ก้าวไปอีกขั้นสาหรับการพัฒนางานบริการของสมาคมที่จะสนองตอบการใช้งานบริการของลูกค้าทุก ท่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยบริการงานสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ RMTS-2011 ซึ่ง สมาคมเตรียมความพร้อมด้วยกิจกรรมสัมมนา “การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ระบบ RMTS-2011” และการอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับ “ขั้นตอนและการเตรียมข้อมูลสั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วย ระบบ RMTS-2011” สาหรับบริษัทที่ได้รับจดหมายเชิญพร้อมรหัสการลงทะเบียนยืนยัน โดยจะจัดขึ้น ในเดือนมิถุนายน 2556 นี้ สาหรับการดาเนินงานต่อไป สมาคมจะทยอยจัดอบรม Workshop ให้กับผู้ใช้บริการจนครบทุก บริษัท ควบคู่กับการเปิดให้บริการระบบ RMTS-2011 อย่างเต็มรูปแบบ โดยในช่วงต้นของการเปิด บริการสมาคมยินดีรับฟังข้อปัญหาและข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเข้าใช้งาน เพื่อนามาปรับ พัฒนาโปรแกรมส่วนงานต่างๆ ให้สามารถทางานรองรับผู้ใช้งานได้อย่างมีศักยภาพ นอกจากนั้น การพัฒนาด้านระบบงานบริการของสมาคมยังสอดคล้องกับการพัฒนางานบริการด้าน ฝึกอบรมและสัมมนา โดยสมาคมได้เตรียมหลักสูตรเฉพาะสาหรับให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ งานระบบ RMTS-2011 ที่ถูกต้องและชัดเจน ส่งผลสู่ความสาเร็จของบริษัทได้เป็นอย่างดี การนาเสนอข่าวสารของ ICN และเว็บไซต์ของสมาคม เป็นช่องทางหนึ่งที่จะเอื้อประโยชน์ด้าน ข้อมูลงานบริการ ทั้งระบบงานที่สมาคมให้บริการอยู่และระบบงานใหม่ให้กับผู้ใช้บริการได้รับทราบ ข่าวสาร กิจกรรมและประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับงานบริการของสมาคมและบีโอไอ ได้อย่างทัน เหตุการณ์และครบถ้วน อย่างไรก็ตาม ทุกงานบริการของสมาคมจะอานวยความสะดวกต่อผู้ใช้บริการและสร้างความพึง พอใจได้มากน้อยเพียงใดนั้น ทุกท่านสามารถแสดงความคิดเห็น ติชมหรือร้องเรียนงานให้บริการ ได้ที่ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 103 หรือ E-mail: customer_care@ic.or.th หรือแสดงความคิดเห็น ด้านการเผยแพร่ข่าวสาร ได้ที่ icn@ic.or.th สมาคมยินดีรับทุกข้อเสนอแนะเพื่อนามาปรับปรุงพัฒนา งานบริการต่อไป
บรรณาธิการ icn@ic.or.th
ประเทศไทยนับเป็นประเทศที่น่าสนใจอันดับต้นๆ ของโลก ในการเป็นแหล่ง แสวงหาชิ้นส่วนอุตสาหกรรมจากนักลงทุนต่างชาติ เนื่องจากความได้เปรียบใน ด้านต้นทุนและสถานทีตั้งโดยมีคุณภาพการผลิตชิ้นงานที่ดี และนักลงทุนจานวน มาก โดยเฉพาะญี่ปุ่นใช้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตชิ้นส่วนและกระจายต่อไป ในประเทศอื่นๆ ในอาเซียน งานซับคอน ไทยแลนด์ 2013 ( Subcon Thailand 2013) ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 พฤษภาคม 2556 จึงเป็นเวทีสาคัญ อย่างยิ่งในการพัฒนาและแสดงศักยภาพอุตสาหกรรมสนับสนุน ( Supporting Industries)และการรับช่วงผลิต ( Subcontracting) ที่ เข้มแข็งของประเทศไทย รวมทั้งการส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตชิ้นส่วนที่สาคัญของภูมิภาคอาเซียน และการสร้าง เครือข่ายการเชื่อมโยงอุตสาหกรรมที่สมบูรณ์ ด้วยภาพลักษณ์อันโดดเด่นของงานซับคอน ไทยแลนด์ที่ผ่านมาจนปัจจุบันจัดขึ้นเป็นปีที่ 7 ซึ่งมุ่งเน้นการแสดงอุตสาหกรรมรับช่วงการผลิตเพื่อการจัดซื้อชิ้นส่วนอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน เรียกได้ว่าเป็นงาน แสดงระดับนานาชาติอย่างแท้จริง เป็นโอกาสสาหรับผู้ผลิตชิ้นส่วนอุตสาหกรรมกว่า 300 รายทั้งในและต่างประเทศในอุตสาหกรรม ต่างๆ อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องจักรกล เป็นต้น ได้พบกับบริษัทผู้ซื้อกว่า 300 บริษัท จาก 15 ประเทศทั่วโลก เกิดคู่เจรจาธุรกิจกว่า 4,000 คู่ และมีมูลค่าการเชื่อมโยงกว่า 7,000 ล้านบาท รวมทั้งเกิดการเชื่อมโยงระหว่าง สถาบันการศึกษากับภาคอุตสาหกรรม (R&D Matching) จานวนกว่า 50 คู่ สาหรับกิจกรรมที่น่าสนใจและเกิดประโยชน์กับทั้งผู้เข้าร่วมออกงานและผู้เข้าชมงานที่เกิดขึ้นภายในงานมีมากมาย ประกอบด้วย 1. Business Matchmaking Program กิจกรรมการจับคู่ธุรกิจและเชื่อมโยงอุตสาหกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้ซื้อและผู้ผลิต ชิ้นส่วน ได้นัดหมายและเจรจาธุรกิจแบบเข้มข้นล่วงหน้าผ่านโปแกรมนัดหมายเจรจาธุรกิจ ( Pre-Arrange One-on-One Meeting) โดยเฉพาะผู้ผลิตชิ้นส่วน SMEs ไทย ที่จะมีช่องทางแสวงหาพันธมิตรทางการค้า ( Business Partners) สร้างความ ร่วมมือทางธุรกิจและขยายช่องทางการตลาดใหม่ที่มีศักยภาพ 2. Buyers’ Village การจัดคูหาสาหรับการจัดแสดงชิ้นส่วนอุตสาหกรรมที่ผู้ซื้อต้องการจัดซื้อและจัดหาผู้รับช่วงผลิต โดย บริษัทผู้ซื้อชั้นนาหมุนเวียนเข้าร่วม 10 บริษัทต่อวัน รวมทั้งหน่วยงาน IPOs (International Procurement Offices) ทั้งในและ ต่างประเทศ 3. Buyers’ Presentation เวทีการนาเสนอข้อมูลความต้องการชิ้นส่วนและความร่วมมือทางธุรกิจของบริษัทผู้ซื้อ ซึ่ง ผู้ประกอบการจะได้รับทราบรายละเอียดของชิ้นส่วนที่มีความต้องการจัดซื้อ นโยบายการจัดซื้อ ขั้นตอนและหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาคัดเลือกผู้ผลิตของบริษัทผู้ซื้อแต่ละราย ซึ่งจะเป็นโอกาสให้ผู้ผลิตชิ้นส่วนได้รับฟังเพื่อนาไปพัฒนาศักยภาพของ ตนเองให้ตรงตามความต้องการของผู้ซื้อ 4. Seminars กิจกรรมสัมมนาเชิงวิชาการที่หลากหลายและน่าสนใจ เช่น การวิเคราะห์โอกาสในการลงทุน กลยุทธ์การ ประกอบการธุรกิจ การบริหารจัดการ การพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ เป็นต้น รวมถึง หัวข้อสัมมนา “ครบเครื่องเรื่อง สิทธิประโยชน์การนาเข้าเครื่องจักรกับบีโอไอ” ซึ่งสมาคมสโมสรนักลงทุนได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการจัดสัมมนาพิเศษ สาหรับสมาชิกสมาคมที่เข้าร่วมงาน ในวันที่ 17 พฤษภาคม 2556 โดยได้รับการตอบรับจากสมาชิกเข้าร่วมสัมมนาอย่างคับ คั่ง นับเป็นการเอื้ออานวยความสะดวกและเพิ่มช่องทางการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจด้านงานบริการของสมาคมสู่ ผู้ใช้บริการ
และกิจกรรมที่ขาดไม่ได้สาหรับงานซับคอน ไทยแลนด์ 2013 ครั้งนี้ ได้แก่ โครงการความร่วมมือภาคการศึกษากับภาคธุรกิจ ( A2B) / R&D Matching ร่วมกันจัดกิจกรรมเชื่อมโยงสถาบันการศึกษาและหน่วยงานด้าน การวิจัยเข้ากับภาคอุตสาหกรรมการผลิต โดยการจับคู่ทาวิจัยและพัฒนา ระหว่างผู้ผลิตชิ้นส่วนกับหน่วยงานวิจัยและ สถาบันการศึกษา เพื่อส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพการผลิตให้ตรงกับความต้องการของตลาด เพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน และนาผลวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ไปใช้ ประโยชน์สู่เชิงพาณิชย์ได้จริง
งานซับคอน ไทยแลนด์ 2013 นอกจากจะเป็นเวทีในการซื้อขายชิ้นส่วนอุตสาหกรรมแล้ว ยังเป็นงานนิทรรศการกิจกรรมที่ตอก ย้าการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ประเทศไทย และสร้างชื่อเสียงในฐานะงานแสดงที่มีศักยภาพสาหรับผู้ซื้อชิ้นส่วนอุตสาหกรรม และผู้ผลิตชิ้นส่วนที่มีประสิทธิภาพสู่สายตาเวทีธุรกิจโลก โดยมีสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ในฐานะ หน่วยงานภาครัฐที่ช่วยจัดหาผู้ผลิตชิ้นส่วนไทยให้แก่นักลงทุนต่างชาติ ทาให้นักลงทุนมั่นใจในการลงทุนและได้รับความสะดวก รวดเร็วในการบริการ จนเป็นที่ประทับใจของนักลงทุนต่างชาติที่เข้าร่วมงานอย่างต่อเนื่อง
ผู้ประกอบการสามารถติดตามความคืบหน้าและภาพกิจกรรมงานซับคอน ไทยแลนด์ 2013 หรือติดตามรายละเอียดของงานครั้งต่อไป ได้ทาง http://www.subconthailand.com/ , หน่วยพัฒนาการเชื่อมโยงอุตสาหกรรม (BUILD) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน โทรศัพท์ 02 537 8733, 02 936 2567 E-mail: build@boi.go.th, sirin@boi.go.th http://www.boi.go.th
ข้อมูลจาก : www.subconthailand.com , หน่วยพัฒนาการ เชื่อมโยงอุตสาหกรรม ( BUILD) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน
การเตรียมข้อมูลในระบบ RMTS -2011 การเตรียมข้อมูลในระบบ RMTS – 2011 ประกอบไปด้วยงานหลัก 5 งาน ได้แก่ 1. การเตรียมฐานข้อมูลวัตถุดิบ ได้แก่ 1.1 การเตรียมข้อมูลบัญชีรายการวัตถุดิบ (Master List) หรือ BIRTMML 1.2 การเตรียมข้อมูลบัญชีรายชื่อวัตถุดิบ หรือ BIRTDEDC 1.3 การเตรียมข้อมูลสูตรการผลิต หรือ BIRTFRM 2. การเตรียมข้อมูลการสั่งปล่อยวัตถุดิบ ได้แก่ ไฟล์ BIRTIMP 3. การเตรียมข้อมูลตัดบัญชีวัตถุดิบได้แก่ 3.1 การเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับรายการส่งออกและปริมาณที่ส่งออกหรือ BIRTEXP 3.2 การเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือขออนุมัติตัดบัญชีวัตถุดิบ หรือ BIRTEXL 3.3 การเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับการโอนสิทธิ์ให้กับผู้ขายในประเทศ (Vendor) หรือ BIRTVEN 4. การเตรียมข้อมูลเพื่อการปรับยอดวัตถุดิบ ได้แก่ไฟล์ BIRTADJ 5. การเตรียมข้อมูลเพื่อการยกเลิกการสั่งปล่อย หรือการตัดบัญชีวัตถุดิบได้แก่ ไฟล์ BIRTCAN
1. การเตรียมฐานข้อมูลวัตถุดิบ วัตถุดิบ โครงสร้างการบันทึกข้อมูล ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
1.1 การเตรียมข้อมูลบัญชีรายการวัตถุดิบ (Master List) หรือ BIRTMML สาหรับเพิ่ม แก้ไข ลบ รายการวัตถุดิบ โดยให้บันทึกข้อมูลในรูปแบบ Excel File โดยตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลว่า BIRTMML.XLS กรณีมีข้อมูลมากกว่า 1 แฟ้มข้อมูลให้เพิ่ม _1, _2,… ต่อท้ายชื่อแฟ้มข้อมูลเช่น BIRTMML_1.XLS
ชื่อข้อมูล
ประเภท
PROJ_CODE GRP_NO GRP_DESC MAX_STOCK MAX_IMPORT UOM ESS_MAT START_QTY APP_NO APP_DATE TYPE
ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวเลข ตัวเลข ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวเลข ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร
ความยาว 8 6 512 14 14 3 1 14 11 10 1
ทศนิยม
2 2
2
คาอธิบาย รหัสโครงการ รหัสวัตถุดิบ ชื่อวัตถุดิบ ปริมาณ Max Stock ปริมาณ Max Import หน่วยวัตถุดิบ เป็นวัสดุจาเป็น ปริมาณเริ่มต้น เลขที่หนังสืออนุมัติ วันที่ของหนังสืออนุมัติ ประเภทการประมวลผล
วิธีการบันทึกข้อมูล ลาดับ
ชื่อข้อมูล
เงื่อนไขการบันทึก
1 2 3
PROJ_CODE GRP_NO GRP_DESC
4 5 6 7 8 9 10 11
MAX_STOCK MAX_IMPORT UOM ESS_MAT START_QTY APP_NO APP_DATE TYPE
ตัวอย่าง
ไม่เป็นค่าว่างทุกบรรทัดต้องมีค่าเหมือนกัน ไม่เป็นค่าว่างต้องไม่ซ้ากัน ไม่เป็นค่าว่างบันทึกข้อมูลได้ 1 ชื่อวัตถุดิบเท่านั้น กรณีมีมากกว่า 1 ชื่อ ให้บันทึกชื่อที่เหลือในแฟ้ม Birtdesc.xlsไม่สามารถแก้ไขได้ ถ้า Type = C ไม่เป็นค่าว่าง กรณี Type = A ต้องเป็นค่าว่างถ้า Max Import มีค่า ไม่เป็นค่าว่าง กรณี Type = A ต้องเป็นค่าว่าง ถ้า Max Stock มีค่า ไม่เป็นค่าว่าง กรณี Type = A ต้องเป็นค่าที่มีอยู่ในฐานข้อมูลรหัสสถิติกรมศุลกากร ไม่เป็นค่าว่าง กรณี Type = A บันทึกค่า Y ถ้าเป็นวัสดุจาเป็น และบันทึกค่า N ถ้าไม่ใช่วัสดุจาเป็น ไม่เป็นค่าว่าง กรณี Type = A ไม่เป็นค่าว่าง ไม่เป็นค่าว่างเลขที่หนังสืออนุมัติเดียวกันต้องมีวันที่เหมือนกัน บันทึกค่าได้ 3 ประเภท A = เพิ่มข้อมูล C = แก้ไขข้อมูล D = ลบข้อมูล
12345611 000001 ARM 100000 0 C62 N 20000 0906/203403 12/06/2011 A
หมายเหตุ 1. กรณีที่ชื่อวัตถุดิบมีชื่อเดียว (ชื่อวัตถุดิบที่บันทึกในแฟ้มข้อมูล Birtmml.xls) และเป็นการเพิ่มข้อมูลไม่จาเป็นต้องบันทึกชื่อ วัตถุดิบในแฟ้มข้อมูล Birtdesc.xls อีก ระบบจะทาการสร้างชื่อวัตถุดิบในฐานข้อมูลชื่อวัตถุดิบให้โดยอัตโนมัติ แต่หาก ต้องการระบุ Tariff ต้องบันทึกชื่อวัตถุดิบ เดียว (ชื่อวัตถุดิบที่บันทึกในแฟ้มข้อมูล Birtmml.xls) อีกครั้งในแฟ้มข้อมูล Birtdesc.xls โดยให้ระบุ Type เป็น A 2. การลบข้อมูลชื่อวัตถุดิบ เมื่อประมวลแล้ว ระบบจะทาการ Mark สถานะของรายการวัตถุดิบให้เป็น Inactive แทนการลบ ข้อมูลออกไปจากระบบฯ จริง 3. กรณีต้องการบันทึกข้อมูลพิกัดศุลกากร ( Tariff Code) พร้อมกับการเพิ่มรายการวัตถุดิบ ให้บันทึกข้อมูลเป็น 2 แฟ้มข้อมูล คือ แฟ้มข้อมูล Birtmml.xls และ Birtdesc.xls โดยทั้ง 2 แฟ้มข้อมูลให้ระบุ Type เป็น A ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล
วิธีการยื่นข้อมูลของผู้ประกอบการ 1. ทาง Diskette หรือ USB Disk 2. ทางอีเมล์
กรณีเพิ่มข้อมูล PROJ_CO GRP_NO DE 12345611 000001 12345611 000002
GRP_DES C ARM MOTOR
MAX_S MAX_IMP UOM ESS_M TOCK ORT AT 10000 SET N 10000 SET N
START_ QTY
APP_NO 0906/003400 0906/003400
APP_DATE TYPE 12/01/2012 12/01/2012
A A
กรณีแก้ไขข้อมูล PROJ_CO GRP_N DE O 12345611 000001 12345611 000002
GRP_DES C ARM MOTOR
MAX_ST OCK
MAX_IMP ORT
UO M C62 C62
ESS_MA T
UO M
ESS_MA T
START_ QTY
APP_NO 0906/004400 0906/004400
APP_DATE TYPE 20/01/2012 20/01/2012
C C
กรณีลบข้อมูล PROJ_CO GRP_N DE O 12345611 000001 12345611 000002
GRP_DES C
MAX_ST OCK
MAX_IMP ORT
START_ QTY
APP_NO 0906/005400 0906/005400
APP_DATE 12/05/2012 12/05/2012
TYPE D D
1.2 การเตรียมข้อมูลบัญชีรายชื่อวัตถุดิบ หรือ BIRTDEDC สาหรับการเพิ่ม ลบ ชื่อวัตถุดิบ หรือแก้ไขพิกัดศุลกากร ให้บันทึกข้อมูลในรูปแบบ Excel File โดยตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลว่า BIRTDESC.XLS กรณีมีข้อมูลมากกว่า 1 แฟ้มข้อมูลให้เพิ่ม _1, _2, … ต่อท้ายชื่อแฟ้มข้อมูลเช่น BIRTDESC_1.XLS เป็นต้น โครงสร้างการบันทึกข้อมูล ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7
ชื่อข้อมูล PROJ_CODE GRP_NO GRP_DESC TARIFF APP_NO APP_DATE TYPE
ประเภท ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร
ความยาว
ทศนิยม
8 6 512 14 11 10 1
คาอธิบาย รหัสโครงการ รหัสวัตถุดิบ ชื่อวัตถุดิบ รหัสพิกัดศุลกากร เลขที่หนังสืออนุมัติ วันที่ของหนังสืออนุมัติ ประเภทการประมวลผล
วิธีการบันทึกข้อมูล ลาดับ
ชื่อข้อมูล
1 2 3
PROJ_CODE GRP_NO GRP_DESC
4 5 6 7
TARIFF APP_NO APP_DATE TYPE
เงื่อนไขการบันทึก
ตัวอย่าง
ไม่เป็นค่าว่างทุกบรรทัดต้องมีค่าเหมือนกัน ไม่เป็นค่าว่างต้องไม่ซ้ากัน ไม่เป็นค่าว่างต้องไม่ซ้ากับที่เคยบันทึกไว้แล้ว บันทึกข้อมูลได้ 1 ชื่อวัตถุดิบต่อ 1 บรรทัดเท่านั้น ไม่สามารถแก้ไข ถ้าระบุเป็น Type C ให้ใช้วิธีการลบชื่อที่ต้องการ แก้ไข และ ทาการเพิ่มชื่อใหม่แทน เป็นช่องว่างได้ต้องเป็นตัวเลขเท่านั้น ไม่เป็นค่าว่าง ไม่เป็นค่าว่างเลขที่หนังสืออนุมัติเดียวกันต้องมีวันที่เหมือนกัน บันทึกค่าได้ 3 ประเภท A = เพิ่มข้อมูล C = แก้ไขข้อมูล D = ลบข้อมูล
12345611 000001 SWITCH
62011200 0906/203403 12/06/2011 A
หมายเหตุ 1. การลบข้อมูลชื่อวัตถุดิบ เมื่อประมวลผลแล้ว ระบบจะทาการ Mark สถานะของชื่อ วัตถุดิบเป็น Inactive แทนการลบข้อมูลออกไปจากระบบฯ จริง ตัวอย่างการบั นทึกข้อไขพิ มูลกัดศุลกากร ผู้ประกอบการไม่จาเป็นต้องขออนุมัติจากสานักงานฯ 2. การขอแก้ กรณีเพิ่มข้อมูล PROJ_CODE 12345611 12345611
GRP_NO GRP_DESC 000001 BUSHING 000001 BRASS BUSHING
TARIFF
วิธีการยื่นข้อมูลของ ผู้ประกอบการ 1. ทาง Diskette หรือ USB Disk 2. ทางอีเมล์
APP_NO 0906/003400 0906/003400
APP_DATE 12/01/2012 12/01/2012
TYPE A A
TARIFF APP_NO 202303030 0906/003400 202303030 0906/003400
APP_DATE 12/01/2012 12/01/2012
TYPE C C
กรณีแก้ไขข้อมูล (แก้ไขได้เฉพาะ Tariff เท่านั้น) PROJ_CODE 12345611 12345611
GRP_NO GRP_DESC 000001 BUSHING 000001 BRASS BUSHING
กรณีลบข้อมูล PROJ_CODE 12345611 12345611
GRP_NO GRP_DESC 000001 BUSHING 000001 BRASS BUSHING
TARIFF
APP_NO 0906/003400 0906/003400
APP_DATE 12/01/2012 12/01/2012
TYPE D D
1.3 การเตรียมข้อมูลสูตรการผลิต หรือ BIRTFRM สาหรับการเพิ่ม ลบ แก้ไขสูตรการผลิตและผลิตภัณฑ์ ( Model) ให้บันทึกข้อมูลในรูปแบบ Excel File โดยระบบ RMTS-2011 จะ บันทึกข้อมูล Birtmdl.xls และ Birtfrm.xls รวมอยู่ในแฟ้มข้อมูลเดียวกัน โดยตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลว่า BIRTFRM.XLS กรณีมีข้อมูลมากกว่า 1 แฟ้มข้อมูลให้เพิ่ม _1, _2, … ต่อท้ายชื่อแฟ้มข้อมูลเช่น BIRTFRM_1.XLS เป็นต้น โครงสร้างการบันทึกข้อมูล ลาดับ 1
ชื่อข้อมูล PROJ_CODE MODEL MODEL_DESC UOP START_DATE GRP_NO QTY_PER QTY_1000 APP_NO APP_DATE TYPE
2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
ประเภท ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวเลข ตัวเลข ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร
ความยาว 8 50 254 3 10 6 18 18 11 10 1
ทศนิยม
8 8
คาอธิบาย รหัสโครงการ รหัสผลิตภัณฑ์ ชื่อผลิตภัณฑ์ หน่วยผลิตภัณฑ์ วันที่เริ่มต้นใช้สูตรการผลิต (วันที่ยื่นคาขอสูตรการผลิต) รหัสวัตถุดิบ ปริมาณการใช้ต่อหน่วย ปริมาณการใช้ต่อพัน เลขที่หนังสืออนุมัติ วันที่ของหนังสืออนุมัติ ประเภทการประมวลผล
วิธีการบันทึกข้อมูล ลาดับ
ชื่อข้อมูล
เงื่อนไขการบันทึก
ตัวอย่าง
1 2 3 4 5 6 7 8
PROJ_CODE MODEL MODEL_DESC UOP START_DATE GRP_NO QTY_PER QTY_1000
12345611 MT2041 SWITCH SET 12/02/2012 000001 0.20
9 10
APP_NO APP_DATE
11
TYPE
ไม่เป็นค่าว่างทุกบรรทัดต้องมีค่าเหมือนกัน ไม่เป็นค่าว่างสามารถซ้ากันได้ แต่เมื่อรวมกับ MODEL_DESC แล้วต้องไม่ซ้ากัน ไม่เป็นค่าว่างสามารถซ้ากันได้ แต่เมื่อรวมกับ MODEL แล้วต้องไม่ซ้ากัน ไม่เป็นค่าว่างกรณีเพิ่มข้อมูลสูตรการผลิตต้องเป็นหน่วยตามรหัสหน่วยของกรมศุลกากร ไม่เป็นค่าว่างกรณีเพิ่มหรือแก้ไขสูตรการผลิต ถ้าเป็น Model เดียวกันต้องเหมือนกันทุกบรรทัด ไม่เป็นค่าว่างกรณีเพิ่มข้อมูล,แก้ไขหรือลบสูตรการผลิต ต้องไม่เป็นค่าว่างกรณีเพิ่มข้อมูลต้องเป็นค่าว่างเมื่อ QTY_1000 มีค่ามากกว่า 0 ต้องไม่เป็นค่าว่างกรณีเพิ่มข้อมูล ต้องเป็นค่าว่างเมื่อ QTY_PER มีค่ามากกว่า 0 ไม่เป็นค่าว่าง ไม่เป็นค่าว่าง เลขที่หนังสืออนุมัติเดียวกันต้องมีวันที่เหมือนกัน บันทึกค่าได้ 3 ประเภท A = เพิ่มข้อมูล I = การเพิ่มรายการวัตถุดิบสาหรับสูตรฯที่มีอยู่แล้ว C = แก้ไขข้อมูล D = ลบข้อมูล
0906/002402 ‘12/02/2012 A
หมายเหตุ 1. การเพิ่มสูตรการผลิต (บันทึก Type = A) ให้บันทึกข้อมูลทุกช่อง 2. การแก้ไขหน่วยผลิตภัณฑ์ จะบันทึกเฉพาะ Proj_code, Model, Model_desc, Uop, App_no, App_date , Type 3. การแก้ไขสูตรการผลิต (เพิ่มรายการวัตถุดิบ, แก้ไขปริมาณการใช้, ลบรายการวัตถุดิบ) จะบันทึก Proj_code, Model,Model_desc, Start_date, App_no, App_date, Grp_no, Qty_per หรือ Qty_1000, Qty_per 4. กรณียื่นบันทึกสูตรการผลิตใหม่ครั้งแรก โปรแกรมจะทาการตรวจสอบ ถ้าวันที่ยื่นบันทึกสูตรฯ อยู่ภายใน 6 เดือนนับ จากวันที่ลงทะเบียนใช้งานระบบ RMTS-2011 ระบบจะบันทึกวันเริ่มต้นใช้สูตรการผลิต ( Start Date) เป็นวันที่ ลงทะเบียนใช้งานระบบ RMTS-2011 5. กรณีที่มีสูตรการผลิตที่ต้องการแก้ไขหรือลบอยู่แล้ว วันที่เริ่มต้นใช้งานสูตรการผลิต จะน้อยกว่าวันที่เริ่มต้นใช้งานสูตร การผลิตของเวอร์ชั่นเดิมไม่ได้ 6. การเพิ่มสูตรการผลิตใหม่ ถ้ามีการเพิ่มสูตรการผลิตแล้วจะบันทึกเพิ่มไม่ได้ กรณีต้องการเพิ่มรายการวัตถุดิบ ให้ระบุ เป็น Type I แทน Type A 7. กรณี แก้ไขปริมาณการใช้ หรือ เพิ่ม หรือ ลบ รายการวัตถุดิบ ระบบฯ จะสร้างสูตรการผลิตเวอร์ชั่นใหม่ 8. การลบ Model จะเป็นการ Mark สถานะของ Model ให้เป็น Inactive และสูตรการผลิตทั้งหมด ภายใต้ Model ที่ทาการลบจะไม่สามารถนาไปใช้ตัดบัญชีได้ ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล การเพิ่มสูตรการผลิต (ทั้งสูตรฯ) PROJ_CODE
MODEL
12345611
MTI145
12345611
MTI145
MODEL_ DESC BUSHIN G BRASS BUSHIN G
UO START_ P DATE SET 12/01/2011
GRP_N O 000001
SET 12/01/2011
000002
QTY_PE QTY_100 APP_NO R 0 1 0906/003400 2
0906/003400
APP_DATE TYPE 12/01/2012
A
12/01/2012
A
การเพิ่มสูตรการผลิต (บางรายการ) PROJ_CODE 12345611 12345611
MODEL MODEL_DES UO START_DA GRP_N C P TE O MTI145 ARM SET 12/02/2011 000003 MTI145 STEELING SET 12/02/2011 000004
QTY_PE QTY_ APP_NO R 1000 1 0906/003405 2 0906/003405
APP_DATE TYPE 12/02/2012 12/02/2012
I I
การแก้ไขสูตรการผลิต (ทั้งสูตรฯ) PROJ_CODE 12345611 12345611
MODEL MODEL_DES C MTI145 BUSHING MTI145 BRASS BUSHING
UO P
START_DA GRP_N TE O 12/03/2011 000001 12/03/2011 000002
QTY_PE QTY_ APP_NO R 1000 2 0906/003406 3 0906/003406
APP_DATE TYPE 12/03/2012 12/03/2012
C C
การลบสูตรการผลิต (บางรายการ) PROJ_CODE 12345611 12345611
MODEL MODEL_DES C MTI145 BUSHING MTI145 BRASS BUSHING
UO P
START_DA GRP_N TE O 12/01/2011 000001 12/01/2011 000002
QTY_PE R
QTY_ 1000
APP_NO 0906/003406 0906/003406
APP_DATE TYPE 12/03/2012 12/03/2012
D D
การแก้ไข Model (แก้ได้เฉพาะหน่วย) PROJ_CODE 12345611 12345611
MODEL MODEL_DES UO START_DA GRP_ C P TE NO MTI145 BUSHING C62 12/01/2011 MTI145 BRASS C62 12/01/2011 BUSHING
QTY_PE R
QTY_1 000
APP_NO
APP_DATE
TYPE
0906/003402 0906/003402
12/01/2012 12/01/2012
C C
การลบ Model (ลบทุกสูตรการผลิตฯ) PROJ_CODE 12345611 12345611
MODEL MODEL_DES C MTI145 BUSHING MTI145 BRASS BUSHING
UO P
START_DA GRP_ TE NO 12/01/2011 12/01/2011
QTY_PE R
ติดตามข้อมูลสาคัญเกี่ยวกับงานระบบ RMTS-2011 สาหรั บผู้ใช้บริการ ทั้งด้านขั้นตอนการเตรียมข้อมูล ระบบ RMTS-2011 และด้านอื่นๆ ได้ ทาง ICN ฉบับหน้าและทางเว็บไซต์สมาคม www.ic.or.th
QTY_1 000
APP_NO
APP_DATE
TYPE
0906/003409 0906/003409
12/03/2012 12/03/2012
D D
วิธีการยื่นข้อมูลของผู้ประกอบการ 1. ทาง Diskette หรือ USB Disk 2. ทางอีเมล์
ข่าวดี!! สาหรับสมาชิกและผู้ใช้บริการ สมาคมจัดสัมมนาพิเศษ “การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ระบบ RMTS-2011” และการอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) หัวข้อ “ขั้นตอนและการเตรียมข้อมูล สั่งปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยระบบ RMTS-2011” สาหรับบริษัทผู้ใช้บริการที่ได้รับจดหมายเชิญ พร้อมรหัสการลงทะเบียน และดาเนินการลงทะเบียนยืนยันการเข้าร่วมสัมมนาและอบรมเท่านั้น!! สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ แผนกลูกค้าสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 214, 202, 201 (เบญจวรรณ, นลนีย,์ จิตติมา) และแผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 207, 212 (ลัดดาวัลย์, รติรัตน์) หรือเว็บไซต์สมาคม www.ic.or.th
ปัจจุบันความขาดแคลนสิ่งจาเป็นต่อการพัฒนาด้านการศึกษาของเด็กไทยยังคง ภาพความสาเร็จโครงการ CSR โดยสมาคม
มีให้เห็นอยู่ในสังคมไทย เพราะความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชนนั้น เข้าถึงโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกลได้น้อยมาก โดยส่วนใหญ่จะหมด งบประมาณอยู่กับโรงเรียนในเขตพื้นที่ตัวเมือง สมาคมเป็นหนึ่งหน่วยงานที่รวมพลังใจจากทั้งผู้บริหาร พนักงาน รวมถึงสมาชิก ของสมาคม ผู้ใช้บริการและผู้มีจิตศรัทธา จัดโครงการกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือ สังคมมาอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นการสนับสนุนด้านการพัฒนาการศึกษาให้แก่ เยาวชนไทยในโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ซึ่งประสบผลสาเร็จอย่างดีเยี่ยมจาก 2 ครั้งที่ผ่านมา เสมือนเราเป็นกองหนุนเสี้ยวเล็กๆ ผลักดันเด็กไทยให้มีศักยภาพ ด้านการเรียนรู้มากขึ้น และสามารถดาเนินวิถีชีวิตอยู่ได้ในสังคมปัจจุบัน
ในปี 2556 นี้ สมาคมจัดกิจกรรม CSR ครั้งที่ 3 ต่อยอดความช่วยเหลือสู่สังคมการศึกษาให้เด็กไทย สนับสนุนการสร้าง สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ มีสาธารณูปโภคที่ถูกสุขอนามัยและปลอดภัย ภายใต้ชื่อโครงการ
ความคิด สร้างคุณภาพชีวิตด้วยการศึกษา”
“ส่งเสริม
ด้วยงบประมาณสมาคม 1 ล้านบาท โดยในเบื้องต้นสมาคมได้สารวจ
และเก็บข้อมูลโรงเรียนที่ขอความช่วยเหลือแล้วกว่า 6 แห่ง ซึ่งทางสมาคมจะดาเนินการสรุปและเพิ่มเติมข้อมูลจากโรงเรียนอื่น เพื่อนาเสนอขออนุมัติความช่วยเหลือและประชาสัมพันธ์ให้แก่สมาชิกและผู้ใช้บริการได้รับทราบความคืบหน้าต่อไป ในโอกาสนี้ สมาคมขอเชิญสมาชิก ผู้ใช้บริการ และผู้มีจิตศรัทธาบริจาคสมทบทุนร่วมโครงการ “ส่งเสริมความคิด สร้างคุณภาพ ชีวิตด้วยการศึกษา” กับสมาคม เพื่อช่วยเหลือเด็กไทยให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่ดีกว่าเดิม อันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ ยั่งยืนในอนาคตข้างหน้า โดยกรอกแบบตอบรับเข้าร่วมโครงการ (เอกสารด้านล่าง) และส่ง Fax มาที่ โทรสาร 0 2936 1529 หรือ อีเมล์ csr@ic.or.th สาหรับวิธีการร่วมสมทบบริจาคสามารถดูรายละเอียดในแบบตอบรับเข้าร่วมโครงการ หรือ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ แผนกประชาสัมพันธ์ โทร 0 2936 1429 ต่อ 209, 211
“มาร่วมกัน สร้างสรรค์คนดี มีคุณภาพเพื่ออนาคตของประเทศไทย” กับสมาคม ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2556 นี้ อย่าลืม! สนับสนุนด้านการศึกษา ตั้งแต่ 1,000 บาท ขึ้นไป สามารถลดหย่อนภาษีได้ 2 เท่าของรายจ่ายในการคานวณภาษีเงินได้ปลายปี และสามารถติดตามความคืบหน้ากิจกรรม CSR ได้ทาง ICN และ www.ic.or.th
แบบตอบรับเข้าร่วมโครงการ เพื่อช่วยเหลือพวกหนู อยูด่ ้านล่างนี้นะค่ะ
ขอเชิญร่วมสมทบทุนบริจาคได้ ตั้งแต่วันนี้ ถึง วันที่ 30 มิถุนายน 2556 นี้
” หากบริษัทต้องการจะเข้าอบรมหรือสัมมนาหลักสูตรของสมาคม ควรปฏิบัติอย่างไร การสมัครเข้าอบรมและสัมมนาในทุกหลักสูตรของสมาคม มีขั้นตอน ดังนี้ 1.1 บริษัทเลือกหลักสูตรที่สนใจและดาวน์โหลดแบบตอบรับเข้าร่วมอบรมของหลักสูตรนั้นทางหน้าเว็บไซต์สมาคมตามลิงค์ http://www.ic.or.th/thai2/index.php?option=com_content&view=article&id=218&Itemid=184 1.2 กรอกแบบตอบรับให้ครบถ้วน และส่งกลับมายังแผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา โทรสาร 02 936 1442 หรือทางอีเมล์ is-investor@ic.or.th 1.3 เจ้าหน้าที่ของสมาคมจะดาเนินการติดต่อกลับเพื่อยืนยันการเข้าร่วมและแจ้งให้บริษัทชาระค่าอบรมและสัมมนาตาม จานวนที่แจ้งไว้ในรายละเอียดแต่ละหลักสูตร 1.4 บริษัทสามารถรับใบกากับภาษีได้ในวันที่อบรมหรือประสงค์ให้สมาคมจัดส่งทางไปรษณีย์
บริษัทสามารถชาระค่าอบรม/สัมมนาของสมาคมสโมสรนักลงทุนได้ด้วยวิธีใดบ้าง บริษัทสามารถชาระค่าอบรม/สัมมนาของสมาคมสโมสรนักลงทุนได้ 3 วิธี ดังนี้ 1. ชาระด้วยเงินสดหรือ เช็คขีดคร่อมในนาม “สมาคมสโมสรนักลงทุน ” หรือ “INVESTOR CLUB ASSOCIATION” เท่านั้น ที่ แผนกการเงิน สมาคมสโมสรนักลงทุน 2. ชาระด้วยเงินสดหรือหรือ เช็คขีดคร่อมในนาม “สมาคมสโมสรนักลงทุน ” หรือ “INVESTOR CLUB ASSOCIATION”เท่านั้น กับพนักงานสมาคมสโมสรนักลงทุน ณ วันที่จัดสัมมนา 3. ชาระค่าสัมมนาผ่านธนาคาร ( Bill Payment) โดยใช้แบบฟอร์มการชาระเงินเพื่อเข้าบัญชี “สมาคมสโมสรนักลงทุน ” กรุณา ติดต่อ แผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา เพื่อขอทราบรหัสใบแจ้งหนี้สาหรับใช้ในการชาระค่าสัมมนากับธนาคาร โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-208 ส่วนของธนาคาร แบบฟอร์มการชาระเงินเพื่อเข้าบัญชี
"สมาคมสโมสรนักลงทุน"
บมจ. ธ.ไทยพาณิชย์ Comp Code : 0746 เอนเนอร์ยี่คอม บมจ. ธ.กรุงเทพฯ(Br. No.0453500027) บมจ. ธ.กสิกรไทย 943-1-00006-4 บมจ. ธ.ทหารไทย comp.code 371/service code 1102 บมจ. ธ.กรุงศรีอยุธยา 644-0-00007-8 บมจ. ธ.กรุงไทย Comp Code 3418 บมจ. ธ.ธนชาต TAX.ID 0993000133676
หมายเลขเช็ค เงินสด/CASH
(15 บาท/15 บาท) (20 บาท/35 บาท) (15 บาท/30 บาท) (10 บาท/20 บาท) (15 บาท/30 บาท) (15 บาท/25 บาท) (10 บาท/10 บาท)
INVESTOR CLUB ASSOCIATION
(099-3-0001-3367-6)
SERVICE CODE: INVESTOR
สาขาที่รับฝาก.............................................................. วันที่........../........../......... ชื่อลูกค้า / NAME.บริษัท...................................................................................... รหัสใบแจ้งหนี้/INVOICE NO.(REF.NO.1)............................ รหัสค่าบริการ / (REF. NO.2)........12............... ................................................. ชื่อหลักสูตร............................................................................................................ ชื่อผู้นาฝาก............................................................................................................. โทรศัพท์ ................................................................................................................
ชื่อธนาคาร/สาขา
เช็คลงวันที่
จานวนเงิน (บาท)
จานวนเงินเป็นตัวอักษร (.....................................................................................................................................)
เจ้าหน้าที่ธนาคาร-ผู้รับ......................................................................................................
(โปรดเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจากผู้ชาระเงิน)
ราคาค่าอบรม/สัมมนารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ไว้แล้วหรือไม่ และบริษัทสามารถหักภาษีเงินได้ ณ ที่ จ่าย 3% ได้หรือไม่ ราคาค่าอบรม/สัมมนารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ไว้เรียบร้อยแล้ว และสมาคมได้รับยกเว้นไม่ต้องถูกหักภาษี เงินได้ ณ ที่จ่าย ตามคาสั่งกรมสรรพกร ที่ ทป. 101/2544 ข้อ 12/1(2)
หากบริษัทสมัครเข้าร่วมอบรม/สัมมนากับทางสมาคม บริษัทสามารถนาค่าอบรม/สัมมนาไปหักเป็น ค่าใช้จ่ายทางภาษี 200% ได้หรือไม่ และบริษัทต้องใช้เอกสารอะไรบ้างจากทางสมาคมสาหรับนาไป ดาเนินการ สมาคมสโมสรนักลงทุนเป็นนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย และวัตถุประสงค์ข้อหนึ่งในการจัดตั้งสมาคม คือ จัด ฝึกอบรม สัมมนา ให้แก่บุคคลเป็นการทั่วไป การที่บริษัทส่งพนักงานเข้าอบรมกับสมาคม จึงจัดอยู่ในขอบข่ายกรณี ส่งลูกจ้างไปรับการฝึกกับสถานศึกษาหรือสถานฝึกอบรมฝีมือแรงงาน (ฝึกอบรมภายนอก Public Training) ภายใต้ พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ซึ่งกาหนดให้บริษัทสามารถนาค่าใช้จ่ายในการพัฒนา ฝีมือแรงงานไปลดหย่อนภาษีได้ 200% ทั้งนี้ บริษัทสามารถใช้ใบเสร็จรับเงินค่าอบรม/สัมมนาซึ่งออกโดยสมาคม เป็นเอกสารแนบยื่น เพื่อขอใช้สิทธิ ประโยชน์ทางภาษีหักค่าใช้จ่ายได้เพิ่มอีก 200 %
หากบริษัทต้องการสารองที่นั่งเข้าร่วมอบรม/สัมมนา หรือสอบถามรายละเอียดหลักสูตรอบรม และสัมมนา ได้ที่ แผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-208 email: is-investor@ic.or.th
สมาคมติดตามความคืบหน้า กลุ่มบริษัทนาร่องระบบ RMTS 2011 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2556 สมาคมได้ติดตามความคืบหน้าการใช้งานระบบ RMTS 2011 ของกลุ่มบริษัทนาร่อง โดยมีคุณไพโรจน์ โสมภูติ กรรมการสมาคมให้ เกียรติกล่าวเปิดงาน ซึ่งมีบริษัทนาร่องจานวน 9 บริษัทเข้าร่วมการประชุม ซึ่ง ปัจจุบันมีบริษัทที่เริ่มสั่งปล่อยวัตถุดิบแล้ว 1 ราย ส่วนอีก 8 บริษัท ได้นาข้อมูล รายการวัตถุดิบเข้าระบบเรียบร้อยแล้ว เหลือเพียงงานสั่งปล่อยวัตถุดิบเท่านั้น สาหรับความคืบหน้าของการทดสอบระบบงาน RMTS 2011และการเปิดให้บริการ อย่างเป็นทางการ สมาคมจะแจ้งให้สมาชิกและผู้ใช้บริการได้รับทราบในครั้งต่อไป สาหรับท่านที่สนใจสามารถติดตามข่าวสารความคืบหน้าของระบบ RMTS 2011 ได้ที่บอร์ดประชาสัมพันธ์ หรือ วารสาร IC E-Newsletter (รายเดือน) ผ่านทาง E-mail หรือติดต่อสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับ ระบบ RMTS 2011 ได้ที่ 0 2936 1429 คุณนัยนา (ต่อ 160) และ คุณเบญจมาศ (ต่อ 120)
สัมมนาสมาชิก ครั้งที่ 2/2556 เรื่อง “กลยุทธ์ ลดต้นทุน เพิ่มกาไร ด้วยเทคนิคการจัดซื้ออย่างมีประสิทธิภาพ” สมาคมจัดงานสัมมนาสมาชิกครั้งที่ 2/2556 เรื่อง “กลยุทธ์ ลดต้นทุน เพิ่มกาไร ด้วยเทคนิคการจัดซื้ออย่างมีประสิทธิภาพ ” เมื่อวัน จันทร์ที่ 29 เมษายน 2556 ณ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ โดยมีคุณภาวิต กองแก้ว ผู้จัดการสมาคมสโมสรนักลงทุน กล่าวเปิดงานสัมมนา และได้รับเกียรติจาก คุณกมลทิพย์ จันทรมัส ที่ปรึกษาทางด้าน การตลาดการวางแผนธุรกิจ การบริหารด้านการจัดซื้อ และซัพพลายเชน โลจิสติกส์ นาเข้าและส่งออก ที่ปรึกษาด้านจัดซื้อ ภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ให้ เกียรติเป็นวิทยาการบรรยาย เกี่ยวกับงานด้านจัดซื้อ หน้าที่และความสาคัญของ หน่วยงานจัดซื้อ เทคนิควิธีการเพิ่มผลกาไรในงานจัดซื้อ วิธีป้องกันความเสี่ยงใน กระบวนการจัดซื้อ แนวทางการบริหารเพิ่มลดต้นทุน รวมถึงจัดการจัดระบบ และการ เตรียมความพร้อมของนักจัดซื้อในการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และ ช่วงท้ายของการบรรยายวิทยากรได้เปิดโอกาสให้สมาชิกสอบถามข้อ สงสัยและตอบคาถามอย่างเข้มข้น ซึ่งมีผู้เข้าร่วมสัมมนากว่า 200 ราย สาหรับ กิจกรรมพิเศษสาหรับสมาชิกสมาคมและผู้ใช้บริการที่น่าสนใจในครั้งต่อไป สามารถ สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ ฝ่ายบริการสมาชิกและนักลงทุน โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 201-204
กิจกรรมเยี่ยมชม อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย (สวทช.) “การวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ” เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2556 สมาคม นาคณะสมาชิกเยี่ยมชม “การวิจัยและ พัฒนาอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ ” ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย อ.คลอง หลวง จ.ปทุมธานี (Thailand Science Park) ซึ่งเป็นศูนย์รวมการวิจัยและพัฒนาที่ ครบวงจรแห่งแรกของประเทศ โดยการเยี่ยมชมครั้งนี้ สมาคมได้รับชมวีดีทัศน์ แนะนาอุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย และฟังการบรรยายเกี่ยวกับ “บริการ และการสนับสนุนการทาวิจัยและพัฒนา” จากสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดย คุณสงัด วงศ์ทวีทอง ผู้อานวยการฝ่ายขายและ บริการคีย์แอคเคาท์ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จากนั้น คณะสมาชิกได้เยี่ยมชมห้องปฏิบัติการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แหงชาติ โดยแยกย่อยเป็นห้องปฏิบัติการวิจัยนาโนอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องกลจุลภาค ( MEM) ห้องปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว ( EST) และห้องปฏิบัติการวิจัยระบบอัตโนมัติขั้นสูง ( AAS) สุดท้ายเยี่ยมชม บริษัท เกรท เทค ไซเบอร์เนติกส์ จากัด (บริษัทวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสนับสนุนอุตสาหกรรม ด้าน Hard Disk และ Electronic) สาหรับกิจกรรมพิเศษสาหรับสมาชิกสมาคมและผู้ใช้บริการที่น่าสนใจในครั้ง ต่อไป สามารถสอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ แผนกลูกค้าสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 201-204 หรือ www.ic.or.th
สมาคมจัดสัมมนาพิเศษสาหรับสมาชิก “ครบเครื่องเรื่องสิทธิประโยชน์การนาเข้าเครื่องจักรกับบีโอไอ” ในงาน Subcon Thailand 2013 สมาคมร่วมกับ หน่วยพัฒนาการเชื่อมโยงอุตสาหกรรม ( BUILD) สานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน จัดสัมมนาพิเศษ หัวข้อ “ครบเครื่องเรื่องสิทธิ ประโยชน์การนาเข้าเครื่องจักรกับบีโอไอ” ในงาน Subcon Thailand 2013 ณ ไบเทค บางนา เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2556 โดยได้รับเกียรติจาก คุณภาคภูมิ บูรณบุณย์ นักวิชาการส่งเสริมการลงทุน ชานาญการพิเศษ สานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) เป็นวิทยากรบรรยายเกี่ยวกับงานสิทธิ ประโยชน์การนาเข้าเครื่องจักรและอุปกรณ์ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการ ลงทุน ข้อกาหนด กฎเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติในการนาเข้าเครื่องจักรมาใช้สาหรับ โครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน โดยมีสมาชิกร่วมเข้ารับฟังกว่า 100 ราย สาหรับกิจกรรมพิเศษสาหรับสมาชิกสมาคมและผู้ใช้บริการที่น่าสนใจในครั้ง ต่อไป สามารถสอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ แผนกลูกค้าสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 201-204 หรือ www.ic.or.th
การจัดทาและตรวจเอกสารทางการค้าระหว่างประเทศภายใต้เงื่อนไข L/C ตามกติกา UCP 600” หัวข้อการสัมมนา 1. วงจร Letter of Credit ตัวอย่างพร้อมอธิบายความหมายของ L/C แต่ละเทคนิคเทอม 2. การใช้ประโยชน์ของ Standby Letter of Credit 3. การพิจารณาคาสั่งการชาระเงินที่เป็น Restricted L/C 4. พิจารณาเงื่อนไข L/C ไม่ขัดแย้งกับ INCOTERMS ® 2010 5. จานวนประเภทเอกสารที่ใช้และผู้รับผิดชอบการออกเอกสาร 6. วิเคราะห์ UCP กาหนดความหมายของแต่ละเทอมโดยมีการให้คาจากัดความ 6.1 ความหมายเกี่ยวกับ Shipment Term เช่น “First half of February” 6.2 วิธีการนับคาว่า “form” และ “after” 6.3 ความหมาย Banks deal with documents and not with goods 6.4 มาตรฐานการตรวจเอกสารของธนาคาร 6.5 ความหมายและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ L/C Expired 6.6 วิธีการนับวันสาหรับ Maximum of five banking days และวิธีการใช้ 6.7 ความหมายของ “CLEAN OCEAN BILL OF LADING” 6.8 การปฏิเสธเอกสารที่มีข้อผิดพลาด (Discrepancy) 6.9 หน้าที่และความรับผิดชอบของธนาคารที่เกี่ยวข้อง 6.10 คาว่า “about หรือ approximately” ความหมาย +/- 10 % วิธีปฏิบัติ 6.11 วิธีปฏิบัตใิ นการทยอยส่งสินค้า (partial) 6.12 วิธีแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นเป็นประจาใน Bill of Lading 6.13 ความแตกต่างระหว่างการส่งสินค้าเป็นงวด ๆ และการทยอยส่งสินค้า 6.14 ผู้รับผิดชอบกรณีเอกสารปลอมแปลง สูญหายและแปลข้อความผิด 6.15 ความรับผิดชอบของผู้นาเข้าในการขอเปิด Letter of Credit 6.16 วิธีปฏิบัติสาหรับผู้รับประโยชน์ (Beneficiary) รายแลกตาม L/C ที่ต้องการโอน L/C ให้ผู้อื่น วิทยากร คุณวัชระ ปิยะพงษ์ วัน-เวลา-สถานที่ ที่ปรึกษาองค์กรเอกชนชั้นนาด้านการนาเข้าและส่งออก วันอังคารที่ 11 มิถุนายน 2556 เวลา 09.00 – 16.00 น. (ลงทะเบียน 8.30 น.) อัตราค่าสัมมนา โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ )ถนนวิภาวดีรังสิต( สมาชิกสมาคม 2,675 บาท/คน บุคคลทั่วไป 3,745 บาท/คน (อัตรานี้รวมค่าเอกสาร อาหารว่าง อาหารกลางวัน และภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษีได้ 022% ติดต่อสอบถาม แผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 206 (คุณกาญจนา) โทรสาร 0-2936-1441-2 หรือ E-mail : kanjanac@ic.or.th Download แบบตอบรับและรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th
หลักสูตร “เทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้า” หัวข้อการสัมมนา 1) ขั้นตอนการบริหารคลังสินค้า 2) หลักการจัดสถานที่ภายในคลังสินค้า 2.1 ขนาดของคลังสินค้า 2.2 ลักษณะการจัดเก็บสินค้ารูปแบบต่างๆ 2.3 การจัดพื้นที่สาหรับปฏิบัติการภายในคลังสินค้า 3) เทคนิคการบริหารสินค้าในคลังสินค้า 4) การจัดเก็บสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการนาเข้า – ส่งออก 5) การบันทึกการรับ - จ่ายเพื่อให้มีการควบคุมจานวนคงเหลืออย่างทันกาล (Update real time) 6) เทคนิคการตรวจนับสต็อก (STOCK) และการตรวจสอบเพื่อป้องกันการรั่วไหล 7) วิธีจัดการกับของเหลือและเศษซาก 8) วิธีการควบคุมความปลอดภัยในโกดังสินค้า 9) การจัดทาเอกสารในงานคลังสินค้า 10) วิธีปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาการนับสินค้าทีไ่ ม่ตรงกับจานวนคงเหลือในสต็อก กรณีจานวน สินค้าขาดและเกิน 11) การจัดทารายงานคลังสินค้าประเภทต่างๆ 12) เทคนิคการบริหารงานบริการของพนักงานคลังสินค้า 13) เทคนิคการบริหารเวลาสาหรับงานคลังสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพ 14) เทคนิคการสอนงานและคัดเลือกคนเพื่อทางานในคลังสินค้า 15) เทคนิคการตรวจสอบและควบคุมผู้ปฏิบัติงานในคลังสินค้าเพื่อไม่ให้เกิดความรั่วไหล วิทยากร คุณคัตลียา กุ ชร ณ อยุธยา ที่ปรึกษาด้านงานคลังสินค้าของบริษัทเอกชนชั้นนาและรัฐวิสาหกิจ วัน-เวลา-สถานที่ วันอังคารที่ 18 มิถุนายน 2556 เวลา 09.00-16.00 น. (ลงทะเบียน 8.32 น.) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ )ถนนวิภาวดีรังสิต( อัตราค่าสัมมนา สมาชิกสมาคม 2,675 บาท/คน บุคคลทั่วไป 3,745 บาท/คน (อัตรานี้รวมค่าเอกสาร ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง และภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษีได้ 022% ติดต่อสอบถาม แผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 206 (คุณกาญจนา) โทรสาร 0-2936-1441-2 หรือ E-mail : kanjanac@ic.or.th Download แบบตอบรับและรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th
หลักสูตร “ขั้นตอนการขออนุ าตทางานของชาวต่างชาติในประเทศไทย” หัวข้อสัมมนา 1. ขั้นตอนการขอใบอนุญาตทางาน (Work Permit) ภายใต้กฎหมายพิเศษตาม พ.ร.บ. การทางานของคนต่างด้าว พ.ศ. 0551 2. ระเบียบ หลักเกณฑ์ การพิจารณาให้คนต่างด้าวเข้ามาทางานในประเทศไทย 0.1 กรณีได้รับการส่งเสริมการลงทุน 0.0 กรณีไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน 3. บทลงโทษของนายจ้างและคนต่างด้าวตาม พ.ร.บ. ฉบับใหม่ 4. พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 0500 และกฎกระทรวง ระเบียบ และคาสั่งที่เกี่ยวข้อง 5. การยื่นขอรับการตรวจลงตรา (วีซ่า) เพื่อเข้ามาในราชอาณาจักร และประเภทของวีซ่า 6. การยื่นคาร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักร 7. การยื่นคาร้องขอสงวนสิทธิการเดินทางกลับเข้ามาในราชอาณาจักร 8. การแจ้งที่พักอาศัยของคนต่างด้าว เพื่ออยู่ในราชอาณาจักรเกิน 92 วัน 9. การแจ้งพ้นหน้าที่ 10. การยื่นคาร้องขอมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร วิทยากร คุณวิรดา ยูวะเวส ผู้เชี่ยวชาญด้านใบอนุญาตการทางานของคนต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน พ.ต.ท. ห ิง นัฐวินุศ หัสดินทร ณ อยุธยา วิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการตรวจคนเข้าเมือง วัน-เวลา-สถานที่
วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน 2556 เวลา 09.00-16.00 น. (ลงทะเบียน 8.30 น.) โรงแรม อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ )ถนนวิภาวดีรังสิต( อัตราค่าสัมมนา สมาชิกสมาคม 2,675 บาท/คน บุคคลทั่วไป 3,745 บาท/คน (อัตรานี้รวมค่าเอกสาร อาหารว่าง อาหารกลางวัน และภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษีได้ 022%
ติดต่อสอบถาม แผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 206 (คุณกาญจนา) โทรสาร 0-2936-1441-2 หรือ E-mail : kanjanac@ic.or.th Download แบบตอบรับและรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th
知っておくべきBOIに関する知識 (日本語) “All Executives Need to Know about BOI” (Japanese Version) セミ ナープログラム
1. BOI 奨励事業になるには 1.1 対象事業リ スト 1.2 プロジェ クト認可基準 1.3 ジョ イント・ ベンチャ ー基準 2. 投資奨励方針 2.1 ゾーンによる恩典 2.2 業種による恩典および優先事業 2.3 STI恩典 2.4 持続的開発のための投資促進政策 3. 認可後の手続き 3.1 奨励証書の発給 3.2 プロジェ クト実行および報告 3.3 プロジェ クト変更 vs. 新しいプロジェ クトの申請 3.4 事業開始許可 4. 税的恩典の利用 4.1 機械の輸入 4.1.1第 28 条 4.1.2第 29 条 4.2 原材料の輸入 4.2.1第 36 条 4.2.2第 30 条 4.3 法人所得税の恩典 4.3.1第 31 条 4.3.2第 35 条 5. 非税的恩典の利用 5.1 土地所有権 5.2 ビザ/ワークパーミ ッ ト 6. BOI クリ ニッ ク 6.1 原材料デスク 6.2 機械デスク 6.3 ビザ・ ワークパーミ ッ ト・ デスク 6.4 プロジェ クト分析デスク 6.5 プロジェ クト・ モニターリ ングおよびアカウンティ ング・ デスク
講師 タイ国投資委員会 (BOI) 日時
2013年6月19日 09:00-15:30 会場
Centara Grand at Central Plaza Bangkok (Phaholyothin Road)
言語 日本語 費用 会員
6,420 バーツ/人(VAT 込み)
一般
8,560 バーツ/人(VAT 込み)
ติดต่อสอบถาม แผนกบริการฝึกอบรมและสัมมนา โทรศัพท์ 0-2936-1429 ต่อ 205, 208 (คุณวิลาสินี, คุณปริญญา) โทรสาร 0-2936-1441-2 หรือ E-mail : wilasinees@ic.or.th , is-investor@ic.or.th Download แบบตอบรับและรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ic.or.th
สมาคมสโมสรนักลงทุน
INVESTOR CLUB ASSOCIATION
1 อาคารทีพี แอนด์ ที ชั้น 12, 16 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กทม 10900 โทร. 0 2936 1429 แฟกซ์ 0 2936 1441-2 1 TP & T Tower, 12th 16th FL., Vibhavadi Rangsit Rd., Chatuchak, Chatuchak, Bangkok 10900 Tel. 0 2936 1429 Fax 0 2936 1441-2
ที่ IS 263/2556 16 พฤษภาคม 2556 เรื่อง ขอเรียนเชิญเข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงาน “บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จากัด” เรียน ท่านสมาชิกและผู้ใช้บริการสมาคมสโมสรนักลงทุน ผู้ประกอบการ นักลงทุน และผู้สนใจทั่วไป สิ่งที่ส่งมาด้วย กาหนดการพร้อมแบบตอบรับ จานวน 1 แผ่น ด้วยสมาคมสโมสรนักลงทุน มีกาหนดจัดกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงาน “บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จากัด” ในวันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน 2556 เวลา 09.30-12.00 น. ณ นิคมอุตสาหกรรม แหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ ประสบการณ์ วิสัยทัศน์ในการ ดาเนินธุรกิจของท่าน ดังมีรายละเอียดปรากฏตามสิ่งที่ส่งมาด้วย ในการนี้ สมาคมเห็นว่ากิจกรรมดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ตอ่ การดาเนินธุรกิจและบุคลากรของท่าน จึงขอเรียนเชิญท่านเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ (รับจานวนจากัดเพียง 35 ท่าน) โปรดกรอกแบบตอบรับส่งกลับมา ที่แผนกลูกค้าสัมพันธ์ทางโทรสาร 0 2936 1441–2 หรือ Email: cus_service@ic.or.th ปิดรับภายในวันที่ 7 มิถุนายน 2556 หรือปิดรับทันทีเมื่อที่นั่งเต็ม ทั้งนี้ สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ แผนกลูกค้าสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 201 - 202 และ 214 (จิตติมา, นลนีย์, เบญจวรรณ) จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ขอแสดงความนับถือ
(นายภาวิต กองแก้ว) ผู้จัดการสมาคมสโมสรนักลงทุน แผนกลูกค้าสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 201-2, 214 โทรสาร 0 2936 1441 - 2 Email: cus_service@ic.or.th, chittimap@ic.or.th
ติดตามข่าวสารการจัดกิจกรรมได้ที่ www.ic.or.th
วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน 2556 เวลา 09.30 – 12.00 น. ณ บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จากัด นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี
MITSUBISHI MOTORS ได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในผู้นาด้านการผลิตรถยนต์ รายใหญ่ของประเทศไทยที่สามารถตอบสนองความต้องการสูงสุดของลูกค้าด้วยกระบวนการผลิต และเทคโนโลยีที่มีมาตรฐานระดับสากล มุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรและการบริการให้มี ประสิทธิภาพ สูงสุดจนเป็นศูนย์กลางการผลิตรถยนต์รายใหญ่ของโลก (GLOBAL PRODUCTION CENTER) ที่มีศักยภาพในการผลิตสูงที่สุดในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ “สมาคมขอเชิญทุกท่านร่วมสัมผัสกับความยิ่งใหญ่ ด้วยการนาเทคโนโลยีมาใช้และกระบวนการผลิตที่ทันสมัย”
พิเศษ!!
Highlight!! เยี่ยมชมโรงงาน ฟังบรรยาย พบปะ สมาชิก 1,391 บาท บุคคลทั่วไป 1,819 บาท
กาหนดการเยี่ยมชมโรงงาน เวลา
หัวข้อกิจกรรม
06.30 – 07.30 น. 07.30 – 09.30 น. 09.30 – 10.45 น.
10.45 – 12.00 น. 12.00 – 13.30 น. 14.00 – 16.00 น.
ลงทะเบียน พร้อมรับประทานอาหารว่าง ณ สมาคมสโมสรนักลงทุน (ชั้น 12) ออกเดินทางมุ่งหน้าสู่นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง (กรุงเทพฯ – ชลบุร)ี กล่าวต้อนรับโดย ผู้บริหารของบริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จากัด รับฟังการบรรยาย แนะนาองค์กร การบริหารจัดการ การควบคุมคุณภาพ การพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีและกระบวนการผลิตที่ทันสมัย ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) เยี่ยมชมกระบวนการผลิต และถาม–ตอบ กล่าวขอบคุณพร้อมมอบของที่ระลึกและถ่ายภาพร่วมกัน รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน ออกเดินทางกลับถึงสมาคมสโมสรนักลงทุน
★☆ หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์การเข้าชมโรงงานสาหรับกิจการประเภทเดียวกันกับบริษัท ☆★
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่แผนกลูกค้าสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2936 1429 คุณจิตติมา ต่อ 201, คุณนลนีย์ ต่อ 202, คุณเบญจวรรณ ต่อ 214
ใบสมัครกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงาน
บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จากัด วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน 2556 เวลา 09.30 – 12.00 น. ณ นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ชื่อบริษัท ประเภทกิจการ ที่อยู่บริษัท (สาหรับออกใบเสร็จรับเงิน) หมายเลขสมาชิก ___________________________________________________________________________________________ รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม 1. ชื่อ-นามสกุล (นาย/นาง/นางสาว)
ตาแหน่ง
โทรศัพท์ (มือถือ)
2. ชื่อ-นามสกุล (นาย/นาง/นางสาว) โทรศัพท์ (มือถือ)
ตาแหน่ง E-mail
ชื่อผู้ประสานงาน
ตาแหน่ง
โทรศัพท์
โทรสาร
อัตราค่าลงทะเบียน (รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) สมาชิก 1,391 บาท บุคคลทั่วไป 1,819 บาท สมัครด่วน! รับจำนวนจำกัดเพียง 35 ท่ำน เท่ำนั้น (หมดเขตรับสมัครภายในวันที่ 7 มิถุนายน 2556) ติดต่อสอบถาม / สมัครเข้าร่วมกิจกรรมได้ที่โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 201-2, 214 (จิตติมา, นลนีย์, เบญจวรรณ) หรือกรอกแบบตอบรับส่งแฟกซ์กลับมาที่ 0 2936 1441–2 หรือ Email: cus_service@ic.or.th, chittimap@ic.or.th
ส่วน้อิธนาคาร (โปรดเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจากผู้ชาระเงิน)
แบบฟอร์มการชารเงินนงื่ออง้าาบญชช
"สมาคมสโมสรนญกลิทุน"
บมจ. ธ.ไทยพาณิชย์ Comp Code: 0746 เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์
(15 บาท/15บาท)
บมจ. ธ.กรุงเทพฯ (Br. No.045) (20 บาท/35บาท) บมจ. ธ.กสิกรไทย 943-1-00006-4 (15 บาท/35บาท) บมจ. ธ.ทหารไทย Comp Code : 371/service code 1102 (10 บาท/20บาท) บมจ. ธ.กรุงศรีอยุธยา 644-0-00007-8 (15 บาท/30บาท) บมจ. ธ.กรุงไทย Comp Code : 3418 (15 บาท/25บาท) บมจ. ธ.ธนชาต TAX.ID 3108114983 00 (10 บาท/10บาท) หมายงล้งช็ค ช่ออธนาคาร/สา้า งินนสด / CASH
INVESTOR CLUB ASSOCIATION
(099 3 00013367 6)
SERVICE CODE: INVESTOR สาขาที่รับฝาก............................................... วันที่............/.............../................ ชื่อลูกค้า/NAME………………………………………………………………….. รหัสลูกค้า/CUSTOMER NO.REF.NO.1) หมายเลขสมาชิก............................... รหัสค่าบริการ/REF.NO.2)………………..1-30-018……………………………... ชื่อกิจกรรม....เยี่ยมชมโรงงาน บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จากัด..... ชื่อผู้นาฝาก................................................โทรศัพท์................................................ งช็คลิวญนทอ จานวนงินน (บาท)
จานวนงินนงป็นตญวอญกษร (.........................................................................................................................................) เจ้าหน้าที่ธนาคาร-ผู้รับ..............................................
วิธีการชาระเงิน 1. นา “แบบฟอร์มการชาระเงิน” ไปชาระเงินด้วย Bill Payment ตามช่องทางบริการต่าง ๆ ของธนาคาร 7 แห่ง คือ 1. ธ.ไทยพาณิชย์ 2. ธ.กรุงเทพฯ 3. ธ.กสิกรไทย 4. ธ.ทหารไทย 5. ธ.กรุงศรีอยุธยา 6. ธ.กรุงไทย 7. ธ.ธนชาต 2. ชาระด้วยเงินสดได้ที่ฝ่ายบัญชีและการเงิน ณ ที่ทาการสานักงานใหญ่ของสมาคมสโมสรนักลงทุน หรือ ชาระด้วยเช็คสั่งจ่ายในนาม “สมาคมสโมสรนักลงทุน” หรือ “INVESTOR CLUB ASSOCIATION” หมายเหตุ : สมาคมได้รับยกเว้นการถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามข้อ 12/1 (2) ตามคาสั่งกรมสรรพากรที่ ทป. 101/2544