เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝก ส�ำหรับสานเฟอร์นิเจอร์
โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกส�ำหรับสานเฟอร์นิเจอร์
ผู้เขียน : สมศักดิ์ อิทธิโสภณกุล อนินท์ มีมนต์ และศุภเอก ประมูลมาก ISBN : 978-974-625-633-9 จ�ำนวน : 17 หน้า พิมพ์ครั้งที่ 1 : สิงหาคม 2557 จ�ำนวนพิมพ์ : 100 เล่ม ราคา : จัดพิมพ์โดย : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ต�ำบลคลองหก อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์: 0 2549 4682 โทรสาร: 0 2577 5038 Website: http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail: ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที่ : บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จ�ำกัด โทรศัพท์ : 0 2521 8420 โทรสาร: 0 2521 8424
เนื้อหาใดๆ ในหนังสือเล่มนี้เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเพียงผู้เดียว สถาบันวิจัยและพัฒนา เป็นเพียงผู้จัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชนเท่านั้น
ค�ำน�ำ เอกสารเผยแพร่ความรู้ เรื่อง เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกส� ำหรับ สานเฟอร์นเิ จอร์ ส�ำเร็จได้ดว้ ยดี คณะผูจ้ ดั ท�ำขอขอบคุณภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ และภาควิชาวิศวกรรมสิง่ ทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี ที่เอื้อเฟื้อสถานที่ ระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ รวมทั้งให้ใช้เครื่องมือและ เครื่องทดสอบส�ำหรับการทดลองในครั้งนี้ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สิงหาคม 2557
สารบัญ บทน�ำ วัตถุประสงค์ของโครงการ ขอบเขตของโครงการ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ ผลการด�ำเนินงาน สรุปผลและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้เขียน
หน้า 1 5 6 7 8 12 14 15
เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์ 1
บทน�ำ ปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม หรือทีเ่ รียกว่า ผลิตภัณฑ์สเี ขียว (Green products) ก�ำลังได้รับความสนใจ และถูกให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก ส�ำหรับการแก้ไข บรรเทาปัญหาสภาวะโลกร้อน ซึ่งเป็นประเด็นที่ทั่วโลกให้ความ ส�ำคัญเป็นอย่างมาก เชือกจากเยื่อธรรมชาติเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งที่เป็นผลิตภัณฑ์ สีเขียว ซึ่งสามารถรับน�้ำหนักได้มากพอสมควร ดังแสดงในรูปที่ 1
รูปที่ 1 ตัวอย่างเส้นเชือกที่ขึ้นรูปจากเยื่อธรรมชาติ
พืชเส้นใยจ�ำพวกกล้วยมีลกั ษณะของเส้นใยทีส่ ามารถน�ำมาปัน่ เป็นเส้นเชือก ได้ กล้วยเป็นผลไม้ที่มีบทบาทในชีวิตคนไทยมาตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว ปลูกง่ายได้ ทุกภาคส่วนของประเทศ ซึง่ นอกจากผลของกล้วยแล้ว ส่วนอืน่ ๆ ไม่วา่ จะเป็นราก ใบ ผล ล�ำต้น หรือหยวกกล้วย ต่างก็มีประโยชน์ สามารถน�ำมาแปรรูปแล้วก่อให้เกิด คุณค่าได้ทั้งสิ้น นอกจากการแปรรูปเป็นอาหารแล้ว กล้วยยังเป็นวัตถุดิบส�ำคัญ ในการผลิตผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ ด้วย เช่น การผลิตยารักษาโรค ส่วนต่าง ๆ ของกล้วยยังน�ำมา แปรรูปเป็นสินค้าอืน่ ๆ ได้ดว้ ย เช่น ใบตองสามารถน�ำมาแปรรูปเป็นกระเป๋า ตะกร้า หรือของตกแต่งบ้านได้ กาบกล้วยสามารถน�ำมาท�ำเยือ่ กระดาษได้ และทีน่ า่ สนใจ ก็คอื
2 เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์
เส้นใยกล้วยสามารถน�ำมาท�ำเป็นสิ่งทอ ตะกร้า กระเป๋า ที่ใส่ทิชชู่ เป็นต้น ลักษณะ ของกระดาษที่ผลิตจากเยื่อกล้วยมีลักษณะเส้นใยที่หยาบกว่าเยื่อปอสาที่น�ำมา ผลิตเป็นกระดาษสา รูปที่ 2 แสดงลักษณะของกระดาษธรรมชาติที่ขึ้นรูปจาก เยือ่ กล้วย จากการศึกษาข้อมูลของคณะผูว้ จิ ยั ในเบือ้ งต้นพบว่า ต้นกล้วยเป็นพืชที่ ปลูกกันมากทุกภาคส่วนของประเทศ โดยมากเมือ่ ตัดผลกล้วยแล้วต้นก็จะล้มตายเอง ตามธรรมชาติ เน่าเปื่อย แก๊สจากการเน่าส่งผลกระทบกับชั้นบรรยากาศ จึงได้ มีแนวคิดผลิตเส้นใยจากกาบกล้วย แล้วน�ำเส้นใยนั้นมาขึ้นรูปให้เป็นแผ่นกระดาษ ด้วยหลักการเหมือนกับการผลิตกระดาษสา จากนั้นน�ำกระดาษจากเยื่อกล้วย ทีไ่ ด้ไปปัน่ เกลียวให้เป็นเส้นเชือกทีม่ คี วามแข็งแรง เหมาะสมส�ำหรับประยุกต์ใช้งาน รูปแบบต่าง ๆ
รูปที่ 2 ตัวอย่างกระดาษที่ขึ้นรูปจากธรรมเยื่อกล้วย
เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์ 3
จากที่ได้กล่าวมาแล้ว ในปัจจุบันมุ่งเน้นการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่ ง แวดล้ อ ม และจากการสื บ ค้ น ข้ อ มู ล ท� ำ ให้ ค ณะผู ้ จั ด ท� ำ มี แ นวคิ ด ที่ จ ะสร้ า ง เครื่องขึ้นรูปเกลียวเส้นเชือกจากเยื่อกล้วยเพื่อให้ได้เส้นเชือกที่มีความแข็งแรง มากกว่ากระบวนการฟัน่ เชือก ซึง่ เป็นการน�ำเอาเชือกเพียงแค่สองเส้นมาฟัน่ รวมกัน ให้เป็นเกลียว แต่ในลักษณะของเครือ่ งทีจ่ ะออกแบบและสร้างนีจ้ ะท�ำการขึน้ เกลียว จากเชือก 2-4 เส้น เพื่อเป้าหมายผลิตเส้นเชือกที่มีความแข็งแรงสูง สามารถน�ำมา ประยุกต์ใช้กับบางลักษณะงานที่ทดแทนเชือกจากพลาสติกสังเคราะห์ ตัวอย่าง การประยุกต์ใช้งานของเส้นเชือกจากธรรมชาติ แสดงดังรูปที่ 3 โครงงานวิจัยนี้ นอกจากสนับสนุนและส่งเสริมการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เพิ่มมูลค่าจากสิ่ง ทีไ่ ร้คา่ ให้มคี ณ ุ ค่าเพิม่ ขึน้ แล้ว ยังเป็นการช่วยส่งเสริมการสร้างอาชีพให้กบั เกษตรกร อีกแนวทางหนึ่ง ซึ่งเส้นเชือกเกลียวจากเยื่อกล้วยที่ได้จะสามารถออกแบบรังสรรค์ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความน่าสนใจด้านผลิตภัณฑ์สีเขียว และมีเสน่ห์ดึงดูดใจด้วย รูปลักษณ์ทเี่ ป็นธรรมชาติ เมือ่ ประชาชนรวมกลุม่ สร้างสรรค์ผลงานสูท่ อ้ งตลาด อีกทัง้ ได้รับการสนับสนุนด้านงานประดิษฐกรรม จากโครงการประดิษฐกรรมเพื่อพัฒนา ชนบท จะช่วยส่งผลดีในแง่ของการเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน มีทางเลือกส�ำหรับ การประกอบอาชีพมากกว่าการเข้าไปตัดไม้ทำ� ลายป่าเพือ่ ท�ำไร่เลือ่ นลอย สร้างปัญหา ให้กับโลกด้วยการตัดต้นไม้ เป็นช่องทางช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมในทางอ้อมไป ในขณะเดียวกัน เมือ่ ความเป็นอยูด่ ขี นึ้ ชุมชนเข้มแข็ง ส่งผลดีตอ่ การพัฒนาประเทศ ให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น
4 เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์
a) เก้าอี้ส�ำหรับนั่งเล่น
b) ตุ๊กตาสาน
c) กล่องที่ผลิตจากเส้นเชือกธรรมชาติ รูปที่ 3 ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปด้วยเส้นเชือกจากธรรมชาติ
เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์ 5
วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพือ่ ศึกษาสภาวะการขึน้ รูปเส้นเชือกสานเฟอร์นเิ จอร์จากเยือ่ กล้วยและ หญ้าแฝก เพือ่ เผยแพร่และถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กบั นักวิชาการ ผูป้ ระกอบการ และ เกษตรกรผู้สนใจผลิตเส้นเชือกจากเยื่อกล้วยและหญ้าแฝก 2) ศึกษาสมบัติที่จ�ำเป็นต่อการใช้งานของเส้นเชือกสานเฟอร์นิเจอร์จาก เยื่อกล้วยและหญ้าแฝก
6 เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์
ขอบเขตของโครงการ ทดลองหาสภาวะทีเ่ หมาะสมส�ำหรับการผลิตเยือ่ จากเยือ่ กล้วยและหญ้าแฝก ออกแบบและสร้างชุดขึ้นรูปเกลียวเส้นเชือกจากเยื่อกล้วยและหญ้าแฝก ทดสอบ สมบัติที่จ�ำเป็นต่อการน�ำเส้นเชือกที่ได้ไปใช้งาน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการผลิต เส้นเชือกดังกล่าวออกจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์ และประยุกต์ใช้สำ� หรับงานรูปแบบอืน่ ๆ
เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์ 7
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ 1) ได้กระบวนการผลิตเส้นเชือกส�ำหรับสานเฟอร์นเิ จอร์จากเยือ่ กล้วยและ หญ้าแฝก 2) ได้เทคนิคกระบวนการผลิตเส้นเชือกที่เหมาะสมส�ำหรับถ่ายทอด เทคโนโลยีให้แก่กลุ่มเกษตรกร 3) ช่วยสร้างมูลค่าให้กบั เศษเหลือจากงานเกษตรกรรม ส่งเสริมการพัฒนา อย่างยั่งยืนให้กับเกษตรกร และสร้างทางเลือกส�ำหรับการน�ำเศษพืชมาใช้งาน 4) เพื่อเป็นแนวทางส�ำหรับการศึกษาตลาดเพื่อผลิตให้เป็นสินค้า หรือ ดัดแปลงให้เป็นผลิตภัณฑ์ชนิดอื่น ๆ เพื่อการจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์
8 เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์
ผลการด�ำเนินงาน เครื่องหมุนปั่นเชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกส�ำหรับสานเฟอร์นิเจอร์ได้ ท�ำการออกแบบชุดหมุนเยือ่ กระดาษส�ำหรับขึน้ รูปเกลียวเส้นเชือก โดยการออกแบบ ชุดหมุนเยื่อกระดาษส�ำหรับขึ้นรูปเกลียวเส้นเชือก ประกอบไปด้วย ชุดหมุน เยื่อกระดาษส�ำหรับปั่นเกลียว ชุดจานหมุนจะถูกขับโดยมอเตอร์ไฟฟ้าส่งก�ำลังผ่าน ชุดสเตอร์และโซ่ โดยชุดจานหมุนจะประกอบด้วยตัวจานหมุนสองชิน้ แบริง่ ของแกน เพลาสองตัวถูกน�ำมาประกอบกับชุดจานหมุนในแนวแกนเพลา แล้วประกอบแบริ่ง ตัวหมุนเยื่อเพื่อให้ม้วนเยื่อกระดาษหมุนเข้ากับจานหมุนอีกตัว แล้วน�ำจานหมุนทั้ง สองเข้ามาประกอบกันโดยมีชุดเฟืองที่ท�ำให้ชุดแกนม้วนของเยื่อกระดาษหมุนอยู่ ระหว่างกลางของจานหมุนทั้งสองแล้วน�ำไปประกอบกับแกนเพลา แล้วน�ำชุดแกน ม้วนมาประกอบติดกับแบริ้งบนจานแกนหมุน ลักษณะของชุดหมุนขึ้นรูปเกลียว เชือก แสดงดังรูปที่ 4 และรูปที่ 5 แสดงลักษณะของเครื่องปั่นขึ้นรูปเชือกเกลียว
รูปที่ 4 ลักษณะของชุดหมุนขึ้นรูปเกลียวเชือกที่สร้างขึ้น
เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์ 9
a)
b)
a) ลักษณะการออกแบบเครื่องปั่นขึ้นรูปเชือกเกลียว b) เครื่องปั่นขึ้นรูปเชือกเกลียวที่สร้างขึ้น รูปที่ 5 ลักษณะของเครื่องปั่นขึ้นรูปเชือกเกลียว
กระดาษที่ได้จากการขึ้นรูปจะถูกตัดให้มีขนาดหน้ากว้าง 2, 4, 6 และ 8 มิลลิเมตร ในลักษณะม้วนเพือ่ น�ำไปติดตัง้ ในชุดปัน่ เกลียวเส้นเชือก แสดงดังรูปที่ 6
รูปที่ 6 การเตรียมม้วนกระดาษส�ำหรับการขึ้นรูปเกลียวเชือก
10 เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์
ชุดปั่นขึ้นรูปเกลียวเชือกที่ได้ออกแบบและสร้าง แสดงดังรูปที่ 4 มีหลักการ ท�ำงานจากชุดขึ้นรูปเกลียว โดยหมุนกระดาษแต่ละม้วนก่อนแล้วจึงหมุนแต่ละเส้น รวมกันให้รัดกันเป็นเกลียว จากนั้นชุดเก็บเส้นเชือกจะม้วนเชือกเก็บเข้าม้วน โดย ทั้ง 2 ชุดใช้มอเตอร์ที่มีชุดควบคุมก�ำหนดความเร็วรอบขับเคลื่อนเพื่อที่จะได้ปรับ ความเร็วรอบระหว่างการขึ้นรูปเชือกให้เหมาะสม ในการทดลองขึ้นรูปเชือกเกลียว จากกระดาษจะแบ่งการทดลองปรับตั้งความเร็วของมอเตอร์ในการหมุนขึ้นรูป เชือกเกลียวเพือ่ ทดสอบหาความเร็วรอบทีเ่ หมาะสมส�ำหรับการขึน้ รูป และน�ำไปทดสอบ สมบัติการต้านทานต่อแรงดึง โดยท�ำการทดลองปรับค่าความเร็วรอบของมอเตอร์ 35 รอบ/นาที (25%), 70 รอบ/นาที (50%), 105 รอบ/นาที (75%), 140 รอบ/ นาที (100%) และจับเวลาในการขึน้ รูปเกลียวเส้นเชือก จากการทดสอบการท�ำงาน ของเครือ่ งด้วยการใช้มว้ นกระดาษทีจ่ ดั เตรียมส�ำหรับการทดสอบขึน้ รูปเกลียวพบว่า สามารถสรุปได้วา่ ทุกชิน้ ส่วนของชุดขึน้ รูปเกลียวจากกระดาษสามารถท�ำงานสัมพันธ์ กัน และสามารถขึ้นรูปเชือกเกลียวได้ เครื่องที่สร้างขึ้นสามารถท�ำงานได้ตามที่ คาดหวังไว้ และท�ำงานสัมพันธ์กันทั้ง 4 ชุด กระดาษชนิดม้วนที่ใช้ในการทดลองนี้หน้ากว้าง 2, 4, 6 และ 8 เซนติเมตร โดยมีความยาว 10 เมตร ความหนาเฉลี่ย 0.6 มิลลิเมตร ท�ำการขึ้นรูปเชือกเกลียว จ�ำนวน 4 เส้น โดยแต่ละชิ้นทดสอบจะน�ำไปนับจ�ำนวนเกลียวที่เกิดขึ้นต่อระยะ ความยาว 10 เซนติเมตร และวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย เชือกเกลียวที่ขึ้นรูป ได้ ตัวอย่างดังรูปที่ 7
เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์ 11
รูปที่ 7 เชือกเกลียวที่ขึ้นรูปจากเยื่อกล้วยหน้ากว้าง 4 เซนติเมตร
ความต้านทานแรงดึงเฉลี่ยของเชือกเกลียว (N)
จากผลการทดลองพบว่าเมือ่ ความเร็วรอบของมอเตอร์เพิม่ ขึน้ จ�ำนวนเกลียว จะเพิม่ ขึน้ และเส้นผ่านศูนย์กลางจะลดลง เมือ่ น�ำเชือกเกลียวไปท�ำการทดสอบความ ต้านแรงดึงพบว่า แรงดึงที่เกิดขึ้นจะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย ดังแสดงผลในรูปที่ 8
รูปที่ 8 ผลการทดสอบความต้านทานแรงดึงเฉลี่ยของเชือกเกลียว
12 เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์
สรุปผลและข้อเสนอแนะ จากการจัดท�ำเชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกส�ำหรับสานเฟอร์นิเจอร์ ได้ทดสอบการท� ำ งานของชุดขึ้นรูปเกลียวเส้นเชือ ก และทดลองขึ้นรูปเกลียว เส้นเชือก น�ำเสนอการสรุปผลที่ได้จากการจัดท�ำ มีข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพื่อน�ำไป พัฒนาและปรับปรุงในโอกาสต่อไป 1. สรุปผลการทดลอง 1) ชุดปัน่ ขึน้ รูปเชือกเกลียวจากเยือ่ กล้วยสามารถขึน้ รูปเชือกเกลียวจาก กระดาษกล้วยขนาดความกว้าง 2, 4, 6 และ 8 ซม. โดยสามารถขึ้นรูปเชือกเกลียว ได้ 5 เมตรต่อนาที ทีค่ วามเร็วรอบมอเตอร์ของชุดขึน้ รูปเชือกเกลียว 140 รอบ/นาที (100%) มีจ�ำนวนเกลียวในระยะ 10 ซม. โดยเฉลี่ย 6, 4.5 ,3.5 และ 2.5 เกลียว ตามล�ำดับ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6.5, 7.5, 10.6 และ 10.8 มม. ตามล�ำดับ 2) ผลการทดสอบความต้านทานต่อแรงดึง พบว่าความต้านทาน ต่อแรงดึงมีสดั ส่วนเพิม่ ขึน้ ตามจ�ำนวนเกลียว และเส้นผ่านศูนย์กลางจะลดลงเมือ่ น�ำ เส้นเชือกไปท�ำการทดสอบความต้านแรงดึงพบว่า แรงดึงทีเ่ กิดขึน้ จะเพิม่ มากขึน้ ตาม ไปด้วย มีค่าความต้านทานแรงดึงที่ความเร็วรอบมอเตอร์ของชุดขึ้นรูปเชือกเกลียว 140 รอบ/นาที (100%) เฉลี่ย 38.026, 65.862, 113.672 และ 120.414 นิวตัน ตามล�ำดับ 3) ผลการทดสอบทั้งหมดพบว่าเชือกเกลียวเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกที่ ขนาดความกว้าง 4 ซม. มีการเรียงตัวของเกลียวและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางดี 2. ข้อเสนอแนะ ในการด�ำเนินงานนี้ คณะผู้จัดท�ำมีข้อเสนอแนะส�ำหรับ ผู้ที่สนใจ และผู้จะน�ำไปปรับปรุงต่อไป มีดังนี้ 1) ถ้าไม่ตอ้ งการให้เกลียวคลายตัว ให้เพิม่ เฟืองเข้าไประหว่างเฟืองขับ และเฟืองตามเพือ่ ท�ำให้เกลียวเชือกเส้นเล็กสลับทางกับการขึน้ รูปเกลียวเป็นเส้นใหญ่
เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์ 13
2) ถ้าต้องการให้เส้นเชือกมีความแน่นของเกลียวและสวยงามควรเพิม่ อัตราทดของชุดเฟืองของชุดปั่นขึ้นรูป 3) ปรับปรุงชุดจับยึดแกนม้วนกระดาษให้สามารถปรับความฝืดที่ เท่ากันทัง้ สีม่ ว้ นได้จะท�ำให้อตั ราการปล่อยกระดาษออกมาเท่ากัน และท�ำให้เกลียวมี ความสวยงามมากขึ้น 4) ชุดบังคับเส้นเชือกควรมีการเพิม่ ขนาดทีห่ ลากหลายเพือ่ ให้เหมาะสม กับขนาดหน้ากว้างของกระดาษเพื่อที่ไม่แน่นหรือหลวมเกินไป
14 เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์
บรรณานุกรม กรรมมันต์ ชูประเสริฐ และคณะ. 2539. ทฤษฎีและตัวอย่างโจทย์การออกแบบ เครือ่ งจักรกล แปลจาก Theory and Problems of Machine Design. กรุงเทพฯ: แมคกรอฮิล อินเตอร์เนชั่นแนล เอ็นเตอร์ไพรส์. ธีระพงษ์ ไชยเฉลิมวงศ์. ม.ป.ป. การปั่นด้าย. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี. นงนุช ตัง้ เกริกโอฬาร. ม.ป.ป. “กล้วย,” [ออนไลน์] สืบค้นเมือ่ 15 กุมภาพันธ์ 2553 จาก http://www. uniserv.buu.ac.th/forumpost.asp?method=Topic Quote&TOPIC_ID=1769&FORUM_ID=7 มูลนิธิชัยพัฒนา.ม.ป.ป. “หญ้าแฝกคืออะไร?,” [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 2553 กุมภาพันธ์ 15 จาก http://www.chaipat.or.th/intranet/article/vetiver/ vetiver_t.html วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. “กล้วย,” [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 2553 กุมภาพันธ์ 15 จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา บุษรา สร้อยระย้า, ลิขิต หาญจางสิทธิ์, ปราณี สุภาวิมล และวาสนา อภิชาตะจุฑาพันธุ์. ม.ป.ป. “การศึกษาการใช้ประโยชน์จาก เส้นใยกล้วย (Utilization of banana fiber),” [ออนไลน์] สืบค้นเมือ่ 2553 กุมภาพันธ์ 15 จาก http://www.material.chula.ac.th/Thai_web/ Research/polymerAb/011.bananafiber.htm
เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์ 15
ประวัติผู้เขียนและผลิตเครื่อง คนที่ 1 ชื่อ-นามสกุล นายสมศักดิ์ อิทธิโสภณกุล ต�ำแหน่งปัจจุบัน ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านของภาควิชา วิศวกรรมอุตสาหการ (วอ.187) และวุฒิสมาชิก วสท. (1/018986) ที่ท�ำงาน ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถ.รังสิต-นครนายก ต.คลองหก อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 ประวัติการศึกษา คอ.บ. (อุตสาหการ-เครื่องมือกล) วิทยาลัยเทคโนโลยีและ อาชีวศึกษา คอ.ม. (เทคโนโลโลยีเทคนิคศึกษา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ Ph.D. (Technology Management) Technological University of the Philippine สาขาวิชาการที่มีความช�ำนาญพิเศษ Metallurgy (Deep to Ferrous Metal) Material Testing (DT) Steel Mill Plant (Iron and Steel Making) Punch and Dies Manufacturing Process
16 เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์
ประวัติผู้เขียนและผลิตเครื่อง คนที่ 2 ชื่อ-นามสกุล นายอนินท์ มีมนต์ ต�ำแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ระดับ 7 ที่ท�ำงาน ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถ.รังสิต-นครนายก ต.คลองหก อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 ประวัติการศึกษา วศ.บ. (อุตสาหการ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วศ.ม. (อุตสาหการการผลิต) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาการที่มีความช�ำนาญพิเศษ Composite Materials (Bio-Composite) Plastic Injection Molding Computer Aided Design Manufacturing Process
เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝกสำ�หรับสานเฟอร์นิเจอร์ 17
ประวัติผู้เขียนและผลิตเครื่อง คนที่ 3 ชื่อ-นามสกุล นายศุภเอก ประมูลมาก ต�ำแหน่งปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ที่ท�ำงาน ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถ.รังสิต-นครนายก ต.คลองหก อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 ประวัติการศึกษา วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ) มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วศ.ม. (วิศวกรรมระบบการผลิต) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สาขาวิชาการที่มีความช�ำนาญพิเศษ Cad/Cam Quality Control Manufacturing Proess Tool Engineering
คณะกรรมการวิชาการพิจารณาเอกสารเผยแพร่ความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1. รศ. ดร.สุวรินทร์ ปัทมวรคุณ 2. ผศ. ดร.ณัฐวรรณ คุปพิทยานันท์ 3. ผศ. ดร.จตุพร เผ่าพงษ์ไทย 4. รศ.วสันต์ กันอ�่ำ 5. ผศ. ดร.วันชัย ประเสริฐศรี 6. ผศ.สุภา ทองคง 7. ผศ. ดร.บุญเรือง สมประจบ 8. ผศ. ดร.อัญชลี สวาสดิ์ธรรม 9. ผศ. ดร.สมจิตร ถนอมวงศ์วัฒนะ 10. ผศ. ดร.อ้อยทิพย์ ผู้พัฒน์ 11. ผศ. ดร.บุญย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว 12. นายประชุม ค�ำพุฒ 13. นายเกษียร ธรานนท์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
คณะผู้จัดท�ำ ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ อธิการบดี คณะท�ำงาน ฝ่ายอ�ำนวยการ รองศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี สงวนพงษ์ นางบรรเลง สระมูล
ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา
ฝ่ายเนื้อหา ดร.สมศักดิ์ อิทธิโสภณกุล นายอนินท์ มีมนต์ นายศุภเอก ประมูลมาก
คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
ฝ่ายศิลป์ และจัดพิมพ์ นางนฤมล จารุสัมฤทธิ์ นางสาวกชกร ดาราพาณิชย์ นางสาวอริสรา สุดสระ นางสรสุดา ชูกลิ่น จัดพิมพ์โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ต�ำบลคลองหก อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์: 0 2549 4682 โทรสาร. 0 2577 5038 Website: http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail: ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที่: บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จ�ำกัด โทรศัพท์: 0 2521 8420 โทรสาร. 0 2521 8424