ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่ ผู้เขียน ISBN จำนวน พิมพ์ครั้งที่ 1 จำนวนพิมพ์ รำคำ จัดพิมพ์โดย
: สุรพันธ์ จันทนะสุต : 978-974-625-677-3 : 20 หน้ำ : กรกฎำคม 2557 : 140 เล่ม : : สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนำยก ตำบลคลองหก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธำนี 12110 โทรศัพท์ : 0 2549 4683 โทรสำร : 0 2577 5038 website : http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail : ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที่ : บริษัท ยูโอเพ่น จำกัด โทรศัพท์/โทรสำร : 0 2617 6834
เนื้อหาใด ๆ ในหนังสือเล่มนี้เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว สถาบันวิจัยและพัฒนา เป็นเพียงผู้จัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชนเท่านั้น
คานา เอกสำรเผยแพร่ควำมรู้ เรื่อง ควำมงำมใต้เปลือกหอยแมลงภู่ เล่มนี้ เป็นเอกสำรที่จัดทำขึ้นตำมโครงกำร กำรจัดทำเอกสำรเผยแพร่งำนวิจัยของ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี ซื่งเป็นกำรรวบรวมควำมรู้ที่เกิดจำก กำรวิจัย และประสบกำรณ์กำรในกำรสร้ำงงำนหัตถกรรม จำกเปลือกหอยแมลงภู่ ที่เป็นวัสดุเหลือใช้ นำมำสร้ำงคุณค่ำให้เกิดประโยชน์ สำมำรถนำไปสร้ำงเป็น งำนอดิเรกหรือเป็ น รำยได้เสริม จะทำให้ ผู้ อ่ำนสำมำรถรู้และเข้ำใจขั้นตอน วิธีกำรทำอย่ำงง่ำย ๆ โดยไม่ต้องลงทุนอะไรมำก นอกจำกมีเครื่องมือที่หำได้ง่ำย ตัวอย่ ำงขั้น ตอนกำรสร้ำงงำนในเล่ มนี้ ผู้เขียนหวังว่ำจะเป็นแนวทำงในกำร ออกแบบ และสร้ำงสรรค์งำนหั ตถกรรมจำกเปลื อกหอยแมลงภู่ ที่เป็นวัส ดุ เหลือใช้ ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับผู้อ่ำนต่อไป ถ้ำเห็นว่ำมีเรื่องรำวใดที่ ควรปรับปรุงแก้ไข กรุณำบอกผู้เขียนด้วยจะเป็นพระคุณยิ่ง
สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี กรกฎำคม 2557
สารบัญ ควำมสำคัญของกำรสร้ำงผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจำกเปลือกหอยแมลงภู่ กำรเตรียมวัตถุดิบ ขั้นตอนกำรสร้ำงผลิตภัณฑ์ต่ำงหูจำกเปลือกหอยแมลงภู่ บรรณำนุกรม ประวัติผู้เขียน
หน้ำ 1 2 9 19 20
สารบัญภาพ ภำพที่ 1 งำนหัตถกรรมประดับเปลือกหอยแมลงภู่ ที่ทำจำกไม้ประดู่ 2 งำนหัตถกรรมประดับเปลือกหอยแมลงภู่ ที่ทำจำกไม้สน 3 ไม้ที่เลื่อยผ่ำให้บำง 4 เปลือกหอยแมลงภู่ 5 เปลือกหอยแมลงภู่ที่ทุบเป็นเศษ 6 สีโป๊วหรือสีซ่อมรถยนต์ 7 หมึกพิมพ์ 8 แชลแลค 9 วัสดุเคลือบผิวไม้ 10 อุปกรณ์ประกอบชิ้นงำน 11 อุปกรณ์ต่ำงหูแบบเกี่ยว 12 แบบต่ำงหู 13 วำงแบบ 14 เจำะรู 15 ทำกำรเลื่อยฉลุ 16 ตะไบด้ำนใน 17 ประกอบไม้รองหลัง 18 เลื่อยขอบนอก 19 ชิ้นงำนที่มีช่องสำหรับใส่เปลือกหอย 20 ตะไบส่วนขอบชิ้นงำน
หน้ำ 2 2 3 4 4 5 6 6 7 8 8 9 9 10 10 11 11 12 12 13
สารบัญภาพ ภำพที่ 21 ขัดกระดำษทรำยด้ำนหลัง 22 วำงเปลือกหอยในช่อง 23 หยอดกำวร้อน 24 ถมด้วยสีโป๊วผสมหมึกพิมพ์ ดำ 25 ทิ้งชิ้นงำนไว้ให้แห้งประมำณ 2 ชั่วโมง 26 ขัดด้ำนหน้ำ 27 หลังจำกขัดเสร็จ 28 ขัดด้ำนหน้ำด้วยกระดำษทรำย 29 ได้ควำมเงำงำมของเปลือกหอยเป็นสีมุก 30 ทำแชลแลค 31 เคลือบผิวเงำชิ้นงำน 32 ชิ้นงำนสำเร็จ
หน้ำ 13 14 14 15 15 16 16 17 17 18 18 18
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
1
ความสาคัญของการสร้างผลิตภัณฑ์หัตถกรรม จากเปลือกหอยแมลงภู่ หนั ง สื อ ความรู้ เล่ ม นี้ ผู้ เขี ย นได้ มี ค วามตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า โดยมี แนวความคิดที่พัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรม โดยได้นาเอาเปลือกหอยแมลงภู่ ที่ เป็ น สิ่ ง เหลื อ ใช้ ม าสร้ า งให้ เกิ ด ประโยชน์ แทบทุ ก ครั ว เรื อ นเมื่ อ บริ โ ภค หอยแมลงภู่แล้ว ก็มักจะทิ้ง เปลือกลงถังขยะ ซึ่งไม่ได้ทาให้เกิดประโยชน์แต่ อย่างไร การนาเอาเปลือกหอยแมลงภู่มาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรม ผู้เขียน มี จุ ด ม่ งหมายที่ จ ะน าสิ่ งที่ เหลื อ ใช้ ได้ แ ก่ เปลื อ กหอยแมลงภู่ มาใช้ ให้ เกิ ด ประโยชน์ หรือเกิดคุณค่า ทั้งทางด้านความงามและประโยชน์ เปลื อ กหอยแมลงภู่ เป็ น ส่ ว นที่ เหลื อ จากการบริ โ ภค โดยมี ส่ ว นที่ ประกอบด้ ว ยหิ น ปู น ที่ มี ค วามทนทานและสามารถย่ อ ยสลายได้ แต่ ใ ช้ เวลานานมาก ถึงแม้จะเกิดจากธรรมชาติก็ตาม เปลือกหอยแมลงภู่ดูด้านนอก ไม่ได้มีความสวยงามอะไร แต่ความสวยงามอยู่ด้านในใต้เปลือกสีเขียวที่เคลือบ เป็นชั้นผิว หากเราขัดผิวส่วนนี้ออกก็จะเห็นส่วนที่ มีความมันวาวเป็นประกาย มุกและเหลือบสีรุ้ง หากลองสังเกตดูก็จะพบว่าประกายสีรุ้ง มีความสวยงาม มาก การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมประดั บเปลือกหอยแมลงภู่ คานึงถึง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า สามารถนาไปต่อยอด ภูมิปัญ ญาท้องถิ่น ให้ เกิดประโยชน์ต่อชุมชน เป็นการสร้างงานอาชีพ ให้เกิด ประโยชน์ต่อไป
2
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
การเตรียมวัตถุดิบ 1. ก่อนที่จะทาการสร้างผลิตภัณฑ์หัตถกรรมประดับเปลือกหอยแมลงภู่ ผู้เขียนแนะนาวัตถุดิบที่สาคัญคือ ไม้ ตามหลักของธรรมชาตินั้นมนุษย์สามารถ ที่จะผลิตไม้ขึ้นใช้เองเหมือนกับการเพาะหอยแมลงภู่ ทั้งสองวัตถุดิบนี้มนุษย์ เป็นผู้กาหนดได้ว่าต้องการใช้เท่าไร เมื่อไหร่ อย่างไร ไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้ประดู่ ส่วนไม้เนื้ออ่อนมักจะมีสีอ่อนหรือเนื้อออกไปทางสีขาวหรือสว่าง เช่น ไม้สน
ภาพที่ 1 งานหัตถกรรมประดับเปลือกหอยแมลงภู่ที่ทาจากไม้ประดู่
ภาพที่ 2 งานหัตถกรรมประดับเปลือกหอยแมลงภู่ ที่ทาจากไม้สน
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
3
2. ไม้เนื้อแข็งและไม้เนื้ออ่อน มีลักษณะความงามต่างกัน อย่างไรก็ดี การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อาจจะต้องเลือกใช้ชนิดของไม้ให้มีความเหมาะสม ตามความต้องการ หรือความถนัดในการสร้างชิ้นงาน
ภาพที่ 3 ไม้ที่เลื่อยผ่าให้บาง
4
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
3. เปลือกหอยที่จ ะนาไปใช้ส ร้างผลิตภัณฑ์หัตถกรรม โดยจะนาเอา ในส่ว นด้า นในของเปลือ กหอยมาใช้ป ระดับ กับ ไม้ห รือ ชิ้น งาน ซึ่ง เมื่อ ขัด กระดาษทรายแล้ว จะเห็น ความเป็น มุก ที ่ส ะท้อ นแสงสวยงามมาก เรา สามารถใช้ด้านในของเปลือก หรือด้านนอกของเปลือกที่ขัดแล้วก็ได้ เพราะ จะให้สีของมุกเหมือนกัน
ภาพที่ 4 เปลือกหอยแมลงภู่
ภาพที่ 5 เปลือกหอยแมลงภู่ที่ทุบเป็นเศษ
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
5
3. สีโป๊วหรือสีซ่อมรถยนต์ เป็นวัตถุดิบที่มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เพราะในขั้นตอนการฝังเปลือกหอยแมลงภู่ลงในเนื้อไม้ ใช้ สีโป๊วหรือสีซ่อม รถยนต์แทรกระหว่างเปลือกหอยแมลงภู่ ซึ่งจะมีลักษณะการทาแบบการถม พื้นนั่นเอง
ภาพที่ 6 สีโป๊วหรือสีซ่อมรถยนต์
6
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
4. หมึก พิม พ์ใ ช้ส าหรับ ท าสี หรือ ผสมกับ สีโ ป๊ว หรือ สีซ่อ มรถยนต์ เพื่อ ให้เนื้อ สีที่เป็น สีเหลือ ง เป็น สีดา เพราะจะทาให้เปลือ กหอยแมลงภู่ดู เด่น ชัด ขึ้น หมึก พิม พ์เป็น สีที่ใช้สาหรับ พิม พ์ก ระดาษตามโรงพิม พ์ที่พิม พ์ หนังสือ โดยหมึก พิม พ์จ ะเป็น เชื้อ น้ามัน ไม่ส ามารถผสมน้าได้ก ารใช้ห มึก พิม พ์ร่ว มกับ สีโ ป๊ว หรือสีซ่อ มรถยนต์ จ ะเข้ากันได้ดี เพราะต่า งก็เป็น วัส ดุที่ เป็น เชื ้อ น้ ามัน ทั ้ง คู ่ นอกจากหมึก พิม พ์จ ะใช้ส าหรับ วงการสิ ่ง พิม พ์แ ล้ว หมึกพิมพ์ยังใช้กับ วงการเฟอร์นิเจอร์ด้ว ย เช่น การใช้ย้อมไม้ให้ได้สีต ามที่ ต้องการ เช่น สีโอ๊กแดง สีเผือก ที่ช่างทาเฟอร์นิเจอร์ห รืองานด้านตกแต่ง ภายในใช้กัน ในปัจจุบัน หมึกพิมพ์ไม่ใช้มีแค่แม่ 4 สี ที่เรียกว่า CMYK หมึก พิมพ์สามารถผลิตได้ครบทุกเฉดสี การใช้งานก็ขึ้นอยู่ตามความเหมาะสม
ภาพที่ 7 หมึกพิมพ์
ภาพที่ 8 เเชลแลค
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
7
5. แชลแลคเป็น วัต ถุดิบ จากธรรมชาติซึ่งทาจากตัว ครั่ง เป็น แมลง ชนิด หนึ่ง มีข นาดเล็ก มาก ลาตัว มีสีแ ดง อาศัย อยู่บ นต้น ไม้ โดยเฉพาะต้น จามจุรี ต้นก้ามปู หรือ ต้น ฉาฉา ประโยชน์ที่สาคัญของครั่ง คือ ใช้ทาแชล แลคสาหรับทาไม้ให้เงาสวยงามทนทาน ครั่ง จึงยังเป็นที่ต้องการของหลาย ประเทศ ใช้แชลแลคทาไม้หลังจากการผ่าไม้เพื่อให้แชลแลคที่ผสมหรือหมัก ด้วยแอลกอฮอล์แทรกซึมเข้าไปในเนื้อไม้ เพื่อป้องกันความชื้นและแมลงที่ กัดกินไม้ เช่น มอด ปลวก ได้เป็นอย่างดี วัส ดุเคลือบผิว ไม้ ซึ่งในท้อ งตลาดมีให้เลือกหลายชนิด ทั้งชนิดทา และชนิดพ่น วัสดุเคลือบผิวส่วนมากเป็นวัสดุสังเคราะห์ที่ผลิตจากพลาสติก การเคลือบผิวงานจะช่วยป้องกันความชื้นและแมลงกัดกินเนื้อไม้ ได้ ชิ้นงาน จะดูมัน วาวและสวยงามขึ้น และป้อ งกัน รอยขีด ข่ว นได้ดี ยูรีเทนเป็น วัส ดุ เคลือบผิวชนิดแข็ง หรือที่มักเรียกกันว่าน้ามันเคลื อบแข็ง เป็นที่นิยมในการ เคลือ บผิว ไม้ เพราะมีค วามแข็ง และมีค วามคงทน กัน น้ าได้เ ป็น อย่า งดี น้ามัน เคลือ บแข็งส่ว นมากจะมีตัว ผสม ซึ่งก่อนใช้อ่านฉลากและวิธีใช้ให้ดี หากเป็น ชนิด พ่น ก็จ ะต้อ งพ่น ในอากาศที่ถ่า ยเท ไม่ค วรพ่น หรือ ทานามัน เคลือบผิว ในขณะที่ฝนตก
ภาพที่ 9 วัสดุเคลือบผิวไม้
8
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
6. อุป กรณ์ ป ระกอบชิ้น งาน เป็ น โลหะใช้ส าหรับ ประกอบกับชิ้นงาน เช่น ต่างหู เข็มกลัด เข็มติดเน็คไท พวงกุญแจ ฯลฯ การใช้อุปกรณ์เหล่านี้ต้อง ประกอบด้วยเครื่องมือต่าง ๆ เช่น คีม ปากคีบ สว่าน
ภาพที่ 10 อุปกรณ์ประกอบชิ้นงาน
ภาพที่ 11 อุปกรณ์ต่างหูแบบเกี่ยว
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
9
ขั้นตอนการสร้างผลิตภัณฑ์ต่างหูจากเปลือกหอยแมลงภู่
ภาพที่ 12 แบบต่างหู
ขั้นตอนที่ 1 การวางแบบ ควรตัดกระดาษเฉพาะที่เป็นแบบเท่านั้น โดยการทา กาวลงบนไม้ แล้วนาเอากระดาษปิดลงไปบนแผ่นไม้
ภาพที่ 13 วางแบบ
10
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
ขั้นตอนที่ 2 เจาะรูด้วยสว่านเพื่อใส่ใบเลื่อย ซึ่งอาจใช้สว่านมือหรือสว่านไฟฟ้า
ภาพที่ 14 เจาะรู
ขั้นตอนที่ 3 เลื่อยด้วยเลื่อยฉลุมือ เอาส่วนที่เป็นสามเหลี่ยมด้านในออก เพื่อจะ นาเอาเปลือกหอยแมลงภู่ไปใส่แทนในส่วนนี้
ภาพที่ 15 ทาการเลื่อยฉลุ
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
11
ขั้ น ตอนที่ 4 เลื่ อ ยตะไบตกแต่ ง การเลื่ อ ยอาจจะมี ส่ ว นที่ ไม่ ต รงตามแบบ สามารถรับแก้ไขได้โดยการใช้ตะไบตกแต่งให้ได้ตามแบบ
ภาพที่ 16 ตะไบด้านใน
ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนนี้เป็นการติดกาวประกอบไม้รองหลัง เพื่อให้ได้ชิ้นงานที่ พร้อมจะวางเปลือกหอยแมลงภู่
ภาพที่ 17 ประกบไม้รองหลัง
12
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนการเลื่อยไม้ขอบนอก เพื่อให้รูปทรงตามเส้นที่กาหนด
ภาพที่ 18 เลื่อยขอบนอก
ขั้นตอนที่ 7 เมื่อทาการเลื่อยเสร็จเราก็จะได้ชิ้นงานตามภาพด้านล่าง เพื่อนาไป ทาในขั้นตอนต่อไป
ภาพที่ 19 ชิ้นงานที่มีช่องสาหรับใส่เปลือกหอย
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
13
ขั้นตอนที่ 8 ทาการขัดตกแต่งด้วยตะไบอีกครั้ง โดยขัดตกแต่งให้ตรงตามแบบ ที่กาหนดไว้ด้วยเส้น
ภาพที่ 20 ตะไบส่วนขอบชิ้นงาน
ขั้นตอนที่ 9 การขัดกระดาษด้านหลัง เพื่อให้ชิ้นงานมีขนาดความหนาเท่ากัน
ภาพที่ 21 ขัดกระดาษทรายด้านหลัง
14
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
ขั้นตอนที่ 10 ขั้นตอนนี้เป็นการวางเปลือกหอยแมลงภู่ที่ทาการทุบ เพื่อให้ได้ เศษเปลือกหอยขนาดเล็ก โดยการวางต้องใช้ปากคีบจัดเรียง การเรียงต้องไม่ให้ เปลือกชิดหรือชนขอบไม้ เพราะจะทาให้ขอบสีดาที่จะถมด้วยสีโป๊ วไม่คมหรือ เกิดช่องว่างไม่สมดุล
ภาพที่ 22 วางเปลือกหอยในช่อง
ขั้นตอนที่ 11 เมื่อจัดเรียงเสร็จแล้วก็จะทาการหยอดด้วยกาวร้อน เพื่อทาให้ เปลือกหอยไม่เคลื่อนตัว ก่อนที่จะถมพื้นด้วยสีโป๊ว
ภาพที่ 23 หยอดกาวร้อน
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
15
ขั้นตอนที่ 12 ขั้นตอนถมพื้น ทาการผสมสีโป๊วรถยนต์ โดยผสมหมึกพิมพ์สีดา ลงไปด้วย เพื่อให้พื้นที่ถมเป็นพื้นสีดา
ภาพที่ 24 ถมด้วยสีโป๊วผสมหมึกพิมพ์ดา
ขั้นตอนที่ 13 ขั้นตอนนี้ต้องปล่อยทิ้งไว้ให้แห้งสนิทอย่างน้อย 2 ชั่วโมง หรือ ปล่อยทิ้งไว้ค้างคืนได้ยิ่งดี
ภาพที่ 25 ทิ้งชิ้นงานไว้ให้แห้งประมาณ 2 ชั่วโมง
16
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
ขั้นตอนที่ 14 เมื่อชิ้นงานแห้งสนิทดีแล้ว ก็ทาการขัดด้วยกระดาษทราย
ภาพที่ 26 ขัดด้านหน้า ขั้น ตอนที่ 15 ขั้นตอนนี้เป็ นขั้นตอนที่เราเห็ น สีของเปลื อกหอยแมลงภู่แล้ ว พร้อมที่จะทาการขัดด้วยกระดาษทรายเบอร์ละเอียด
ภาพที่ 27 หลังจากขัดเสร็จ
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
17
ขั้นตอนที่ 16 นาเอากระดาษทรายน้าเบอร์ละเอียด ได้แก่ เบอร์ 1000-1500 เพื่อทาการเปิดหน้ามุก
ภาพที่ 28 ขัดด้านหน้าด้วยกระดาษทราย
ขั้นตอนที่ 17 การขัดกระดาษทรายต้องพยายามขัดเอาคราบกาวร้อนออกให้ หมด เพื่อที่จะได้พื้นผิวของเนื้อมุกที่เกาะอยู่ในชั้นของเปลือกหอยแมลงภู่ส่อง สว่างออกมา
ภาพที่ 29 ได้ความเงางามของเปลือกหอยเป็นสีมุก
18
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
ขั้นตอนที่ 18 เมื่อได้ขัดชิ้นงานเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว ให้ทาด้วยแชลแลคเพื่อ รักษาเนื้อไม้
ภาพที่ 30 ทาแชลแลค
ขั้นตอนที่ 19 การทาน้ามันเคลือบแข็งจะช่วยให้มุกเกิดประกายเงางาม และ เป็นการรักษาเนื้อไม้อีกด้วย น้ามันเคลือบแข็งมีหลายแบบ และมีจาหน่ายใน ท้องตลาด เช่น ยูรีเทน แลคเกอร์ วานิช มีทั้งชนิดทาและชนิดพ่น สาหรับการ ทาต้องใช้แปรงที่ทาด้วยขนสัตว์เพราะมีความอ่อนนุ่ม
ภาพที่ 31 เคลือบผิวเงาชิ้นงาน
ภาพที่ 32 ชิ้นงานสาเร็จ
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
19
บรรณานุกรม ประณต กุลประสูตร. (2543). เทคนิคงานสี. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง. . (2547). เทคนิคงานไม้. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ปรวีร์ชัย ประสาธน์. (2539). เทคนิคการใช้เครื่องมืองานไม้. กรุงเทพฯ: ทีเอส บี โปรดักส์. เลิศพงศ์ ชีวพัฒนพันธ์. (2540). เครื่องไม้ทั่วไป. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์โอ เดียนสโตร์. ศิระ จันทร์สวาสดิ์, ศานิต ปันเขื่อนขัติ และสุพัตร์ ศรีพงษ์สุทธิ์. (2545). ช่าง ไม้ในบ้าน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์บ้านและสวน. สาคร คัณธโชติ. (2547). การออกแบบผลิตภัณฑ์งานไม้. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
20
ความงามใต้เปลือกหอยแมลงภู่
ประวัติผู้เขียน ชื่อ-นามสกุล นายสุรพันธ์ จันทนะสุต ตาแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ ที่ทางาน สาขาวิชาหัตถกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 ประวัติการศึกษา ศป.ม. (ทัศนศิลป์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ศษ.บ. (หัตถกรรม) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สาขาวิชาการที่มีความชานาญพิเศษ งานวิจัยทางด้านงานหัตถกรรม งานสร้างสรรค์ทางด้านทัศนศิลป์ นวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย คอมพิวเตอร์กราฟฟิก
คณะกรรมการวิชาการพิจารณาเอกสารเผยแพร่ความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สงวนพงษ์ นายประชุม คาพุฒ รองศาสตราจารย์ ดร. คารณ สิระธนกุล นางบรรเลง สระมูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สวาสดิ์ธรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมจิตร ถนอมวงศ์วัฒนะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อ้อยทิพย์ ผู้พัฒน์ ดร. เฉลียว หมัดอิ๊ว รองศาสตราจารย์วสันต์ กันอา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วันชัย ประเสริฐศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภา ทองคง รองศาสตราจารย์ ดร. อุษาพร เสวกวิ รองศาสตราจารย์ ดร. สุวรินทร์ ปัทมวรคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวรรณ คุปพิทยานันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จตุพร เผ่าพงษ์ไทย รองศาสตราจารย์มานพ ตันตระบัณฑิตย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรี ศรีนนท์ฉัตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วารุณี อริยวิริยะนันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญเรือง สมประจบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิศากร สิงหเสนี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พนิดา สมประจบ นายเกษียร ธรานนท์
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิปกรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ
อธิการบดี
คณะทางาน ฝ่ายอานวยการ รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สงวนพงษ์ นายประชุม คาพุฒ
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา
ฝ่ายเนื้อหา อาจารย์สุรพันธ์ จันทนะสุต
คณะศิลปกรรมศาสตร์
ฝ่ายศิลป์ และจัดพิมพ์ นางสุทธิศรี ม่วงสวย นางสาวศศิวรรณ อินทรวงศ์ นางสาวนิธิมา อินทรสอาด นางสาวพรทรัพย์ ถนัดไร่ จัดพิมพ์โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์ : 0 2549 4683 โทรสาร : 0 2577 5038 website : http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail : ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที : บริษัท ยูโอเพ่น จากัด โทรศัพท์/โทรสาร : 0 2617 6834