จับไม้ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
จับไม้ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์ส�ำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
ผู้เขียน : ชมจันทร์ ดาวเดือน ISBN : 978-974-625-624-7 จ�ำนวน : 32 หน้า พิมพ์ครั้งที่ 1 : สิงหาคม 2557 จ�ำนวนพิมพ์ : 100 เล่ม ราคา : จัดพิมพ์โดย : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ต�ำบลคลองหก อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์: 0 2549 4682 โทรสาร: 0 2577 5038 Website: http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail: ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที่ : บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จ�ำกัด โทรศัพท์ : 0 2521 8420 โทรสาร: 0 2521 8424
เนื้อหาใดๆ ในหนังสือเล่มนี้เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเพียงผู้เดียว สถาบันวิจัยและพัฒนา เป็นเพียงผู้จัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชนเท่านั้น
ค�ำน�ำ เอกสารเผยแพร่ความรู้ เรื่อง จับไม้ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ เครือ่ งหอม ชุดความรูฉ้ บับนีจ้ ดั ท�ำขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เผยแพร่ความรูเ้ กีย่ วกับ การออกแบบบรรจุภัณฑ์เครื่องหอม เนื่องจากบรรจุภัณฑ์เครื่องหอมถือเป็นสื่อ โฆษณาโดยทางอ้ อ มอย่ า งหนึ่ ง ที่ ก ลุ ่ ม ผู้บริโภคให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์เครือ่ งหอมทีด่ จี ะค�ำนึงถึงความเป็นธรรมชาติแบบเดียวกับ เครือ่ งหอม แต่กไ็ ม่ได้ละทิง้ เอกลักษณ์ของสินค้า ซึง่ เป็นธรรมชาติ แบบแผน และ ขนบธรรมเนียม ประเพณีของไทย และทีส่ �ำคัญจะต้องใช้ทรัพยากรภายในประเทศ อย่ า งรู ้ คุ ณ ค่ า ให้ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด ในการออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ จ ะต้ อ งตอบสนอง ผูบ้ ริโภคได้ทงั้ สองด้าน คือ ด้านประโยชน์ใช้สอย และความงดงาม เพราะบรรจุภณ ั ฑ์ ไม่เพียงแต่จะปกป้องรักษาสินค้าได้เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังต้องออกแบบให้ สามารถพกพาสะดวก สนองตอบชีวิตประจ�ำวันได้ ที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่ง จะต้อง แข่งขันกับต่างประเทศ บรรจุภณ ั ฑ์ชว่ ยอ�ำนวยความสะดวกในการส่งออกจากโรงงาน ที่ผลิตไปยังผู้บริโภคหรือผู้จัดจ�ำหน่ายได้โดยสินค้าไม่เสียหาย จากเหตุผลดังกล่าว ผูอ้ า่ นทีส่ นใจสามารถศึกษาจากเอกสารฉบับนีไ้ ด้ด้วย ตนเอง ทั้งนี้ได้รวบรวมและเรียบเรียงเนื้อหาจากการค้นคว้าและวิจัยของผู้เขียนที่ ได้ศึกษาด้วยตนเอง ทั้งนี้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเผยแพร่ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ ส�ำหรับผู้อ่านไม่มากก็น้อย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สิงหาคม 2557
สารบัญ บทน�ำ ผลิตภัณฑ์เครื่องหอม แหล่งที่มาของเครื่องหอม ไม้ไผ่ ลักษณะทั่วไปของไม้ไผ่ การใช้ประโยชน์จากไม้ไผ่ หัตถกรรมไม้ไผ่ของไทยในอนาคต ประเภทลวดลายเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ แนวคิดที่ใช้ในการออกแบบ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ข้อมูลทางด้านอารมณ์ (Emotional Massage) หลักเกณฑ์การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ขั้นตอนการผลิตบรรจุภัณฑ์ไม้ไผ่ส�ำหรับเครื่องหอม อุปกรณ์การผลิตบรรจุภัณฑ์ไม้ไผ่ส�ำหรับเครื่องหอม การสานลายไม้ไผ่ส�ำหรับบรรจุภัณฑ์เครื่องหอม สรุปผลช่วงเวลาในการย้อมสีของไม้ไผ่ สรุปผลการออกแบบบรรจุภัณฑ์จากไม้ไผ่ บรรณานุกรม ประวัติผู้เขียน
หน้า 1 2 2 6 7 12 13 14 17 17 20 21 22 22 24 27 28 31 32
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 1
บทน�ำ มนุษย์เรารับรู้ได้ถึงรูป รส กลิ่น เสียง และการสัมผัสด้วยธรรมชาติในตัวเอง เครือ่ งหอม จึ ง เป็ น ส่ ว นประกอบที่ ส� ำ คั ญ ในการรั บ รู ้ รูปแบบของกลิ่น เครื่องหอมยังเป็นสิ่งจ�ำเป็น ต่อการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันในสังคมที่มีการ ปรุงแต่งขึ้นอย่างไม่รู้จบ เพราะเป็นสิ่งที่มนุษย์ ได้ปรุงแต่งขึน้ เริม่ จากการเลียนแบบธรรมชาติ จนกระทัง่ พัฒนามาเป็นกลิน่ เฉพาะตัว เครือ่ งหอม แต่ ล ะกลิ่ น สามารถบ่ ง บอกถึ ง รสนิ ย มของ ผูใ้ ช้ได้เป็นอย่างดี มีการปรุงแต่งความต้องการ ของยุ ค สมั ย ได้ การแต่ ง กลิ่ น จะเป็ น ส่ ว นที่ กระตุ้นความต้องการ จึงเป็นปรากฏการณ์ ธรรมชาติอย่างหนึ่งซึ่งได้ใช้ความสังเกตและ ทดลองจากจุดเล็ก ๆ โดยเริ่มจากการสัมผัส กลิน่ ดอกไม้ กลิน่ หอมจากสัตว์ พืชชนิดต่าง ๆ โดยการผสมผสานการปรุงแต่งออกมาเป็น เครือ่ งหอมทดแทนจากธรรมชาติ กลิน่ เครือ่ งหอม เหล่านั้นก็จะโชยกลิ่นหอมมาสัมผัสจมูกท�ำให้ เกิดความพอใจ มีความสุข และช่วยผ่อนคลาย ความเครียดในที่สุด
2 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
ผลิตภัณฑ์เครื่องหอม เครื่องหอมเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอย่างหนึ่งซึ่งมนุษย์ได้ใช้ความ สังเกตและทดลองจากจุดเล็ก ๆ โดยเริ่มจากการสัมผัสกลิ่นดอกไม้ที่โชยกลิ่นหอม มาสัมผัสจมูกท�ำให้เกิดความพอใจ และมีความสุข ต่อมาเริ่มมีการน�ำดอกไม้หอม เหล่านัน้ มาประดับตามร่างกายดูแล้วสวยงามแถมผูป้ ระดับยังหอมอีกด้วย จากกลิน่ หอมทีเ่ กิดจากดอกไม้นเี้ อง มนุษย์เริม่ สังเกตความหอมทีเ่ กิดจากส่วนประกอบอืน่ ๆ ของต้นไม้ เช่น ใบ เปลือก เนือ้ ไม้ ราก และยางของต้นไม้ สังเกตต่อไปถึงกลิน่ หอมใน ตัวสัตว์ เช่น ชะมด ปลาวาฬ และบีเวอร์ เป็นต้น นอกจากนีย้ งั รูจ้ กั สกัดเอาน�ำ้ มันหอม จากพืชและสัตว์นำ� มาใส่ภาชนะเก็บไว้ใช้ได้อกี วิวฒ ั นาการของเครือ่ งหอมได้พฒ ั นา โดยใช้เวลาเป็นพัน ๆ ปีกว่าจะเป็นเครื่องหอมที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนั้น ด้วยความหลักแหลมของมนุษย์ ยังคิดค้นสิ่งทดแทนจากธรรมชาติโดยการผสม ผสานปรุงแต่งออกมาเป็นเครื่องหอมสังเคราะห์นอกเหนือจากที่ธรรมชาติสร้าง ขึ้นมา (โสภาพรรณ อมตะ 2536: 21)
ผลิตภัณฑ์เครื่องหอมที่มีจ�ำหน่ายตามท้องตลาด
แหล่งที่มาของเครื่องหอม เครื่องหอมที่ใช้กันในปัจจุบันนี้ไม่ว่าจะเป็นของต่างประเทศและของใน ประเทศ ต่างก็มาจากวัตถุดิบที่พอจะแบ่งประเภทได้ดังนี้ 1. เครื่องหอมจากสัตว์ (Animal) ที่นิยมกันแพร่หลาย เช่น ชะมดเช็ด ชะมดเชียง ปลาวาฬ และบีเวอร์
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 3
2. น�ำ้ หอมทีไ่ ด้จากชะมด มีหลายชนิดน�ำ้ หอมทีไ่ ด้จากชะมด เป็นน�ำ้ มัน ที่ออกจากต่อมใกล้เครื่องเพศที่อยู่ระหว่างสะดือกับอวัยวะสืบพันธุ์ชะมดตัวผู้ และ ตัวเมียได้เช็ดไว้ตามซีก่ รง เรียกว่า ชะมดเช็ด (Civet) อีกอย่างหนึง่ มาจากประเทศจีน แผ่นดินใหญ่ เรียกว่า ชะมดเชียง (Musk) ซึ่งได้มาจากต่อมที่อยู่ใต้ท้องชะมด ที่เป็นตัวผู้เท่านั้น 3. น�้ำมันหอมที่ได้จากตัวบีเวอร์ (Beaver) เป็นน�้ำมันหอมจากต่อมใน ไข่ดัน 4. น�้ ำ มั น หอมที่ ไ ด้ จ ากปลาวาฬ ได้ จ ากมู ล ปลาวาฬ (Ambergris) เป็นของเหลวที่ขับออกมาจากล�ำไส้ของปลาวาฬ และของเหลวชนิดนี้มีคุณสมบัติ พิเศษคือ เมื่ออยู่ในน�้ำมันจะอ่อนนุ่ม แต่เมื่อพ้นน�้ำมาอยู่ในที่ที่มีลมโกรกจะกลาย เป็นของแข็ง เรียก อ�ำพัน มูลปลามีสีขาว สีด�ำ สีเหลือง สีเทา 5. เครื่องหอมจากพฤกษชาติ (Plant) ได้แก่ ดอกไม้ต่าง ๆ ที่มีกลิ่นหอม เช่น ดอกกุหลาบ ดอกคาร์เนชั่น มะลิอีลังอีลัง (Ylang Ylang) จ�ำปา กระดังงา จันทร์กะพ้อ พิกลุ ช�ำมะนาด ล�ำเจียก เป็นต้น ในกระบวนเครือ่ งหอมจากดอกไม้ กุหลาบเป็นส่วนผสมที่ส�ำคัญของน�้ำหอมที่มีชื่อเสียงนานาชนิดทั่วโลก นอกจาก ดอกไม้แล้ว เครื่องหอมจากพฤกษชาติยังได้มาจากใบ เช่น ใบส้ม ใบมะกรูด ใบมะนาว ใบมินต์ จากเปลือก ได้แก่ อบเชย ชะลูด จากเนื้อไม้ ได้แก่ ไม้จันทน์ กฤษณา ซีคาร์ ส�ำหรับยางไม้ ได้แก่ หนาด ก�ำยาน และเมล็ด ได้แก่ ลูกจันทน์ พริกไทด�ำ 6. เครื่องหอมสังคราะห์ (Synthetic) เป็นเครื่องหอมที่มนุษย์ปรุงแต่ง ขึ้นมาจากสารเคมีและผสมผสานให้มีกลิ่นหอมตามธรรมชาติ เช่น ดอกมะลิ กลิ่น กุหลาบ ในปัจจุบันเครื่องหอมได้มีการวิวัฒนาการการผลิตหลายรูปแบบ และมี กลิ่นหลากหลายตามสมัยนิยมของผู้คนยุคเทคโนโลยี เครื่องหอมจึงแบ่งออกได้ หลายประเภท ส่วนใหญ่ที่พบเห็นก็จะได้ในรูปแบบกลิ่นที่เป็นธรรมชาติ เช่น กลิ่น ของดอกไม้ ใบไม้ ซึ่งพบได้บ่อยในร้านเครื่องหอมทั่วไป กลุ่มเป้าหมายที่ส�ำคัญของ
4 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
เครื่องหอมประเภทนี้ เช่น ร้านสปา โรงแรม รีสอร์ท ที่มุ่งเน้นความเป็นธรรมชาติ และมีการน�ำเสนอหลายรูปแบบให้เลือกใช้ตามประเภทของงาน ของสถานที่นั้น เช่น แบบน�้ำ แบบผง แบบก้อน และแบบดอก หรือใบแห้ง จากความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่หันไปใช้เครื่องหอมจากต่างประเทศ จนกลายเป็นแฟชัน่ โดยไม่ได้คดิ ว่าเครือ่ งหอมน�ำเข้าจากต่างประเทศนัน้ มีราคาสูงมาก รัฐบาลสนับสนุนสินค้าประเภทนีใ้ ห้เป็นสินค้าส่งออก หรือเป็นสินค้าในกลุม่ OTOP เพื่อส่งเสริมรายได้ให้กับประชาชน และยั ง เป็ น การส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ ของประเทศไทยให้ดยี งิ่ ขีน้ เครือ่ งหอม ที่ ผ ลิ ต โดยคนไทยใช้ ท รั พ ยากรใน ประเทศที่มีอยู่ให้เกิดคุณค่าขึ้นมา โดยมี ก ารแต่ ง กลิ่ น และออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์ให้มคี วามสวยงาม สะดวก และที่ ส� ำ คั ญ จะต้ อ งสร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก ผลิตภัณฑ์เครื่องหอมที่มีจ�ำหน่ายในกลุ่ม OTOP ของความเป็นไทยได้ด้วย การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์เครือ่ งหอมถือได้วา่ เป็นสือ่ โฆษณาทางอ้อมอย่างหนึง่ ที่ผู้บริโภคให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก การออกแบบบรรจุภัณฑ์ใส่เครื่องหอมที่ดี จะต้องคงความเป็นธรรมชาติแบบเดียวกับเครื่องหอม แต่ก็ไม่ได้ละทิ้งการอนุรักษ์ ความเป็นธรรมชาติ แบบแผน ขนบธรรมเนียมและประเพณีของไทย และที่ส�ำคัญ จะต้องใช้ทรัพยากรในประเทศอย่างรู้คุณค่าให้ได้มากที่สุด และในการออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์จะต้องตอบสนองผูบ้ ริโภคได้ คือ ด้านประโยชน์ใช้สอย และความงดงาม เพราะบรรจุภัณฑ์ไม่เพียงแต่จะปกป้องรักษาสินค้าได้เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยัง ต้องออกแบบให้สามารถพกพาสะดวก ที่ส�ำคัญจะต้องแข่งขันกับต่างประเทศ และ ช่วยอ�ำนวยความสะดวกในการน�ำสินค้าส่งออกด้วย
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 5
การออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งหอมจึ ง มี ค วามจ� ำ เป็ น จะต้ อ งน� ำ เอา ทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศมาใช้อย่างรู้คุณค่า และที่ส�ำคัญจะต้องสามารถรักษา สภาพแวดล้อมได้เป็นอย่างดี ในแนวทางการออกแบบก็ไม่ละทิ้งประโยชน์ใช้สอย และความสวยงามของบรรจุภัณฑ์ใส่เครื่องหอม
ผลิตภัณฑ์เครื่องหอมที่มีจ�ำหน่ายในกลุ่ม OTOP
6 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
ไม้ ไผ่ ไผ่เป็นพืชทีข่ นึ้ ง่าย โตเร็ว ตายยาก และขยายพันธุ์ได้ง่าย ไผ่ มีคุณค่ามากมาย เรียกได้ว่าเป็น พืชเอนกประสงค์ใช้ประโยชน์ได้ ทุกส่วน ตั้งแต่หน่อ ล�ำต้น ใบ ดอก และผล มี ป ระโยชน์ ทั้ ง ทางตรง และทางอ้อมนานัปประการ กล่าว ไม้ไผ่ที่น�ำมาผลิตบรรจุภัณฑ์ ได้ว่าไม่มีพืชชนิดใดในโลกนี้รับใช้ มนุษย์ได้เท่าไม้ไผ่ ถือได้ว่าเป็นพืชตระกูลหญ้าที่รับใช้มนุษย์มาแต่โบราณกาล ให้ ประโยชน์ทั้งด้านอุปโภค บริโภค ใช้เป็นที่อยู่อาศัย ท�ำเป็นเครื่องมือ ยารักษาโรค และประโยชน์ทางอุตสาหกรรมนานัปประการ ส�ำหรับคนไทย ประชาชนก็ใช้ประโยชน์ จากไม้ไผ่ในชีวิตประจ�ำวันมาช้านานและนับวันจะมากขึ้นทุกที ประโยชน์ของต้นไผ่ใช้ได้ทกุ ส่วน คือ ใบปรุงเป็นยาขับฟอกระดู ใบต้มกับน�ำ้ ใช้ขับพยาธิ ตาใบผสมกับพริกไทยด�ำและเกลือเล็กน้อยใช้ขับพยาธิ รากใช้รักษา เกลื้อน ต้มกินเป็นยาขับปัสสาวะและแก้หนองใน หน่อไม้ใช้เป็นอาหาร ไม้ไผ่ใช้ จักสาน สร้างบ้าน ท�ำหมวก ท�ำตอกเย็บของ ฯลฯ ไผ่มีจ�ำนวนมากมายหลายสกุล หลายชนิด ทั่วโลกน่าจะมีมากกว่า 1,000 ชนิด ในประเทศไทยมีอยู่ประมาณ 50 ชนิด เป็นพืชที่มีสกุลหลายสกุล และหลาย ชนิด เป็นพืชในวงศ์เดียวกับหญ้า ข้าว คือ วงศ์ “Gramineae” หรือ “Poaceae” ลักษณะเป็นไม้เนื้อแข็ง ความสูงแล้วแต่ชนิด อาจสูงได้ถึง 30 เมตร ขึ้นรวมกันเป็น กอใหญ่ มีเหง้าใต้ดนิ มีลกั ษณะแข็ง ล�ำต้นตรง มีขอ้ และปล้องชัด มีกาบแข็งสีฟางหุม้ (Culm sheath) มีตาทีข่ อ้ ปล้องกลวง ไผ่ทมี่ ลี �ำโตทีส่ ดุ มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20 เซนติเมตร ปล้องยาวประมาณ 60 เซนติเมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกสลับ
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 7
รูปหอก หรือรูปขอบขนาน ปลายเรียวแหลม ขอบใบสากคายมีขนทั่วไป ดอก ช่อยาวออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ผลมีขนาดเล็กมาก มี 1 เมล็ด ไผ่ออกดอกแล้ว ต้นจะตาย ไม้ไผ่เป็นพืชที่หาได้ง่าย โตเร็ว ขยายพันธุ์ได้ง่าย มีประโยชน์ทุกส่วน ถือได้ ว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญในการด�ำรงชีวติ มาตัง้ แต่โบราณกาล สามารถสร้างเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย เครือ่ งนุง่ ห่ม ยารักษาโรค และงานหัตถกรรมเครือ่ งจักสาน จึงมีความส�ำคัญทีห่ ล่อ เลีย้ งชีวติ ของคนไทยมาช้านาน ถือได้วา่ เป็นงานศิลปะอย่างหนึง่ ทีน่ บั วันจะสูญหาย ไปจากคนไทย นับตั้งแต่มีการน�ำเทคโนโลยีน�ำไม้ไผ่มาผลิตกระดาษ ซึ่งการผลิต ดังกล่าวท�ำให้สูญเสียทรัพยากรและพลังงานหลายอย่างตามมา ปัจจุบันงานหัตถกรรมการจักสานของคนไทยน�ำไม้ไผ่มาออกแบบเป็น บรรจุภัณฑ์ใส่เครื่องหอมประเภทต่าง ๆ ให้มีความทันสมัย มีประโยชน์ใช้สอยได้ อย่างเต็มที่ และไม่ละทิ้งความงดงามในตัวบรรจุภัณฑ์เครื่องหอม และยังเป็นการ ส่งเสริมในการอนุรกั ษ์ธรรมชาติสงิ่ แวดล้อมด้วย มแี นวทางในการออกแบบให้บรรจุภณ ั ฑ์ เครื่องหอมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน ลักษณะทั่วไปของไม้ไผ่
ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ เหง้า (Rhizome) คือ ส่วนของล�ำไม้ไผ่ที่เจริญเติบโต อยู่ใต้ดิน ประกอบด้วยส่วนของข้อ (Node) อัดกันแน่น จึงมี ตาเหง้า (Rhizomebud) จ�ำนวนมาก การเกิดล�ำของไม้ไผ่ (Culm) เริ่มต้นจากตาที่อยู่บริเวณเหง้า มีการพัฒนาเป็นหน่อ (Shoot) และหน่อมีการยืดตัวเจริญเป็นล�ำในที่สุด โดยปกติแล้วสามารถ แบ่งส่วนของเหง้าได้เป็น 2 ส่วน คือ ส่วนทีต่ ดิ กับโคนของล�ำ ซึง่ สามารถสังเกตเห็นตาเหง้าและรากฝอยได้ และส่วนทีอ่ ยูถ่ ดั ลงไป ทีเ่ รียกว่า คอเหง้า (Rhizome Neck) ซึง่ เป็นส่วนทีม่ ลี กั ษณะเป็น ข้อ ๆ แต่ไม่สามารถสังเกตเห็นตาเหง้าหรือรากฝอย
เหง้าไม้ไผ่
8 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
ใบ (Leaf) ใบของไม้ไผ่ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1. กาบใบ (Leaf sheath) คือ ส่วนที่หุ้มก้านใบ 2. ครีมกาบใบ (Leaf auricle) คือ ส่วนทีอ่ ยูด่ า้ นบนทัง้ 2 ข้าง ของกาบใบ เหมือนเป็นหัวไหล่ 3. กระจัง (Leaf ligule) คือ ตอนปลายของกาบใบตรงที่ต่อกับใบยอด กาบ 4. ใบยอดกาบ (Leaf blade) คือ ใบไม้ไผ่ที่พบเห็นนั่นเอง ใบยอดกาบ เป็นส่วนทีต่ อ่ จากตัวกาบใบ ไม่มกี า้ นใบ และมีรอยต่ออยูก่ บั กาบเสมอ ไม่ได้เชือ่ มเป็น แผ่นเดียวตลอด มีลกั ษณะแตกต่างกันไปในแต่ละชนิดไผ่ เช่น บางชนิดมีลกั ษณะของ ฐานใบยอดกาบกลม บางชนิดมีฐานเรียว 5. รอยก้านใบ (Leaf scar) คือ บริเวณที่ก้านใบติดกับส่วนยอดของกาบ ใบ ลักษณะของใบที่ใช้สังเกต คือรูปร่างของใบ ขนาดของใบ ลักษณะของกระจัง และครีมกาบใบ รวมถึงลักษณะการเอียงตัวของใบ
ลักษณะใบของต้นไผ่
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 9
กาบหุ้มล�ำ (Culm sheath) คือ ส่วนที่หุ้มอยู่รอบล�ำ ส�ำหรับป้องกันล�ำ เมื่อยังอ่อนอยู่ กาบหุ้มล�ำมักจะหลุดร่วงไปเมื่อล�ำเจริญเติบโตเต็มที่ มีไม้ไผ่เพียง บางชนิดเท่านั้นที่กาบหุ้มล�ำไม่หลุดร่วง เช่น ไผ่รวก และไผ่รวกด�ำ กาบหุ้มล�ำมีส่วน ประกอบที่คล้ายไม้ไผ่ คือมีส่วนที่เป็นกาบ ครีบกาบ กระจัง และใบยอดกาบ
ลักษณะกาบหุ้มล�ำของต้นไผ่
การแตกกิ่ง (Branching) ไม่ไผ่บางชนิดมีการแตกกิ่งตั้งแต่โคนของล�ำ จนถึงยอด บางชนิดแตกกิง่ เฉพาะบริเวณส่วนยอดของล�ำ และยังพบว่าไม้ไผ่แต่ละ ชนิดมีลักษณะการแตกกิ่งแขนงแตกต่างกัน ไม้ไผ่บางชนิดมีการแตกกิ่งขนาดเล็ก เท่า ๆ กัน จ�ำนวนมาก เช่น ไผ่ข้าวหลาม (Cephaostacyum pergracile) บางชนิด แตกกิ่งแขนงแบบมีกิ่งหลักและกิ่ง รอง คือมีกงิ่ ขนาดใหญ่ 1 กิง่ เป็นกิง่ หลัก และมีกิ่งขนาดเล็ก 1 หรือ 2 กิ่ง เป็นกิ่งรอง เกิดอยูข่ า้ ง ๆ กิง่ หลัก เช่น ไผ่ตง หรือไม้ไผ่บางชนิดมีการ แตกกิง่ ขนาดใหญ่เพียงกิง่ เดียว เช่น ไผ่ไร่ เป็นต้น ลักษณะการแตกกิ่งของต้นไผ่
10 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
ความสั้น-ยาวของปล้องไม้ไผ่ แต่ละชนิดมีความยาวของปล้องไม่เท่ากัน บางชนิดมีความยาวของปล้องเป็นลักษณะเด่นเนือ่ งจากมีปล้องยาวมาก เช่น ไผ่นวล (ชลบุร)ี หรือไผ่ปล้องยาว (ปราจีนบุร)ี หรือไผ่ชี้ (จันทบุร)ี (ยังไม่ทราบชือ่ วิทยาศาสตร์ ทีถ่ กู ต้อง) ซึง่ ปกติมคี วามยาวของปล้องเฉลีย่ ประมาณ 100-120 เซนติเมตร ในขณะที่ ไผ่ชนิดอื่นมีปล้องยาวประมาณ 20-30 เซนติเมตร
ลักษณะความสั้น–ยาวของปล้องของต้นไผ่
ขนาดความโตของล�ำ ท�ำให้สามารถจ�ำแนกไม้ไผ่ได้อย่างคร่าว ๆ ว่าเป็นไผ่ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือขนาดใหญ่ โดยทัว่ ไปล�ำของไม้ไผ่มขี นาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ตั้งแต่ 0.50-30.00 ซม. ไผ่ขนาดเล็กที่พบในประเทศไทย คือ ไผ่เพ็ก หรือหญ้าเพ็ก ส่วนไผ่ขนาดใหญ่ ได้แก่ ไผ่หก
ลักษณะขนาดความโตของล�ำของต้นไผ่
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 11
ลักษณะของตาข้าง (Bud) ขนรอบข้อ หรือลักษณะเด่นอื่น ๆ บริเวณข้อ เช่น มีแถบสีขาวคาดบริเวณรอบ ๆ ข้อ ซึ่งพบในไผ่บงเล็ก (Bambusa nutans)
ลักษณะของตาข้างของต้นไผ่
ลักษณะสีของล�ำต้นของต้นไผ่
หน่อ (Shoot) หน่อของไม้ไผ่เป็นส่วนทีแ่ สดงลักษณะของกาบล�ำ (Sheath) ทีซ่ อ้ นทับกันเป็นชัน้ ๆ ได้อย่างสมบูรณ์และชัดเจน ท�ำให้หน่อของไม้ไผ่แต่ละชนิดมี รูปร่างลักษณะภายนอกและสีแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด
ลักษณะหน่อของต้นไผ่
12 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
ช่ อ ดอก ดอก และเมล็ ด (Infiorescence, filwer and fruit) การออกดอกของไม้ไผ่เป็นลักษณะเด่นประจ�ำพันธุ ์ ซึง่ น่าสนใจกว่าการออกดอกของ พืชชนิดอื่น ๆ เนื่องจากการออกดอกของไม้ไผ่ เป็นการพัฒนาขั้นสุดท้ายของไม้ไผ่ ที่น�ำไปสู่การผลิตเมล็ด (fruiting) ก่อนที่ไม้ไผ่ต้นนั้นจะตาย
ลักษณะช่อดอก ดอก และเมล็ดของต้นไผ่
การใช้ประโยชน์จากไม้ไผ่ สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ. (2550 : 134) กล่าวไว้ว่า การใช้ประโยชน์จาก ไผ่ที่นิยมท�ำมาแต่โบราณ คือ การน�ำไม้ไผ่ไปเหลาเพื่อท�ำเป็นเครื่องจักสานต่าง ๆ เช่น กระเป๋าถือ หรือดัดแปลงท�ำภาชนะต่าง ๆ เช่น กระบอกน�้ำ ช้อน ทัพพี แจกัน เป็นต้น รวมไปถึงเครือ่ งมือในการด�ำรงชีพต่าง ๆ เช่น เข่ง สุม่ ไก่ กระบุง หรืออุปกรณ์ จับปลาชนิดต่าง ๆ เช่น ไซ ลอบ เป็นต้น ซึ่งคนในแถบชนบทของไทยจะตระหนัก ดีวา่ ไม้ไผ่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ในการด�ำรงชีพของตนเองได้มากเพียงใด และใน ปัจจุบนั นีย้ งั นิยมน�ำไม้ไผ่มาท�ำเฟอร์นเิ จอร์ โดยใช้ลำ� ต้นและเหง้าไผ่ ซึง่ เฟอร์นเิ จอร์ ไม้ไผ่ที่ได้รับการออกแบบผลิตภัณฑ์ทันสมัย สวยงาม จะมีราคาค่อนข้างแพง และ
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 13
เริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นในท้องตลาด ซึ่งเน้นการตกแต่งบ้านด้วยวัสดุจากธรรมชาติ นอกจากนี้ไม้ไผ่ยังน�ำมาใช้ในงานก่อสร้าง ท�ำร้านหรือไม้ร่าง และในแง่ของการ ตกแต่งแล้ว ไผ่บางพันธุย์ งั เป็นไผ่ประเภทสวยงามทีม่ กั ถูกน�ำมาปลูกเพือ่ ประดับสวน อีกด้วย เช่น ไผ่หม่าจู ไผ่น�้ำเต้า เป็นต้น หัตถกรรมไม้ไผ่ของไทยในอนาคต การใช้ไม้ไผ่มาท�ำหัตถกรรมของชาวบ้าน โดยเฉพาะการท�ำเครือ่ งจักสาน ซึง่ เป็นงานหัตถกรรมทีท่ ำ� กันแพร่หลายทีส่ ดุ นัน้ เป็นการท�ำและการสอนสืบต่อกันใน ครอบครัวจากพ่อแม่มาสู่ลูก จนในบางท้องถิ่นมีอาชีพท�ำเครื่องจักสานโดยเฉพาะ มีฝีมือและคุณภาพดี แต่เท่าที่ท�ำอยู่ทุกวันนี้ยังเป็นการผลิตขึ้นเพื่อขายและใช้ใน แต่ละท้องถิ่นเท่านั้น จึงควรได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้มีคุณภาพและรูปแบบ ที่ดีให้สามารถเป็นสินค้าที่ใช้ได้ทั้งในประเทศและส่งไปจ�ำหน่ายในต่างประเทศ ซึ่ง ท�ำได้หลายแนวทาง เช่น การประยุกต์รูปแบบและปรับการใช้สอย อาจน�ำเครื่อง จักสานที่มีลักษณะท้องถิ่นมาประยุกต์ให้มีขนาดใหญ่ ปรับรูปแบบเพื่อใช้ตกแต่ง อาคารบ้านเรือนหรือน�ำมาใช้ตามความเหมาะสม เช่น น�ำก่องข้าวหรือกระติบทีส่ าน ให้มขี นาดใหญ่มาใส่เศษกระดาษ ใส่เสือ้ ผ้าทีใ่ ช้แล้ว เอากระบุงมาใช้เป็นทีท่ งิ้ เศษผง เศษกระดาษ เศษผ้า ใช้กระจาดขนาดเล็ก ๆ ใส่ผลไม้บนโต๊ะอาหาร ใช้ตะกร้าเล็ก ๆ จัดดอกไม้ เป็นต้น จากข้อมูลที่กล่าวมาแล้วข้างต้นสรุปได้ว่าเรื่องราวของไม้ไผ่ และงาน หัตถกรรมไม้ไผ่ทั้งของไทยและชาวเอเชีย ซึ่งเป็นงานหัตถกรรมที่มีพื้นฐานมาจาก ความคิดสร้างสรรค์และฝีมือชาวบ้าน ก่อนที่จะพัฒนามาเป็นงานหัตถกรรมกึ่ง อุตสาหกรรม หัตถกรรมไม้ไผ่มีเสน่ห์ และคุณลักษณะพิเศษต่างจากหัตถกรรม ประเภทอื่น ๆ โดยเฉพาะหัตถกรรมไม้ไผ่ของไทยนั้นมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น หาก ได้รบั ความสนใจและพัฒนาส่งเสริมให้ถกู ทางก็จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อชาวบ้าน และต่อประเทศ (วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. 2546: 265)
14 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
ประเภทลวดลายเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ นิกร นุชเจริญผล. (2525: 8) ได้กล่าวถึงประเภทและการพัฒนาของ ลายสาน ดังนี้ 1. ลายแม่บท เป็นลายทีม่ ลี กั ษณะประจ�ำตัวเด่นชัด มีกฎเกณฑ์การสาน แน่นอน ลายแม่บทท�ำให้มนุษย์รู้จักน�ำวัสดุในท้องถิ่นมาสานเป็นสิ่งของเครื่องใช้ ในชีวิตประจ�ำวัน ดังตัวอย่างลายแม่บทแบบต่าง ๆ ดังนี้
ลวดลายการสานแบบตาชะลอม
ลวดลายการสานสอง
ที่มา: นิกร นุชเจริญผล. 2525: 23
ที่มา: นิกร นุชเจริญผล. 2525: 30
ลวดลายการสานแบบกลมสอง ที่มา: นิกร นุชเจริญผล. 2525: 47
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 15
2. ลายพัฒนา เป็นลายที่พัฒนาจากลายแม่บท กฎเกณฑ์การสานที่ แน่นอน แต่รายละเอียดเพิ่มขึ้นลักษณะเด่นของลายแม่ ส่วนลายจะเปลี่ยนแปลง เป็นรูปร่างง่าย ๆ เป็นลายที่มีรูปแบบที่แสดงให้เห็นความเฉลียวฉลาดของช่าง สานไทย ทีร่ จู้ กั ดัดแปลงและพัฒนาลวดลายให้มรี ปู แบบทีจ่ ะน�ำมาใช้ประโยชน์ได้อย่าง เหมาะสม สวยงาม ดังตัวอย่างลวดลายพัฒนา ดังนี้
ลวดลายการสานแบบขัดทะแยงมุม
ลวดลายการสานแบบขัดขึ้นต้น
ที่มา: นิกร นุชเจริญผล. 2525: 21
ที่มา: นิกร นุชเจริญผล. 2525: 22
ลวดลายการสานแบบเฉลวแปดเหลี่ยม
ลวดลายการสานแบบดีหล่มคว�่ำ
ที่มา: นิกร นุชเจริญผล. 2525: 23
ที่มา: นิกร นุชเจริญผล. 2525: 31
16 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
3. ลายประดิษฐ์ เป็นลายสานทีช่ า่ งสานประดิษฐ์ขนึ้ ให้เป็นลวดลายต่าง ๆ ตามความรู้สึกนึกคิดของช่างสาน โดยอาศัยลายแม่บทและลายพัฒนาเป็นหลักใน การสาน กฎเกณฑ์ของลายแม่บทและลายพัฒนายังคงอยูบ่ า้ ง แต่ไม่แน่นอนเสมอไป การใช้ตอกสีต่าง ๆ สานประดิษฐ์ให้เป็นดอกดวงและลวดลายยังคงลักษณะของ ลวดลายแม่บทและลายพัฒนาไว้ ดังตัวอย่างลายประดิษฐ์ดังต่อไปนี้
ลวดลายการสานแบบเฉลวเกล็ดเต่า ที่มา: นิกร นุชเจริญผล. 2525: 26
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 17
แนวคิดที่ใช้ ในการออกแบบ แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์รักษ์สิ่งแวดล้อม ปุ่น คงเจริญเกียรติ, สมพร คงเจริญเกียรติ. (2541: 230) กล่าวถึง แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อสิ่งแวดล้อมว่ามีหลากหลายรูปแบบ และวีธีการขึ้นอยู่กับวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่จะ หาได้ นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับวิธีการผลิตและแปรรูปบรรจุภัณฑ์ พร้อมทั้งข้อจ�ำกัด ของกระบวนการผลิตและวัสดุที่ได้จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิผล ความคิดริเริม่ ในการออกแบบย่อมส่งผลต่อการลดหมึกพิมพ์และวัสดุประกอบต่าง ๆ ทีใ่ ช้ในการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ การเลือกใช้วสั ดุทนี่ ำ� กลับมาใช้งานได้ใหม่และผลิตใหม่ได้ ย่อมเป็นการลดทรัพยากรธรรมชาติโดยตรง รักษาสิ่งแวดล้อม และลดพลังงาน ในการผลิตวัตถุดิบหรือการใช้วัสดุธรรมชาติอย่างอื่น การใช้วัสดุที่ได้จากธรรมชาติ ย่อมเป็นวิถีทางในการป้องกันสิ่งแวดล้อมได้ดีที่สุด การลดจ�ำนวนสีที่ใช้พิมพ์บนบรรจุภัณฑ์ย่อมเป็นการลดค่าใช้จ่ายของ บรรจุภณ ั ฑ์ นักออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์สมัยใหม่จงึ จ�ำต้องออกแบบให้พมิ พ์สนี อ้ ยทีส่ ดุ เช่น สีเดียว และใช้ความสามารถในการออกแบบสร้างจุดสนใจ และความสวยงาม ของตัวบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ในปัจจุบันบรรจุภัณฑ์ไม่ใช่ของใหม่ เพราะมีการใช้บรรจุภัณฑ์มาตั้งแต่ สมัยโบราณ เป็นสิ่งส�ำคัญต่อธุรกิจทุกประเภท มีบทบาทหน้าที่ต่อการบรรจุ ขนส่ง เก็บรักษา วางจ�ำหน่าย และความสะดวกต่อการใช้ผลิตภัณฑ์นั้น บรรจุภัณฑ์ยัง เปรียบเสมือนเป็นพนักงานขายเงียบ (The Silent Sale Man) ผู้บริโภคให้ความ ส�ำคัญต่อบรรจุภัณฑ์มากขึ้น แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ เป็นการออกแบบรูปลักษณ์ที่สามารถ มองเห็นได้อย่างชัดเจน ปัจจัยการออกแบบโครงสร้างของบรรจุภณ ั ฑ์จะต้องทราบว่า สินค้าทีจ่ ะขายนัน้ คืออะไร ทางด้านเทคนิคผูผ้ ลิตจะต้องทราบถึงลักษณะทางกายภาพ ของตัวสินค้าเพื่อพัฒนาไปสู่การออกแบบโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ให้สวยงามและ
18 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
ดึงดูดใจผู้บริโภค และความเหมาะสมของวัสดุที่น�ำมาผลิตบรรจุภัณฑ์ พร้อมทั้ง สามารถปกป้องสินค้าจากโรงงานผลิตไปยังช่องทางจ�ำหน่ายสินค้า จนถึงมือผูบ้ ริโภค อย่างปลอดภัย ไม่ช�ำรุดเสียหาย องค์ประกอบทางด้านโครงสร้างบรรจุภณ ั ฑ์ การสร้างสรรค์ให้เหมาะสมกับ กราฟิกบนบรรจุภณ ั ฑ์ โดยการน�ำข้อมูลทีไ่ ด้มาวิเคราะห์เพือ่ ใช้เป็นฐานข้อมูลในการ ก�ำหนดแนวคิดในการออกแบบ โดยมีองค์ประกอบทางด้านการออกแบบโครงสร้าง ของบรรจุภัณฑ์ คือ 1. รูปทรงของบรรจุภัณฑ์ (Shape and From) 2. ขนาดหรือสัดส่วนของบรรจุภัณฑ์ (Size) 3. วัสดุของบรรจุภัณฑ์ (Material) 4. สี (Color)
ตัวอย่างโครงสร้างบรรจุภัณฑ์จากไม้ไผ่
โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 19
ส่วนที่ 2 กราฟิกบนบรรจุภณ ั ฑ์ เป็นการบอกรายละเอียดบนบรรจุภณ ั ฑ์ สร้างแรงจูงใจในการซื้อ และสื่อความหมายให้แก่ผู้บริโภค พร้อมทั้งสามารถ โน้มน้าวให้เกิดการสั่งซื้อ การออกแบบกราฟิกจะเน้นในเรื่องของการตกแต่ง รูปลักษณ์ด้วยภาพพจน์ที่สร้างความประทับใจ กราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ตามความเข้าใจ คือ การออกแบบโดยใช้ความคิด สร้ า งสรรค์ ใ นการออกแบบกราฟิ ก บนบรรจุ ภั ณ ฑ์ โดยค� ำ นึ ง ถึ ง หลั ก การจั ด องค์ประกอบการออกแบบ ได้แก่ เข้าใจง่าย สบายตา มีความสวยงาม สะดวกใช้งาน ได้ง่าย การเลือกใช้วัสดุการพิมพ์ ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม การสร้างสรรค์ ลักษณะภายนอกของบรรจุภัณฑ์ให้สามารถสื่อความหมาย ความเข้าใจ ส่งผลด้าน จิตวิทยาต่อผู้บริโภค เช่น จูงใจให้เกิดการซื้อ กระตุ้นให้เกิดความต้องการใช้ใน สรรพคุณและประโยชน์ของสินค้า
ภาพตัวอย่างกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
กราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
20 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
การออกแบบกราฟิกส�ำหรับบรรจุภณ ั ฑ์ควรกระท�ำควบคูก่ บั การออกแบบ โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ โดยน�ำเอาข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ เช่น ชื่อยี่ห้อ เครื่องหมายการค้า ส่วนประกอบ วิธีการใช้อื่น ๆ มาสร้างสรรค์ด้วยหลักการทาง ศิลปะ โดยให้สมั พันธ์กบั ตัวผลิตภัณฑ์และรูปลักษณะโครงสร้างของการบรรจุภณ ั ฑ์ เพื่อสื่อความหมายผ่านทางสายตาให้เกิดผลกระทบดึงดูดใจต่อผู้บริโภค ข้อมูลทางด้านอารมณ์ (Emotional Massage) ประกอบด้วย 1) ภาพประกอบ (Illustration) 2) สี (Color) 3) ตัวอักษร (Alphyabet or Letters and Typefaces) การสรุปข้อมูลเกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Package Design Brief) คือ แนวทางการคิด การวิเคราะห์ และเป็นข้อมูลที่สามารถไปใช้ในการวางแผน การตลาด การสรุปข้อมูลเกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ควรมีข้อมูลต่อไปนี้ 1. ประวัติของตราสินค้า 2. ข้อมูลพื้นฐานการตลาด 3. หมวดหมู่สินค้า 4. ความหลากหลายของสินค้า 5. คุณสมบัติของสินค้า 6. คุณค่าต่าง ๆ 7. กลุ่มเป้าหมาย 8. แนวโน้มการตลาดในปัจจุบัน 9. อายุและช่วงรายได้ของผู้บริโภค 10. ต้นทุนและเวลา
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 21
หลักเกณฑ์การออกแบบบรรจุภัณฑ์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. การจ�ำได้ (Recognition Requirement) หมายถึง ส่วนต่าง ๆ ของ การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ทจี่ ะท�ำให้ผบู้ ริโภคจดจ�ำตราสินค้าและสินค้า ซึง่ อาจจะเป็น ชื่อบริษัท ชื่อตราสินค้า โลโก้ สีบนบรรจุภัณฑ์ และรูปร่างของบรรจุภัณฑ์ 2. ภาพลั ก ษณ์ ที่ ต ้ อ งการสื่ อ สาร (Image Communication Requirement) หมายถึง ส่วนต่าง ๆ ของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีอิทธิพลต่อ การรับรู้ภาพลักษณ์สินค้าของผู้บริโภค ซึ่งสามารถสื่อให้ผู้บริโภครับรู้ถึงคุณภาพ รสชาติ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือคุณสมบัติต่าง ๆ ของสินค้าตัวอย่าง เช่น รูปภาพและค�ำบรรยายสามารถสื่อให้ผู้บริโภครับรู้ถึงภาพลักษณ์ของสินค้าของ ผู้บริโภคในระยะไกล สิ่งที่ต้องระวังในภาพที่ต่อขึ้นจากการเรียงบรรจุภัณฑ์นั้น จะต้องเป็นภาพที่กลุ่มเป้าหมายอาจจะเคยเห็นภาพดังกล่าวจากสื่ออื่น ๆ และเป็น ภาพที่สามารถสร้างความประทับใจหรือกระตุ้นกลุ่มเป้าหมายให้เกิดความต้องการ นอกจากนั้นสิ่งที่ควรระมัดระวังคือ ภาพที่ไม่ออกมาตามวัตถุประสงค์ ซึ่งอาจเกิด จากการเรียงทับเส้น และการพิมพ์บนบรรจุภณ ั ฑ์ทไี่ ม่แน่นอน มีคณ ุ ภาพไม่ด ี ท�ำให้ ภาพที่ต่อขึ้นมาไม่สมบูรณ์ตามต้องการ
22 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
ขั้นตอนการผลิตบรรจุภัณฑ์ ไม้ ไผ่ส�ำหรับเครื่องหอม อุปกรณ์การผลิตบรรจุภัณฑ์ไม้ไผ่ส�ำหรับเครื่องหอม
1. ไม้ไผ่ที่น�ำมาผลิตบรรจุภัณฑ์เครื่องหอม
ไม้ไผ่สีสุก
2. น�ำไม้ไผ่มาท�ำเป็นเส้นตอกไม้ไผ่
การท�ำเส้นตอกไม้ไผ่
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 23
3. เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตัดไม้ไผ่
เครื่องมือและอุปกรณ์การผลิตบรรจุภัณฑ์ไม้ไผ่
4. การย้อมสีไม้ไผ่
สีย้อมไม้ไผ่
24 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
5. น�้ำยาเคลือบผิวไม้ไผ่
น�้ำยาเคลือบผิวไม้ไผ่ที่มีจ�ำหน่ายในท้องตลาด
การสานลายไม้ไผ่ส�ำหรับบรรจุภัณฑ์เครื่องหอม
1. การตอกไม้ไผ่เพื่อน�ำมาสานบรรจุภัณฑ์ไม้ไผ่
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 25
2. การย้อมสีไม้ไผ่เพื่อน�ำมาสานบรรจุภัณฑ์ไม้ไผ่ ตามสีที่ก�ำหนด
3. น�ำไม้ไผ่ที่ย้อมสีมาตากแดดให้แห้ง
26 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
4. การสานบรรจุภัณฑ์ไม้ไผ่ตามต้นแบบที่ออกแบบ
5. บรรจุภัณฑ์ไม้ไผ่ที่เสร็จสมบูรณ์
ภาพตัวอย่างบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เครื่องหอมที่เสร็จสมบูรณ์
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 27
สรุปผลช่วงเวลาในการย้อมสีของไม้ไผ่ เวลา
ภาพถ่ายภายใต้กล้องจุลทรรศน์
0 นาที
5 นาที
10 นาที
15 นาที
สรุปผลช่วงเวลาในการย้อมสีของไม้ไผ่ อันดับแรกกล่าวถึงวิธกี ารย้อมสี คือ น�ำน�้ำ 1/2 ลิตร มาต้มให้เดือดแล้วใส่สีลงไปประมาณ 1 ซอง ต่อน�้ำ 1 ลิตร และ น�ำไม้ไผ่ทจี่ กั เป็นตอกแล้วน�ำมาย้อมสี ประเภทของสีทใี่ ช้คอื สีผสมอาหาร สีนำ�้ ตาล แดง วิธีทดสอบสีคือ น�ำตอกไม้ไผ่ที่ก�ำหนดช่วงเวลาในการต้มที่ทางผู้วิจัยก�ำหนด มาต้มและจับเวลาดูการซึมของสีกับตอกไม้ไผ่ในแต่ละช่วงเวลา และน�ำตอกไม้ไผ่ ทีต่ ม้ แล้วตากแดดให้แห้ง และน�ำมาทดสอบการติดของสี โดยใช้กล้องจุลทรรศน์สอ่ งดู การเปลี่ยนแปลงของเวลาแต่ละช่วงที่ทางผู้วิจัยก�ำหนด (การทดสอบนี้ไม่ได้อยู่ใน วัตถุประสงค์การวิจัยทางผู้วิจัยต้องการทดสอบเอง) จากตารางสรุปผลช่วงเวลาใน การย้อมสีของไม้ไผ่ พบว่าช่วงเวลาในการย้อมสีที่ท�ำให้ไม้ไผ่ติดสีได้ดีที่สุดคือ ช่วง เวลา 10 นาที แต่ช่วงเวลาที่ 5 นาที เป็นช่วงเวลาย้อมสีที่พอใช้ได้เหมือนกัน แต่ อย่าย้อมนานมากไปกว่านี้ สีที่ย้อมจะไม่สวย
28 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
สรุปผลการออกแบบบรรจุภัณฑ์จากไม้ไผ่ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม ดังนี้
1. รูปแบบบรรจุภัณฑ์จากไม้ไผ่ประเภทดอกไม้แห้ง
แบบที่ 1
แบบที่ 3
2. รูปแบบบรรจุภัณฑ์จากไม้ไผ่ประเภทเทียนหอม
แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 2
แบบที่ 3
3. รูปแบบบรรจุภัณฑ์จากไม้ไผ่ประเภทน�้ำหอม
แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 3
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 29
4. รูปแบบบรรจุภัณฑ์จากไม้ไผ่ประเภทน�้ำมันหอม
แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 3
5. รูปแบบบรรจุภัณฑ์จากไม้ไผ่ประเภทสบู่
แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 3
30 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
การน�ำไม้ไผ่มาใช้เป็นวัสดุผลิตบรรจุภัณฑ์เครื่องหอมนั้น เป็นการน�ำ ทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศมาใช้อย่างรู้คุณค่า และที่ส�ำคัญสามารถรักษาสภาพ แวดล้อมได้เป็นอย่างดี โดยมีแนวทางการออกแบบและให้ความส�ำคัญกับประโยชน์ ใช้สอย และความสวยงามของบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เครื่องหอม ไม้ไผ่นับว่าเป็นพืช ทีห่ าได้งา่ ย งานหัตถกรรมเครือ่ งจักสานจึงมีความจ�ำเป็นและส�ำคัญ ทีห่ ล่อเลีย้ งชีวติ ของคนไทยมาช้านาน ถือได้ว่าเป็นงานศิลปะอย่างหนึ่งที่นับวันจะสูญหายไปจาก คนไทย ฝีมอื หัตถกรรมการจักสานของคนไทยสวยงามไม่แพ้ชาติอนื่ ๆ การออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์ผลิตภัณฑ์เครือ่ งหอมต้องค�ำนึงถึงความสวยงาม ความสะดวกในการใช้งาน การเลือกใช้วสั ดุทมี่ ตี น้ ทุนหรือค่าใช้จา่ ยทีเ่ หมาะสม การสร้างสรรค์ลกั ษณะภายนอก ของบรรจุภณ ั ฑ์ให้สามารถสือ่ ความหมาย ความเข้าใจ ส่งผลด้านจิตวิทยาต่อผูบ้ ริโภค เช่น จูงใจให้เกิดการซือ้ กระตุน้ ให้เกิดความต้องการใช้ในสรรพคุณและประโยชน์ของ สินค้า และเกิดการรับรู้ ซึง่ แสดงออกโดยผ่านทางสายตา ความทันสมัย มีประโยชน์ ใช้สอยได้อย่างเต็มที่ และไม่ละทิ้งความงดงาม บรรจุภัณฑ์เครื่องหอมเป็นการ ส่งเสริมและอนุรกั ษ์ธรรมชาติสงิ่ แวดล้อมโดยมีแนวทางในการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ เครื่องหอมด้วยการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน
จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภ้ณฑ์เครื่องหอม 31
บรรณานุกรม นิกร นุชเจริญผล. 2525. ลายสาน. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท. ปุ่น คงเจริญเกียรติ และสมพร คงเจริญเกียรติ. 2541. บรรจุภัณฑ์อาหาร. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. 2546. ศิลปะชาวบ้าน. กรุงเทพมหานคร: อัมรินทร์. สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ. 2549. วัสดุพื้นถิ่นภาคกลางที่ใช้ในการผลิตครุภัณฑ์. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์. โสภาพรรณ อมตะเดชะ. 2536. เครื่องหอมและของช�ำร่วย. กรุงเทพมหานคร: ศรีสยามการพิมพ์.
32 จับไม้ ไผ่มาใส่บรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เครื่องหอม
ประวัติผู้เขียน ชื่อ-นามสกุล นางสาวชมจันทร์ ดาวเดือน ต�ำแหน่งปัจจุบัน พนักงานมหาวิทยาลัยฯ ที่ท�ำงาน สาขาศิลปะและการออกแบบ ภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถ.รังสิต-นครนายก ต.คลองหก อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 ประวัติการศึกษา วท.บ. วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คอ.ม. ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิชาการที่มีความช�ำนาญพิเศษ คอมพิวเตอร์กราฟิิก
คณะกรรมการวิชาการพิจารณาเอกสารเผยแพร่ความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1. รศ. ดร.สุวรินทร์ ปัทมวรคุณ 2. ผศ. ดร.ณัฐวรรณ คุปพิทยานันท์ 3. ผศ. ดร.จตุพร เผ่าพงษ์ไทย 4. รศ.วสันต์ กันอ�่ำ 5. ผศ. ดร.วันชัย ประเสริฐศรี 6. ผศ.สุภา ทองคง 7. ผศ. ดร.บุญเรือง สมประจบ 8. ผศ. ดร.อัญชลี สวาสดิ์ธรรม 9. ผศ. ดร.สมจิตร ถนอมวงศ์วัฒนะ 10. ผศ. ดร.อ้อยทิพย์ ผู้พัฒน์ 11. ผศ. ดร.บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว 12. นายประชุม ค�ำพุฒ 13. นายเกษียร ธรานนท์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
คณะผู้จัดท�ำ ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ อธิการบดี คณะท�ำงาน ฝ่ายอ�ำนวยการ รองศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี สงวนพงษ์ นางบรรเลง สระมูล
ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา
ฝ่ายเนื้อหา ชมจันทร์ ดาวเดือน
คณะศิลปกรรมศาสตร์
ฝ่ายศิลป์ และจัดพิมพ์ นางนฤมล จารุสัมฤทธิ์ นางสาวกชกร ดาราพาณิชย์ นางสาวอริสรา สุดสระ นางสรสุดา ชูกลิ่น จัดพิมพ์โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ต�ำบลคลองหก อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์: 0 2549 4682 โทรสาร. 0 2577 5038 Website: http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail: ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที่: บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จ�ำกัด โทรศัพท์: 0 2521 8420 โทรสาร. 0 2521 8424