Vol.17 / September 2018 เมืธนนทัตกรรมธาหาร กับการส่นเสรผมการลนทุน ค่าขนส่ น ระหท่ านประเทถ (Main Carriage)
Update ประเภทกผจการใหม่
ทฝ่ไ ด้รั บการส่ น เสรผม การลนทุนจาก
BOI
เมฟธนนทัตกรรมธาหาร กับการส่นเสรผมการลนทภน
07
04
Update ประเภทกผจการญหม่ ทฝ่โด้รับการส่นเสรผมการลนทภนจากบฝฌธโธ
15 17 Digital Employee ญนฬภ ใ HR 4.0
ทฝ่ปรพกษา • ทฝรอนษ์ ถผ รผทัน • สภกัณฎา แสนเดฟธน บรรณาธผการบรผหาร ณัฐอนษ์ ทัฒ นโทฬสทัสดผ์ บรรณาธผการ มฬภ รฝฬ์ นามทนษ์ กธนบรรณาธผการ • กฤตฬา ทผชฬั ดผษฐ์ • กฤษดา ทับทผม • ปรผญญา ถรฝธนันต์ ธธกแบบ * ฌฆษณา * นานสมาชผ ก มฬภ รฝฬ์ นามทนษ์ เจ้า ขธน สมาใมสฌมสรนักลนทภน ผลผตฌดฬ กธนบรรณาธผการ ICN ตผดต่ธ ฝ่ าฬบรผการสมาชผ กและนักลนทภน สมาใมสฌมสรนักลนทภน ฌทรถัอ ท์ : 0 2936 1429 ต่ธ 211 ฌทรสาร : 0 2936 1441-2 e-mail : icn@ic.or.th
ใ่าขนส่นระหท่านประเทถ (Main Carriage)
10 4 เรฟ่ธนสาใัญ ก้าททันการญช้ชฝทผตฬภ ใญหม่ (1)
19 หฬภ ด โม่โด้ทาญห้ (ใทามสาเรฎจ) ช้าลน
การผลักดั นและกระตภ้น เอฟ่ธ ญห้เกผ ดการลนทภนญนประเทถโทฬ ฌดฬภาใรัฐ และเธกชนโด้ ประสานใทามร่ทมมฟธกันมาธฬ่านต่ธเนฟ่ธนนับตัน้ แต่รัฐบาลโด้ประกาถฬภ ทธถาสตร์ส่นเสรผมการ ลนทภนญหม่ธธกมา ฌดฬมฝการธธกมาตรการและนฌฬบาฬญหม่ ๆ เอฟ่ธรธนรับการเตผบฌตด้านการ ลนทภนและการขฬาฬตัทขธนภาใเถรษฐกผจทฝ่โด้รับผลอทนจากการส่นเสรผมการลนทภน และเอฟ่ธญห้การลนทภนญนธภ ตสาหกรรมเป้ าหมาฬ ใฟธ ธภ ตสาหกรรมทฝ่เน้นเทใฌนฌลฬฝขัน้ สมน และนทัตกรรมมฝการขฬาฬตัทและเตผบฌตมากขพน้ ภาใรัฐจพนโด้เอผ่มประเภทกผจการญหม่ทฝ่สามารถ ขธรับการส่นเสรผมการลนทภนโด้ เอฟ่ธเอผ่มฌธกาสและช่ ธนทานการลนทภนสาหรับผม ้ประกธบการ ญห้สามารถดาเนผนกผจการโด้ตามประเภทธภ ตสาหกรรมทฝ่ตนั ้ เป้ าโท้ ฌดฬสานักนานใณะกรรมการส่นเสรผมการลนทภน หรฟธ บฝฌธโธ โด้ประกาถประเภทกผจการ ญหม่ทฝ่สามารถฬฟ่นขธรับการส่นเสรผมฯ โด้ ฌดฬมฝทัน้ ประเภทกผจการญหม่ และเป็นประเภทกผจการ ทฝ่โด้รับการปรับปรภ นจากประเภทเดผม ซพ่นแต่ละประเภทจะมฝการกาหนดเนฟ่ธนโขขธนการโด้รับสผทธผ และประฌฬชน์ต่านกันตามใทามเหมาะสม ส าหรั บ ประเภทกผ จ การญหม่ นฝ้ ประกธบด้ ท ฬกผ จ การญนธภ ตสาหกรรมเกษตรทฝ่ เ น้ น การ ญห้บรผการระบบเกษตรสมัฬญหม่ กผจการถมนฬ์กลานการใ้าและอัฒนาผลผตภัณฑ์แบบใรบทนจร กผจการญนกลภ่มเมฟธนธัจฉรผฬะ หรฟธ Smart City กผจการถมนฬ์กระจาฬสผนใ้าด้ทฬระบบธัจฉรผฬะ กผจการนผใมหรฟธเขตดผจผทัล (Digital Park) ซพ่นปรับปรภ นประเภทกผจการมาจาก Software Park กผจการอัฒนาทฝ่อักธาถัฬสาหรับแรนนานมาตรฐานสากล และประเภทกผจการธภ ตสาหกรรม ป้ ธนกันประเทถญนกลภ่มทฝ่ญช้เทใฌนฌลฬฝสธนทาน ซพ่ นกผจการญหม่ทัน้ หมดนฝ้ ต้ธนมฝเนฟ่ธนโขส าใัญ ใฟธ จะต้ธนเป็นกผจการทฝ่มภ่นเน้นการนา เทใฌนฌลฬฝดผจผทัลและนทัตกรรมขัน้ สมน เข้ามาญช้ ญนการดาเนผนกผจการ ทัน้ ด้านการใทบใภมระบบ บรผหารจัดการด้ทฬใธมอผทเตธร์ การญช้ Data Center และการทผจัฬและอัฒนา R&D ตลธดจนการญห้บภใลากรโทฬทานานและร่ทมดาเนผนการด้านต่าน ๆ เอฟ่ธสร้านถักฬภาอญห้กับ บภ ใลากรขธนประเทถ สมาใมสฌมสรนักลนทภนอร้ธมสนับสนภนทภกประเภทกผจการทฝ่โด้รับการส่นเสรผมการลนทภน ด้ทฬระบบการญห้บรผการทฝ่ดฝ สะดทก และรทดเรฎท สามารถญห้บรผการโด้ทภกทฝ่ ตลธด 24 ชัท่ ฌมน ผ่านการญห้บรผการแบบธธนโลน์ และปั จจภ บันสมาใมกาลันอัฒนาระบบนานบรผการด้านนาน ตัดบัญชฝทัตถภดผบแบบโร้เธกสาร ญห้สามารถรธนรับผม ้ญช้ บรผการผ่านธธนโลน์ สร้านใทามสะดทก รทดเรฎท และลดการญช้เธกสาร ตลธดจนบรผก ารหลั ก สมต รฝพ กธบรมและสัมมนาทฝ่มฝ ก ารอั ฒนาหลั ก สม ตรญหม่ ๆ เอฟ่ ธ อัฒนาถักฬภาอบภ ใลากรญห้มฝใทามรม้และใทามชานาญญนการญช้ เทใฌนฌลฬฝสมัฬญหม่ญห้สธดรับ กั บ ธภ รกผ จ ขธนธนใ์ ก ร ฌดฬสามารถลนทะเบฝ ฬ นร่ ท มสั ม มนาญนหลั ก สม ต รทฝ่ เ หมาะสมโด้ ท าน http://icis.ic.or.th หรฟ ธ ท่ า นสามารถสธบถามข้ ธ มม ล ด้ า นบรผ ก ารเอผ่ม เตผ ม โด้ ทฝ่ ฌทรถัอ ท์ 0 2936 1429 ต่ธ 700 หรฟธ ตผดตามทาน www.ic.or.th บรรณาธผการ 3
icn
เมืองนวัตกรรมอาหาร กับการส่งเสริมการลงทุน
คุณสุวิดา ธัญวงษ์ สานักยุ ทธศาสตร์และนโยบายการลงทุน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
ภายหลังจากที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ได้ เ ห็ น ชอบต่ อ นโยบายเขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ในรู ป แบบคลั ส เตอร์ เมื่ อ วั น ที่ 16 กั น ยายน 2558 สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือบีโอไอ ได้เสนอนโยบายดังกล่าวต่อคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2558 พร้อมเสนอตัวอย่าง Super Cluster อีก 2 กลุ่ม ได้แก่ Food Innopolis และ Medical Hub เนื่ อ งจากมี แ นวคิ ด ที่ จ ะพั ฒ นาเป็ น Super Cluster ต่อไป โดยในเดือนพฤศจิกายน 2558 รัฐบาลได้เห็นชอบ แนวคิ ด ในการส่ ง เสริ ม อุ ตสาหกรรมเป้ าหมายแห่ ง อนาคต หรื อ ที่ เรี ย กสั ้น ๆ ว่ า S-Curve โดยเป็ น การ ผลักดันอุ ตสาหกรรม 10 ด้าน ประกอบด้วย 5 ด้าน แรกซึ่ งเป็นอุ ตสาหกรรมที่ประเทศไทยมีศกั ยภาพอยู ่แล้ว และมีโอกาสที่จะพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นได้อีก กับ 5 ด้านใหม่ ที่จะนาประเทศไทยไปสู่การหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปาน กลาง ซึ่ งอุ ตสาหกรรมด้านอาหารได้ถูกกาหนดให้เป็น 1 ในอุ ตสาหกรรม 5 ด้านแรก ที่ประเทศไทยมีศกั ยภาพ ภายใต้ ชื่ อ อุ ตสาหกรรมเป้ าหมายว่ า “อาหารแห่ ง อนาคต” หรือ “Food for the Future”
icn 4
เมืองนวัตกรรมอาหาร หรือ Food Innopolis แห่งแรก ที่ได้รับความเห็นชอบให้เป็นเขตส่งเสริมการลงทุน ตัง้ อยู ่ใน อุ ทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย อาเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี เพื่อ ใช้ เป็น พื้นที่รองรับและสนับสนุนการดาเนิ น กิ จ การวิ จั ย พั ฒ นาและนวั ต กรรมของบริ ษั ท เอกชนใน อุ ตสาหกรรมอาหาร โดยเน้นการเชื่อมโยงหรือความร่วมมือ กั น ด้ า นการผลิ ต ถ่ า ยทอดความรู้ การวิ จั ย และพั ฒ นา นวัตกรรม และการพัฒนาบุ คลากรระหว่า งบริษัทเอกชน สถาบันการศึ กษาและสถาบันวิจัย กิ จ การเป้ าหมายในเมื อ งนวั ต กรรมอาหาร เนื่องจากเมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) มุ ่งส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมอาหารโลก ดัง นั ้น กิ จ การเป้ า หมายในพื้น ที่ นี้จึ ง เป็ น ประเภทกิ จ การที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การพั ฒ นาอุ ตสาหกรรมด้ า นอาหารด้ ว ย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหลัก ได้แก่ • ประเภท 1.2 กิ จ การปรั บ ปรุ งพั น ธุ ์ พื ช หรื อ สั ต ว์ (ที่ไม่เข้าข่ายกิจการเทคโนโลยีชีวภาพ) • ประเภท 3.9 กิ จ การบริ ก ารออกแบบและพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ • ประเภท 5.6 กิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ • ประเภท 7.11 กิจการวิจัยและพัฒนา • ประเภท 7.12 กิจการเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) • ประเภท 7.13 กิจการบริการออกแบบทางวิศวกรรม • ประเภท 7.14 กิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ • ประเภท 7.15 กิจการบริการสอบเทียบมาตรฐาน • ประเภท 7.19.1 กิจการสถานฝึ กฝนวิชาชีพ
ขอขยายความกิ จ การบางประเภทข้ า งต้ น ที่อาจมีข้อสงสัยว่า “เกี่ยวข้องอย่างไรกับนวัตกรรม ด้านอาหาร” เช่ น กิจการประเภท 3.9 ที่ให้การส่งเสริม ในพืน้ ที่เมืองนวัตกรรมอาหารนี้ จะมุ ่งเน้นที่กิจการด้าน การออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ส าหรั บ อาหารที่ มี ค วาม ทันสมัย ทัง้ คุณสมบัติของวัสดุและรูปลักษณ์ท่สี วยงาม ส่ว นกิจ การประเภท 5.6 และ 7.13 นัน้ เป็ น กรณี ท่ี มี ผู ้ อ อกแบบฮาร์ ด แวร์ แ ละ/หรื อ ซอฟต์ แ วร์ ท่ี ช่ วย สนั บ สนุ น งานด้ า นการเกษตรหรื อ การแปรรู ป อาหาร เช่ น ระบบเซนเซอร์ ต รวจวั ด อุ ณหภู มิ ใ นแปลงเกษตร ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตรวจสอบย้อนกลับ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหาร และการออกแบบชิ้ น ส่ ว นหรื อ อุ ปกรณ์ด้าน Agritronics เป็นต้น สิ ท ธิ ป ระโยชน์ พื้น ฐานและสิ ท ธิ เ พิ่ ม เติ ม จากการที่เมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) ได้รับความเห็นชอบให้เป็นเขตส่งเสริมการลงทุน ส่งผลให้ ผู ้ประกอบการที่เข้ามาลงทุนในกิจการเป้ าหมายในเมืองนวัตกรรมอาหาร จะได้รับสิทธิในการลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคล เพิม่ เติมจากสิทธิพนื้ ฐาน ดังนัน้ ผู ้ประกอบกิจการในประเภทเดียวกันแต่อยู ่นอกพืน้ ที่เขตส่งเสริมการลงทุน จะได้รับสิทธิ ประโยชน์น้อยกว่า มาตรการส่งเสริมการลงทุนด้านนวัตกรรมอาหารได้กาหนดกิจการเป้ าหมาย รวมทัง้ สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม สาหรับโครงการที่ลงทุนในพืน้ ที่เมืองนวัตกรรมอาหาร ดังนี้ ประเภทกิ จ การ
1.2 กิจการปรับปรุ งพันธุ ์พืชหรือสัตว์ (ที่ไม่เข้าข่าย กิจการเทคโนโลยีชีวภาพ) 3.9 กิจการบริการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เชิงสร้างสรรค์ 5.6 กิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ 7.11 กิจการวิจัยและพัฒนา 7.12 กิจการเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) 7.13 กิจการบริการออกแบบทางวิศวกรรม 7.14 กิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ 7.15 กิจการบริการสอบเทียบมาตรฐาน 7.19.1 กิจการสถานฝึ กฝนวิชาชีพ
สิ ทธิ ด้ านภาษี เ งิ น ได้ นิ ติบุ คคล สิ ทธิ พื้น ฐาน A3 (ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 5 ปี โดยจากัดวงเงินยกเว้นภาษีฯ ตามขนาดเงินลงทุนไม่รวมค่าที่ดิน และทุนหมุ นเวียนของโครงการ)
A1 (ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี โดยไม่จากัดวงเงินที่ได้รับยกเว้นภาษีฯ)
สิ ทธิ เ พิ่ม เติ ม
ลดหย่อนอัตราภาษี เงินได้นิติบุคคล ร้อยละ 50 เป็นระยะเวลา 5 ปี
5 icn
ทัง้ นีค้ ณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนได้เห็นชอบให้พนื้ ที่โครงการเมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) ภายใน มหาวิทยาลัย 7 แห่ง ที่กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประกาศเพิ่มเติม “เป็นเขตส่งเสริมการลงทุน” ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุ รี เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็น ศูนย์กลางนวัตกรรมอาหารของโลก และสนับสนุนการดาเนินงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการผลักดัน โครงการเมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) อย่างเต็มรูปแบบ
ภาพแสดงความเชี่ยวชาญด้านนวัตกรรมอาหารในพืน้ ที่ Food Innopolis ส่วนขยาย 7 แห่ง
ภาพจาก : http://www.nimt.or.th/main/?p=5713, https://www.fatbit.com/fab/future-food-industry-guide-aspiring-entrepreneurs/ http://www.thedieline.com/blog/2017/8/1/functional-yet-futuristic-packaging-makes-havens-kitchen-sauces-looks-like-gourmet-space-food http://www.thedieline.com/blog/2018/2/26/unpacking-the-future-of-brands-the-dielines-2018-trend-report http://www.ucreative.com/inspiration/30-bizarre-and-creative-packaging-design-examples/ https://www.colourbox.com/vector/vector-fast-food-restaurant-menu-poster-vector-28898792
ลงทะเบี ย นออนไลน์ ได้ท าง http://icis.ic.or.th สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนาหลักสูตร
วิธีขอเปิ ดดาเนินการ สาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน วันเสาร์ท่ี 15 กันยายน 2561 เวลา 09.00-16.00 น. ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง กรุ งเทพฯ icn 6
Update ประเภทกิจการใหม่
ที่ไ ด้รั บการส่ ง เสริม การลงทุนจากบีโ อไอ
มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
การประกาศนโยบายส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ ยุ ทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558 – 2564) ของรัฐบาลในช่ วง 3 ปี ท่ผ ี ่านมา หน่วยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องต่างผลักดันแนวนโยบายและมาตรการต่าง ๆ เพื่ อ ให้ ส อดรั บ กั บ นโยบายด้ า นการลงทุ น ใหม่ ต่ อ ยอด สู่การสร้างเศรษฐกิจไทยให้กลายเป็น เศรษฐกิจ 4.0 หรือ ไทยแลนด์ 4.0 สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ เป็นหน่วยงานสาคัญในการเสริมทัพแนวนโยบาย ส่งเสริ มการลงทุ นใหม่ นี้ โดยดาเนิ นการออกมาตรการ กระตุ้ น การลงทุน อย่า งรอบด้ า น อีกทั ้งยั ง เพิ่ มประเภท กิจการใหม่ให้สามารถได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากบีโอไอ ซึ่ งเป็นกิจการที่สอดรับกับแนวนโยบายการส่งเสริมการ ลงทุ น ในอุ ตสาหกรรมเป้ า หมาย และอุ ตสาหกรรมด้ า น เทคโนโลยีขนั ้ สูงและนวัตกรรม ประเภทกิ จ การใหม่ ที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น
ประเภทกิ จ การผลิ ต หรื อ ให้ บ ริ ก ารระบบเกษตร สมัยใหม่ (Smart Farm Concept) เป็นกิจการผลิตหรือ ให้บ ริการระบบเกษตรสมั ยใหม่ เช่ น ระบบตรวจจั บหรื อ ติ ด ตามสภาพต่ า ง ๆ ระบบควบคุ ม การใช้ ท รั พ ยากร ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น น ้า ปุ๋ ย เวชภั ณ ฑ์ และระบบโรงเรื อ น อัจฉริยะ เป็นต้น โดยมีเงื่อนไขว่า ผู ้ขอรับการส่งเสริมฯ ต้องมีการออกแบบระบบ และ Software ที่ใช้ ในการบริหาร จั ด กา ร ทรั พ ย ากร ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง ใ นลั ก ษ ณะ System Integration โดยมีการเก็บข้อมู ล แปรผล และวิเคราะห์ ข้ อ มู ล ประเภทกิ จ การศู น ย์ ก ลางการค้ า และพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์แบบครบวงจร
ประเภทกิ จ การศู น ย์ ก ลางการค้ า และพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์แบบครบวงจร เป็นศูนย์กลางของการซื้อขาย สินค้าและผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วย พืน้ ที่เจรจาและจับคู่ ธุ รกิจ ส่วนจัดแสดงและซื้อขายสินค้า ศูนย์ให้คาปรึกษา และพัฒนา SMEs โดยเป็นการร่วมมือกันระหว่างหน่วยงาน ท้ อ งถิ่ น กั บ ชุ มชน เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการรั บ ซื้ อ และ จาหน่า ยสิ นค้ า ชุ มชน อี กทัง้ ยั ง มีร ะบบการซื้ อ ขายด้ ว ย e-Commerce Platform และระบบโลจิสติกส์ในการขนส่ง และกระจายสินค้า เพื่อจาหน่ายทัง้ ในและนอกประเทศ โดย ผู ้ขอรับการส่งเสริมฯ ประเภทนี้ จะต้องยื่นคาขอภายใน เดือนธันวาคม 2561 เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City กิจการในกลุ่ม เมืองอัจฉริยะ ต้องมีองค์ประกอบพืน้ ฐานของการพัฒนา เมืองอัจฉริยะ 6 ด้าน (6 SMART) ประกอบด้วย Smart Mobility, Smart People, Smart Living, Smart Economy, Smart Governance และ Smart Energy & Green Environment โดยจะแบ่งประเภทกิจการ ดังนี้ 1) ประเภทกิจการพัฒนาพืน้ ที่เมืองอัจฉริยะ 2) ประเภทกิจการพัฒนาระบบเมืองอัจฉริยะ 3) ประเภทกิ จ การนิ ค มหรื อ เขตอุ ตสาหกรรม อัจฉริยะ
7
icn
ประเภทกิจการศูนย์กระจายสินค้าด้วยระบบอัจฉริยะ การดาเนินกิจการต้องเป็นไปตามเงื่อนไข อาทิ ต้องมี ที่ จั ด เก็ บ สิ น ค้ า ซึ่ งควบคุ ม ด้ ว ยระบบคอมพิ ว เตอร์ ท่ี ใ ช้ เทคโนโลยีขัน้ สูง เช่ น ระบบจัดเก็บ/เรียกเก็บสินค้าอัตโนมัติ ต้องใช้ Data Center หรือ Co-Location ในประเทศไทย สาหรับการบริหารจัดการข้อมู ล ต้องมีการวิเคราะห์ข้อมู ล (Data Analytics) หรือจัดการข้อมู ล Digital Transactions โดยใช้ เ ทคโนโลยี ขั ้น สู ง และด าเนิ น การในประเทศไทย โดย บุ คลากรไทยร่วมดาเนินการอย่างมีนัยสาคัญ และจะต้อง ดาเนินการให้ได้ภายใน 3 ปี นับจากวันที่ออกบัตรส่งเสริม ปรับปรุ งประเภทกิจการ Software Park เป็นประเภท กิจการนิคมหรือเขตดิจิทัล (Digital Park) ดาเนินการภายใต้ เงื่อนไข อาทิ ต้องมีพืน้ ที่ไม่น้อยกว่า 5,000 ตารางเมตร มี โ ครงสร้ า งพื้น ฐานด้ า นดิ จิ ทั ล เช่ น ระบบสื่ อ สารแบบ ความเร็ ว สู ง ระบบไฟฟ้ าส ารองจ่ า ยแบบต่ อ เนื่ อ ง มี โ ครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นนวั ต กรรมที่ ส นั บ สนุ น R&D เชิงพาณิชย์ เช่ น ห้องปฏิบัติการ R&D, Living Lab เป็นต้น
ประเภทกิ จ การพั ฒ นาที่ พั ก อาศัย ส าหรั บ แรงงาน มาตรฐานสากล ด าเนิ น การภายใต้ เ งื่อ นไข อาทิ ต้ อ งมี หุ้นไทยมากกว่า 51% ต้องจัดทาข้อมู ลทะเบียนผู ้พักอาศัย ให้เป็นปั จจุ บัน มีสิ่งอานวยความสะดวก เช่ น กล้องวงจรปิ ด เจ้ า หน้ า ที่ รั ก ษาความปลอดภั ย 24 ชัว่ โมง มี ห้ อ งปฐม พยาบาล มีท่ีจอดรถ เป็นต้น กรณีผู้พักเป็นคนต่างด้าว ต้ อ งเป็ นแรงงานถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย และรายงาน ส านั กงานตรวจคนเข้ า เมื อ งแบบออนไลน์ ใ น 24 ชัว่ โมง ต้องเป็นการเช่ า และต้องยื่นคาขอรับการส่งเสริมฯ ภายใน เดือนธันวาคม 2562 ข้อมู ลจาก : http://www.boi.go.th/upload/content/presentation1_5afe7bcea3e7c.pdf, http://www.boi.go.th ภาพจาก: https://www.applicadthai.com// http://www.depa.or.th/th/publication/digital-park-thailand https://www.vectorstock.com/royalty-free-vector/unmanned-vehiclecontrol-infographics-vector-20771473 icn
8
การส่งเสริมอุ ตสาหกรรมป้ องกันประเทศในกลุ่ม ที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ส องทาง (Dual-use Technology) โดยแบ่งเป็น 5 ประเภทกิจการ ประกอบด้วย 1. กิ จ การผลิ ต และ/หรื อ ซ่ อมยานพาหนะและ ระบบอาวุ ธเพื่อการป้ องกันประเทศ 2. กิ จ การผลิ ต และ/หรื อ ซ่ อมยานไร้ ค นขั บ (Unmanned System) เพื่ อ การป้ องกั น ประเทศ และชิน้ ส่วนที่ใช้ ในการผลิตและ/หรือ ซ่ อม 3. กิ จ การผลิ ต และ/หรื อ ซ่ อมอุ ปกรณ์ ช่ วยรบ ได้ แ ก่ เสื้อ เกราะกั น กระสุ น และสะเก็ ด ระเบิ ด แผ่ น เกราะหรื อ โล่ ป้ อ งกั น กระสุ น และสะเก็ ด ระเบิด 4. กิจการผลิตและ/หรือซ่ อมอาวุ ธ และชิน้ ส่วน 5. กิ จ การผลิ ต และ/หรื อ ซ่ อมเครื่ อ งช่ วยฝึ ก เพื่อการป้ องกันประเทศและชิน้ ส่วน โดยประเภทกิ จ การที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม ฯ เพิ่มเติมใหม่นี้ นับเป็นกิจการที่จะมาช่ วยเสริมทัพการ ส่งเสริมการลงทุนด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล สอดรับกับ กลุ่มอุ ตสาหกรรมเป้ าหมาย โดยแต่ละกิจการนัน้ มีการ กาหนดเงื่อนไขสาหรับการรับสิทธิและประโยชน์ ทัง้ ด้าน ภาษี อากร และด้านอื่น ๆ เพื่อจู งใจนักลงทุนให้เข้ามา ลงทุนในประเภทกิจการที่เปิ ดกว้างมากขึน้ นั ก ลงทุ น และผู ้ ป ระกอบการที่ ส นใจสามารถ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ ท่ี ส านั ก งาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ โทรศัพท์ 02-553-8111 หรือ www.boi.go.th
RMTS 1. ขธธนุมัตผบัญ ชฝ ร าฬการทัต ถุดผบ 1.1 ขธบัญชฝ ราฬการทัต ถุดผบ (BIRTMML) 1.2 ขธเอผ่ มชื่ ธ ราฬการทั ตถุ ดผบ (BIRTDESC) 1.3 ขธบัญชฝ ราฬการฯลผ ต ภั ณ ฑ์แ ละสู ต รการฯลผ ต (BIRTFRM) 1.4 ขธปรับ ฬธดฐานข้ธมู ล ทั ต ถุดผบ (BIRTADJ) 2. ขธธนุมัตผ สั่น ปล่ธ ฬทัต ถุดผบ 2.1 ขธธนุ มั ตผ สั่น ปล่ ธ ฬทั ตถุ ดผบแบบปกตผ 2.2 ขธธนุ มั ตผ สั่นปล่ ธ ฬทัต ถุดผ บแบบใื น ธากร 2.3 ขธธนุ มั ตผ สั่นปล่ ธ ฬทัต ถุดผ บแบบถธนการใช้ ธนาใารใา้ ประกั น 3. ขธธนุญ าตฯ่ธ นฯัน ใช้ ธ นาใารใา้ ประกัน ทัต ถุ ดผบ 3.1 ขธฯ่ ธ นฯั น ใช้ ธ นาใารใา้ ประกั น ทั ตถุดผ บ 4. ขธธนุญ าตตั ด บัญ ชฝ ทัต ถุ ดผบ 4.1 ขธตัด บัญ ชฝ ทัต ถุ ดผบ 4.2 ขธปรั บ ฬธดทั ตถุดผ บ
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม
0 2936 1429 ต่อ 314 - 315
e-mail : counterservice@ic.or.th www.ic.or.th
4 เรื่องสาคัญ
ก้าวทันการใช้ ชีวิตยุ คใหม่ (1)
จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com
เชื่ อ ว่ า หลายคนคงรู้ สึ ก กั ง วลกั บ อนาคตที่ อ าจ เกิดขึ้น อาทิ ความไม่แน่นอนของหน้าที่การงาน ความ มัน่ คงของรายได้ท่ีใช้ เลีย้ งชีพในระยะยาว การเข้ามาแทนที่ เรา จากความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี ใ หม่ ๆ ที่ เกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว “ใช่ โลกนีไ้ ม่มีอะไรแน่นอน” การปรับตัวเพื่อรับมือให้ทันกับยุ คสมัย และอุ ปกรณ์ เครื่องมือใหม่ ๆ ในยุ คดิจิทัล รวมถึงเทคโนโลยีท่ีก้าวลา้ นาหน้าในแทบทุกด้าน ถือเป็นเรื่องสาคัญที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ การรั ก ษาความสามารถในการแข่ ง ขั น ทางธุ รกิ จ ของ องค์ กรต่า ง ๆ จึงไม่ใ ช่ แค่ด าเนิน การให้ดีมี ประสิทธิ ภาพ และประสิ ท ธิ ผ ล หรื อ ที่ ร วมกั น เรี ย กว่ า “ผลิ ต ภาพ (Productivity)” เท่านัน้ หากแต่ต้องผสมผสานเทคโนโลยีท่ี ทันสมัยด้วย ยุ คอดีตเมื่อเอ่ยคาว่า Productivity มักจะหมายถึง Labor Productivity คือ การเพิ่มผลิตภาพจากความรู้ ทักษะความสามารถของคน (Man) โดยมีเรื่องของวิธีการ ท างาน (Method) ของคนในระดั บ ปฏิ บั ติ ก าร และการ จั ด การ (Management) ของคนในระดั บ บริ ห ารเป็ น องค์ประกอบหลัก ซึ่ งนั่นเป็นบริบทของการทางานในยุ คก่อน ยุ คที่ความก้าวลา้ นาสมัย ของเครื่องจักร (Machine) และวัตถุดิบที่ใช้ (Materials) ยั ง ไม่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง ในเชิงก้าวกระโดดมากนัก icn 10
คาว่า 4M ซึ่ งเป็นปั จจัยที่เรามักใช้ ในการวิเคราะห์ เพื ่อ การปรับ ปรุ ง เล็ก ๆ น้อ ย ๆ อย่า งต่อ เนื ่อ ง (Continuous Improvement) จึงอาจไม่ทันกับสถานการณ์ ในปั จจุ บัน ยุ คที่เทคโนโลยีสร้างความปั่ นป่ วนและก่อให้เกิด ความเปลี่ ย นแปลงอย่ า งขนานใหญ่ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช้ จ าก โครงสร้ า งโมเลกุ ล ระดั บ ไมโครสู่ น าโน เครื่ อ งจั ก ร กึ่ ง อั ต โนมั ติ ห รื อ อั ต โนมั ติ สู่ เ ครื่ อ งจั ก รสมองกล จากข้อมู ลสารสนเทศ สู่ปัญญาประดิษฐ์ จากการทางาน ที่ใช้ แรง มาสู่กระบวนการคิดด้วยสมอง จากระบบงาน ที่ซบั ซ้ อน มาสู่ระบบงานที่เข้าถึงและใช้ งานได้อย่างเรียบ ง่าย จากการรวมศูนย์ สู่การกระจายอานาจและความ รับผิดชอบ ปั จจัยที่ห้า Mobility (การเคลื่อนที่) และปั จจัยที่หก Money (การลงทุน) มีผลอย่างมากต่อผลิตภาพในยุ คนี้ หากเราเข้ า ไปค้ น ค าในระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่ า น Search Engine ต่าง ๆ เกี่ยวกับ Productivity เราอาจจะเริ่มเห็น คาใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นมา อาทิ Technology-Led Productivity หรือ Digital Productivity คาต่าง ๆ เหล่านีส้ ะท้อนวิถี ของการยกระดับความสามารถในการแข่งขันที่ทาให้เรา ต้อ งกลั บมาทบทวน 4M เดิ ม แล้ ว เพิ่ ม เติ ม ให้ เ ป็ น 6M ใหม่ 4 องค์ประกอบสาคัญ ที่องค์กรและคนทางานต้อง พัฒนาเพื่อให้ทันกับการแข่งขันในยุ คนี้ (The Future of Productivity) สรุ ปผลจากการส ารวจเนื้อหาที่ เผยแพร่ ในรอบปี ที่ผ่ า นมา จากบริ ษัท ที่ป รึกษาและสถาบั นวิ จั ย ชัน้ นาต่าง ๆ ทัว่ โลก ได้แก่
1. Digital Transformation เป้ าหมายเพื่อมุ ่งสู่การ เป็นองค์กรดิจิทัล (Digital Organization) ซึ่ งมิใช่ แค่การ ทางานอยู ่บนคอมพิวเตอร์ การเปลี่ยนผ่านระบบภายใน ให้ ร องรั บ รู ป แบบของ Inputs และ Outputs ใหม่ ใ นทุ ก Platform สาเร็จได้ด้วยการปรับวัฒนธรรม ความคิด และ วิ ถี ก ารท างานของคนไปพร้ อ มกั น เมื่ อ พนั ก งานขาย (Sales) กาลังนาเสนอสิน ค้าให้กับลูกค้า ผ่านแท็ บ เล็ ต ก็ สามารถตรวจสอบจานวนสินค้าในโกดังที่พร้อมส่งให้กับ ลูกค้าได้ในทันที หรือส่งข้อมู ลความต้องการไปให้ทีมฝ่ าย วางแผนการผลิตในกรณีท่ีสิ นค้าไม่เพียงพอ ฝ่ ายวาง แผนการผลิ ต ก็ ส ามารถตรวจสอบวั ต ถุ ดิ บ และ วาง แผนการผลิ ต รวมถึ ง แจ้ ง เวลานั ด รั บ สิ น ค้ า ที่ เ ร็ ว ที่ สุ ด กลับไปยังพนักงานขายได้ในทันที 2. Internet of Things เป้ า หมายเพื่ อการเชื่ อมต่ อ ทุกสรรพสิ่งได้ทุกที่ ทุกเวลา (Anywhere, Anytime and Anything) เมื่อคนเข้าใจสถานะของเครื่อง (จักร) และ เครื่อง (จักร) รับรู้ความต้องการของคน ทุกวันนีห้ ลายคน ถูกตัดเงินผ่านแอปสโตร์ท่ีเราผู กบัญชีบัตรเครดิตไว้ อาทิ ค่ า บริ ก ารฟั งเพลงรายเดื อ นผ่ า น Apple Music ค่าสมาชิ กดูหนังรายเดือนจาก Netflix ดังนัน้ จึงไม่ต้อง ตกใจหากตู้เย็น ในบ้านของเราจะส่ง คาสั่งซื้ อไข่ เนย และ ขนมปั ง ไปยั ง ซุ ปเปอร์ ม าร์ เ ก็ ต ตามที่ เ รากาหนดไว้ และ สินค้าต่าง ๆ เหล่านัน้ ก็ถูกจัดส่งมาที่บ้านของเรา 3. Smart X เป้ าหมายเพื่อการบริหารสถานการณ์ ต่าง ๆ อย่างลื่นไหลไร้รอยต่อ การบู รณาการส่วนต่าง ๆ ให้เป็นระบบที่ชาญฉลาด (Intelligent Unit) จะทาให้สิ่งต่าง ๆ ที่เคยเป็นความยุ ่งยากซับซ้ อน กลายเป็นสิ่งเรียบง่ายและ สะดวกสบาย ระบบต่าง ๆ เหล่านี้ เริ่มเข้ามาใกล้เรามากขึน้ จากที่ทางาน อาทิ Smart Factory, Smart Farm และ Smart Services จนเข้ ามาอยู ่ ในห้อ งรับ แขก ห้ องนอน ห้องครัว และทุก ๆ ห้องในบ้าน (Smart Home) ประกอบ กันเป็นภาพใหญ่เชิงพืน้ ที่รวมเรียกว่า “Smart City”
4. Innovation and Strategy เป้ าหมายเพื่อมุ ่งสู่การ สร้ า งสรรค์ สิ่ ง ใหม่ ท่ี มี คุ ณ ค่ า เพิ่ ม มากกว่ า แค่ ก ารมุ ่ ง แก้ ปั ญ หาหรื อ ลดต้ น ทุ น (from Cost Reduction to Value Creation) หัวหน้างานและผู ้บริหารจึงต้องไม่แค่ เก่ง งาน เก่ งคน แต่ต้ องเก่ งคิ ด สามารถมองกว้ างและ มองไกลออกไปข้างหน้า และนี่คือ 4 สิ่ง ที่คุณและองค์กรต้องเตรียมพร้อม แม้ ว่ า สิ่ ง ต่ า ง ๆ รอบตั ว เราจะมี ค วามก้ า วหน้ า ทั น สมั ย และสร้ า งความสะดวกสบายมากขึ้น เท่ า ไร สุ ด ท้ า ยสิ่ ง ที่ คนเราแสวงหาและต้องการเหนือสิ่งอื่นใดก็คือ “ความสุข สงบ ร่มเย็น และใกล้ชิดกับธรรมชาติ” ตราบใดที่เรายังคง มีความเป็นมนุษย์ จิตวิญญาณ และความรู้สึกลึก ๆ ในใจ ยังคงต้องการรักษาสมดุลของสองสิ่งที่ดูเหมือนเป็นด้าน ตรงข้ า มเสมอ ดั ง นั ้น ความทั น สมั ย ก็ อ าจไม่ ไ ด้ เ ป็ น ภั ย คุกคามเสียทีเดียว ถ้าเราสามารถปล่อยวาง ให้เครื่องมือ เครื่องจักร สมองกลต่าง ๆ เหล่านัน้ ทางานแทนเรา โดยเรา เฝ้ าดูมันอยู ่ห่า ง ๆ เพื่อที่เราจะได้มีเวลารื่นรมย์กับชี วิ ต ที่เรียบง่าย ได้เล่นกีฬา และมีเวลาพักผ่อนกับครอบครัว มากขึ้น และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดังกล่าว ทาให้ ภาคการผลิตและบริการเปลี่ยนแปลงไปพอสมควร ลองมา ดูกรณีตัวอย่างจากภาคส่วนต่าง ๆ ดังนี้ กรณีศึกษาการปรับตัวของภาคเกษตรกรรม เมื่อ 20 ปี ก่อน ในช่ วงที่อุตสาหกรรมการผลิตต่าง ๆ ยังคงเติบโตและก้าวหน้า ยังไม่มีทีท่าว่าจะได้รับผลกระทบ หรื อได้รั บอิ ทธิ พลจากความก้า วหน้า ใด ๆ ที่จ ะเข้า มา ครอบครองหรือปั่ นป่ วนระบบการผลิต แต่ก็มีบางสาขา อุ ตสาหกรรมที่เริ่มส่งสัญญาณบางอย่างให้เห็น แต่ครัง้ นั ้น เป็ น การขยั บ ปรั บ เปลี่ ย นของอุ ปสงค์ เ พี ย งด้ า นเดี ย ว จากตลาดมวลรวม (Mass Market) ที่ผลิตภัณฑ์ไม่จาเป็น ต้ อ งมี ค วามแตกต่ า งหลากหลายมากนั ก สู่ ก ารแบ่ ง ออกเป็นส่วนตลาดย่อย ๆ (Segmentation) และเริ่มมี บางส่วนที่เป็นตลาดเฉพาะ (Niche Market)
แต่ด้วยความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี เปิ ดโอกาส ให้ บ ริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต สามารถใช้ ป ระโยชน์ จ ากการผลิ ต สิ น ค้ า จานวนมากเพื่ อให้ ประหยั ดจากขนาดการผลิต แต่ ก็ยั ง สามาร ถสร้ า งคว ามยื ด หยุ ่ น ใ ห้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี จ ะ ปรับเปลี่ยน เพื่อตอบสนองต่อลูกค้าเฉพาะกลุ่มได้ง่ายขึ้น Mass Customization การผลิตจานวนมากจากโรงงาน แต่ ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบ หรื อ เพิ่ ม เติ ม บางอย่ า ง เข้ า ไปในภายหลั ง ตามที่ ลู ก ค้ า ต้ อ งการ ท าให้ เ กิ ด สิ่ ง ที่ เรียกว่า Customer Co-Creation ร่วมกันผลิตนัน่ เอง 11
icn
ตั ว อย่ า ง อุ ตสาหกรรมสิ่ ง ทอและเสื้อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป ที่ ยุ คหนึ่ ง ซึ่ ง โรงงานส่ ว นใหญ่ ใ นบ้ า นเราจะเน้ น การผลิ ต ในปริมาณที่มาก และใช้ แรงงานแบบเข้มข้น (Labor Intensive) เริ่ ม ที่ จ ะปิ ดตั ว ลง พร้ อ มกั บ ค าสั่ง ซื้ อ ที่ ล ดลงตามล าดั บ แต่ ธุรกิ จ เสื้อ ผ้ า ที่ ใ ส่ ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ เ ข้ า ไปแทนกลั บ อยู ่ ไ ด้แ ละเติ บ โตได้ ดี ขึ้น อย่า งชัดเจน ดี ไซน์ เ นอร์ ข องไทย มีผลงานเป็นที่ ประจักษ์ มากขึ้น สิ่ง ทอแบบเดิมจึง ต่อเติ ม เสริมแต่งสู่ธุรกิจแฟชัน่ นัน่ คือ ไม่ได้เน้นที่ปริมาณอีกต่อไป หากแต่ลูกค้าสามารถเลือกแบบ สีสัน ลวดลาย และแต่งเติม มันได้ด้วยตัวเอง ในขณะเดียวกันเทคโนโลยีท่ใี ส่เข้าไปในสิ่งทอ ก็ทาให้เกิด นวั ต กรรมใหม่ ๆ อี กมากมาย ใครจะไปรู้ ว่ า แต่ ก่อ น นักท่องเที่ยวที่ต้องเดินทางไปในประเทศที่หนาวมากมีหิมะ ตกจนถึงขัน้ ติดลบ ต้องนาเสือ้ กันหนาวอย่างหนาไปด้วย แค่ ห นึ่ ง ชุ ดก็ เ ต็ ม พื้ น ที่ ใ นกระเป๋ าหนึ่ ง ใบแล้ ว แต่ ด้ ว ย เทคโนโลยีท่ีทันสมั ยสามารถทาให้เสื้อผ้าบางลง นา้ หนั ก น้ อ ยลง แต่ กั น หนาวได้ ไ ม่ ต่ า งจากเสื้อ กั น หนาวหนา ๆ ซึ่ ง นาโนเทคโนโลยี ท าให้ โ ครงสร้ า งของสิ่ ง ทอและผ้ า ผื น มีความก้าวหน้าอย่างมาก ไม่ เ พี ย งแต่ ภ าคอุ ตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรมก็ เช่ นกัน Smart Farm หรือ ฟาร์มอัจฉริยะ ที่ผนวกเอา ระบบสมองกลฝั งตัว (Embedded System) เข้าไป ทาให้ การบริหารจัดการฟาร์มด้านการเพาะปลูก ใช้ คนน้อยลง อย่างมาก ในพื้นที่เล็ก ๆ แต่ควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติ และเซน็ เซอร์ตรวจจับตามจุ ดต่าง ๆ ในฟาร์ม ทาให้เจ้าของ ฟาร์มไม่จาเป็นต้องสิน้ เปลืองแรงงานอีกต่อไป ซึ่ งสอดรับ กับสถานการณ์ท่ีเริ่ มหาคนงานทาเกษตรได้ยาก เกษตร แปลงเล็ก (ใช้ พนื้ ที่น้อยแต่เน้นคุณภาพผลผลิต) เชื่อมโยง กัน เป็ น เครื อข่ ายเกษตรกลุ่ มใหญ่ เพื่ อ สร้ างอ านาจการ ต่อรองและขยายช่ องทางไปถึงผู ้บริโภคได้โดยตรง
FAQ 108
ภาพที่เห็นในทุกวันนี้ ฟาร์มสมัยใหม่จะเพาะปลูกโดย เน้นที่คุณภาพมากกว่าปริมาณ ผลผลิตไม่ต้องมากแต่ ได้รับการดูแลเอาใจใส่เป็นพิเศษ ปลูกในโรงเรือนที่ควบคุม สภาพแวดล้อมและโรคพืชได้ มีเซน็ เซอร์ตรวจวัดความชื้น ในดิน เมื่อผืนดินแห้งระบบจ่ายนา้ ก็จะทางาน ในขณะเดียวกัน ถ้าอุ ณหภูมิสูงเกินค่าที่กาหนด หลังคาโรงเรือนจะค่อย ๆ เปิ ดพัดลมระบายอากาศทางาน หรือความชื้นสัมพัทธ์ต่า เกิ น ไป ระบบพ่ น หมอกด้ ว ยละอองน ้า ขนาดเล็ ก มาก ก็จะทางาน เพื่อสร้างความชุ่ นชืน้ ให้กับโรงเรือนอีกครัง้
ในฉบับหน้า มาติดตามกันต่อนะครับว่า นอกจาก กรณี ศึ ก ษาในภาคเกษตรกรรมแล้ ว ยั ง มี ก รณี ศึ ก ษา ในด้า นใดอี กที่น่ าสนใจ และสามารถนามาปรั บใช้ กับการ พัฒนาศักยภาพขององค์กรให้สามารถก้าวทันการใช้ ชีวิต ในยุ คแห่งเทคโนโลยีได้อย่างมัน่ คง ภาพจาก : https://www.salesforce.com/ca/blog/2016/12/increase-productivitywithout-increasing-stress.html http://realtorcorvello.com/2017/02/01/abcs-smart-home-technology http://www.thaitribune.org/contents/detail/327?content_id=22999&rand=1474863968 https://conta.mobi/blog/caracteristicas-de-empreendedor-9-principais/
คาถามกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น www.faq108.co.th แหล่งรวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับงานส่งเสริมการลงทุน และสิทธิประโยชน์ ในรูปแบบกระดานสนทนา ข้อมูลการติดต่องาน BOI และ IC แจ้งข้อมูล ข่าวสาร และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
icn 12
ใบรับรองถิน่ กาเนิดสินค้า
Certificate of Origin (C/O) C/O เป็น เอกสารรั บรองที่อ อกให้ ผู้ส่ งออกเพื่ อ แสดงว่ า “สิ น ค้า มี ถิ่น กาเนิ ด ในประเทศนั ้น ๆ ผลิ ต ได้ ถูกต้องตามกฎว่าด้วยถิ่นกาเนิดสินค้า” ซึ่ ง C/O แบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. ใบรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าทั่วไป (Non-Preferential Certificate of Origin) คือ เอกสารที่นาไปใช้ รับรอง ถิ่นกาเนิดสินค้า เช่ น การแสดงฉลากสินค้าเพื่อยืนยันกับ ผู ้ ซื้ อ ว่ า สิ น ค้ า ที่ ส่ ง ออกไปนั ้ น ประกอบด้ ว ยวั ต ถุ ดิ บ ภายในประเทศ มีการผลิตหรือผ่านขัน้ ตอนกระบวนการผลิต ภายในประเทศ แต่ ใ บรั บ รองถิ่ น ก าเนิ ด สิ น ค้ า ทั่ ว ไปจะ ไม่ ส ามารถน าไปขอรั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษทางภาษี ศุ ล กากร หรือ ไม่ สามารถน าไปใช้ ในการขอลดหย่อ น หรือ ยกเว้ น อากรขาเข้าได้ โดยสามารถขอ C/O ประเภทนี้ได้ ท่ีสภา หอการค้าและสภาอุ ตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2. ใบรั บ รองถิ่ น ก าเนิ ด สิ น ค้ า แบบสามารถใช้ ขอรั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษทางภาษี ศุ ล กากรได้ (Preferential Certificate of Origin) นัน่ คือ สามารถขอลดหย่อน หรือ ยกเว้ น อากรขาเข้ า จากกรมศุ ล กากร โดยอั ต ราสิ ท ธิ พิเศษที่จะได้รับขึ้นอยู ่กับข้อตกลงทางการค้าแต่ละฉบับ รวมทั ้ง ชนิ ด ของสิ น ค้ า C/O ประเภทนี้ จะออกให้ โ ดย หน่วยงานที่มีอานาจตามที่ระบุ ไว้ในความตกลงของแต่ละ ประเทศคู่สัญญา ในส่วนของการออก C/O ฝ่ ายไทยเพื่อ ไปรั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษทางภาษี ศุ ล กากรยั ง ประเทศคู่ ค้ า นั ้น สานักบริการการค้าต่างประเทศ กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย์ เป็ นหน่ ว ยงานที่ อ อกใบรั บ รอง ถิ่นกาเนิดสินค้าชนิดที่สามารถขอรับสิทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากร
คุณกิจ จาลั ก ษณ์ ศรีนุชศาสตร์ สานั กพิ กัดอัต ราศุลกากร กรมศุลกากร
ตัวอย่างการใช้ C/O เพื่อขอรับสิทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากร เช่ น บริษัท ก นาเข้าสินค้าชนิด A มาจาก ประเทศญี่ปุ่ นโดยไม่มี C/O (Form JTEPA) ต้องชาระภาษี นาเข้าในอัตรา 10% ต่อมา ผู ้ผลิตในญี่ปุ่ นส่งสินค้าชนิด เดียวกันมาให้บริษัท ก พร้อมกับใบ C/O (Form JTEPA) เพื่อรับรองว่า สินค้าชนิด A ดังกล่าว มีถิ่นกาเนิดสินค้า จากประเทศญี่ปุ่ น เมื่อบริษัท ก ยื่นเอกสารผ่านพิธีการ ศุลกากรพร้อมกับใบ C/O (Form JTEPA) เพื่อชาระภาษี ต่อกรมศุลกากร บริษัท ก ย่อมได้รับสิทธิพิเศษลดอัตรา อากร หรือแม้กระทัง่ ยกเว้นอากรเหลือ 0% ตามข้อตกลง ตั ว อย่ า งความตกลงการค้ า เสรี ท่ี ป ระเทศไทย มี ข้ อ ตกลงไว้ ได้ แ ก่ ความตกลงการค้ า เสรี อ าเซี ย น (ใบรับรองถิ่นกาเนิดสินค้า มีชื่อเรียกเฉพาะว่า ฟอร์ม ดี) ความตกลงการค้าเสรีอาเซี ยน-จีน (ใบรับรองถิ่นกาเนิด สินค้า มีชื่อเรียกเฉพาะว่า ฟอร์ม อี) ความตกลงการค้า เสรีอาเซี ยน-ญี่ปุ่ น (ใบรับรองถิ่นกาเนิดสินค้า มีชื่อเรียก เฉพาะว่า ฟอร์ม เอเจ) อย่างไรก็ดี การใช้ สิทธิพิเศษทาง ภาษี อากรภายใต้เขตการค้าเสรี ไทย-นิวซีแลนด์ ไม่ต้องนา ใบรับรองถิ่นกาเนิดมาแสดง แต่ให้รับรองการได้ถิ่นกาเนิด ของสินค้าในบัญชีราคาสินค้า (Invoice) หรือเอกสารกากับ สินค้าอื่นใด ทัง้ นี้ ผู ้นาเข้าสามารถสอบถามข้อมู ลเกี่ยวกับ รายละเอียดเงื่อนไขการได้ถิ่นกาเนิดสินค้า รวมทัง้ เชค็ พิกัด อัตราอากรของสินค้าประเภทนัน้ ๆ เพื่อจะได้ทราบอัตรา อากรน าเข้ า เบื้อ งต้ น เพื่ อ เปรี ย บเที ย บกรณี ใ ช้ ฟ อร์ ม กั บ ไม่ใช้ ฟอร์ม ได้ท่ี www.customs.go.th หัวข้อ “ข้อพึงรู้ พึงระวังเกี่ยวกับกฎว่าด้วยถิ่นกาเนิดสินค้า” ภาพจาก: https://www.leafly.com/news/strains-products/may-2018-cannabis-productsroundup
13 icn
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนาฟรีสมาชิก ครัง้ ที่ 4 Supported by:
ความท้าทายของ HR ในโลกยุ ค 4.0 วันพฤหัสบดีท่ี 27 กันยายน 2561 เวลา 13.00-16.30 น.
ห้องกินรี 1 โรงแรมอมารี ดอนเมือง
“โลกมีพลวัตอยู ่ตลอดเวลา” เป็นสัจธรรมที่ไม่มีผู้ใดปฏิเสธ โลกในศตวรรษที่ 21 ที่เราดารงชีวิตอยู ่ในปั จจุ บันได้ก้าวเข้าสู่ยุค 4.0 หรือ The Fourth Industrial Revolution อย่างเต็มตัว และอยู ่ภายใต้อิทธิพลของเทคโนโลยีและนวัตกรรมหลากหลายประเภท ซึ่ งหนึ่งในนัน้ คือ เทคโนโลยีดิจิทัล ที่ไม่เพียงทาให้การสื่อสารรวดเร็ว ครอบคลุมพืน้ ที่กว้าง ด้วยค่าใช้ จ่ายที่ต่า และช่ วยลดความซ้ าซ้ อน เพิ่มความถูกต้องและ รวดเร็วของกิจกรรมหรืองานต่าง ๆ เท่านัน้ หากแต่ยังทาให้การติดต่อสื่อสารเปลี่ยนรูปแบบจากการมีปฏิสัมพันธ์กับ Someone, Somewhere และ Sometimes เป็น Anyone, Anywhere และ Anytime กล่าวคือ สามารถสื่อสารตรงไปยังบุ คคลใดบุ คคลหนึ่งอย่างเฉพาะเจาะจง (Anyone) ผ่านช่ องทางใดช่ องทางหนึ่ง (Anywhere) และปฏิสัมพันธ์กันได้ตลอดเวลา (Anytime) ด้วยเครื่องมือหรือ Device หนึ่ง ๆ ไม่ต่าง จากการพบปะกัน ซึ่ งหน้า ดังนั ้น มนุษย์ ทุกคนจึ งดารงชี วิตอยู ่ท่ามกลางโลกจริงและโลกเสมื อนจริง และสามารถทากิ จกรรมหลายอย่างได้ พร้อมกันตลอดเวลา ความก้าวหน้าทางดิจิทัลในโลกยุ ค 4.0 กาลังเปลี่ยนโฉมหน้าของ HR ให้กลายเป็น Digital HR Management อาทิ การบริหาร จัดการข้อมู ล Big Data จะถูกนามาใช้ อ้างอิงและวิเคราะห์ข้อมู ลพนักงาน เพื่อให้การตัดสินใจในเรื่องเกี่ยวกับ HRM และ HRD ขององค์กร มีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ หรือการปรับปรุ ง Job Description ของพนักงาน เนื่องจากหุ่นยนต์และระบบ Automation (Artificial Intelligence: AI) จะถูกนามาแทน Routine Job มากขึ้น รวมถึงการนา อินเทอร์เน็ตออฟธิงส์ (IoT) มาใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมู ลเกี่ยวกับการเข้าปฏิบัติงาน ของพนักงาน เพื่อช่ วยเพิ่มประสิทธิภาพของงาน Payroll เป็นต้น การผสมผสานเทคโนโลยีดังกล่าวเข้ากับงาน HRD และ HRM จึงกลายเป็น ความท้าทายใหม่ที่ HR Manager ต้องเตรียมพร้อมรับมืออย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ค่าธรรมเนียม การอบรม
1 หัวข้อ/ท่าน (ราคารวม VAT)
สมาชิกสมาคม ท่านแรก
ฟรี
สมาชิก ท่านที่ 2 เป็นต้นไป
ท่านละ 856 บาท
บุ คคลทัว่ ไป
ท่านละ 1,284 บาท
หัวข้อการบรรยาย
ลงทะเบียนออนไลน์ได้ทาง http://icis.ic.or.th เหมาะสาหรับ HR Manager, Senior HR Manager HR Professional ทุกระดับ และผู้ที่ต้องการ นาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาองค์กร
คุณสุกัญญา รัศมีธรรมโชติ
***อาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
1. ลักษณะของโลกใบเดิมที่ไม่เหมือนเดิม ทีก่ าลังเปลีย่ นไปสู่ยุค 4.0 2. โลกที่ถูกขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ปั ญญาประดิษฐ์ เทคโนโลยี และ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ส่ ง ผลให้ อ งค์ ก รต้ อ งเปลี่ ย นเป็ น Digital Organization ได้อย่างไร 3. กระแส Modern Digital Working ส่งผลกระทบต่อการทางานของ พนักงานในองค์กรอย่างไร 4. จะทาให้พนักงานเป็น Digital Employee ได้อย่างไร 5. โฉมหน้าของระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ จะเปลี่ยนเป็น Digital HR Management System ได้อย่างไร
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
ด่วนรับจานวนจากัด First come, First serve
USB Flash Drive 8GB
สมัครและชาระเงิน 3 ท่าน รับฟรี 1 อัน สมัครและชาระเงิน 5 ท่าน รับฟรี 2 อัน 0 2936 1429 ต่อ 203 (เบญจวรรณ) ต่อ 202 (วิจติ รา) ส่งหลักฐานการชาระเงินมาได้ที่ E-mail: Cus_service@ic.or.th, Benjawank@ic.or.th, Vijittraj@ic.or.th โทรสาร 0 2936 1441-2
Digital Employee ณัฐพงษ์ วัฒนไทยสวัสดิ์ nuttapongw@ic.or.th
มนุ ษ ย์ เ งิ น เดื อ นในยุ คสมั ย นี้ ต่ า งต้ อ งเตรี ย ม ป รั บ ตั ว แ ล ะ เป ลี่ ย น แป ล ง พ ฤ ติ ก ร ร ม กา ร ท าง า น ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความแปรผั น ของกระแสเทคโนโลยี ที่เปลี่ยนไป เมื่อสังคมธุ รกิจการค้าการแข่งขันโลกก้าวสู่ การเป็น Digital Transformation นั่นคือ กระบวนการ ที่ น าเอา Digital Technology มาปรั บ ใช้ กับ ทุ กส่ว น ของธุ รกิ จ นั บ ตั ้ง แต่ ร ากฐานของกระบวนการท างาน การสร้ า งสรรค์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ การตลาด วั ฒ นธรรม องค์ กร และการกาหนดเป้ าหมายการเติ บโตในอนาคต เพื่อให้ธุรกิจสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้อย่าง รวดเร็ว รวมถึงช่ วยตอบโจทย์ธุรกิจใหม่ ๆ ที่เกิดขึน้ ได้ แต่ ก ารพั ฒ นาเทคโนโลยี ส ารสนเทศเหล่ า นี้ อาจเปรียบได้ดงั่ ฝั นร้ายของพนักงานทัง้ หลายในองค์กร หลายคนกลัวการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากขาดทักษะและ ความสามารถในเชิ งเทคโนโลยี บ้ า งก็ กลั ว “ตกงาน” หากมีการนาเอาหุ่นยนต์หรือระบบ AI เข้ า มาแทนที่ ในกระบวนการผลิ ต หรื อ กระบวนการทางาน
ในยุค
HR 4.0
ดังนัน้ ในฐานะบุ คลากรที่ดีขององค์กร เราจึงควร เตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ รั บ มื อ กั บ เทคโนโลยี ท่ี จ ะ เปลี่ยนแปลงไปในอนาคตได้ ดังนี้
1. พัฒนาความรูด้ ิจิทัล (Digital Literacy) การ เปลี่ ย นแปลงของเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล เกิ ด ขึ้ น เร็ ว มาก จนบุ คลากรส่วนใหญ่ปรับตัวตามไม่ทัน สิ่งที่มาพร้อม กับการเปลี่ยนแปลง คือ “รูปแบบการทางาน” เนื่องจาก บุ คลากรบางส่วนเริ่มถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์และระบบ AI ขณะที่ บ างส่ ว นต้ อ งปรั บ หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบใหม่ รวมทั ้ ง การพั ฒ นาทั ก ษะที่ จ าเป็ นต่ อ การท างาน ในขณะเดี ย วกั น องค์ ก รเกื อ บทุ ก แห่ ง เริ่ ม ขาดแคลน พนักงานที่มีทักษะด้านดิจิทัล ไม่คุ้นเคยที่จะสื่อสารกับ คนจ านวนมากผ่ า นสื่ อ สั ง คมออนไลน์ ทิ ศ ทางการ บริหารงาน HR จึงต้องให้ความสาคัญเร่งด่วนในการ พัฒนาความรู้ดิจิทัล (Digital Literacy) ซึ่ งการพัฒนา ความรู้ ดิ จิ ทั ล จะครอบคลุ ม ใน 4 มิ ติ ได้ แ ก่ 1) การใช้ (Use) วัดจากความคล่องแคล่วทางเทคนิคพื้นฐานที่ จ าเป็ น ในการใช้ ง านคอมพิ ว เตอร์ แ ละอิ น เทอร์ เ น็ ต 2) การเข้ า ใจ (Understand) ในบริ บ ทของสารสนเทศ ดิจิทัล เพื่อการค้นหา ประเมินติดต่อสื่อสาร ประสานงาน ร่วมมือ และแก้ไขปั ญหา 3) การสร้าง (Create) ซึ่ งครอบคลุม ทัง้ เนือ้ หา (Content) และช่ องทางการสื่อสารผ่านสื่อ ดิจิทัลที่หลากหลาย 4) การเข้าถึง (Access) ซอฟต์แวร์ และฮาร์ ด แวร์ รวมทั ้ง เทคโนโลยี ใหม่ ๆ เช่ น Cloud Computing เพื่อให้สามารถทางานร่วมกับผู ้อื่นได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 15 icn
2. การบริหารคนรุ ่นดิจิทัล (Digital Generation) ลักษณะเฉพาะของคนรุ ่นดิจิทัล คือ มีทักษะในการรับข้อมู ล ข่าวสารได้พร้อม ๆ กันจากหลายแหล่ง ให้ความสาคัญ กับรูป เสียง วิดีทัศน์ เกมส์ และสื่อสังคมออนไลน์ มากกว่า ตัวหนังสือ สามารถเชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ (Hyperlink) ได้ใน หลายมิติ มีปฏิสัมพันธ์แบบทันที และสร้างเนือ้ หาได้เอง การเรียนรู้จึงเป็นไปอย่างรวดเร็วและสนุก เพราะตรงกับ สิ่งที่ตนเองสนใจ การบริหารทรัพยากรบุ คคลต้องปรับใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของคนรุ ่นดิจิทัลซึ่ งกาลังเริ่ม เข้าสู่ระบบการจ้างงาน HR ต้องคิดว่า “จะปรับองค์กร อย่างไรให้เหมาะสมกับคนรุ ่นดิจิทัล” ไม่ใช่ คาดหวังให้คนรุ ่น ดิจิทัลเป็นฝ่ ายปรับตัวเข้าหาเพีย งอย่างเดีย ว ตัวอย่า ง การนาสื่อ Social Networking Instant Massing (IM) และ Video-Streaming มาปรับใช้ เพื่อให้การแสดงความ คิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ และแบ่งปั นความคิด สามารถ ท าได้ ง่ า ยในทุ ก เวลา รวมถึ ง ยอมรั บ ว่ า การท างาน ในปั จ จุ บั น สามารถเกิ ด ขึ้น ได้ ทั ้ง ที่ บ้ า น ร้ า นกาแฟ หรื อ สถานที่สาธารณะ โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศดิจิทัล เป็นต้น 3. ข้อบังคับการทางานในยุ ดดิจิทัล สถานที่ทางาน มีแนวโน้มในการใช้ จานวนพนักงานน้อยลง เนื่องจากมี การใช้ ระบบอัตโนมัติในงานประจาและงานวิเคราะห์เพิ่มขึ้น ทุกคนสามารถทางานในเวลาใดก็ได้ จากสถานที่ใดก็ได้ ผ่ า นเทคโนโลยี การสื่อ สารแบบไร้ สาย เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ไม่เพียงสร้างผลกระทบในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างคน กับสถานที่ทางานเท่านัน้ แต่ข้อบังคับเกี่ยวกับการทางาน และระเบี ย บการปฏิ บั ติ ง านยั ง คงมี ค วามจ าเป็ น แต่ ก็ มี หลายประเด็ น ที่ ต้ อ งพิ จ ารณาอย่ า งจริ ง จั ง ในการ บริหารงาน HR เช่ น คนรุ ่นใหม่ มีทัศนคติท่ีไม่ต้องการ ทางานอยู ่ กับที่ใดที่ หนึ่ง อยากเป็นมื ออาชี พที่ มีอิสระใน การท างาน ซึ่ ง การท างานจะไม่ ขึ้ น ตรงต่ อ หน่ ว ยงาน สามารถจัดตารางเวลาการทางานของตนเอง และอาจ ทางานพร้อมกันหลายที่ก็ได้ การบริหารคนกลุ่มนีจ้ ะไม่มี ประเด็ น เรื่ อ งต าแหน่ งงาน เส้น ทางอาชี พ การพั ฒ นา ทักษะ รวมทัง้ การจัดหาสวัสดิการต่าง ๆ ดังนัน้ ข้อบังคับ และระเบียบปฏิบัติในเรื่องดังกล่าวจะลดความสาคัญลง รวมทั ้งข้ อบั งคั บเกี่ย วกั บเวลาท างาน การลา และการ หยุ ดพั กผ่อ นก็เป็ นเรื่ องที่ ไม่จาเป็น อีกต่ อไป นอกจากนี้ การให้ ค วามส าคั ญ กั บ ประสบการณ์ ม ากกว่ า วุ ฒิ การศึ กษา ทาให้หลายองค์กรโดยเฉพาะบริษัทเทคโนโลยี ได้ยกเลิกการกาหนดวุ ฒิการศึ กษาที่ต้องมีปริญญาบัตร ไว้ในระเบียบการสรรหาพนักงาน เป็นต้น
ตัว
icn 16
4. การสร้างประสบการณ์ให้กับพนักงานเพื่อเพิ่ม ความผู กพัน (Employee Experience) องค์กรสมัยใหม่ ควรให้ความสาคั ญกับ การสร้า งความผู กพัน ผ่านการ สร้างประสบการณ์ให้พนักงาน เพราะเมื่อพนักงานได้รับ การปฏิบัติตามความคาดหวังก็จะรู้สึกพอใจ (Satisfaction) แต่ ก็ ไ ม่ ไ ด้ ใ ห้ ค วามใส่ ใ จกั บ สิ่ ง นั ้น เช่ น การขึ้ น เงิ น เดื อ น ประจาปี การพัฒนา การฝึ กอบรม และการใช้ สวัสดิการ รักษาพยาบาล แต่ในทางตรงข้าม พนักงานจะจดจาและ รับรู้ได้เป็นอย่างดี เมื่อพบกับประสบการณ์ท่ีเหนือความ คาดหมาย (Delightful Experience) ซึ่ ง ต้ อ งอาศัย ปั จจั ย ส าคั ญ ประกอบด้ ว ยวั ฒ นธรรมองค์ ก ร การ จัดการข้อมู ลเชิ งลึกเป็นรายบุ คคล และการสร้างสภาวะ แวดล้อมที่เกือ้ หนุน องค์กรสมัยใหม่จะผสมผสานปั จจัย ดั ง กล่ า ว เพื่ อ ให้ พ นั ก งานได้ รั บ ประสบการณ์ ท่ี ดี ท่ี สุ ด ทุกครัง้ ที่เข้ามาทางาน ประสบการณ์ท่ีดีท่ีพนักงานได้รับ (Employee Experience) นอกจากจะสร้างความผู กพัน ต่อองค์กรแล้ว ยังทาให้พนักงานเต็มใจที่จะเค้นศักยภาพ ที่มีอยู ่ เพื่อสร้างคุณภาพและคุณค่าของงาน ส่งต่อไปสู่ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก าร หรื อ สู่ แ บ รนด์ จนเกิ ด เป็ น ประสบการณ์ของลูกค้า (Customer Experience) ที่มี ต่อแบรนด์และองค์กรเจ้าของผลิตภัณฑ์และบริการ
ในการนี้ ส มาคมสโมสรนั ก ลงทุ น ได้ จั ด สั ม มนา หั ว ข้ อ “ ค ว า ม ท้ า ท า ย ข อ ง HR ใ น โ ล ก ยุ ค 4.0” ในวันพฤหัสบดีท่ี 27 กันยายน 2561 เวลา 13.00-16.30 น. ห้องกินรี 1 โรงแรมอมารี ดอนเมือง ผู ้สนใจสามารถสอบถาม ข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ี 0 2936 1429 ต่อ 203 (คุณเบญจวรรณ) ต่ อ 202 (คุ ณ วิ จิ ต รา) หรื อ Cus_service@ic.or.th, Benjawank@ic.or.th, Vijitraj@ic.or.th ที่ม า https://www.dst.co.th/index.php?option=com_content&view =article&id=1762:hr-trend-2018-management&catid=29&Itemid=180&lang=th https://www.scbeic.com/th/detail/product/4327
คุณวัชระ ปิ ยะพงษ์ ที่ปรึกษาองค์กรเอกชนชัน้ นา ด้านการนาเข้าและส่งออก
ค่าขนส่งระหว่างประเทศ Main Carriage
ในการดาเนินธุ รกิจการค้าระหว่างประเทศ ต้องมี การขนส่ ง สิ น ค้ า จากประเทศผู ้ ส่ ง ออกไปยั ง ประเทศ ผู ้นาเข้ า ในปั จจุ บันใช้ การขนส่ งทางทะเลเป็นส่ วนมาก ซึ่ ง ต้ องมี ค่า ใช้ จ่า ยในการขนส่ง ให้ บริ ษั ทเรื อ โดยทั่ว ไป เรียกค่าใช้ จ่ายนีว้ ่า “ค่าระวาง (Freight)” อันเป็นที่เข้าใจว่า การซื้ อ สิ น ค้ า ค่ า ใช้ จ่ า ยต้ อ งเป็ น ของผู ้ ซื้ อ แต่ ก ารค้ า สากลมีเทอมการค้า (Incoterms = International Commercial Terms) เทอมการค้าใดที่ผู้ขายต้องรับผิดชอบการว่าจ้าง การขนส่ง และต้องจ่ายค่าขนส่งจากท่าเรือต้นทางถึง ท่าเรือปลายทาง (แทนผู ้ซื้อ) ผู ้ขายต้องกาหนดราคา ขาย เช่ น CIF ด้วยความรอบคอบ เพราะค่าขนส่งนัน้ ผู ้ขายต้องทราบว่า “บริษัทเรือคิดค่าขนส่งอย่างไร ราคา เท่าไร” เพราะบริษัทเรืออาจจะคิดและคานวณค่าขนส่ง จากน ้า หนั ก ของสิ น ค้ า หรื อ ค านวณค่ า ขนส่ ง จาก ปริมาตรของสินค้า (ถ้าสินค้าใช้ พืน้ ที่มากและมีนา้ หนัก มากด้วย บริษัทเรือจะคิดค่าขนส่งจากการคิดที่สูงกว่า มาเป็นค่าขนส่ง) แต่หากสินค้านัน้ มีราคาสูง เช่ น สินค้า เป็นเพชรพลอย เครื่องลายคราม ทองคา ฯลฯ บริษัท เรือจะคิดคานวณค่าขนส่งจากมู ลค่าของสินค้า เพราะ บริษัทเรือต้องดูแลเป็นพิเศษกับสินค้าที่มีมูลค่าสูง
นอกจากนี้บริ ษัท เรื ออาจจะเก็บ ค่า ภาระหน้ าท่ า เพิ่มด้วย เพราะถือเป็นค่าใช้ จ่ายบริเวณท่าเรือต้นทาง และท่าเรือปลายทาง ได้แก่ ค่าใช้ ปั้นจัน่ หน้าท่าเรือ ค่าทา ความสะอาดตู้สิน ค้า ค่า ฝากตู้ สิน ค้า ค่าภาระในการ ใช้ ท่ าเรื อ ค่ า ยกสิ นค้ า ขึ้นลงเรื อ ค่ า ลากตู้ สิน ค้ า และ อาจจะมีค่าปรับราคานา้ มัน ในกรณีท่ีราคาเชื้อเพลิงที่ใช้ ในการขนส่ ง มี ก ารปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ตลอดจนอาจจะมี ค่าปรับอัตราแลกเปลี่ยน (CAF = Currency Adjustment Factor) ภาพจาก : https://erikhare.com/2015/04/01/logistics/
เนื่ อ งจากบริษั ท เรือ จะคิด ค่ า ขนส่ ง เป็น เงิ นสกุ ล ดอลลาร์ สหรัฐ และอัตราแลกเปลี่ยนไม่คงที่ การเปลี่ยนแปลงของ อัตราแลกเปลี่ย นที่ มีความผั นผวนมาก ๆ ค่า ใช้ จ่ ายนี้ ขึน้ อยู ่กับบริษัทเรือว่าจะเรียกเก็บหรือไม่ และจะเรียกเก็บใน อัตราใด บริ ษั ทเรื ออาจจะมี การเรีย กเก็ บ ค่า ใช้ จ่า ยเพิ่ ม ขึ้น เนื่องจากความแออัดในท่าเรือ ทาให้โกดังและคนงานไม่ เพียงพอ หรือเกิดการจลาจล สงคราม หรือการนัดหยุ ด งานของคนงาน อันเป็นผลทาให้การขนส่งล่าช้ าบริษัทเรือ ก็มีค่าใช้ จ่ายเพิ่มขึน้ ซึ่ งบริษัทเรือก็จะมาเก็บค่าใช้ จ่ายจาก ผู ้ขอใช้ บริการ อีก ทั ้ง ยั งมี ค่ า ใช้ จ่า ยในส่ว นของค่า ออกใบตราส่ ง สินค้า (Bill of Lading = B/L) ที่บริษัทเรือคิดค่าใช้ จ่าย ในการออกเอกสารนี้ ดัง นัน้ ผู ้ส่ ง ออก (ผู ้ข าย) ตกลงเทอมการค้า กั บ ผู ้นาเข้า (ผู ้ซื้อ) ด้วยเทอมที่ผู้ขายเป็นผู ้ว่าจ้างบริษัทเรือ ผู ้ขนส่ง เช่ น CIF (Cost, Insurance and Freight) ผู ้ขาย ต้องคิดค่าสินค้า ค่าขนย้าย ค่าผ่านพิธีการศุลกากรขาออก ค่าระวางเรือ และค่าธรรมเนียมประกันภัย ดังนัน้ หากผู ้ขาย จะส่ งสิ นค้ าอะไร น ้าหนัก และปริม าตรของสิน ค้า เท่ าไร ผู ้ขายต้องศึ กษาค่าระวางเรือว่า จะเป็นค่าใช้ จ่ายเท่าไรกับ บริษัทเรือ เพื่อจะได้ทราบค่าใช้ จ่ายที่จะเกิดขึ้นกับค่าขนส่ง และสามารถประมาณราคาว่ าต้องจ่ ายเท่า ไรได้ และเมื่ อ กาหนดราคาขายที่ เ ทอม CIF แล้ ว จะต้ อ งทราบข้ อ มู ล ค่ า ใช้ จ่ า ยในเทอมการค้ า เพื่ อ จะได้ ก าหนดราคาขาย ที่ไม่ผิดพลาด เพราะค่าระวางเรือที่ผู้ขายต้องรับผิดชอบ ขึ้นอยู ่ กับว่า สินค้า คืออะไร มี นา้ หนั ก และปริม าตรเท่าไร ซึ่ ง เป็ น องค์ ป ระกอบที่ บ ริ ษั ท เรื อ จะน ามาคิ ด ค่ า ใช้ จ่ า ยว่ า จะเป็นอย่างไร ขอให้ผู้ส่งออกคานึงทุกครัง้ ในการส่งออก แต่ละครัง้ เพื่อประสิทธิภาพที่ดีในการทาธุ รกิจ 17 icn
eMT Online 1. ขธธนุมัตผบัญชฝราฬการเใรื่ธนจักร 2. ขธแก้โขการขธธนุมัตผบัญชฝราฬการเใรื่ธนจักร 3. ขธธนุมัตผสนั่ ปล่ธฬเใรื่ธนจักรแบบปกตผ * ขธใืนธากร * ขธถธนการใช้ ธนาใารใา้ ประกัน * สัน่ ปล่ธฬนากลับจากส่นซ่ ธม * ใืนธากรจากส่นซ่ ธม 4. ขธธนุญาตฯ่ธนฯันใช้ ธนาใารใา้ ประกันเใรื่ธนจักร 5. ขธธนุญาตขฬาฬระฬะเทลาใา้ ประกันเใรื่ธนจักร 6. ขธธนุญาตส่นใืน – ส่นซ่ ธมเใรื่ธนจักรธธกโปต่านประเทถ 7. ขธธนุมัตผขฬาฬระฬะเทลาต่านๆ ขฬาฬเทลานาเข้าเใรื่ธนจักรปกตผ ขฬาฬเทลานาเข้าเใรื่ธนจักรฬ้ธนหลัน ขฬาฬเทลานาเข้าเใรื่ธนจักรธผเล็กทรธนผกส์และเใรื่ธนใช้ โฮฮ้ า * ทผจัฬและอัฒนา * สผน่ แทดล้ธม 8. ขธธนุญาตตัดบัญชฝเใรื่ธนจักร 9. ขธธนุญาตทาลาฬเใรื่ธนจักร 10. ขธธนุญาตบรผจาใเใรื่ธนจักร 11. ขธธนุญาตชาระภาษฝธากรเใรื่ธนจักร 12. ขธธนุญาตจาหน่าฬเใรื่ธนจักร 13. ขธธนุญาตจานธนเใรื่ธนจักร 14. ขธธนุญาตเช่ าซื้ธ * ลฝสซผ่นเใรื่ธนจักร 15. ขธธนุญาตใช้ เใรื่ธนจักรเอื่ธการธื่น 16. ขธธนุญาตนาเใรื่ธนจักรโปให้บุใใลธื่นใช้ 17. ขธธนุมัตผฬกเลผก (ตามประเภทนาน)
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม
0 2936 1429 ต่อ 314 - 315
e-mail : counterservice@ic.or.th www.ic.or.th
หยุ ด ไม่ได้ทาให้ (ความสาเร็จ) ช้ าลง
เส้าหลิน
เคยสงสัยหรือไม่ว่า “ทาไมโทรศัพท์มือถือจึงต้องชาร์จแบตเตอรี่” “Notebook บางครัง้ ท าไมถึงมีอาการแฮงค์บ่อ ย หรือค้างไปเฉย ๆ” ร่างกายของคนเราก็เช่ นกัน บางครัง้ ร่างกายก็มัก ส่ ง สั ญ ญาณว่ า “ถึ ง เวลาที่ ต้ อ งพั ก ผ่ อ นแล้ ว ” เพราะ ปั จจุ บันสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้วยดิจิทัล หรือที่คุ้นหูกันกับคาว่า “ยุ ค 4.0” ทาให้ทุกอย่างดูเร่งรีบ และเร่ ง ด่ว น หลายท่ านจึ งมุ ม านะท างานอย่ างหนักแบบ ไม่ได้พัก เพื่อให้ตนประสบความสาเร็จที่เร็วขึน้ การ “หยุ ด” ไม่ได้ทาให้เข้าใกล้ความสาเร็จในชีวิต ได้ช้าลง กลับจะกลายเป็นพลังที่สาคัญ เปรียบดัง Power Bank ที่ช่วยชาร์จพลังให้ท่านกลับมามีกาลังกาย กาลังใจ และไอเดียใหม่ท่แี รง (ดี) กว่าเดิม ลองหยุ ด แล้ ว ความสาเร็ จ จะเข้ า ใกล้ ม ากขึ้ น
Stefan Sagmeister ก ร า ฟ ฟิ ก ดี ไ ซ เ น อ ร์ ชาวอเมริกัน ได้พูดบนเวที Technology Entertainment and Design (TED) ระบุ ถึ ง เคล็ ด ลั บ การใช้ ชี วิ ต และการ ท างานอย่ า งมี ค วามสุ ข โดยแบ่ ง ช่ วงชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ ออกเป็น 3 ส่วน คือ 25 ปี แรก ใช้ ไปกับการเรียนรู้ 40 ปี ต่อมา ใช้ ไปกับการทางาน 15 ปี สดุ ท้าย ใช้ ไปกับการพักผ่อนหลังเกษียณ
แต่ ท าไมถึ ง ต้ อ งรอให้ เ กษี ยณก่ อ นจึ ง จะได้ พักผ่อน หากจัด สรรใหม่โ ดยนา 5 ปี ออกจาก 15 ปี ที่ใช้ กับการเกษี ยณมาเฉลี่ยเป็นปี ที่ได้พัก โดยนา 5 ปี มา ไว้กับ 40 ปี ที่ใช้ ในช่ วงการทางาน ก็จะกลายเป็นทา 7 ปี หยุ ด 1 ปี ท าแบบนี้ทั ้ง หมด 5 รอบ จะเท่ า กั บ 40 ปี พอดี ไม่เพียงได้พักผ่อนยาว ๆ หลังจากทางานหนักมา ตลอด 7 ปี Stefan ยืนยันว่า “ผลงานหลังจากการพักผ่อน เป็นเวลา 1 ปี ทาให้คุณภาพงานดีขึ้น เพราะไอเดียเจ๋ง ๆ มาจากช่ วงเวลาที่หยุ ดยาวเกือบทัง้ สิน้ เพราะเมื่อได้ลุก ออกจากโต๊ ะ ท างาน ได้ ท่ อ งเที่ ย วไปยั ง สถานที่ ต่ า ง ๆ สามารถนาวัฒนธรรม จารีตประเพณี วิถีชีวิตที่พบเห็น มารั ง สรรค์ อ อกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ นได้ ค วามนิ ย ม ในนิวยอร์ก” หลายท่านคงคิดว่า “เป็นไปไม่ได้ หยุ ด 1 ปี จะ ทาได้อย่างไร” แต่ ห ากลองเฉลี่ ย ความสุ ข ลงในแต่ ล ะสั ป ดาห์ หรื อ แต่ ล ะวั น ไม่ ว่ า จะเลื อ กพั ก ผ่ อ นด้ ว ยการดู ห นั ง ฟั ง เพลง การนอนหรื อ ท่ อ งเที่ ย ว จะช่ วยให้ ก้ า วสู่ ความสาเร็จได้ง่ายขึน้ เพราะมนุษย์เราต้องทางานซึ่ งเป็น บทบาทหนึ่งที่สังคมหยิบยื่นให้โดยธรรมชาติ ไม่มีใครไม่ ทางาน หรืออาจมีแต่ก็เป็นจานวนไม่มาก ซึ่ งการหยุ ด นอกจากจะได้พักผ่อนร่างกายแล้ว ยังเป็นการเตรียม ความพร้อมอีกครัง้ ด้วยการหยุ ดใน 9 สิ่งนี้ ไปพร้อม ๆ กัน ได้แก่ 19 icn
หยุ ดคาดหวังว่า “ทุกสิ่งต้องสมบู รณ์แบบ” หยุ ด ตอ บ ตก ล งเ มื่ อ คุ ณ ไ ม่ พ ร้ อม ห รื อ ต้องการปฏิเสธ หยุ ดการสนทนากับตนเองในเชิงลบ หรือต่อว่า ตนเองตลอดเวลา หยุ ดละเลยเป้ าหมายในชีวิต คิดแล้วต้องทา ฝั นให้ไกลและต้องไปให้ถึง หยุ ดมุ ่ ง เพี ย งแค่ วั น นี้ แต่ ต้ อ งวางแผนเป็ น ระยะ ๆ
จะเห็ น ได้ ว่ า การท างานถื อ เป็ น เรื่ อ งที่ ส าคั ญ เพราะเมื่อทางานแล้ว แน่นอนว่าต้องมีการเกี่ยวข้องกับ บุ คคลอื่ น เช่ น กลุ่ ม เพื่ อ นร่ ว มงานในการติ ด ต่ อ ประสานงานกัน เพื่อให้งานเกิดประสิทธิภาพ และบรรลุ เป้ า หมาย ซึ่ ง ขึ้น กั บ ทางเลื อ กที่ เ ราเลื อ กปฏิ บั ติ ใ นการ แสดงออกของพฤติกรรม โดยต้องเชื่ อมั่นในคุณค่าของ ตนเอง 4 ประการ คือ
หยุ ดแปลกแยกตนเองออกจากคนรอบข้า ง เพราะสังคมล้วนต้องอยู ่ร่วมกับผู ้อื่น หยุ ดเปรี ย บเที ย บตั ว เองกั บ ผู ้ อื่ น ในเชิ ง ลบ แต่ค้นหามุ มในการนากลับมาพัฒนาตนเอง หยุ ดยึดติดกับอดีต คิดวน คิดซ้ า คิดไม่ตก ซึ่ งไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง หยุ ดทนกับคนที่ไม่สุจริต หรือหมู ่คนที่คิดลบ
มาถึ ง จุ ด นี้ ก็ ขึ้ น อยู ่ ว่ า ท่ า นจะเลื อ กประสบ ความสาเร็จด้วยการ ”หยุ ด” เพื่อเติมพลังกายและพลัง ใจให้เข้มแข็ง บนพืน้ ฐานการเห็นคุณค่าของตนเอง หรือ นาความสาเร็จที่เร่งสร้างมาแลกกับร่างกายที่อ่อนแรง เหมือนโทรศัพท์มือถือที่แบตหมด
การรู้จักตนเอง (Self-Awareness) ตัดสินใจเลือก ที่จะให้สิ่งใดมีอิทธิพลต่อตัวเรา จินตนาการ (Imagination) สามารถคาดการณ์ ถึงสิ่งที่อาจจะเกิดขึน้ ในอนาคตได้ มีวิจารณญาณ (Conscious) ตระหนักรู้อยู ่ในใจว่า สิ่งใดถูกหรือผิด มีวินัยควบคุมพฤติกรรมของตนเองได้ อีกทัง้ มีความคิดและการกระทาสอดคล้องกัน ความมุ ่งมั่นที่เป็นอิสระ (Independent Will) เลือกกระทาสิ่งใดตามที่ตนเองตระหนัก (Self-Awareness) โดยไม่ตกอยู ่ภายใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมรอบข้าง
อ้างอิงจาก : หนังสือ “แอ่งนา้ กลางทะเลทราย” นิว้ กลม พิมพ์ครัง้ ที่ 4 ภาพจาก: https://today.line.me/th/pc/article/%
อีกหนึ่งช่ องทางชาระค่าบริการผ่านระบบ
QR Code
**สาหรั บ การชาระเงิ น สดที่ ส มาคมเท่ า นั ้น ** สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น ได้ เ พิ่ ม ช่ องทางการช าระค่ า บริ ก าร ผ่านระบบ QR Code โดยสามารถชาระผ่าน Mobile Banking ได้ ทุ ก ธนาคาร สะดวก รวดเร็ ว ปลอดภั ย ไม่ มี ย อดขั ้ น ต่ า ในการชาระ
เปิ ดให้ บ ริ ก ารแล้ ว วั น นี้ ณ เคาน์ เ ตอร์ ชาระค่ า บริ ก าร icn
20
มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
ใณะกรรมการสมาใมสฌมสรนักลนทยนอผฯร ้ญช้ ผรพการ ญนส่ทนภรมพภาใ และร่ทมการฝระชย มใณะกรรมการสัญปร (ขธนแก่น – ธย ดรธานฟ – หนธนใาฬ) <<เมม่ธทันทฟ่ 22-24 มพถยนาฬน 2561 ใณะกรรมการ สมาใมสฌมสรนั ก ลนทย น น าฌดฬ ใย ณ ปั ก รมณฑ์ ฯาสยกทนพช นาฬกสมาใมสฌมสรนักลนทยน เดพนทาน โฝอผฯร ้ ญ ช้ ผ รพ ก ารญนส่ ท นภร มพ ภ าใ และร่ ท มฝระชย ม ใ ณ ะ ก ร ร ม ก า ร สั ญ ป ร ญ น เ ข ต อม้ น ทฟ่ ภ า ใ ตะทันธธกเฉฟฬนเหนมธ ฌดฬญนทั น แรก ใณะกรรมการสมาใมอผฝะ และแลกเฝลฟ่ ฬ นใทามใพ ด เหฎ น กั ผ ฯร ้ ญ ช้ ผรพ ก ารญน ปั น หทั ด ขธนแก่ น โด้ แ ก่ ผรพ ษั ท อานาฌซนพ ใ แมนรแฮใเปธรพน่ (ฝระเทถโทฬ) ปากัด, ผรพษัท มธน เดลฟช (ฝระเทถโทฬ) ปากัด, ผรพษัท แธลซพ ฌก้ เธเชฟ ฬ แฝซพ ฮพ ก ป ากั ด และ ผรพ ษั ท ช.ททฟ เทธร์ ฌ มเทใ ปากัด ณ หธการใ้า ป.ขธนแก่น ปากนัน้ เดพนทาน สร่ปันหทัดธย ดรธานฟ เอม่ธร่ทมฝระชย มใณะกรรมการ สั ญ ปร ใรั ้ น ทฟ่ 3*2561 ณ ฌรนแรม เซ็ น ทารา ธย ดรธานฟ ทั น ทฟ่ 2 ใณะกรรมการสมาใมเข้ า เฬฟ่ ฬ มชม กพปการขธน ผรพษัท สโตฌรเมตพก (ฝระเทถโทฬ) ปากัด และ ผรพ ษั ท บธล์ ม แมชชฟ น เนธรฟ่ เธเชฟ ฬ ป ากั ด ปากนั ้ น โด้ ร่ ท มหารม ธ กั ผ ฯร ้ ฝ ระกธผการญนอม้ น ทฟ่ ป.หนธนใาฬ เอม่ ธ เสรพ ม สร้ านสั ม อั น ธภาอและ แลกเฝลฟ่ฬนใทามใพดเหฎนระหท่านกัน ทันทฟ่ 3 ใณะกรรมการสมาใมร่ทมฝระชย ม สรย ฝแนททานการกาหนดทพถทานและกลฬย ทธ์ขธน ธนใ์กร เอม่ธเฝ็นแนทนฌฬผาฬญนการดาเนพนการ นานขธนสมาใม และเดพ น ทานเฬฟ่ ฬ มชมอม้ น ทฟ่ เขตเถรษฐกพ ป อพ เ ถษ ปั น หทั ด หนธนใาฬ เอม่ ธ ถภ ก ษาดร น านการผรพ ห ารปั ด การเขตเถรษฐกพ ป อพเถษ เอม่ธนามาฝรัผกลฬย ทธ์ก ารผรพหารนาน ผรพการญห้เหมาะสมกัผฯร ้ฝระกธผการต่ธโฝ
2 1 icn
มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
สมาใมสฌมสรนั ก ลนทย น ปั ด สั ม มนา
“ระผผนานตั ด ผั ญ ชฟ ทั ต ถย ดพ ผ แผผโร้ เ ธกสาร” สาหรัผฯร ้ญช้ ผรพการระผผนานทัตถยดพผ กรย นเทอฯ
<<เมม่ธทันทฟ่ 8 สพนหาใม 2561 สมาใมสฌมสรนักลนทยนปัดสัมมนา เรม่ ธ น “ระผผนานตั ด ผั ญ ชฟ ทั ต ถย ดพ ผ แผผโร้ เ ธกสาร” ส าหรั ผ ฯร ้ญช้ ผรพการระผผนานทัตถยดพผ กรย นเทอฯ ณ ฌรนแรมมพราเใพล แกรนด์ ใธนเทนชัน ฌดฬปัดขภ้นญนรธผเช้ าและผ่าฬ เอม่ธฝระชาสัมอันธ์และ ท าใทามเข้ า ญปกั ผ ฯร ้ โ ด้ รั ผ ส่ น เสรพ ม การลนทย น เกฟ่ ฬ ทกั ผ ระผผ นานตั ด ผั ญ ชฟ ทั ต ถย ดพ ผ แผผโร้ เ ธกสาร ฌดฬโด้ รั ผ เกฟ ฬ รตพ ป าก ดร.ผนกช ธนยฌรปน์ รธนเลขาธพการใณะกรรมการส่นเสรพมการ ลนทย น กล่ า ทเฝพ ดนานสั ม มนา ธฟ ก ทั ้ น ฬั น โด้ รั ผ เกฟ ฬ รตพ ป าก ใยณอลกฤษณ์ ททฟสยนทร, ใยณภาใภรมพ ผร รณผย ณฬ์ และใยณขทัญชัฬ ทรกัลฬากยล นักทพชาการส่นเสรพมการลนทยน ชานาญการอพเถษ ร่ทมเฝ็นทพทฬากรญห้ใทามรร้และทาใทามเข้าญปเกฟ่ฬทกัผการอัฒนา และระผผการปัดทาข้ธมร ลขธนการตัดผัญชฟทัตถยดพผแผผโร้เธกสาร อร้ธมกันนฟ้ฬัน โด้รัผเกฟฬรตพปาก ใยณทฟรอนษ์ ถพ รพทัน ฯร ้ปัดการ สมาใมสฌมสรนักลนทยน ร่ทมดาเนพนราฬการธฟกด้ทฬ นธกปากนัน้ ฬั น เฝพ ดฌธกาสญห้ ฯร้ เ ข้ า ร่ ท มสั ม มนาโด้ ซัก ถามถภ น ฝระเดฎ น ฝั ญหา หรมธข้ธสนสัฬต่าน ๆ ญนช่ ทนท้ าฬ ฌดฬมฟ ฯร้โด้รั ผส่ นเสรพมการลนทย น เข้าร่ทมสัมมนาและแสดนใทามใพดเหฎนเฝ็นปานทนมาก
icn
22
มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
การธผรมเชพ น ฝฏพ ผั ตพ ก าร (Workshop) “การฬม่นเรม่ธนขธธนยมัตพตัดผัญชฟ ทัตถยดพผแผผโร้เธกสาร” <<สมาใมสฌมสรนั ก ลนทย น โด้ ปั ด ธผรมเชพ น ฝฏพ ผั ตพ ก าร (Workshop) ญนหลั ก สร ต ร “การฬม่ น เรม่ ธ นขธนธนย มั ตพ ตัดผัญชฟทัตถยดพผแผผโร้เธกสาร” ญห้กัผฯร ้ญช้ ผรพการเอม่ธญห้ สา ม า ร ถ ด า เนพ นน า น ต า ม ขั ้ น ต ธน ข ธ น ร ะ ผผน า น ตั ด ผั ญ ชฟ ทั ต ถย ดพ ผ แผผโร้ เ ธกสารโด้ ธ ฬ่ า นถร ก ต้ ธ น นธกปากนัน้ ฬันเฝพ ดรัผข้ธเสนธแนะและใทามใพดเหฎนปาก ฯร ้ ญ ช้ ผ รพ ก าร ซภ่ น เฝ็ น ฯร ้ ญ ช้ น านระผผฌดฬตรน เอม่ ธ น ามา ฝรัผฝรย นและอัฒนาญห้มฟใทามเหมาะสม สธดใล้ธนกัผ การท านานขธนฯร ้ ญ ช้ ผ รพ ก ารโด้ ธ ฬ่ า นถร ก ต้ ธ นและเฝ็ น ฝระฌฬชน์ สร น สย ด ฌดฬปะมฟ ก ารธผรม ตั ้ น แต่ ทั น ทฟ่ 14 สพนหาใม – 7 กันฬาฬน 2561
สมาใมสฌมสรนักลนทยน ขธเชพญเข้าร่ทมสัมมนา
เทในพใการปัดระผผ
ผรพหารใลันสพนใ้า
ทันถยกร์ทฟ่ 21 กันฬาฬน 2561 ฌรนแรมธมารฟ ดธนเมมธน กรย นเทอฯ ลนทะเผฟ ฬ นธธนโลน์ โด้ ท าน http://icis.ic.or.th
2 3 icn
การราฬนานใทามใฟบหน้าฌใรนการ ช่ ทนกลานปฝ
มฬภ รฝฬ์ นามทนษ์ mayureen@ic.or.th
Q : เนฟ่ธนจากบรผษัทมฝเนฟ่ธนโขต้ธนราฬนานใทามใฟบหน้าฌใรนการ ทภกเดฟธนกภมภาอันธ์ และ กรกฎาใม แต่เมฟ่ธลฎธใธผนเข้าระบบ เอฟ่ธจะฬฟ่นราฬนานรธบเดฟธน ก.ใ. 61 อบแต่ช่ธนทฝ่เใฬใฝฬ์ ข้ธมม ลโท้แล้ทตัน้ แต่ ก.อ. 61 แต่โม่มฝช่ธนญห้ใฝฬ์ข้ธมม ลเอผม่ เตผม บรผษัทต้ธนดาเนผนการธฬ่านโร A : BOI โด้เปลฝ่ฬนทผธฝการราฬนานใทามใฟบหน้าฌใรนการ ฌดฬโม่ต้ธนกรธกมม ลใ่าการลนทภนญนช่ ทน ใรพ่นปฝ แรก (ม.ใ.-มผ.ฬ.) แต่ญห้รทมโปกรธกข้ธมม ลการลนทภนขธนทัน้ ปฝ ญนการราฬนานใทามใฟบหน้า ญนเดฟธน ก.อ. ขธนปฝ ถัดโป ดันนัน้ การราฬนานใทามใฟบหน้าญนเดฟธน ก.ใ. หากบรผษัทมฝการเปลฝ่ฬนแปลนทันซฟ้ธทฝ่ดผน* ฌรนนาน*เใรฟ่ธนจักร หรฟธทันทฝ่มฝราฬโด้ใรัน้ แรก กฎญห้ใฝฬ์แก้โข แต่หากโม่มฝการแก้โขทันทฝ่ข้านต้น กฎสามารถกดบันทพกข้ธมม ลเดผม และฬฟ่นโด้เลฬ ตผดตาม FAQ 108 ใาถามกับนานส่นแสรผมการลนทภน โด้ทาน www.faq108.co.th
การทานานโม่ญช่ การต่ธสมก้ ับใม่แข่น
ทานการใ้า แต่จะเป็นการแข่นขัน และอัฒนาสผนใ้าขธนบรผษัทตนเธน ญห้ดฝขนพ้ มฝใณ ภ ภาอมากขพน้ ต่านหาก
มฬภ รฝฬ์ นามทนษ์ mayureen@ic.or.th
ใภณกนกอรรณ เหตระกมล ประธานกรรมการ บรผษัท ฬาใมลท์ (ประเทถโทฬ) จากัด ทฝ่มา>> https://positioningmag.com/9564 ภาอจาก>> https://mgronline.com/live/detail/9520000037914
สมัใรสมาชผก จดหมาฬข่าท ICN ใลผก
www.ic.or.th ฌดฬโม่เสฝฬใ่าญช้จ่าฬ สธบถามข้ธมม ลเอผ่มเตผม ฌทร 0 2936 1429 ต่ธ 211 ฌทรสาร 0 2936 1529
icn 24
สมาใมสฌมสรนั ก ลนทภ น บรผ ก ารจั ด หลั ก สม ต ร
IN-HOUSE TRAINING ประหฬัดใ่าญช้ จ่าฬ ดฝโซน์เนฟธ้ หาเฉอาะธนใ์กร แนะนาหลักสมตรด้านการส่นเสรผมการลนทภน ชฟ่ธหลักสมตร
จานทน (ทัน)
ใ่าธรรมเนฝฬมการจัดฝพ กธบรม
25 ท่าน
35 ท่าน
1 ข้ธใทรรม้เกฝ่ฬทกับการส่นเสรผมการลนทภน
1 ทัน
32,000
35,000
2 ทผธฝการขธเปผ ดดาเนผนการ สาหรับกผจการทฝ่โด้รับส่นเสรผมการลนทภน
1 ทัน
32,000
35,000
3 ทผธฝปฏผบัตผเกฝ่ฬทกับเใรฟ่ธนจักรและธภ ปกรณ์ สาหรับกผจการทฝ่โด้รับส่นเสรผมการลนทภน
1 ทัน
32,000
35,000
4 ทผธฝปฏผบัตผเกฝ่ฬทกับส่ทนสมญเสฝฬทัตถภดผบ สาหรับกผจการทฝ่โด้รับส่นเสรผมการลนทภน
1/2 ทัน
23,000
25,000
5 ทผธฝปฏผบัตผเกฝ่ฬทกับทัตถภดผบและทัสดภจาเป็น สาหรับกผจการทฝ่โด้รับส่นเสรผมการลนทภน
1 ทัน
32,000
35,000
หมาฬเหตภ : • ธัตรารทมใ่าทผทฬากร เธกสารการฝพ กธบรม ใ่าเดผนทาน และใ่าดาเนผนการ • โม่รทมภาษฝ มมลใ่าเอผม่ 7% และใ่าทฝ่อัก (ถ้ามฝ) • ธัตราใ่าธรรมเนฝฬมทฝ่ระบภ ญนเธกสาร เป็นธัตราประมาณการ ซพ่ นธาจมฝการเปลฝ่ฬนแปลนตามใทามเหมาะสม ขพ้นธฬม ่กับ รมปแบบการฝพ กธบรม จานทนผม ้เข้าธบรม ประเภททันทฝ่จัดนาน จานทนทัน อฟน้ ทฝ่จัดนาน ราฬละเธฝฬดเอผ่มเตผมขธนเนฟธ้ หา และธฟ่น ๆ • สมาใมขธสนทนสผทธผห้ามบันทพกภาอและ*หรฟธเสฝฬนญนการธบรมทภกหลักสมตรทภกกรณฝ • ใ่าญช้ จ่าฬญนการฝพ กธบรมสามารถหักลดหฬ่ธนภาษฝ โด้ 200%
สธบถามราฬละเธฝฬดเอผม่ เตผม 0 2936 1429 ต่ธ 207 ฌทรสาร 0 2936 1441-2
website : www.ic.or.th หรฟธ
e-mail : is_inhouse@ic.or.th
Line ID : @investorclub
แนะนาหลักสมตรด้านถภลกากร และธฟน่ ๆ ชฟ่ธหลักสมตร
จานทน (ทัน)
ใ่าธรรมเนฝฬมการจัดฝพ กธบรม 25 ท่าน
35 ท่าน
1
เกณฑ์การใานทณกาโรสภทธผทานบัญชฝ VS ภาษฝธากร อร้ธมการจัดทานบการเนผนสาหรับ กผจการทฝ่โด้รับการส่นเสรผมการลนทภน
1
40,000
43,000
2
กฎหมาฬถภลกากรและทผธฝการจัดเกฎบภาษฝธากร
1
40,000
43,000
3
สผทธผประฌฬชน์ถภลกากรภาฬญต้ AEC
1
40,000
43,000
4
สผทธผประฌฬชน์ทานภาษฝธากรด้านเขตปลธด ธากร (Free Zone) และเขตประกธบการเสรฝ (I-EA-T Free Zone)
1
40,000
43,000
5
กฎท่าด้ทฬถผน่ กาเนผดสผนใ้า (Rules of Origin)
1
40,000
43,000
6
อผธฝการทานถภลกากรระบบญหม่และสผทธผประฌฬชน์ ทานภาษฝธากรระบบธผเลฎกทรธนผกส์
2
78,000
85,000
7
การตรทจสธบหลันการตรทจปล่ธฬ ใทามผผด และการดาเนผนใดฝถภลกากร (Post Review Post Audit Investigation Audit)
1
47,000
50,000
8
การจัดเตรฝฬมเธกสารเอฟ่ธการใ้า ระหท่านประเทถ และ Incoterm2010
1
45,000
48,000
9
ระบบการทานแผนจัดซฟ้ธ
1
51,000
54,000
10
การบรผหารการจัดซฟ้ธ จัดเกฎบ และจัดส่น
1
45,000
48,000
11
เทในผใการจัดระบบบรผหารใลันสผนใ้า
1
45,000
48,000
และธฝกหลากหลาฬหลักสมตร เอฟธ่ อัฒนาธนใ์กร และบภ ใลากร • • • • • • • • •
หลักสมตรด้านบรผหารการผลผต ธาทผ 5ส TPM TQM Kaizen หลักสมตรด้านบัญชฝ และภาษฝ หลักสมตรด้านการนาเข้า-ส่นธธก หลั ก สม ต รด้ า นกฎหมาฬ ธาทผ กฎหมาฬเอฟ่ ธ การใ้ า ระหท่ า น ประเทถ หลักสมตรด้านฌลจผสตผกส์และซัออลาฬเชน หลักสมตรด้านบรผหารจัดการธนใ์กร (Management) หลักสมตรด้านการบรผหารทรัอฬากรบภ ใใล (Manpower) หลักสมตรด้านการตลาด (Marketing) ฯลฯ
โม่ อ ลาด !! ทภ ก ข่ า วสารสาใั ญ ส่ ง ตร งถพ งปลาฬนผ้ ว ใภ ณ
@investorclub อผมอ์ @ หน้าชฟ่อ ID ด้วฬนะใะ
Add friends
IC จะส่งข่าวสารอัอเดท โปถพงใภณอฝกมากมาฬ
ตผ ด ตามกั น ต่ อ โปนะใะ ทฝ่ สาใั ญ . .. อฬ่ า ลฟ ม บอกต่ อ แ ล ะ แ น ะ นา เ อฟ่ อ น เ ข้ า ม า ด้ ว ฬ กั น น ะ ! !
ตารางสัมมนาประจ�ำเดือน กันยายน - ตุลาคม 2561 วันสัมมนา
วิทยากร
อัตราค่าสัมมนา
ชื่อหลักสูตร
สถานที่จัด
การใช้สทิ ธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลส�ำหรับกิจการที่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 3/2561
โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)
วิทยากรจาก BOI
1,605
1,926
วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน
5,350
6,420
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)
วิทยากรจาก BOI และสมาคมสโมสรนักลงทุน
3,210
3,745
ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (ถนนสุขุมวิท ซอย 6)
วิทยากรจาก BOI คุณเมธี แสงมณี
4,280
5,350
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
3,210
3,745
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
วิทยากรจาก BOI
2,675
3,745
คุณวิชัย มากวัฒนสุข
2,996
3,852
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
2,996
3,852
วิทยากรจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
วิทยากรจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
คุณเมธี แสงมณี
2,996
3,852
คุณคัตลิยา กุญชร ณ อยุธยา
2,996
3,852
วิทยากรจากกรมศุลกากร
3,210
4,280
คุณเมธี แสงมณี
3,424
4,280
คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี
3,210
4,280
คุณสมาน จาวโกนันท์
3,210
4,280
วิทยากรจากกรมศุลกากร
2,996
3,852
วิทยากรจากกรมศุลกากร
2,996
3,852
อาจารย์ประสงค์ ทองสุขประสงค์
4,066
5,136
คุณเมธี แสงมณี
2,996
3,852
คุณวัชระ ปิยะพงษ์
3,210
4,280
คุณคัตลิยา กุญชร ณ อยุธยา
2,996
3,852
คุณก�ำพล กิจชระภูมิ
4,280
5,136
คุณพิชาญ พิทักษ์ศักดิ์เสรี
3,210
4,280
1,605
2,675
1,605
2,675
1,070
1,070
1,605
2,675
สมาชิก
บุคคลทั่วไป
หลักสูตรส่งเสริมการลงทุน 2 ก.ย. 2561 (09.00-12.00 น.) 7-9 ก.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 15 ก.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 15 ก.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 22 ก.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 29-30 ก.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 6 ต.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 6 ต.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 27 ต.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 27 ต.ค. 2561 (09.00-17.00 น.)
วิธีปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 5/2561 (รับวุฒิบัตร) วิธีขอเปิดด�ำเนินการส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 4/2561 วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับวัตถุดบิ และวัสดุจำ� เป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม การลงทุนประเภทกิจการ IPO (International Procurement Office) และกิจการ ITC (International Trading Centers) วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับเครือ่ งจักรและอุปกรณ์สำ� หรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 7/2561 ข้อพึงระวังในการจัดท�ำบัญชี การเตรียมตัวเพื่อรองรับการตรวจสอบ และแนวทางปฏิบัติส�ำหรับผู้จัดท�ำบัญชีของกิจการที่ ได้รับส่งเสริมการ ลงทุน ครั้งที่ 4/2561 (CPD & CPA) หลักเกณฑ์และปัญหาการใช้สิทธิและประโยชน์ที่ได้รับตาม พ.ร.บ.ส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 1/2561 วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับวัตถุดบิ และวัสดุจำ� เป็นส�ำหรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 8/2561 ข้อควรรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน ครั้งที่ 5/2561 วิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับเครือ่ งจักรและอุปกรณ์สำ� หรับกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม การลงทุน ครั้งที่ 8/2561
โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพ ฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)
หลักสูตรการบริหารจัดการ 8 ก.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 11 ก.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 15 ก.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 16 ก.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 19 ก.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 21 ก.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 22 ก.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 26 ก.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 27 ก.ย. 2561 (09.00-16.00 น.) 29 ก.ย. 2561 (09.00-17.00 น.) 4 ต.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 6 ต.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 10 ต.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 11 ต.ค. 2561 (09.00-16.30 น.) 18 ต.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 25 ต.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 29 ต.ค. 2561 (09.00-16.00 น.) 31 ต.ค. 2561 (09.00-16.00 น.)
การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit) การอุทธรณ์ การประเมินอากร ความผิด และโทษตามเกณท์ระงับคดีศุลกากร การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการค้าระหว่างประเทศ และ INCOTERMS®2010 การใช้หนังสือรับรองถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Form D) อาเซียน เพื่อให้ ได้รับ สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร การใช้หนังสือรับรองถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Form E) อาเซียน-จีน เพื่อให้ ได้รับ สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร ข้อผิดพลาดทางด้านบัญชีของกิจการที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (CPD & CPA)
กลยุทธ์การท�ำสัญญาการค้าระหว่างประเทศ เงื่อนไขการขนส่งและ การส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศ (CONTRACT & INCOTERMS®2010)
โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ (ถนนสุขุมวิท 6) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต)
วิ ธี เ ตรี ย มข้ อ มู ล งานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ส� ำ หรั บ เครื่ อ งจั ก รด้ ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (eMT Online) ครั้งที่ 7/2561 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (RMTS) ครั้งที่ 8/2561 วิธีการสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ IC Online System ครั้งที่ 8/2561 วิ ธี เ ตรี ย มข้ อ มู ล งานสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ส� ำ หรั บ เครื่ อ งจั ก รด้ ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (eMT online) ครั้งที่ 8/2561
ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต) ห้องอบรม ชั้น 12 สมาคมสโมสรนักลงทุน (ถนนวิภาวดีรังสิต)
เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ 2560 และวิธีจัดเก็บค่าภาษีอากร ร่าง พ.ร.บ. “Transfer Pricing” การเตรียมความพร้อมและการป้องกัน กรณีถูกตรวจสอบ (CPD & CPA) เจาะลึกการใช้หนังสือค�้ำประกันระหว่างประเทศ (LETTER OF GUARANTEE STANDBY L/C) เพื่อการน�ำเข้า - ส่งออก ภาษีที่ผู้ประกอบการควรรู้ (CPD & CPA) สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความตกลงระหว่างประเทศภายใต้ JTEPA สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรกับเขตการค้าเสรี FTA การสื่อสารประสานงานเพื่อการสร้างทีมงานอย่างมีประสิทธิภาพ เกณฑ์การค�ำนวณก�ำไรสุทธิทางบัญชี VS ภาษีอากร พร้อมการจัดท�ำ งบการเงินส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (CPD & CPA) เทคนิคการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เทคนิคการเช็คสต็อกอย่างมีประสิทธิภาพ THE END OF HUMAN ERROR
หลักสูตรการใช้งานระบบ RMTS และ eMT Online 23 ก.ย. 2561 (09.00 - 17.00 น.) 7 ต.ค. 2561 (09.00 - 17.00 น.) 8 ต.ค. 2561 (09.00 - 16.00 น.) 28 ต.ค. 2561 (09.00 - 17.00 น.)
วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน วิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน
หมายเหตุ อัตราค่าสัมมนานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สนใจส�ำรองที่นั่งเข้าร่วมสัมมนาได้ที่ คุณวิลาสินี คุณกาญจนา หรือ คุณศศินทร์ชล แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205, 206, 210 โทรสาร 0-2936-1441-2 E-mail : is-investor@ic.or.th หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th