบคาขอ เป็นเอกสารหลักเพื่อแจ้งประเภท การขอลงทะเบี ย นและเป็ น แบบสรุ ปเรื่ อ งที่ จ ะขอ ลงทะเบียนเพิม่ เติมในคราวหนึ่งๆ แบบคาขอมีทัง้ หมด 9 แบบ เรียกว่า แบบคาขอหมายเลข 1 – แบบคาขอ หมายเลข 9 เช่ น แบบคาขอลงทะเบียนผู ้ปฏิบัติพิธีการ ศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์ คือ แบบคาขอหมายเลข 1 ใน 1 ชุ ด มีเอกสารทัง้ หมด 3 แผ่น แบบแนบคาขอ เป็นเอกสารแสดงรายละเอียด ของเรื่องที่จะขอลงทะเบียนเพิ่มเติม แบบแนบคาขอ มีทัง้ หมด 7 แบบ คือ แบบแนบคาขอ ก / ข / ค / ง / จ / ฉ / ช เช่ น คาร้องขอมอบอานาจให้ผู้รับ มอบอานาจกระทาการแทน คือ แบบแนบ ก
การจัดทาแบบคาขอลงทะเบียนหรือแบบแนบคาขอ สามารถพิ ม พ์ ห รื อ เขี ย นด้ ว ยลายมื อ ก็ ไ ด้ แต่ ห ากใช้ การ เขี ย นด้ ว ยลายมื อ ต้ อ งเป็ น ลายมื อ และสี ห มึ กเป็ น สี น ้า เงิ น ตัวอักษรภาษาอังกฤษให้ใช้ ตัวพิมพ์ใหญ่ กรณีลงทะเบียน ในฐานะนิติบุคคลต้องลงนามโดยบุ คคลที่มีอานาจผู กพัน นิติบุคคล การใช้ ตราประทับขอความร่วมมือไม่ประทับตรา ทับบนลายมือชื่อของกรรมการผู ้มีอานาจลงนาม แบบคาขอ ลงทะเบี ย นหรื อ แบบแนบค าขอออกแบบเป็ น ชุ ดเอกสาร ดังนัน้ การยื่นแบบต้องพิมพ์เอกสารมายื่นทัง้ ชุ ด หลักฐานประกอบแบบคาขอ หรือ หลักฐานประกอบ แบบแนบคาขอ เป็นเอกสารที่กาหนดขึ้นเพื่อเป็นหลักฐาน แสดงความจริ ง ต่ า งๆ ประเภทของเอกสารขึ้ น อยู ่ กั บ ว่ า ผู ้ประกอบการขอลงทะเบียนในเรื่องใด หลักฐานดังกล่าว ต้องรับรองสาเนาถูกต้อง การขีดคร่อมการรับรองสาเนา จะมีหรือไม่มีก็ได้ แต่หากประสงค์จะขีดคร่อม แนะนาให้ใช้ ข้อความว่า “ใช้ สาหรับกรมศุลกากรเท่านัน้ ”
13 icn
2. ผู ้ ป ระกอบการรายใหม่ ท่ี จ ะน าของเข้ า หรื อ ส่งของออก และเป็นการนาเข้า/ส่งออกที่กรมศุลกากร กาหนดให้ต้องจัดทาใบขนสินค้าในระบบพิธีการศุลกากร อิเ ล็ กทรอนิ กส์แ บบไร้ เ อกสาร ต้ อ งลงทะเบี ย นกั บ กรม ศุลกากร การลงทะเบียนครัง้ หนึ่งถือว่าเป็นทัง้ ผู ้นาของ เข้าและผู ้ส่งของออก โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.1 ให้ยื่ นแบบคาขอลงทะเบี ยนผู ้ ปฏิบั ติพิธีการ ศุ ล กากรทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (แบบค าขอหมายเลข 1) ภ า ย ใ น แ บ บ ค า ข อ มี ข้ อ ค ว า ม แ จ้ ง ค ว า ม ป ร ะ ส ง ค์ ขอลงทะเบียนเพิ่มเติมเรื่องต่างๆตามหัวข้อ ซึ่ งไม่จาเป็นต้อง ลงทะเบียนครบทุกหัวข้อ แต่หากเลือกลงทะเบียนในหัวข้อใด จะต้องไปจัดทาแบบแนบคาขอตามที่กาหนด 2.2 ก ร ณี ใ ช้ ง า น ไ ป ร ะ ย ะ ห นึ่ ง แ ล้ ว มี ก า ร เปลี่ ย นแปลงข้ อ มู ล ผู ้ ป ระกอบการต้ อ งยื่ น ปรั บ ปรุ ง เพิ่มเติมข้อมู ลทะเบียนให้เป็นปั จจุ บัน โดยให้ยื่นแบบคาขอ เปลี่ยนแปลงข้อมู ลทะเบียนพิธีการศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ (แบบคาขอหมายเลข 7) 2.3 การมอบอ านาจให้ผู้ อื่นกระทาการแทนตน ในกระบวนการทางศุลกากร ผู ้รับมอบอานาจ หมายถึง บุ คคลที่นิติบุคคลหรือ บุ คคลธรรมดาให้ ค วามไว้ ว างใจมอบอ านาจให้ เ ป็ น ผู ้ ล งลายมื อ ชื่ อ ในเอกสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การศุ ล กากร ยกเว้นเรื่อง การลงทะเบียน การอุ ทธรณ์ การขอระงับคดี ทางศุ ล กากร ซึ่ ง ชื่ อพร้อ มเลขประจ าตัว ประชาชนของ บุ คคลนีจ้ ะใช้ ในการตรวจสอบความผู กพันกับผู ้ลงทะเบียน ในกระบวนงานระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยแบบแนบที่ใช้ คือ “ค าร้ อ งขอมอบอ านาจให้ ผู้ รั บ มอบอ านาจกระท าการ แทน - แบบแนบ ก” กรณีลงทะเบียนในฐานะนิติบุคคล เป็นเรื่องปกติท่ีจะ มอบอานาจให้ผู้ ใดผู ้หนึ่งเป็นผู ้รับมอบอานาจ แต่กรณี ลงทะเบีย นในฐานะบุ คคลธรรมดา ถื อเป็นเรื่อ งจาเป็น ที่ จะต้ อ งยื่ น ค าร้ อ งขอมอบอ านาจให้ ผู้ รั บ มอบอ านาจ กระทาการแทน คือ แบบแนบ ก ด้วยเช่ นกัน ซึ่ งอาจจะ เป็นชื่อของบุ คคลที่ขอลงทะเบียนหรือมอบให้บุคคลอื่นก็ได้ 3. สถานที่ยื่นคาขอลงทะเบียน (1) ส่วนทะเบียนและสิทธิพิเศษ สานักมาตรฐาน พิธีการและราคาศุลกากร ตัง้ อยู ่ท่ีชนั ้ 1 อาคาร 120 ปี กรมศุลกากร
icn 14
รับลงทะเบียนทุกประเภท โดยเฉพาะส่วนราชการ รั ฐ วิ ส าหกิ จ สถานทู ต องค์ ก ารสาธารณกุ ศ ล หรื อ องค์ ก ารอื่ น ๆที่ ไ ม่ มี เ ลขประจ าตั ว ผู ้ เ สี ย ภาษี อากร ต้องดาเนินการที่ส่วนทะเบียนและสิทธิพิเศษ เท่านัน้ (2) ฝ่ ายบริ ห ารงานทั่ว ไป หรื อ หน่ ว ยงานที่ ได้รับอนุมัติให้รับลงทะเบียนของสานักงานศุลกากรหรือ ด่านศุลกากร รับลงทะเบียนทุกประเภท ยกเว้น ส่วนราชการ รั ฐ วิ ส าหกิ จ สถานทู ต องค์ ก ารสาธารณกุ ศ ล หรื อ องค์การอื่นๆที่ไม่มีเลขประจาตัวผู ้เสียภาษี อากร
4. การยื่นคาขอลงทะเบียน เป็นหลักการว่า ผู ้ลงนามในแบบคาขอต้องเป็น ผู ้มายื่นด้วยตนเองและต้องมีหลักฐานที่แสดงตนว่าเป็น บุ คคลที่ลงนามในเอกสาร ดังนี้ (กรณีผู้มีอานาจลงนาม มีมากกว่า 1 คน ต้องนาหลักฐานแสดงตนของทุกคน มายื่นแสดงต่อเจ้าหน้าที่ด้วย) 4.1 กรณี เ ป็ น คนไทย หลั ก ฐานพิ สู จ น์ ตั ว ตน คือ บัตรประจาตัวประชาชนตัวจริง หรือ บัตรที่ออกให้ โดยหน่ ว ยงานราชการซึ่ ง มี รู ป ถ่ า ยและเลขประจ าตั ว ประชาชนปรากฏอยู ่บนบัตร กรณีไม่มีบัตรดังกล่าว ให้ใช้ สาเนาบัตรประจาตัว ประชาชนที่ มี ท นายความผู ้ ท าค ารั บ รองลายมื อ ชื่ อ และเอกสาร (Notarial Services Attorney) เป็นผู ้ลงนาม รับรองและออกให้ไม่เกิน 1 เดือน พร้อมแนบสาเนาหนังสือ รั บ รองการขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น ทนายความผู ้ ท าค ารั บ รอง ลายมือชื่ อและเอกสาร ซึ่ งลงนามรับรองสาเนาถูกต้อง โดยทนายความเจ้าของหนังสือ
4.2 กรณี เ ป็ น คนต่ า งชาติ หลั ก ฐานพิ สู จ น์ ตัวตน คือ หนังสือเดินทางตัวจริง หรือ ใบสาคัญประจาตัว คนต่างด้าวตัวจริง กรณีไม่สามารถนาหลักฐานแสดงตนตัวจริงมา แสดงได้ แ ละชาวต่ า งชาติ นั ้น ไม่ อ ยู ่ ใ นประเทศไทย ให้ ใ ช้ หนั ง สื อ รั บ รองหนั ง สื อ เดิ น ทางซึ่ ง มี Notary Public ที่เชื่อถือได้ หรือ สถานทูตตามสัญชาติของชาวต่างชาติ นัน้ เป็นผู ้รับรองและออกให้ไม่เกิน 6 เดือน
กรณี ไม่สามารถนาหลักฐานแสดงตนตัวจริง มาแสดงได้และชาวต่างชาตินนั ้ อยู ่ในประเทศไทยให้ ใช้ สาเนา หนังสือเดินทางที่มีทนายความผู ้ทาคารับรองลายมือชื่ อ และเอกสาร (Notarial Services Attorney) เป็นผู ้ลง นามรับรองและออกให้ ไม่เกิน 1 เดือน พร้อมแนบสาเนา หนั ง สื อ รั บ รองการขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น ทนายความผู ้ ท าค า รับรองลายมือชื่ อและเอกสาร ซึ่ งลงนามรับ รองสาเนา ถูกต้องโดยทนายความเจ้าของหนังสือ
4.3 กรณีผู้ท่ีลงนามในแบบคาขอไม่สามารถมา ยื่นแบบคาขอได้ด้วยตนเอง สามารถมอบอานาจให้บุคคล อื่นมายื่นแทนได้ โดยต้องมีหนังสือมอบอานาจปิ ดอากร แสตมป์ 10 บาท พร้อมหลักฐานประกอบการมอบอานาจ คื อ ส าเนาบั ต รประจ าตั ว ประชาชนของผู ้ ม อบอ านาจ ส าเนาบั ต รประจ าตั ว ประชาชนของผู ้ รั บ มอบอ านาจ ส าเนาหนั ง สื อ รั บ รองนิ ติ บุ คคลจากกรมพั ฒ นาธุ รกิ จ การค้าที่ออกให้ไม่เกิน 3 เดือนนับถึงวันที่ยื่นแบบคาขอ ผู ้รับมอบอานาจต้องมีหลักฐานแสดงตนและยังคงต้อง น าหลั ก ฐานแสดงตนของผู ้ ล งนามในข้ อ 4.1 หรื อ 4.2 มาด้วย 5. อายุ ของทะเบียน ไม่ มี อ ายุ เวลาส าหรั บ ผู ้ ล งทะเบี ย นที่ ด าเนิ น ธุ รกรรมกั บ กรมศุ ล กากรอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เว้ น แต่ ผู ้ประกอบการขอยกเลิกการลงทะเบียน โดยยื่นแบบคาขอ ยกเลิ ก การลงทะเบี ย นผู ้ ป ฏิ บั ติ พิ ธี ก ารศุ ล กากรทาง อิเล็กทรอนิกส์ (แบบคาขอหมายเลข 9)
ลงทะเบีย น
ออนไลน์
เพื่อประโยชน์ของผู ้ประกอบการ กรมศุลกากร จะระงั บ การใช้ ทะเบี ย นกรณี ท่ี ก รมศุ ล กากรพบว่ า ผู ้ ล งทะเบี ย นไม่ มี ก ารด าเนิ น การด้ า นการศุ ล กากร ติดต่อกันภายในระยะเวลาที่กาหนด ดังนี้ (1) ภายในระยะเวลา 6 เดือนติดต่อกันสาหรับ บุ คคลธรรมดา (2) ภายใน 2 ปี สาหรับนิติบุคคล
หากผู ้ ถู ก ระงั บ การใช้ ทะเบี ย นประสงค์ จ ะ ดาเนินการด้านการศุลกากรต่อ จะต้องมาดาเนินการยื่น คาร้ องขอใช้ ทะเบีย นอีก ครั ้ง โดยยื่ นแบบค าขอใช้ ข้ อ มู ล ทะเบี ย นผู ้ ป ฏิ บั ติ พิ ธี ก ารศุ ล กากรทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ กรณีถูกระงับการใช้ ข้อมู ล (แบบคาขอหมายเลข 8) 6. ปั จจุ บั น กรมศุ ล กากรจั ด ท าระบบลงทะเบี ย น ผู ้มาติดต่อออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต เพื่อให้บริการกับ ผู ้ประกอบการ ซึ่ งอนุญาตให้ลงทะเบียนเพิ่มเติม ปรับปรุ ง ข้อมู ลบางเรื่องได้อัตโนมัติ ผู ้สนใจสามารถศึ กษาได้จาก ประกาศกรมศุลกากรที่ 64/2561 7. ผู ้ประกอบการที่ ลงทะเบียนสามารถตรวจสอบ ข้อมู ลทะเบียนของตนเองได้จากระบบ e-Tracking โดย สมั ค รเข้ า ใช้ ร ะบบ e–Tracking ทางเว็ บ ไซต์ ข องกรม ศุ ล ก า ก ร WWW.CUSTOMS.GO.TH หั ว ข้ อ บ ริ ก า ร อิเล็กทรอนิกส์ เลือก e–Tracking System ภาพจาก : shorturl.at/ilnKW shorturl.at/bopK9
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
กฎหมายศุลกากร
ฉบับใหม่ 2560
และวิธีจัดเก็บค่าภาษี อากร วันเสาร์ท่ี 28 กันยายน 2562 เวลา 09.00-16.00 น. โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) 15 icn
Standby
Letter of Credit การด าเนิ น ธุ ร กิ จ การค้ า ระหว่ า งประเทศ กระบวนการซื้ อ ขายที่ส มบู ร ณ์ คื อ ผู ้ ข ายส่ งสิ น ค้า ให้ ผู ้ ซื้ อ และได้ รั บ เงิ น จากการขาย และผู ้ ซื้ อ ได้ รั บ สิ น ค้ า ครบถ้ ว นถู ก ต้ อ งตรงตามเวลาภายหลั ง ช าระเงิ น ค่าสินค้าให้กับผู ้ขายเรียบร้อยแล้ว หนังสือคา้ ประกันการชาระเงิน Standby Letter of Credit ออกโดยธนาคารในนามของลูกค้า เพื่อเพิ่ม ความเชื่ อ ถื อ ในการท าธุ รกิ จ และเป็ น เครื่ อ งพิ สู จ น์ คุณภาพเครดิตของผู ้ซื้อและความสามารถในการชาระ เงินคืน ส่งผลให้ผู้ขายเกิดความมัน่ ใจและรู้สึกปลอดภัยใน เรื่องการชาระเงิน Standby Letter of Credit จึงเป็นอีกหนึ่ง ทางเลือกสาหรับผู ้ประกอบการธุ รกิจการค้าระหว่างประเทศ Standby Letter of Credit คือ อะไร? Standby Letter of Credit เป็นเอกสารที่ออกโดย ธนาคารพาณิชย์เพื่อคา้ ประกันความเสียหายให้กับผู ้รับ ประโยชน์ (beneficiary) เป็นสัญญาที่เป็นลายลักษณ์ อักษรที่บอกว่า ธนาคารที่เป็นผู ้ออกหนังสือจะชาระเงิน ทั ้ง หมดให้ แ ก่ ผู้ ท่ี ไ ด้ รั บ ประโยชน์ ภ ายในนามของลู ก ค้ า เป็น letter of credit มาตรฐานทัว่ ๆไปใช้ กับธุ รกิจการค้า ระหว่า งประเทศหรือ การค้า ภายในประเทศ เช่ น ธุ รกิ จ ก่อสร้าง เป็นต้น <<ตัวอย่างการใช้ Standby Letter of Credit เพื่อคา้ ประกันในทางการเงิน ในการดาเนินธุ รกิจการค้าระหว่างประเทศ ผู ้ซื้อ ได้ ข อสิ น เชื่ อ กั บ ผู ้ ข ายคื อ ให้ ผู้ ข ายส่ ง สิ น ค้ า ให้ ก่ อ น เมื่อผู ้ซื้อได้รับสินค้าเรียบร้อยแล้ว ขอเวลาจากผู ้ขาย 60 วัน จึงจะดาเนินการชาระเงิน เมื่อครบกาหนด 60 วัน ถ้าผู ้ซื้อไม่จ่ายค่าสินค้า ตามที่ได้ตกลงกันไว้ ความเสี่ยงความเสียหายจะตกอยู ่ท่ี ผู ้ขาย ดังนัน้ ผู ้ขายควรเจรจาตกลงกับผู ้ซื้อให้ดาเนินการ ออก Standby L/C มาคา้ ประกันในเรื่องการชาระเงิน ก่อนส่งสินค้าให้กับผู ้ซื้อ โดยมีขัน้ ตอนในการดาเนินการ ดังต่อไปนี้ icn 16
คุณวัชระ ปิ ยะพงษ์ ที่ปรึกษาองค์กรเอกชนชัน้ นาด้านการนาเข้าและส่งออก
1. ผู ้ขายและผู ้ซื้อทาสัญญาตกลงกันว่า ผู ้ขาย ต้องส่งสินค้าให้ผู้ซื้อก่อน เมื่อผู ้ซื้อได้รับสินค้าเรียบร้อย แล้ว ผู ้ซื้อมีระยะเวลาในการชาระเงินได้ 60 วัน และในการ ท า สั ญ ญ า นั ้ น ผู ้ ซื้ อ ต้ อ ง อ อ ก Standby L/C เ พื่ อ คา้ ประกันการชาระเงินให้กับผู ้ขาย 2. ผู ้ซื้อขอเปิ ด Standby L/C กับธนาคารของผู ้ซื้อ เพื่ อ ส่ ง ให้ ผู้ ข ายผ่ า นธนาคารของผู ้ ข าย เป็ นการ คา้ ประกันการชาระเงินของผู ้ซื้อ 3. เมื่ อ ผู ้ ข ายได้ รั บ Standby L/C จากผู ้ ซื้ อ เรียบร้อยแล้ว จึงดาเนินการส่งสินค้าให้ 4. เมื่ อ ครบกาหนด 60 วั น แล้ ว หากผู ้ ข าย ยังไม่ ได้รับการชาระเงินค่าสินค้าจากผู ้ซื้อ ผู ้ขายสามารถ นา Standby L/C ไปขึ้นเงิน ได้ทัน ที โดยดาเนินการผ่า น ธนาคารผู ้ ข ายที่ จ ะเรี ย กเก็ บ เงิน ตาม Standby L/C กั บ ธนาคารผู ้ออกหนังสือคา้ ประกันดังกล่าวให้กับผู ้ซื้อ หนั ง สื อ ค ้ า ประกั น แบบ Standby L/C จึ ง เปรียบเสมือนกับเครื่องหมายของความน่าเชื่ อถือในการ ทาธุ รกิจ และเป็นเครื่องพิสูจน์คุณภาพเครดิตของผู ้ซื้อ และความสามารถในการชาระเงินคืน ผู ้ซื้อจึงมั่นใจได้ว่า เมื่อเปิ ด Standby L/C กับธนาคารและส่งหนังสือคา้ ประกัน ดังกล่าวให้กับผู ้ขายแล้ว ทางผู ้ขายจะดาเนินการตามที่ ได้ ตกลงกัน ไว้ เนื่ อ งจากมีค วามมั่น ใจในหนั งสื อ ค ้าประกั น Standby L/C ของธนาคาร เพราะหากเกิ ดกรณีผู้ซื้ อ ไม่ ชาระเงิ น ค่ า สิ นค้ า หรื อ ไม่ ป ฏิ บั ติ ตามสั ญ ญา ในขณะที่ ผู ้ขายปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุ ใน Standby L/C ได้ถูกต้อง ครบถ้ ว นทุ ก ประการ ผู ้ ข ายก็ ส ามารถขอเรี ย กเก็ บ เงิ น ค่าสินค้าจากธนาคารได้ หนังสือคา้ ประกัน Standby L/C ได้รับความนิยม ในการน ามาใช้ ส าหรั บ ธุ รกิ จ การค้ า ระหว่ า งประเทศ เช่ น การซื้อสินค้าจากประเทศอื่น หรือแม้แต่การดาเนินธุ รกิจใน ประเทศ เช่ น การคา้ ประกันเงินกู้หรือการชาระเงินค่าสินค้า เป็นต้น
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน
เตรียมเอกสารกาหนด วันนาเข้าครัง้ แรก / ขอรับ Username และ Password ระบบ IC Online (ภายใน 1 วันทาการ)
ตามมาตรา 36 (1), (2)
คีย์บัญชีรายการ วัตถุดบิ / เตรียม เอกสารการลงทะเบียน เข้าสู่ระบบ RMTS สมัครใช้ บริการ RMTS
ขออนุมัติ บัญชีรายการ วัตถุดบิ กับ BOI
คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดบิ คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต
คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดบิ
ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน
BOI Approve
30 วัน 7 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
ทาให้คุณ ติดต่อ...
IC
สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์
COUNTER ด้านวัตถุดิบ
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 310, 313
ตรวจสอบ เอกสาร 2 วัน
จัดการธุ รกิจ
ด้วยแนวคิดใหม่
และเทคโนโลยีทันสมัย (1) จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com
เมื่อปลายเดือน พ.ค. 2562 ที่ผ่านมา International Institute for Management Development หรือที่เรา รู้จักคุ้นเคยในชื่อย่อว่า IMD ได้รายงานผลการจัดอันดับ ความสามารถการแข่ ง ขั น ล่ า สุ ด (ปี 2019) ซึ่ งมี ก าร รายงานเป็นประจาทุกปี ผลปรากฏว่าประเทศสิงคโปร์กลับ ขึ้นมาอยู ่อันดับที่ 1 จากอันดับที่ 3 ในปี ที่ผ่านมา ถือว่า เป็นการมาทวงแชมป์ คืนหลังจากที่เคยอยู ่ ในอันดับที่ 1 มา เมื่อหลายปี ก่อนโดยขยับสลับตาแหน่งกับสหรัฐอเมริกาอยู ่ บ่ อ ยครั ้ง ส าหรั บ ประเทศไทยขยั บ ขึ้น มา 5 อั น ดั บ จาก อั น ดั บ ที่ 30 มาอยู ่ ที่ อั น ดั บ 25 ในขณะที่ ป ระเทศอื่ น ๆใน ภูมิภาคเอเชี ยอย่า งญี่ปุ่นตกลงมา 5 อันดับจากอันดับ ที่ 25 มาอยู ่ อั น ดั บ ที่ 30 สลั บ ต าแหน่ ง กั น กั บ ประเทศไทย ในขณะที่มาเลเซี ยยังคงรักษาอันดับเดิมไว้ที่ 22 และเกาหลี ใต้ ตกลงจากเดิมในอันดับที่ 27 มาอยู ่ที่อันดับ 28 สาหรับประเทศไทย เมื่อพิจารณาลงไปในรายละเอียด ของเกณฑ์หลักที่ใช้ ในการจัดอันดับซึ่ งประกอบด้วย 4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ สมรรถนะทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ( Economic performance) จะเห็ น ได้ ว่ า ท าได้ ดี ขึ้ น ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจในประเทศ (ขึ้นจากอันดับที่ 34 เป็น อันดับที่ 30) การจ้างงาน (ขึน้ จากอันดับที่ 37 เป็นอันดับ ที่ 21) หลายคนอาจจะรู้ สึก ไม่เห็ นด้ ว ยกั บ ข้อ มู ลดั ง กล่ า ว เพราะใครๆก็บ่นว่าเศรษฐกิจไม่ดี ทามาค้าขายยาก รายได้ ไม่พอกับรายจ่าย จะเห็นได้จากปั จจัยระดับราคา (ลงจาก อั น ดั บ ที่ 23 เป็ น อั น ดั บ ที่ 29) แต่ น่ี คื อ ผลการจั ด อั น ดั บ โดยวิ ธี ก ารเที ย บเคี ย งกั บ ประเทศอื่ น ๆทั่ว โลก แสดงว่ า มีอีกมากมายหลายสิบประเทศที่แย่กว่าประเทศไทย
icn 18
ก ลุ่ ม ที่ ส อ ง คื อ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ งภา ค รั ฐ (Government efficiency) ดีขึน้ เล็กน้อย แต่ที่น่าจะเห็นผล ได้ อย่ างชัดเจน คื อ การแก้ ไขกฎหมายหรื อระเบี ยบต่ างๆ ที่ส่ งผลต่ อการด าเนิ นธุ รกิจทาให้ สามารถลดข้อจ ากั ดและ ความยุ ่งยากลงไปได้พอสมควร (ขึน้ จากอันดับที่ 36 เป็น อัน ดั บ ที่ 32) การควบคุม นโยบายด้ านการเงิ น การคลั ง ยั ง สามารถท าได้ ดี แต่ ที่ มี ปั ญหาคื อ กรอบการบริ ห าร ด้า นสั งคม (ลงจากอัน ดับ ที่ 45 เป็ น อัน ดับ ที่ 48) จุ ดนี้ น่า จะสะท้อ นให้เห็ นถึ ง การปรับตั ว ของกลุ่ ม คนที่ มี รายได้ น้อยหรือที่ เรียกว่ารากหญ้าซึ่ ง มีจานวนมากในกลุ่ มผู ้ใ ช้ แรงงานทัง้ ภาคเกษตรและอุ ตสาหกรรม ส่วนกลุ่มที่สาม คือ โครงสร้างพืน้ ฐาน (Infrastructure) แม้การจัดอันดับดีขึ้น อาทิ สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน (ขึ้นจาก อันดับที่ 31 เป็นอันดับที่ 27) โครงสร้างพืน้ ฐานด้านวิทยาศาสตร์ (ขึ้นจากอันดับที่ 42 เป็นอันดับที่ 38) และด้านสุขภาพและ สิ่งแวดล้อม (ขึน้ จากอันดับที่ 58 เป็นอันดับที่ 55) แต่ ใน ภาพรวมแล้วก็ยังอยู ่ในอันดับที่ต่า โดยเฉพาะด้านการศึ กษา ยั ง อยู ่ คงที่ ในอั นดั บที่ 56 ซึ่ งน่ าเป็ นห่ วงอย่ างมาก เพราะความรู้ ค วามสามารถของคนไทยจะสะท้ อ นไปสู่ ปั จจัยอื่นๆในอนาคต
การจัดอันดับในกลุ่มสุดท้ายยิ่งน่าเป็นห่วง ประสิทธิภาพ ของภาคธุ รกิจ (Business efficiency) ที่ประเทศไทยเคยทาอันดับ ได้ดีกลับตกลงเกือบทุกตัว อาทิ ผลิตภาพและประสิทธิภาพ (ลงจากอัน ดับที่ 40 เป็นอัน ดับที่ 43) การบริหารจัดการ (ลงจากอันดับที่ 24 เป็นอันดับที่ 27) และทัศนคติและค่านิยม ของผู ้ ป ระกอบการ (ลงจากอัน ดับที่ 17 เป็ นอั น ดับที่ 26) จากประสบการณ์ของผู ้เขียนที่ได้เข้าไปให้คาปรึกษาแนะน า และฝึ กอบรมให้ กับ บุ คลากรในทุ กระดั บของมากมายหลาย องค์กรในช่ วงที่ผ่านมา พบว่าความตื่นตัวในการยกระดับ องค์ ก รและระบบการผลิ ต ด้ ว ยแนวคิ ด ใหม่ แ ละเทคโนโลยี ทั น สมั ย ยั ง เป็ นไปอย่ า งเชื่ อ งช้ า ทั ้ง ๆที่ ต้ อ งรี บ ยกเครื่ อ ง ขนานใหญ่แล้ว การยกระดั บ ประเทศไทยให้ ก้ า วพ้ น กั บ ดั ก รายได้ ปานกลาง และยกระดับความสามารถในการแข่งขันให้สูงขึ้น เพื่ อ เที ย บเท่ า กั บ ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว นั ้น รั ฐ บาลควร ตัง้ เป้ าหมายเริม่ ต้นที่ระดับ Top Twenty ของโลกเป็นอย่างน้อย และมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้ โมเดลการขับเคลื่อน ประเทศที่ ส อดรั บ กั บ บริ บ ทและแนวโน้ ม ใหม่ ข องโลกโดยมี ความเจริญก้าวหน้าอย่างสมดุลในทุกภาคส่วน และไม่สร้าง ผลกระทบที่ เป็ น ลบสู่ ภ ายนอก ซึ่ ง เรี ย กกั น ว่ า การพั ฒ นา อย่างยัง่ ยืน (Sustainable Development Growth – SDG) ที่ ไ ม่ ได้ ใ ห้ ค วามส าคั ญ เฉพาะตั ว เลขการเจริ ญ เติ บ โตทาง เศรษฐกิจ (Economic growth) อย่างเดียวเท่านัน้ หากแต่ ต้องกาหนดนโยบาย ทิศทาง และเป้ าหมายใหม่ ในมิติอื่นๆ ด้วย อาทิ Green Growth – เพื่อลดผลกระทบที่ก่อให้เกิดมลพิษ มุ ่งสู่สังคมคาร์บอนตา่ ทุกคนมีจิตสานึกในการช่ วยกันดูแล รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม ลดการใช้ วั ส ดุ ท่ี ย่ อ ยสลายได้ ย าก โดยเปลี่ ย นมาเป็ น การใช้ วั ส ดุ จ ากธรรมชาติ ห รื อ วั ส ดุ ที่ สามารถนามาใช้ซ้ า Inclusive Growth – เพื่อสร้างความเท่าเทียม ลดความเหลื่ อ มล า้ และบู ร ณาการส่ ว นต่ า งๆเข้ า ด้ ว ยกั น จนทาให้ช่องว่าง (Gap) ที่นับวันจะห่างกันออกไปไกลมากขึน้ กลับมาใกล้กัน ไม่ว่าจะเป็นช่ องว่างทางด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน กฎระเบียบ การเข้าถึงข้อมู ล และความช่ วยเหลือต่างๆที่รัฐ มีให้กับกลุ่มผู ้ด้อยโอกาสในสังคมที่ต้องถูกบริหารจัดการให้ กระจายไปสู่ทุกกลุ่มได้อย่างทั่วถึง รวมถึงความมุ ่งเน้นใน การส่ งเสริ มศักยภาพให้ชุมชนสามารถพึ่ งพาตั วเองให้ไ ด้ กลายเป็นชุ มชนเข้มแข็งที่ไม่ ได้รอความช่ วยเหลือแต่เพียง อย่างเดียว
Productivity Growth – เพื่อยกระดับผลิตภาพ การผลิตทัง้ ภาคเกษตรกรรม อุ ตสาหกรรม การค้า และ การบริการ ด้วยบุ คลากรที่ มีความสามารถ เทคโนโลยี ที่ ทันสมัย และการจัดการด้วยแนวคิดใหม่ที่สอดรับกับการ เปลี่ยนแปลงของโลก โดยตัง้ อยู ่บนฐานของการเปลี่ยนผ่าน ไปสู่การประยุ กต์ ใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลไร้สายที่รวดเร็ว และมี ความเป็นอัจฉริยะ แนวทางการส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงและ ปรับตัวในภาคธุ รกิจที่รัฐควรเข้าไปดาเนินการ อาทิ (1) การสนั บ สนุ น ให้ ย้ า ยฐานการผลิ ต แบบเดิ ม ที่ พ่ึ ง พาแรงงานเพื่ อ นบ้ า นไปยั ง ประเทศอื่ น ที่ มี แ รงงาน จานวนมากและมีอัตราค่าจ้างที่ตา่ กว่าประเทศไทย (2) ส่ ง เสริ ม การยกระดั บ การผลิ ต จากแรงงาน เข้ ม ข้ น มาเป็ นระบบการผลิ ต ใหม่ ที่ ทั น สมั ย สอดรั บ กั บ ปริมาณแรงงานไทยที่มีน้อยลงแต่มีความรู้สูงขึน้
(3) สื่อสารเพื่อสร้างความตระหนัก กระตุ้นความสนใจ ให้ภาคธุ รกิจเห็ นถึง ความสาคั ญในการยกระดั บการผลิ ต และการบริหารจัดการใหม่ที่ทันสมัย (4) พั ฒ นาทั ก ษะความสามารถของบุ คลากรให้ สอดรั บ กั บ ความต้ อ งการของอุ ตสาหกรรมด้ ว ยการ Re-skill และ Up-skill (5) จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ระดั บ ความสามารถของ บุ คลากรและสมรรถนะขององค์กรตามเกณฑ์มาตรฐานสากล และการทดสอบรับ รองที่ได้ รับการยอมรับ เพื่ อนาข้อมู ล มาใช้สาหรับการวางแผนขององค์กรในภาพใหญ่ต่อไป แนวทางทัง้ หมดที่กล่าวมาข้างต้น นอกจากจะทา ให้ ค วามสามารถในการแข่ ง ขั น ของประเทศสู ง ขึ้ น แล้ ว ยังช่ วยดึงดูดนักลงทุนจากประเทศที่พัฒนาแล้วให้สอดรับ กั บ นโยบายผลั ก ดั น และส่ ง เสริ ม อุ ตสาหกรรมใหม่ ไฮเทค ที่เป็น New S-Curve และ First S-Curve ได้เป็นอย่างดี 19
icn
เคยมีคากล่าวว่า “ผู ้ใดครองเทคโนโลยี ผู ้นัน้ ครอง โลก” แต่ ในทางธุ รกิจปั จจุ บันอาจจะต้องเสริมอีกสิ่งหนึ่ง ขึ้นมาก็คือ “ผู ้ใดเข้าถึง วิเคราะห์ และจัดการข้อมู ลได้ ผู ้นัน้ ครองใจลูกค้า” การคาดการณ์อนาคตเพื่อกาหนด กลยุ ทธ์และวิธีการทาธุ รกิจ (Strategic Foresight) เริ่มทวี ความสาคัญในหลายประเทศทัว่ โลกหรือแม้แต่ ในหลายองค์กร ในประเทศไทย ได้มีการจัดตัง้ กลุ่มงานจนถึงองค์กรขึ้นมา เพื่ อ รั บ มื อ กั บ การเปลี่ ย นแปลงดั ง กล่ า ว การจ าลอง สถานการณ์ ที่ ห ลากหลายเพื่ อ พิ จ ารณาทางเลื อ ก ทางรอด และโอกาสใหม่ๆ (Foresight framework and scenario) กาลังเป็นอีกหนึ่งศาสตร์ที่น่าสนใจและท้าทาย ความสามารถมาก รายงานผลการวิจัย BCG Research and Analysis ที่จัดทาโดย Boston Consulting Group เป็นหนึ่งตัวอย่าง ที่สะท้อนให้เห็นว่าผู ้ประกอบการ ผู ้บริหาร และคนทางาน ทุกคนในยุ คปั จจุ บัน ควรตระหนักและให้ความสาคัญกับ การเปลี่ ย นแปลงที่ ก าลั ง เกิ ด ขึ้ น ให้ ม าก อย่ า ชะล่ า ใจกั บ ผลประกอบการหรือผลงานที่เคยทาได้ดีในอดีต เพราะสิ่ง ดั ง กล่ า วไม่ ส ามารถรั บ ประกั น ความส าเร็ จ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตได้อีกต่อไป ยิ่งองค์กรที่อยู ่ในอุ ตสาหกรรมที่มี การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว และก าลั ง อยู ่ ในจุ ดสู ง สุ ด ของยอดคลื่น หรือ S-Curve ของเทคโนโลยีแบบเก่า การเร่งเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลง ก่อ นที่ มั น จะมาเยื อ น (Proactive to transformation) น่าจะเป็นทางออกที่ดีกว่าการปล่อยให้องค์กรหลุดเข้าไป สู่ภาวะขาลงแล้วถึงค่อยคิดหาวิธีการรับมือ (Reacting to transformation) ซึ่ งอาจจะสายไปเสียแล้ว
FAQ 108
รายงานดังกล่าวยังได้คาดการณ์ถึงแนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงของโลกที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต จากการวิเคราะห์ ข้อ มู ล และการสั ม ภาษณ์ ผู้ บ ริ ห ารองค์ก รชัน้ น ามากมาย ทั่วโลก ได้ข้อสรุ ปออกมาเป็นแรงขับสาคัญที่ส่งผลให้เกิด การปฏิวั ติรู ปแบบและวิ ธีก ารท างานภายในองค์ กรธุ รกิ จ ในอนาคต 12 หัวข้อ โดยแบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านการ เปลี่ ย นแปลงในอุ ปสงค์ ห รื อ ความต้ อ งการความรู้ ความสามารถใหม่ ขององค์กร และด้ านการเปลี่ยนแปลง ในอุ ปทานหรื อ การจั ด หาให้ มี ค วามรู้ ค วามสามารถใหม่ ที่องค์กรต้องการ ICN ฉบั บ หน้ า มาติ ด ตามกั น ต่ อ ว่ า แนวโน้ ม การเปลี่ยนแปลงโลกทัง้ 2 ด้าน มีอะไรบ้าง และจะส่งผลต่อ การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการธุ รกิจอย่างไร
ภาพจาก : http://www.pvcompare.net/news-fromwebsite/173-smart-cities-in-a-smart-world
คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น
แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น icn
20
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนา
“All Executives Need to Know about BOI” (Japanese Version) <<เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2562 สมาคมสโมสรนักลงทุนจัด สั ม มนาภาษาญี่ ปุ่ น เรื่ อ ง “All Executives Need to Know about BOI” ส าหรั บ นั ก ลงทุ น ชาวญี่ ปุ่ น เพื่ อ ให้ ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายส่งเสริมการลงทุน การให้สิทธิประโยชน์ด้านการส่งเสริมการลงทุน มาตรการ จู งใจ และบริการส่งเสริมการลงทุนต่างๆจากสานักงาน คณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น รวมถึ ง เงื่ อ นไขที่ สานักงานฯกาหนดให้บริษัทปฏิบัติตามเพื่อสามารถใช้ สิทธิ ประโยชน์ที่ได้รับจากการส่งเสริมการลงทุนให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ทัง้ สิทธิประโยชน์ด้านภาษี อากร (TAX) และไม่ ใช่ ภาษีอากร (NON-TAX) การสั ม ม นาครั ้ ง นี้ สมาคมฯได้ รั บ เกี ย รติ จ าก ดร.บงกช อนุโรจน์ รองเลขาธิการ สานักงานคณะกรรมการ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น และ คุ ณ กฤษฎา เวชวิ ท ยาขลั ง นั ก วิ ช าการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ช านาญการพิ เ ศษ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นวิทยากร บรรยาย พร้อมด้วยนักวิชาการส่งเสริมการลงทุน จาก ส านั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ร่ ว มเป็ น วิ ท ยากรตอบค าถามบนเวที และให้ ค าปรึ ก ษาแนะน า เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ใ ช้ สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น์ ด้ า น ต่ า ง ๆ ( BOI CONSULTATION CLINIC) ซึ่ งได้ รั บ ความสนใจจาก นักลงทุนชาวญี่ปุ่ นที่เข้าร่วมงานสัมมนาและเข้ารับบริการ ขอคาปรึกษาเป็นอย่างมาก
21 icn
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด กิ จ กรรม
เตรียมความพร้อมการตัดบัญชีวัตถุดิบแบบ Paperless สาหรับ กิจการผลิตอัญมณีและเครื่องประดับ <<เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2562 สมาคมสโมสรนักลงทุน จัดกิจกรรม “เตรียมความพร้อมการตัดบัญ ชี วัตถุดิ บ แบบ Paperless ส าหรั บ กิ จ การผลิ ต อั ญ มณี แ ละ เครื่ อ งประดั บ ” เพื่ อ เป็ น การเตรี ย มความพร้ อ มให้ กั บ ผู ้ประกอบการซึ่ งเป็นผู ้ใช้ บริการระบบ RMTS กับสมาคมฯ ในการดาเนินการยื่นตัดบัญชีวัตถุดิบทางอิเล็กทรอนิกส์ แ บ บ Paperless ส า ห รั บ กิ จ ก า ร ผ ลิ ต อั ญ ม ณี แ ล ะ เครื่ อ งประดั บ โดยหั ว ข้ อ การบรรยายเน้ น เรื่ อ งการ จดสู ต รการผลิ ต ให้ ชื่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละชื่ อ รุ ่ น ตรงตาม ใบขนสินค้าขาออกตามที่ส่งออกจริง และแจ้งให้ผู้เข้าร่วม กิ จ กรรมทราบว่ า ส านั ก งานฯจะงดรั บ เอกสารเพื่ อ ประกอบการพิจารณา ตัง้ แต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 เป็นต้นไป กิจกรรมครัง้ นี้ คุณวีรพงษ์ ศิ ริวัน ผู ้จัดการสมาคม สโมสรนักลงทุน ให้เกียรติกล่าวเปิ ดงานและต้อนรับ และ สมาคมฯได้รับเกียรติจาก คุณภาคภูมิ บู รณบุ ณย์ และ คุณทวี วีระพงษ์ ชยั นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนระดับ ชานาญการพิเศษ จากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน เป็นวิทยากรบรรยายพร้อมตอบข้อซักถาม ซึ่ งผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมซั ก ถามประเด็ น ปั ญหาต่ า งๆ ด้วยความสนใจ
icn 22
ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ งปลายนิ้ ว คุ ณ
@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ
Add friends
IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย
ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ ที่ สาคั ญ . .. อย่ า ลื ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ พื่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ย กั น น ะ ! !
การใช้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิม ่ เติม
ประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 50)
พ.ศ.2562 ปริญญา ศรีอนันต์ parinyas@ic.or.th
พระราชบั ญ ญั ติ แ ก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ประมวลรั ษ ฎากร (ฉบับที่ 50) พ.ศ.2562 มีผลบังคับใช้ ตงั ้ แต่วันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2562 เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ มาตรฐานการบัญชีได้มีการปรับปรุ งให้สอดคล้องกับมาตรฐาน การรายงานทางการเงิ น ระหว่ า งประเทศ โดยก าหนดให้ กิ จ การที่ มี ธุ รกรรมทางการเงิ น เป็ น เงิ น ตราต่ า งประเทศ บางกรณีส ามารถเลื อ กใช้ ส กุ ล เงิน ที่ ใ ช้ ใ นการด าเนิ น งาน เป็นสกุลเงินอื่นนอกจากเงินตราไทยได้ ดังนัน้ เพื่อให้การ ปฏิบัติจัดเก็บภาษี เงินได้จากบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สอดคล้ อ งกั บ มาตรฐานการบั ญ ชี อั น จะส่ ง ผลต่ อ การ เพิ่มความสะดวกในการประกอบธุ รกิจ ช่ วยลดต้นทุนของ ผู ้ประกอบการ และเพิ่มแรงจู งใจให้ผู้ลงทุนตัดสินใจจัดตัง้ สานักงานใหญ่ข้ามประเทศและบริษัทการค้าระหว่างประเทศ ในประเทศไทยมากยิ่ งขึ้น จึง เป็น การสมควรที่ จะปรับ ปรุ ง หลักเกณฑ์ของประมวลรัษฎากรเกี่ยวกับการใช้ สกุลเงินอื่น นอกจากเงิ น ตราไทยเป็ น สกุ ล เงิ น ที่ ใ ช้ ใ นการด าเนิ น งาน อั ต ราแลกเปลี่ ย นส าหรั บ การค านวณค่ า หรื อ ราคาของ เงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนีส้ ิน และวิธีการคานวณและการ ชาระภาษี ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ใช้ เงินตรา ต่างประเทศเป็นสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงาน ประเด็ น สาคั ญ ที่ มี ก ารปรั บ ปรุ ง ใหม่ 1. เงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินซึ่ งมีค่าหรือราคา เป็ น เงิ น ตราต่ า งประเทศที่ เ หลื อ อยู ่ ในวั น สุด ท้ า ยของรอบ ระยะเวลาบั ญ ชี ให้ ค านวณค่ า หรื อ ราคาเป็ น เงิ น ตราไทย อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ icn 24
1.1 กรณี บ ริ ษั ท หรื อ ห้ า งหุ้ น ส่ ว นนิ ติ บุ คคล ให้ เ ลื อ กใช้ วิ ธีการค านวณค่ า หรื อ ราคาของเงิ น ตรา ทรั พ ย์ สิ น หรื อ หนี้ สิ น เป็ น เงิ น ตราไทยตามอั ต รา ถัวเฉลี่ยระหว่างอัตราซื้อและอัตราขายของธนาคาร พาณิชย์ท่ีธนาคารแห่งประเทศไทยได้คานวณไว้ หรือ วิ ธี ก ารค านวณค่ า หรื อ ราคาของเงิ น ตราหรื อ ทรัพย์สินเป็นเงินตราไทยตามอัตราถัวเฉลี่ยที่ธนาคาร พาณิชย์รับซื้อซึ่ งธนาคารแห่งประเทศไทยได้คานวณไว้ และค านวณค่ า หรื อราคาของหนี้สิน เป็น เงิ น ตราไทย ตามอัตราถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิชย์ขายซึ่ งธนาคาร แห่ ง ประเทศไทยได้ ค านว ณไว้ หรื อ วิ ธี ก ารอื่ น ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ หลั กเกณฑ์ ต ามวิ ชาการบั ญ ชี ต าม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศ กาหนดในราชกิจจานุเบกษา ทัง้ นี้ เมื่อใช้ วิธีการใดใน การคานวณค่าหรือราคาดังกล่าวแล้ว ให้ใช้ วิธีการนัน้ ตลอดไป เว้ น แต่ จ ะได้ รั บ อนุ มั ติ จ ากอธิ บ ดี จึ ง จะ เปลี่ยนแปลงได้ 1.2 กรณี ธ นาคารพาณิ ช ย์ ห รื อ สถาบั น การเงิ น อื่ น ตามที่ รั ฐ มนตรี ก าหนด ให้ ใ ช้ วิ ธี ก าร คานวณค่าหรือราคาของเงินตรา ทรัพย์สิน หรือ ห นี ้ ส ิ น เ ป ็ น เ งิ น ต ร า ไ ท ย ต า ม อั ต ร า ถั ว เ ฉ ลี ่ ย ระหว่างอัตราซื้อและอัตราขายของธนาคารพาณิชย์ ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้คานวณไว้
เงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนีส้ ินซึ่ งมีค่าหรือราคาเป็น เงิ น ตราต่ า งประเทศ ที่ รั บ มาหรื อ จ่ า ยไปในระหว่ า งรอบ ระยะเวลาบั ญ ชี ให้ ใ ช้ วิ ธี การค านวณค่ า หรื อ ราคาเป็ น เงินตราไทยตามราคาตลาดในวันที่รับมาหรือจ่ายไปนัน้ 2. บริ ษั ท หรื อ ห้ า งหุ้ น ส่ ว นนิ ติ บุ คคลที่ ใ ช้ เ งิ น ตรา สกุ ล อื่ น นอกจากเงิ น ตราไทยตามที่ รั ฐ มนตรี ป ระกาศ ก าหนดในราชกิ จ จานุ เ บกษาเป็ น สกุ ล เงิ น ที่ ใ ช้ ใ นการ ดาเนินงาน ต้องแจ้งต่ออธิบดีเพื่อใช้ เงินตราสกุลดังกล่าว ในการจั ด ท าบั ญ ชี ง บดุ ล บั ญ ชี ท าการ และบั ญ ชี ก าไร ขาดทุน หรือบัญชี รายรับก่อนหักรายจ่าย รวมถึงการ คานวณกาไรสุท ธิหรือ ยอดรายรั บก่อนหักรายจ่า ยใดๆ และการคานวณจานวนภาษี เงินได้ท่ีต้องเสียก็ได้ โดยให้ใช้ เงิ นตราสกุล ที่ ใช้ ในการดาเนิน งานนัน้ ตัง้ แต่วั นแรกของ รอบระยะเวลาบัญชีท่ไี ด้แจ้ง และต้องใช้ ตลอดไปจนกว่าจะ ได้รับอนุมัติจากอธิบดีจึงจะเปลี่ยนแปลงได้ การประเมิ น เงิ น ภาษี แ ละการแจ้ ง จ านวนภาษี ที่ต้องชาระ ต้องชาระเพิ่มเติม หรือได้รับคืน รวมทัง้ การ คานวณเบี้ยปรับหรือเงินเพิ่ม และการปฏิบัติการอื่นใดของ เจ้าพนักงานประเมินกับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ ใช้ เงินตราสกุลอื่นนอกจากเงินตราไทยเป็นสกุลเงินที่ใช้ ใน การดาเนินงาน ให้ดาเนินการโดยใช้ เงินตราสกุลที่ใช้ ในการ ดาเนินงานของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนัน้ 3. ก า ร ค า น ว ณ ค่ า ห รื อ ร า ค า ข อ ง เ งิ น ต ร า ทรัพย์สิน หนีส้ ิน และรายการอื่นๆในงบการเงินในวันสิน้ รอบ ระยะเวลาบัญ ชี ก่อนรอบระยะเวลาบัญชี ท่ี ใช้ สกุลเงินอื่ น นอกจากเงิ น ตราไทยเป็ น สกุล เงิ น ที่ ใ ช้ ใ นการด าเนิ น งาน หรือจากการเปลี่ย นแปลงสกุลเงินที่ใ ช้ ในการดาเนินงาน และบรรดารายการอื่ น ใดรวมทั ้ง ผลขาดทุ น สุ ท ธิ ต าม มาตรา ๖๕ ตรี (๑๒) ที่ใช้ ในการคานวณภาษี เงินได้ ที่เหลืออยู ่ ณ วันนัน้ ให้คานวณค่าหรือราคาเป็นสกุลเงิน ที่ใช้ ในการดาเนินงาน ดังนี้ 3.1 เงินตรา ทรัพย์สิน หนีส้ ิน และรายการอื่นๆ ในงบการเงิน ให้คานวณค่าหรือราคาตามหลักเกณฑ์ตาม วิ ช าการบั ญ ชี ต ามหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขที่ รัฐมนตรีประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา
3.2 บรรดารายการอื่นใดรวมทัง้ ผลขาดทุน สุทธิตามมาตรา ๖๕ ตรี (๑๒) ที่ใช้ ในการคานวณภาษี เงิ น ได้ ให้ ค านวณค่ า หรื อ ราคาตามอั ต ราถั ว เฉลี่ ย ระหว่างอัตราซื้อและอัตราขายของธนาคารพาณิชย์ท่ี ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยได้ ค านวณไว้ ใ นวั น สิ้น รอบ ระยะเวลาบัญชีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีท่ีใช้ สกุลเงินอื่น นอกจากเงินตราไทยเป็นสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงาน หรื อ ของรอบระยะเวลาบั ญ ชี ก่ อ นที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ เปลี่ยนแปลงสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงาน แล้วแต่กรณี 4. การค านวณค่ า หรื อ ราคาของเงิ น ตรา ทรั พ ย์ สิ น หรื อ หนี้ สิ น ของบริ ษั ท หรื อ ห้ า งหุ้ น ส่ ว น นิ ติ บุ คคลที่ ใ ช้ เ งิ น ตราสกุ ล อื่ น เป็ น สกุ ล เงิ น ที่ ใ ช้ ใ นการ ด าเนิ น งานให้ ค านวณค่ า หรื อ ราคาของเงิ น ตรา ทรั พ ย์ สิ น หรื อ หนี้สิ น ดั ง กล่ า วเป็ น สกุ ล เงิ น ที่ ใ ช้ ใ นการ ดาเนินงาน ดังนี้ 4.1 การค านวณค่ า หรื อ ราคาของเงิ น ตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินที่เหลื ออยู ่ในวั นสุดท้ายของรอบ ระยะเวลาบั ญ ชี ให้ เ ลื อ กใช้ วิ ธี ก ารค านวณอย่ า งใด อย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 4.1.1 ใช้ อัตราถัวเฉลี่ยระหว่างอัตราซื้อ และอั ต ราขายของธนาคารพาณิ ช ย์ ท่ี ธ นาคารแห่ ง ประเทศไทยได้คานวณไว้ แต่ ในกรณีมีส่วนใดที่ไม่อาจ คานวณตามอัตราดังกล่าว ให้ขออนุมัติต่ออธิบดีเพื่อ ใช้ อัตราอื่นเฉพาะส่วนนัน้ ได้ 4.1.2 ใช้ วิ ธี ก ารอื่ น ซึ่ งสอดคล้ อ งกั บ หลักเกณฑ์ตามวิชาการบัญชีตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ เงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา เมื่อใช้ วิธีการใดในการคานวณค่าหรือราคา ดังกล่ าวแล้ว ให้ใ ช้ วิธีการนัน้ ตลอดไป เว้นแต่จะได้รั บ อนุมัติจากอธิบดีจึงจะเปลี่ย นแปลงได้ การขอและการ อนุ มั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารที่ อ ธิ บ ดี ประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา 4.2 การค านวณค่ า หรื อ ราคาของเงิ น ตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินที่รับมาหรือจ่ายไปในระหว่างรอบ ระยะเวลาบัญชี ให้คานวณค่าหรือราคาตามราคาตลาด ในวันที่รับมาหรือจ่ายไปนัน้
25 icn
5. การชาระภาษี และการคืนเงินภาษี ในกรณีของ บริษัทหรือ ห้างหุ้นส่ วนนิติบุคคลที่ใช้ เ งินตราสกุลอื่นเป็ น สกุ ล เงิ น ที่ ใ ช้ ใ นการด าเนิ น งาน ให้ ใ ช้ เ งิ น ตราไทยโดยให้ คานวณค่าตามอัตราถัวเฉลี่ยระหว่างอัตราซื้อและอัตรา ขายของธนาคารพาณิ ชย์ ท่ี ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยได้ คานวณไว้ในวันทาการสุดท้ายก่อนวันชาระภาษี หรือก่อน วันที่ผู้มีอานาจอนุมัติให้คืนเงินภาษี
6. ผลก าไรหรื อ ขาดทุ น จากอั ต ราแลกเปลี่ ย น ที่เกิดขึน้ จากการเปลี่ยนแปลงสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงาน หรือจากการคานวณค่าของสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงาน เป็นเงินตราไทยเพื่อชาระภาษี ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิ ติ บุ คคลที่ ใ ช้ เ งิ น ตราสกุ ล อื่ น เป็ น สกุ ล เงิ น ที่ ใ ช้ ใ นการ ดาเนินงานไม่ ให้ถือเป็นรายได้หรือรายจ่ายในการคานวณ กาไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ ที่มา:
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/ 050/T_0103.PDF https://www.ryt9.com/s/rdn/2986460 ภาพจาก: http://financeindex.co/investing/cc8765456/ https://www.checkraka.com/knowledge/credit-card-2-77/1689832/
จากข้อมู ลที่มีการปรับปรุ งดังที่กล่าวมาข้างต้น สมาคมฯเห็นถึง ความสาคัญของประเด็น เนื้อหาที่จะเป็ น ประโยชน์ กั บ นั ก บั ญ ชี ท่ี ป ฏิ บั ติ ง านให้ กั บ องค์ ก รของ ผู ้ประกอบการซึ่ งเป็นสมาชิกของสมาคมฯ จึงจัดสัมมนา ฟรีสมาชิกครัง้ ที่ 4/2562 ในหัวข้อ “การใช้ อัตราแลกเปลี่ยน เงิน ตราต่ า งประเทศตามพระราชบั ญ ญั ติแ ก้ไ ขเพิ่ม เติ ม ประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 50) พ.ศ.2562” เพื่อให้ความรู้ และสร้างความเข้าใจให้กับนักบัญชีให้สามารถปฏิบัติงาน ได้อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ พระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ ใหม่ กาหนดไว้ โดยการสั ม มนาจะ จัดขึ้นในวันจันทร์ท่ี 30 กันยายน พ.ศ. 2562 เวลา 13.00-17.00 น. ณ ห้องกินรี โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุ งเทพฯ ทัง้ นี้ สมาชิ กสมาคมฯที่สนใจสมัครเข้าฟั งการ บรรยายสามารถสมั ค รเข้ า ร่ ว มผ่ า นการลงทะเบี ย น ออนไลน์เพื่อสารองที่นั่งได้ท่ี http://icis.ic.or.th หรือ ผ่ า นทาง www.ic.or.th โดยสมาคมฯจะเริ่ ม เปิ ดให้ ลงทะเบียนเพื่อสารองที่นั่งได้ตัง้ แต่วันที่ 4-25 กันยายน พ.ศ.2562 และขอสงวนสิ ท ธิ์ ใ นการปิ ดรั บ สมั ค ร ลงทะเบี ย นเมื่ อ จ านวนผู ้ ส มั ค รเข้ า ร่ ว มสั ม มนาครบ จานวนสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ท่ี แผนกลูกค้า สั ม พั น ธ์ แ ละสื่ อ สารองค์ ก ร โทรศัพ ท์ 0 2936 1429 ต่อ 202 (คุณจุ ฑารัตน์) ต่อ 203 (คุณเบญจวรรณ) E-mail: cus_servive@ic.or.th, jutaratb@ic.or.th, benjawank@ic.or.th
สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ ออนไลน์
เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ
หลักสูตรการใช้งานระบบ IC หลักสูตรด้านศุลกากร หลักสูตรการบริหารจัดการ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน icn 26
0 2 9 3 6 1 4 2 9 ต่ อ 2 0 5 - 2 0 9
ใจ ที่ไม่ว้าวุ่น ความสาเร็จย่อมชัดเจน เส้าหลิน
หากย้อนเวลากลับไปครัง้ เรายังเยาว์วัย การหัด ปั่ นจักรยาน 2 ล้อไม่ใช่ เรื่องง่าย ทัง้ กลัวล้ม ระหว่างหัด ก็จะบ่นไปเรื่อยๆว่าปั่ นไม่ ได้ ตัวเกร็ง ปั่ นส่ายไปส่ายมา พาให้ ล้ ม ซึ่ ง มั ก ได้ ข องแถมเป็ น บาดแผลถลอกเสมอ ผู ้ ป กคร องที่ หั ด ใ ห้ บุ ตร หล านก็ มั ก ตะโกนบ อกว่ า ไม่ ต้ อ งกลั ว นั่ ง ตั ว ตรงๆนิ่ ง ๆ มื อ อย่ า ส่ า ยไปส่ า ยมา เท้ า ปั่ นอย่ า หยุ ด แล้ ว ที่ ส าคั ญ มองตรงไปข้ า งหน้ า ไกลๆโน่น และแล้ว… การหัดก็เริ่มใหม่อีกครัง้ หายใจเข้าลึกๆ ด้วยใจที่ตงั ้ มัน่ ตามองตรงไปข้างหน้า เอ้า 1 2 3 ในที่สุดก็ปั่นได้สาเร็จ จะเห็นได้ว่าถ้าจิตใจว้าวุ ่น สับสน หรือเต็มไปด้วย ความลังเลไม่แน่ ใจก็เปรียบเหมือนกับการหัดปั่ นจักรยาน แรกๆก็จะมีอาการคดเคี้ยวเลี้ยวไปมาจนล้มลง และสิ่งที่ ตามมาคือการตาหนิตนเองว่า ทาไม่ ได้แน่ๆ แต่สาหรับ คนที่ ป ระสบความส าเร็ จ หรื อ คนที่ ส ามารถยื น หยั ด กั บ ทุกปั ญหาจนสามารถผ่านพ้นไปได้นนั ้ จะเติมแรงใจให้ ไม่มี วันหมดด้ว ยคาว่ า “ต้ องทาได้ ถึ งแม้วั นนี้จ ะไม่สาเร็ จ ก็ยังมีพรุ ่งนีใ้ ห้เริม่ ใหม่ ได้เสมอ” เคล็ดลับเหล่านีค้ ืออะไร?
คิ ด จะทาการใหญ่ ใจต้ อ งนิ่ ง กว่าคนคนหนึ่งจะประสบความสาเร็จหรือก้าวข้าม ปั ญ ห า อุ ป ส ร ร ค ต่ า ง ๆ ม า ไ ด้ นั ้ น ล้ ว น ต้ อ ง ผ่ า น ความล้ ม เหลวมาก่ อ น เพราะเมื่ อ ผ่ า นสิ่ ง เหล่ า นี้ม าได้ ก็จะกลายเป็นประสบการณ์ท่ีช่วยให้เราสามารถตัดสินใจ ได้ อ ย่ า งเหมาะในสถานการณ์ ต่ า งๆหรื อ ที่ เ รีย กสั ้น ๆว่ า เกิดปั ญญา (Wisdom) โดยวิธีท่ีช่วยลดความว้าวุ ่นใจ นอกจากการนัง่ สมาธิแล้ว ยังมีอีก 7 วิธี คือ 1. อย่าอยู ่คนเดียว > ลองพู ดคุยแลกเปลี่ยนกับ คนรอบข้าง เพราะการอยู ่เงียบๆคนเดียวยิ่งทา ให้คิดมาก 2. อย่าเพิ่งคิดไปเอง > เพราะอนาคตจะเกิดอะไร ขึ้นเป็นสิ่งที่เราไม่สามารถคาดการณ์ ได้ หรือ คิดกังวลจนกดดันตัวเองมากเกินไป 3. คุยกับคนอื่นบ้าง > เปิ ดใจรับฟั งแลกเปลี่ยน แนวคิดกับคนอื่นๆเพื่อเป็นการเรียนรู้และนามา ปรับใช้ กับตนเอง 4. หยุ ดการจดจ่อหรือรอคอยอะไรบางอย่าง > เ พ ร า ะ ก า ร ร อ ค อ ย เ ป็ น สิ่ ง ที่ ท า ใ ห้ จิ ต ใ จ กระวนกระวาย และบางครัง้ ทาให้เรามองข้าม บางสิ่ ง บางอย่ า ง ลองถอยมาสั ก หนึ่ ง ก้ า ว เพื่อให้เห็นภาพใหญ่ของปั ญหาที่กว้างขึน้ 5. ใส่ ใจกับสิง่ สาคัญที่ต้องทาก่อน > แน่นอนว่า เราไม่สามารถทาอะไรหลายๆอย่างได้ ในคราว เดียวกัน ดังนัน้ ควรเลือกสิ่งที่สาคัญที่สุดทาก่อน เพราะหากเริ่ ม ต้ น ผิ ด ก็ เ ท่ า กั บ มี ค วามเสี่ ย ง ที่ต้องเริม่ ใหม่อีกครัง้ 27 icn
6. มองหาสิ่ ง ที่ น่ า สนใจอย่ า งอื่ น > บางครั ้ง การที่ เ ราหมกมุ ่ น อยู ่ กับ ปั ญ หาใดปั ญ หาหนึ่ ง นานๆ มักไม่เจอทางออก แต่กลายเป็นทางตัน ทางที่ดีเ ราควรลองมองหาสิ่ง ที่น่า สนใจอื่น ๆ เพื่ อลดความตึงเครี ยดและผ่อ นคลายสมอง ซึ่ งอาจได้แนวคิดดีๆมาใช้ แก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึน้
• การเรี ย นรู้ สิ่ ง ต่ า งๆท าได้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มากขึ้นกว่า 40% การทางานที่ใช้ ความคิด สร้ า งสรรค์ จ ะท าได้ ดี แ ละมี ค วามพร้ อ ม มากขึน้ • สุ ข ภาพโดยรวมดี ขึ้ น เนื่ อ งจากการงี บ ระหว่ า งวั น จะท าให้ ร่ า งกายปรั บ สมดุ ล ฮอร์โมนในร่างกายและซ่ อมแซมเซลล์ต่างๆ
7. หลบหนีด้วยการนอนหลับ > การได้งีบหลับ 10 – 20 นาที ก่อให้เกิด • การตื่นตัวทัง้ ด้านสมองและร่างกายในการ ทางาน มีความกระตือรือร้น อาการร่วงโรย ต่ างๆจะดี ขึ้ น สมองมี ประสิ ทธิ ภาพในการ จาได้อย่างรวดเร็ว • ลด ความเครี ย ด หรื อ คว ามหงุ ด หงิ ด เป็นการผ่อนคลายสมอง เพราะการหลับ จ ะ ช่ ว ย ล ด ฮ อ ร์ โ ม น ที่ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ความเครียดได้
เมื่ อ ใจท่ า นเริ่ ม นิ่ ง ไม่ ว้ า วุ ่ น แล้ ว เหนื อ สิ่ ง อื่ น ใด ขอให้คิดเสมอว่า ตราบใดที่ยังมีวันพรุ ่งนี้ อะไรๆก็เกิดขึ้น ได้ ขอเพียงท่านยืนหยัดไม่ท้อถอย แม้จะมีอุปสรรคใดๆ เข้ามาขวางกัน้ ขอจงมุ ่งมั่น มีความตัง้ ใจแน่วแน่ท่ีจะไป ให้ถึงสิ่งที่มุ่งหวังไว้โดยไม่หวั่นกับอุ ปสรรคต่างๆด้วยใจที่ เข้มแข็ง แม้ คิ ด การใหญ่ เ พี ยงใด สั กวั นความส าเร็จ ของ ท่านก็จะมาถึงแน่นอน… ภาพจาก : https://executiveleader.com/5-ways-to-get-your-businessto-run-without-you/
สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา...
เทคนิคการจัดระบบ
บริหารคลังสินค้า วันพุ ธที่ 11 กันยายน 2562 เวลา 09.00-16.00 น. ณ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุ งเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) icn 28
ลงทะเบียน
ออนไลน์
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
การรายงานความคื บ หน้ า และผลการดาเนิ น การ Q : บริ ษั ท ส่ ง รายงานความคื บ หน้ า โครงการให้ กั บ บี โ อไอ ปี ละ 2 ครั ้ง ในเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ แ ละ กรกฎาคม แต่ ท างบริ ษั ท ตรวจพบว่ า ไม่ ได้ ส่ ง รายงานผลการด าเนิ น งานประจ าปี 2561 ให้ทางบีโอไอ บริษัทสามารถทาการส่งข้อมูลย้อนหลังได้หรือไม่ หรือว่าควรดาเนินการอย่างไร A : การรายงานความคืบหน้าโครงการให้ทางบีโอไอ บริษัทจะต้องรายงานปี ละ 2 ครัง้ ในเดือน กุมภาพันธ์ และกรกฎาคมของทุก ปี จนกว่าจะได้รั บใบอนุญ าตเปิ ดดาเนิน การ หากบริษั ท ไม่รายงานจะถูกระงับสิทธิตามบัตรส่ง เสริมการลงทุน และหากไม่รายงานติดต่อกัน 2 ครัง้ จะถูกเพิกถอนสิทธิประโยชน์หรือเพิกถอนบัตรส่งเสริมฯตามประกาศ สกท. ที่ 1/2561 การรายงานผลการดาเนินงานประจาปี ให้ทางบีโอไอ บริษัทจะต้องรายงานปี ละ 1 ครัง้ ในเดือน กรกฎาคมของทุ ก ปี จนกว่ า จะสิ้น สภาพการเป็ น ผู ้ ไ ด้ รั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น หากบริ ษั ท ไม่รายงานจะถูกระงับสิทธิตามบัตรส่งเสริมการลงทุน และหากไม่รายงานติดต่อกัน 2 ครัง้ จะถูกเพิกถอนบัตรส่งเสริมการลงทุนตามประกาศ สกท. ที่ 2/2561 หากบริ ษั ท ตรวจพบว่ า ยั ง ไม่ ได้ ยื่ น รายงานในรอบปี ใด สามารถยื่ น รายงานย้ อ นหลั ง ได้ ก่อนที่จะถูกระงับสิทธิหรือเพิกถอนสิทธิตามบัตรส่งเสริมการลงทุน
ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
ยิ่งบทเรียนยากขึ้น “เท่าไร” ถ้าเราผ่านมันไปได้ เราก็จะยิ่ง “เก่งขึ้น” เท่านัน้
คุณนวลพรรณ ลา่ ซา
กรรมการผู ้จัดการ บริษัท เมืองไทยประกันภัย จากัด (มหาชน)
ที่มา>> https://www.muangthaiinsurance.com/livecoaching/quote ภาพจาก>> https://www.matichon.co.th/economy/news_996512
สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก
www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมู ลเพิม่ เติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 201 โทรสาร 0 2936 1441 29 icn
สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น บริ ก ารจั ด หลั ก สู ต ร
IN-HOUSE TRAINING ประหยัดค่าใช้ จ่าย ออกแบบเนือ้ หาเฉพาะองค์กร แนะนาหลักสูตรด้านการส่งเสริมการลงทุน ชื่อหลักสูตร
จานวน (วัน)
ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท)
25 ท่าน
35 ท่าน
1 ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
32,000
35,000
2 วิธีการขอเปิ ดดาเนินการ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
32,000
35,000
3 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
32,000
35,000
4 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบ สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1/2 วัน
23,000
25,000
5 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น สาหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
1 วัน
32,000
35,000
หมายเหตุ : • อัตราค่าธรรมเนียมรวมค่าวิทยากร เอกสารการฝึ กอบรม ค่าเดินทาง และค่าดาเนินการ • ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิม่ 7% และค่าที่พัก (ถ้ามี) • อัตราค่าธรรมเนียมที่ระบุ ในเอกสาร เป็นอัตราประมาณการ ซึ่ ง อาจมีก ารเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ขึ้นอยู ่กับ รูปแบบการฝึ กอบรม จานวนผู ้เข้าอบรม ประเภทวันที่จัดงาน จานวนวัน พืน้ ที่จัดงาน รายละเอียดเพิ่มเติมของเนือ้ หา และอื่นๆ • สมาคมขอสงวนสิทธิห้ามบันทึกภาพและ/หรือเสียงในการอบรมทุกหลักสูตรทุกกรณี • ค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษี ได้ 200%
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม 0 2936 1429 ต่อ 207 โทรสาร 0 2936 1441-2
website : www.ic.or.th
e-mail : is_inhouse@ic.or.th
แนะนาหลักสูตรด้านศุลกากร และอืน่ ๆ ชื่อหลักสูตร
จานวน (วัน)
ค่าธรรมเนียมการจัดฝึ กอบรม (บาท) 25 ท่าน
35 ท่าน
1
เกณฑ์การคานวณกาไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดทางบการเงินสาหรับ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
1
40,000
43,000
2
กฎหมายศุลกากรและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร
1
40,000
43,000
3
สิทธิประโยชน์ศุลกากรภายใต้ AEC
1
40,000
43,000
4
สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านเขตปลอด อากร (Free Zone) และเขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone)
1
40,000
43,000
5
กฎว่าด้วยถิน่ กาเนิดสินค้า (Rules of Origin)
1
40,000
43,000
6
พิธีการทางศุลกากรระบบใหม่และสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากรระบบอิเล็กทรอนิกส์
2
78,000
85,000
7
การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุ ทรณ์การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศุลกากร
1
47,000
50,000
8
การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ และ Incoterm®2010
1
45,000
48,000
9
ระบบการวางแผนจัดซื้อ
1
51,000
54,000
10
การบริหารการจัดซื้อ จัดเก็บ และจัดส่ง
1
45,000
48,000
11
เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า
1
45,000
48,000
และอีกหลากหลายหลักสูตร เพือ่ พัฒนาองค์กร และบุ คลากร • • • • • • • • •
หลักสูตรด้านบริหารการผลิต อาทิ 5ส TPM TQM Kaizen หลักสูตรด้านบัญชีและภาษี หลักสูตรด้านการนาเข้า-ส่งออก หลักสูตรด้านกฎหมาย อาทิ กฎหมายเพื่อการค้า ระหว่างประเทศ หลักสูตรด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน หลักสูตรด้านบริหารจัดการองค์กร (Management) หลักสูตรด้านการบริหารทรัพยากรบุ คคล (Manpower) หลักสูตรด้านการตลาด (Marketing) ฯลฯ
ตารางสัมมนาประจ�ำเดือน กันยายน – ตุลาคม 2562 วันสัมมนา
ชื่อหลักสูตร
สถานที่จัด
หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน 6-8 ก.ย.2562 (09.00-17.00 น.) 7 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.)
14 ก.ย.2562 (09.00-12.00 น.) 14 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 25 ก.ย. 2562 (09.00-15.30 น.) 28 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 28 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 5 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 5 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 19 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 26 ต.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 9 ต.ค. 2562 (09.00-17.00 น.)
วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ ครั้งที่ 5/62 (รับวุฒิบัตร) (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับวัตถุดบิ และวัสดุจำ� เป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา การลงทุน (ถนนรัชดาภิเษก) แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับ โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ ของทีน่ ำ� เข้ามาเพือ่ ใช้ ในการวิจยั และพัฒนา รวมทัง้ การทดสอบทีเ่ กีย่ วข้อง (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) ตามมาตรา 30/1 ครั้งที่ 1/2562 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับ โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา การส่งเสริมการลงทุน (ถนนรัชดาภิเษก) All Executives Need to Know about BOI (English Version) เซ็นทารา แกรนด์ แอ็ท เซ็นทรัล พลาซ่า ลาดพร้าว ครั้งที่ 1/2562 กรุงเทพ (ถนนวิภาวดีรังสิต) วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ ครั้งที่ 4/2562 (ถนนสุขุมวิท 5) วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับวัตถุดบิ และวัสดุจำ� เป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ การลงทุนประเภทกิจการ IPO (International Procurement Office) และ (ถนนสุขุมวิท 5) กิจการ ITC (International Trading Centers) หลักเกณฑ์และปัญหาการใช้สิทธิและประโยชน์ที่ได้รับตาม พ.ร.บ.ส่งเสริม โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ การลงทุน ครั้งที่ 1/2562 (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) วิธปี ฎิบตั เิ กีย่ วกับวัตถุดบิ และวัสดุจำ� เป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา การลงทุน (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 5/2562 (ถนนสุขุมวิท 5) วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับ โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา การส่งเสริมการลงทุน (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ กลยุทธ์การวางแผนภาษีส�ำหรับกิจการ BOI ครั้งที่/2/2562 (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)
หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน ชลบุรี 7 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 14 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 21-22 ก.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 26 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)
จัดเต็มประเด็นส�ำคัญ!! การใช้สทิ ธิประโยชน์การน�ำเข้า - ส่งออกและพิธกี าร ศุลกากร ส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจาก BOI (จังหวัดชลบุร)ี แนวทางปฏิบัติระบบงานช่างฝีมือ Single Window for Visas and Work Permit (จังหวัดชลบุรี) ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบ และ แนวทางปฏิบัติส�ำหรับ ผู้จัดท�ำบัญชีของกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 1/2562 (จังหวัดชลบุรี) (CPD & CPA) วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (จังหวัดชลบุรี)
หลักสูตรการบริหารจัดการ 10 ก.ย. 2562 (09.00-16.30 น.) 11 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 18 ก.ย. 2562 (09.00-16.30 น.) 18 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 21 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 24 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 26 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 27 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 28 ก.ย. 2562 (09.00-16.00 น.) 3 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 5 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 9 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 9 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 10 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 16 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.) 16 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)
กระบวนการ การรับ-จ่ายเงิน อิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment System) ส�ำหรับผู้ประกอบการและผู้ปฎิบัติงานทางบัญชีและการเงิน เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า เทคนิคและการเตรียมความพร้อมทางการบัญชีส�ำหรับกิจการที่ได้รับ สิทธิประโยชน์ส่งเสริมการลงทุนจาก BOI ข้อผิดพลาดทางด้านบัญชีของกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA) การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุทธรณ์การประเมินอากร ความผิดและโทษตามเกณฑ์ระงับคดีศลุ กากร การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศ และ INCOTERM®2010
พ.ร.บ. “Transfer Pricing” การเตรียมความพร้อมและการป้องกันกรณี ถูกตรวจสอบ (อยู่ระหว่างการขออนุมัติ CPD & CPA) เทคนิควิธีปฏิบัติการคืนอากรตามมาตรา 29 แห่ง พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ. 2560 กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ 2560 และวิธีจัดเก็บค่าภาษีอากร สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความตกลงระหว่างประเทศภายใต้ JTEPA การส่งเสริมการใช้สิทธิประโยชน์ FTA อาเซียน - จีน กลยุทธ์การท�ำสัญญาการค้าระหว่างประเทศ เงื่อนไขการขนส่งและการส่ง มอบสินค้าระหว่างประเทศ (CONTRACT & INCOTERMS®2010) เจาะลึกกระบวนการตรวจสอบภายในยุคใหม่แบบครบวงจร เทคนิคการจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ เทคนิคการเช็คสต็อกอย่างมีประสิทธิภาพ
17 ต.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 18 ต.ค. 2562 (09.00-16.00 น.)
ความรู้การน�ำเข้าและส่งออกทั้งระบบเพื่อให้ ได้ประโยชน์สูงสุด เกณฑ์การค�ำนวณก�ำไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดท�ำงบ การเงินส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (อยู่ระหว่างการขอ อนุมัติ CPD&CPA) ขัอบังคับการท�ำงานและระเบียบปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎหมาย แรงงานใหม่
8 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 15 ก.ย. 2562 (09.00-17.00 น.) 6 ต.ค. 2562 (09.00-17.00 น.) 27 ต.ค. 2562 (09.00-17.00 น.)
วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับวัตถุดิบ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักร ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (eMT Online) วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับวัตถุดิบ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (RMTS) วิธีเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ส�ำหรับเครื่องจักร ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (eMT online)
หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT online
วิทยากร
อัตราค่าสัมมนา สมาชิก
บุคคลทั่วไป
วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน
5,350
6,420
วิทยากรจาก BOI
3,210
3,745
วิทยากรจาก BOI
2,140
2,354
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
3,745
5,885
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
3,210
3,745
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
3,210
3,745
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI อ.สมชาย แสงรัตนมณีเดช ที่ปรึกษากฎหมายภาษีอากรอิสระให้เอกชน
2,675
3,745
5,350
5,885
4,280
5,350
4,815
5,350
โรงแรม อไรซ์ โฮเต็ล ศรีราชา จังหวัดชลบุรี โรงแรม แปซิฟิค พาร์ค ศรีราชา จังหวัดชลบุรี
คุณศุทธิกานต์ กริชไกรวรรณ คุณภาคภูมิ บูรณบุณย์ คุณอทิตยา อภิชาตบุตร์ คุณพรชนก ธีระเทพ
โรงแรม อไรซ์ โฮเต็ล ศรีราชา จังหวัดชลบุรี โรงแรม อไรซ์ โฮเต็ล ศรีราชา จังหวัดชลบุรี
วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
4,815
5,885
วิทยากรจาก BOI
3,210
4,280
คุณมุกดาวดี เทียนทอง
4,280
5,350
คุณคัตลิยา กุญชร ณ อยุธยา
2,996
3,852
ดร.วรกร แช่มเมืองปัก คุณเมธี แสงมณี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
4,280
5,350
2,996
3,852
คุณวิชัย มากวัฒนสุข
2,996
3,852
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
2,996
3,852
คุณเมธี แสงมณี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
3,424
4,280
ผู้เชี่ยวชาญด้านการคืนอากร
3,210
4,280
วิทยากรจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
วิทยากรจากกรมศุลกากร
2,996
3,852
วิทยากรจากกรมศุลกากร
2,996
3,852
คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี
3,210
4,280
ดร.วรกร แช่มเมืองปัก
4,280
5,350
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
3,210
4,280
คุณคัตลิยา กุญชร ณ อยุธยา
2,996
3,852
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
2,996
3,852
โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท ซอย 5)
คุณเมธี แสงมณี
2,996
3,852
คุณสิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา
4,280
5,350
โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก) โรงแรม ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ รัชดา (ถนนรัชดาภิเษก)
วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน
2,675
3,745
2,140
3,210
2,675
3,745
2,140
3,210
หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจส�ำรองที่นั่งเข้าร่วมสัมมนาได้ที่ คุณวิลาสินี คุณกาญจนา คุณศิริรัตน์ หรือ คุณชาตรี แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205-209 โทรสาร 0-2936-1441-2 E-mail : is-investor@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th