การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
ผู้เขียน : กรณัท สุขสวัสดิ์ ISBN : 978-974-625-663-6 จ�ำนวน : 39 หน้า พิมพ์ครั้งที่ 1 : สิงหาคม 2557 จ�ำนวนพิมพ์ : 100 เล่ม ราคา : จัดพิมพ์โดย : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ต�ำบลคลองหก อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์: 0 2549 4682 โทรสาร: 0 2577 5038 Website: http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail: ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที่ : บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จ�ำกัด โทรศัพท์ : 0 2521 8420 โทรสาร: 0 2521 8424
เนื้อหาใดๆ ในหนังสือเล่มนี้เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเพียงผู้เดียว สถาบันวิจัยและพัฒนา เป็นเพียงผู้จัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชนเท่านั้น
ค�ำน�ำ เอกสารเผยแพร่ความรู้ เรือ่ ง การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย เป็นเอกสารทีใ่ ห้ความรูเ้ กีย่ วกับการประดิษฐ์กระเป๋าทีท่ ำ� มาจากผ้าไทย ซึง่ จะศึกษา ถึงเทคนิคการออกแบบกระเป๋ารูปทรงต่าง ๆ ทีม่ ลี กั ษณะโดดเด่น และเป็นเอกลักษณ์ รวมถึงการตัดเย็บ การขึน้ รูป การตกแต่งด้วยวัสดุตา่ ง ๆ อีกทัง้ ยังเป็นการสร้างสรรค์ การน�ำผ้าไทยมาประยุกต์ใช้ และแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเก๋ไก๋ ทันสมัย แปลกใหม่ไม่เหมือนใคร และมีความคงทนต่อการใช้งาน เอกสารเผยแพร่ความรู้นี้ จัดท�ำขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างสถาบันวิจัย และพัฒนา และคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ วัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ เกี่ยวกับการประดิษฐ์กระเป๋าจากผ้าไทยแก่ผู้ที่สนใจและบุคคลทั่วไป เพื่อใช้เป็น แนวทางในการต่อยอดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจนน�ำไปสู่การสร้างงาน สร้าง อาชีพ พัฒนาผลิตภัณฑ์ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ได้ ทั้งนี้ ผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเผยแพร่ความรู้ฉบับนี้จะเป็น ประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจและประชาชนทั่วไป และหากมีข้อบกพร่องประการใด คณะผู้จัดท�ำขออภัยไว้ ณ ที่นี้ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สิงหาคม 2557
สารบัญ หน้า บทน�ำผลิตภัณฑ์จากผ้าไทย 1 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย (ทรงสามเหลี่ยม) 2 - วัสดุ-อุปกรณ์ 2 - ขั้นตอนการตัดเย็บแบบตัดกระเป๋า 2 - การก�ำหนดรูปแบบกระเป๋า 3 - ขั้นตอนการเย็บกระเป๋า 4 - การท�ำแบบตัดถุงซับในกระเป๋า 7 - ขั้นตอนการเย็บถุงซับในกระเป๋า 9 - ชิน้ งานส�ำเร็จ: กระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย (ทรงสามเหลีย่ ม) 10 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย (ทรงสี่เหลี่ยม) 11 - ขั้นตอนการตัดเย็บแบบตัดกระเป๋า 11 - การท�ำแบบตัดกระเป๋า 12 - การก�ำหนดแบบตัดกึ่งกลางรอยต่อของกระเป๋า 14 - การท�ำแบบตัดถุงกระเป๋าซับใน 14 - การก�ำหนดและการท�ำสาบกระเป๋า 15 - การก�ำหนด–การท�ำแบบตัดถุงก้นกระเป๋าซับใน 15 - ขั้นตอนการเย็บประกอบถุงกระเป๋าซับใน 16 - ขั้นตอนการเตรียมชิ้นงานกระเป๋า 17 - การตัดสาบซับในกระเป๋า 18 - แบบตัดซับในก้นกระเป๋า 18 - ขั้นตอนการเย็บประกอบตัวกระเป๋า 18
- การท�ำสายคล้องกระดุมกระเป๋า - ชิ้นงานส�ำเร็จ: สายกระเป๋าผีเสื้อคล้องกระดุม การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย (ทรงรี) - ขั้นตอนการตัดเย็บแบบตัดกระเป๋า - การท�ำแบบตัดก้นกระเป๋า - การท�ำแบบตัดปากกระเป๋า - ขั้นตอนการเย็บประกอบกระเป๋า - ขั้นตอนการเตรียมแบบตัดถุงซับในกระเป๋า - ขั้นตอนการเย็บถุงซับในกระเป๋า - ขั้นตอนการเย็บซิป-ปากกระเป๋า - ชิ้นงานส�ำเร็จ: กระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย (ทรงรี) เทคนิคการตกแต่งกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทยแบบกุ๊นผ้า - วัสดุ-อุปกรณ์ - ขั้นตอนการท�ำตัวดอกไม้ - การท�ำเกสรดอกไม้จากผ้าไทย - การตกแต่งชิ้นงานดอกไม้จากผ้าไทย - การตกแต่งใบโดยการปัก บรรณานุกรม ประวัติผู้เขียน
22 24 25 25 26 27 28 30 30 31 32 33 33 33 35 36 37 38 39
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 1
บทน�ำผลิตภัณฑ์จากผ้าไทย ผ้ า ไทยเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ หั ต ถกรรมที่ เ กิ ด จากการทอเส้ น ด้ า ยเป็ น ผื น ผ้ า ในสมัยโบราณใช้ฝ้ายและไหมเป็นวัตถุดิบที่ส�ำคัญในการทอผ้าไทยมาตั้งแต่โบราณ เพื่อวัตถุประสงค์ใช้นุ่ง ได้แก่ ผ้าซิ่น ผ้าโสร่ง ใช้ห่มได้แก่ ผ้าแพร ผ้าเบี่ยง ผ้ารัดอก และใช้ในพิธกี รรมทางศาสนาเป็นส่วนใหญ่ (วรรณา วุฒทะกุล และยุรารัตน์ พันธุย์ รุ า, 2537, หน้า 22) ปัจจุบนั นอกจากจะใช้ใยฝ้ายและใยไหมเป็นวัตถุดบิ ในการทอแล้ว ยังนิยมน�ำใยประดิษฐ์มาผสมกับใยธรรมชาติทอเป็นผ้าไทยมากขึน้ ทัง้ นีเ้ พือ่ ปรับปรุง คุณภาพให้เหมาะกับวิถชี วี ติ ของคนไทยในปัจจุบนั และยังท�ำให้การดูแลรักษาง่ายขึน้ อีกระดับหนึ่งทั้งภาครัฐและเอกชนได้ส่งเสริมสนับสนุนการทอผ้าของกลุ่มแม่บ้าน โดยปรับปรุงลักษณะผ้าไทยให้สามารถน�ำไปใช้ได้หลายโอกาส รวมทัง้ สามารถใช้ได้ กับทุกเพศ ทุกวัยมากยิ่งขึ้น กรมส่งเสริมการเกษตร (2539, หน้า 20) การออกแบบ ถือเป็นสรรพสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น นับจากสิ่งที่ง่ายที่สุด จนถึงสิง่ ทีย่ ากทีส่ ดุ ซับซ้อนจากแนวคิดหลาย ๆ ฝ่าย เป็นกิจกรรมอันส�ำคัญประการ หนึ่งของมนุษย์ ซึ่งหมายถึงสิ่งที่มีอยู่ในความคิด (Idea) ที่นักออกแบบก�ำหนดด้วย การจัดท่าทาง ถ้อยค�ำ เส้น สี เสียง แสง รูปแบบ และวัสดุต่าง ๆ โดยมีกฎเกณฑ์ ทางความงาม
2 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย (ทรงสามเหลี่ยม) วัสดุ–อุปกรณ์ 1. ผ้าลาย–ผ้าพื้น ตามต้องการ (เนื้อผ้าหนาปานกลาง) 2. ผ้ากาวรีดติด (ชนิดเนื้อหนา) 3. ด้ายเย็บผ้าเบอร์ 60 (สีเดียวกับผ้า) 4. ผ้าซับในสีเดียวกับตัวกระเป๋า 5. กรรไกรตัดผ้าและอุปกรณ์การตัดเย็บ 6. ชอล์กสีส�ำหรับเขียนผ้า 7. กระดาษขาว–เทา (ส�ำหรับท�ำแบบตัด) ขั้นตอนการตัดเย็บแบบตัดกระเป๋า 1. ก�ำหนดแบบตัดกระเป๋าทรงสามเหลี่ยมโดยก�ำหนดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 2. ก�ำหนดรูปแบบและการตกแต่งการใช้ผ้าลายและผ้าพื้นตามต้องการ 3. ความกว้างจะได้เท่ากับ 10 เซนติเมตร 4. ความยาวจะได้เท่ากับ 10 เซนติเมตร 5. แบบตัดกระเป๋าใช้แบบตัดเย็บต่อกันโดยใช้แบบตัด จ�ำนวน 17 ชิ้น (แบบตัดกระเป๋าเผื่อตะเข็บ 1 เซนติเมตร โดยรอบทั้ง 4 ด้าน)
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 3
10
10 10 cmcm cm
10 cm 10 cm cm 10
การกาหนดรูปแบบกระเป๋า การก ปแบบกระเป๋ า การก�ำหนดรูาหนดรู ปแบบกระเป๋ า ลักษณะรูปแบบกระเป๋าสามเหลี่ยม แบบตัดกระเป๋ามีทั้งหมด 17 ชิ้น กษณะรูปแบบกระเป๋ ปแบบกระเป๋าสามเหลี าสามเหลี่ยม่ยมแบบตั แบบตัดกระเป๋ ดกระเป๋ามีาทมีั้งทหมด ั้งหมด1717ชิ้นชิ้น ลักลัษณะรู
2
9
2
9
15 15
1 6
1 6
12 12 14 14
3
8
3
8
11 11
4 7
4 7
13 13 17 17
5
5
10 10 16 16
4 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
ขั้นตอนการเย็บกระเป๋า 1. น�ำแบบตัดกระเป๋าเย็บต่อให้ส�ำเร็จทั้ง 17 ชิ้น (รีดแบะตะเข็บให้เรียบร้อย)
2. น�ำชิ้นส่วนเย็บต่อกัน (เย็บย�้ำตรงจุดรอยต่อ)
3. น�ำชิ้นส่วนเย็บต่อกัน (ภาพด้านหน้ากระเป๋า)
4. น�ำชิ้นส่วนเย็บต่อกัน (ภาพด้านหลังกระเป๋า)
1
2
3 (ด้านหน้า)
4 (ด้านหลัง)
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 5
5
6
5. ตกแต่งบริเวณกระเป๋าด้านหน้า โดยการน�ำดอกไม้มาติดกับกระเป๋า
6. วาดรูปใบไม้รอบบริเวณดอกไม้ (ใช้ชอล์กส�ำหรับเขียนผ้า)
7. ปักใบไม้รอบบริเวณดอกไม้
8. ชิ้นงานกระเป๋าสามเหลี่ยม ด้านหน้า–ด้านหลัง
6 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
9. เย็บต่อตะเข็บข้างของกระเป๋าตรงรอยต่อสามเหลี่ยมให้ส�ำเร็จ (ซ้าย-ขวา) รีดแบะตะเข็บ รอยต่อ
10. น�ำถุงซับในตัวกระเป๋าทีเ่ ย็บติดกับสาบส�ำเร็จมาประกบกับตัวกระเป๋า โดยน�ำด้านถูกประกบ ด้านถูกเข้าด้วยกันเย็บตรงบริเวณปากกระเป๋า
11. พลิกกลับกระเป๋าออกโดยพลิกกลับ ที่ก้นซับในของกระเป๋า
12. ด้านหน้ากระเป๋าทรงสามเหลี่ยม
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 7
13. ด้านหลังกระเป๋าทรงสามเหลี่ยม
14. ด้านข้างกระเป๋าทรงสามเหลี่ยม
15. ก�ำหนดแนวติดสายกระเป๋าตรงบริเวณปากกระเป๋ามุมสามเหลี่ยมทั้ง 2 ข้าง วัดลง 3 เซนติเมตร เป็นแนวติดสายกระเป๋าน�ำสายกระเป๋าติดให้ส�ำเร็จ
การท�ำแบบตัดถุงซับในกระเป๋า 1. การท�ำแบบตัดถุงกระเป๋าซับใน ลอกแบบตัดกระเป๋าทั้ง 17 ชิ้น (แบบ ตัดเหมือนตัวกระเป๋า) 2. ก�ำหนดความยาวสาบของกระเป๋าด้านในวัดลงมา 10 เซนติเมตร (สาบ กระเป๋าใช้ผ้าตัวกระเป๋ารีดอัดผ้ากาวตัด 2 ชิ้น เผื่อตะเข็บโดยรอบ 1 เซนติเมตร) 3. ก�ำหนดถุงกระเป๋าซับในด้านล่างส่วนทีเ่ หลือของแบบตัดเท่ากับแบบตัด จริง 1 ชิ้น
8 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
ขั้นตอนการเย็บถุงซับในกระเป๋า
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 9
ขั้นตอนการเย็ บถุงซับบในถุ ในกระเป๋ 1. นาสาบซั งกระเป๋าาด้านบนเย็บต่อกับซับในถุงกระเป๋าด้านล่าง ให้สาาเร็ เย็บเดิบนต่เส้อนกัตรงทั ้ง 2งชิกระเป๋ ้น (เย็าบด้เดิานล่ นคิา้วงให้ ) สำ� เร็จเย็บเดินเส้นตรง 1. น�ำสาบซับในถุงกระเป๋ ด้าจนบนเย็ บซับในถุ ทั้ง 2 ชิ้น (เย็บเดินคิ้ว) 1 2
4 3
6 9
5 7
8 12
15
10 13
11 14
สาปกระเป๋าใช้ าใช้ผผ้ากระเป๋ ้ากระเป๋า า สาบกระเป๋ รีดรีดอัอัดดผ้ผ้ากาว เผื อ ่ ตะเข็ ากาว เผื่อตะเข็บบ โดยรอบ โดยรอบ11cm cm
สาบกระเป๋าใช้ผ้าซับ สาปกระเป๋ ในเผื่อตะเข็บโดยรอบ cm 11 cm
16 17
2. เย็บรอบต่อปากกระเป๋าด้านถุงกระเป๋า 2. ้งเย็สองด้ บรอยต่ ซับในทั าน อปากกระเป๋าด้าน ถุงกระเป๋าซับในทั้งสองด้าน
สาปกระเป๋าใช้ผ้ากระเป๋า สาบกระเป๋ รีดอัดผ้ากาว เผื่อตะเข็บ โดยรอบ โดยรอบ 11 cm cm
3. โดยเย็บเว้นช่องไว้สำ� หรับกลับกระเป๋า 3. โดยเย็ นช่นอรูงไว้ สาหรับกลับ ่ ย มเหมื อ น เย็บบเว้เป็ ป ทรงสามเหลี กระเป๋ าเย็กระเป๋ บเป็นารูตัปวทรงสามเหลี ่ยม นอก เหมือนกระเป๋าตัวนอก
10 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
4. เย็บต่อตะเข็บข้างทั้ง 2 ชิ้น (ซ้าย–ขวา)
5. เย็บต่อตะเข็บข้างโดยเย็บเว้นช่องไว้ กลับตัวกระเป๋า (6 เซนติเมตร)
ชิ้นงานส�ำเร็จ : กระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย (ทรงสามเหลี่ยม)
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 11
2. การทากระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย (ทรงสี่เหลี่ยม)
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย (ทรงสี่เหลี่ยม) ขั้นตอนการท าแบบตั ดกระเป๋ ขั้นตอนการตั ดเย็บแบบตั ดกระเป๋ า า 1. การท� การทำาแบบตั างและความยาว 1. แบบตัดกระเป๋า (ด้(ด้าานหน้ นหน้าา) )กาหนดความกว้ ก�ำหนดความกว้ างและความยาว ของกระเป๋ ง 25ความยาว เซนติเมตร25ความยาว ของกระเป๋า ความกว้ างา25ความกว้ เซนติเามตร เซนติเมตร25 เซนติเมตร
25 cm
25 cm
2. การท�ำแบบตัดกระเป๋า (ด้านข้าง) ก�ำหนดความกว้างและความยาวของ กระเป๋า 2. การทาแบบตัดกระเป๋า (ด้านข้าง) กาหนดความกว้างและความยาว 3. การก� ำหนดความกว้ างของกระเป๋า 20 เซนติเมตร ของกระเป๋ า 4. หนดความยาวของกระเป๋ 3. การก� การกำาหนดความกว้ างของกระเป๋า า2520เซนติ เซนติเมตร เมตร 4. การกาหนดความยาวของกระเป๋า 25 เซนติเมตร 25 cm
20 cm
การทาแบบตัดกระเป๋า 1. กาหนดรูปแบบกระเป๋า
12 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 20 cm
การท�ำแบบตัดกระเป๋า การทาแบบตัดกระเป๋า 1. ก�ำหนดรูปแบบกระเป๋า 1. กาหนดรูปแบบกระเป๋า 25 cm
20 cm
25 cm
25 cm
20 cm
2. แบ่งครึ่งความกว้างของกระเป๋าชิ้นหน้าทั้ง 2 ชิ้น ความกว้างเท่ากับ แบ่งครึ่งความกว้ (25/2 =2.12.5 เซนติ เมตร) างของกระเป๋าชิ้นหน้าทั้ง 2 ชิ้น ความกว้างเท่ากับ = ่ง12.5 เซนติเมตร) าชิ้นหน้าและชิ้นหลัง ความยาวเท่ากับ 3. (25/2 แบ่งครึ ความยาวของกระเป๋ แบ่งครึ่งความยาวของกระเป๋ าชิ้นหน้าและชิ้นหลัง ความยาวเท่ากับ (25/2=3.12.5 เซนติ เมตร) เซนติเมตร) าชิ้นหน้าวัดออกข้างละ 3 เซนติเมตร ทั้ง 4 4. (25/2= จากจุด12.5 กึ่งกลางของกระเป๋ ด้าน (โดยการก� ด notch) าชิ้นหน้าวัดออกข้างละ 3 เซนติเมตรทั้ง 4. จากจุำหนดจุ ดกึ่งกลางของกระเป๋ 4 ด้าน (โดยการกาหนดจุด notch) 14.5 cm
14.5 cm
12.5 cm
5.
1 2 . ด จากจุ 5
12.5 cm
20 cm
12.5 cm
12.5 cm
notch ที่กาหนดของแต่ละชิ้นแล้วโค้งตามรูปโดยการใช้ ไม้โค้ง หรือวงเวียนโค้งตรงบริเวณจุด notch ทั้ง 4 ด้าน
20 cm
5.
1 2 . ด จากจุ 5
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 13
notch ที่กาหนดของแต่ละชิ้นแล้วโค้งตามรูปโดยการใช้ โค้ง ดหรืnotch อวงเวียทีนโค้ งตรงบริเวณจุ ด น้ notch ้ง 4 ด้ปาโดยการใช้ น 5. ไม้จากจุ ก่ ำ� หนดของแต่ ละชิ แล้วโค้ทังตามรู ไม้โค้ง หรือวงเวียนโค้งตรงบริเวณจุด notch ทั้ง 4 ด้าน
กระเป๋าชิชิ้น้นหน้ด้าานหน้า กระเป๋าชิ้นด้านข้าง กระเป๋าFชิ้นด้านหน้า
6. การท�ำแบบตัดโดยการแยกแบบตัดที่ก�ำหนดไม่มีรอยต่อตะเข็บด้าน ด้านหน้ ชิ้นด้า้นนข้ด้าานข้ ง างกระเป๋ ข้างกระเป๋กระเป๋ าจะใช้าชิแ้นบบตั ดชิ้นาหน้ากระเป๋ 2 ชิ้นาและชิ 1 ชิ้นาชิ้นด้านหน้า 6. การทาแบบตัดโดยการแยกแบบตัดที่กาหนดไม่มีรอยต่อตะเข็บด้าน กระเป๋าชิ้นด้านหน้า กระเป๋าชิ้นด้านข้าง กระเป๋าชิ้นด้านหน้า ข้างกระเป๋าจะใช้แบบตัดชิ้นหน้า 2 ชิ้น และชิ้นด้านข้าง 1 ชิ้น
การกาหนดแบบตัดกึ่งกลางรอยต่อของกระเป๋า การกาหนดแบบตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยการกาหนดความกว้าง การกาหนดแบบตัดกึ่งกลางรอยต่อของกระเป๋า และความยาวด้านละ 10 เซนติเมตร จานวน 2 ชิ้น (ผ้าพื้นรีดอัดผ้ากาว
14 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
การก�ำหนดแบบตัดกึ่งกลางรอยต่อของกระเป๋า การก�ำหนดแบบตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยการก�ำหนดความกว้างและ ความยาวด้านละ 10 เซนติเมตร จ�ำนวน 2 ชิ้น (ผ้าพื้นรีดอัดผ้ากาวให้เรียบร้อย)
10 cm 10 cm
10 cm 10 cm
การทาแบบตัดถุงกระเป๋าซับใน การทาแบบตัดถุงกระเป๋าซับใน การท�ำแบบตั ดถุงกระเป๋ 1. การท าแบบตัาดซัถุบงใน กระเป๋าจะมีขนาดเท่ากับตัวกระเป๋าตัวนอก 1. 1. การท� ำ แบบตั ด ถุ ง กระเป๋ นาดเท่ ากับบตัตัววกระเป๋ าแบบตัดถุางงของกระเป๋ กระเป๋าาจะมี จะมีาขข90 นาดเท่ กระเป๋าาตัตัววนอก นอก 2. กการท าหนดความกว้ เซนติากัเมตร 2. 2. ก�กำาหนดความกว้ หนดความกว้าางของกระเป๋ าา90 เซนติ เมตร งของกระเป๋ 90เซนติ เซนติ เมตร 3. กาหนดความยาวของกระเป๋ า 25 เมตร 3. 3. ก�กำาหนดความยาวของกระเป๋ หนดความยาวของกระเป๋าา25 25เซนติ เซนติเมตร เมตร 4. 4. 25 cm 25 cm 90 cm 90 cm
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 15
การกาหนดและการทาสาบกระเป๋า การก�ำส่หนดและการท� ำสาบกระเป๋ า เมตร เผื่อตะเข็บโดยรอบ 1 เซนติเมตร วนที่ 1 ความยาว 10 เซนติ ส่วนที่ 1 ความยาว 10 เซนติเมตร เผื่อตะเข็บโดยรอบ 1 เซนติเมตร (สาบกระเป๋าใช้ผ้ากระเป๋าอัดผ้ากาวรีดติด) ความกว้าง 90 เซนติเมตร (สาบกระเป๋าใช้ผ้ากระเป๋าอัดผ้ากาวรีดติด) ความกว้าง 90 เซนติเมตร ส่วนที่ 2 การกาหนดถุงกระเป๋าซับ 15 เซนติเมตร เผื่อตะเข็บโดยรอบ ส่วนที่ 2 การก�ำหนดถุงกระเป๋าซับ 15 เซนติเมตร เผื่อตะเข็บโดยรอบ 1 1 เซนติเมตร ความยาว 15 เซนติเมตรเผื่อตะเข็บโดยรอบ 1 เซนติเมตร เซนติเมตร ความยาว 15 เซนติเมตร เผื่อตะเข็บโดยรอบ 1 เซนติเมตร ความกว้าง ความกว้าง 90 เซนติเมตร 90 เซนติเมตร 10 cm 25 cm 15 cm 90 cm
การก�ำหนด-การท�ำแบบตัดถุงก้นกระเป๋าซับใน การกาหนด - การทาแบบตัดถุงก้นกระเป๋าซับใน 1. ถุงก้นกระเป๋าซับในเท่ากับความยาว 25 เซนติเมตร าซัาบซัในเท่ ากัาบกัความยาว เมตรเมตร (เผื่อตะเข็บโดย 1.2. ถุงถุก้งนก้กระเป๋ นกระเป๋ บในเท่ บความกว้25 าง เซนติ 20 เซนติ ถุงเก้มตร) นกระเป๋าซับในเท่ากับความกว้าง 20 เซนติเมตร (เผื่อตะเข็บ รอบ 1 2.เซนติ โดยรอบ 1 เซนติเมตร) 20 cm
25 cm
ขั้นตอนการเย็บประกอบถุงกระเป๋าซับใน
16 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
ขั้นตอนการเย็บประกอบถุงกระเป๋าซับใน
1. ถุงกระเป๋าด้านบนใช้ผ้าตัวกระเป๋ารีดอัดผ้ากาวให้ส�ำเร็จ
2. น�ำถุงกระเป๋าชิน้ บน-ล่างมาเย็บเส้นตรงต่อกัน (เย็บเดินคิว้ ) ทีเ่ ส้นรอยต่อระหว่าง ชิ้นบน-ชิ้นล่าง (ถุงกระเป๋าด้านล่างใช้ผ้าซับใน (ไม่รีดอัดผ้ากาว)
3. เย็บต่อตะเข็บข้างโดยเย็บเว้นช่อง ไว้ส�ำหรับกลับตัวกระเป๋า (ประมาณ 6 เซนติเมตร)
4. เย็บก้นกระเป๋ากับตัวกระเป๋า เข้าด้วยกันให้ส�ำเร็จทั้ง 4 ด้าน
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 17
ขั้นตอนการเตรียมชิ้นงานกระเป๋า
1. น�ำแบบตัดตัวกระเป๋ารีดอัดผ้าให้ส�ำเร็จ (ใช้ผ้าลาย) ลอกแบบตัดให้ส�ำเร็จทุก ๆ เส้น (เผื่อตะเข็บโดยรอบแบบตัด 2 เซนติเมตร) ตัดแบบตัดจ�ำนวน 4 ชิ้น ภาพด้านหน้ากระเป๋าสี่เหลี่ยม
แบบตัดกระเป๋าสี่เหลี่ยม (ด้านหน้า)
2. รีดอัดผ้ากาวให้ส�ำเร็จ (ใช้ผ้าพื้น) ตัดเท่าแบบจ�ำนวน 2 ชิ้น (เผือ่ ตะเข็บโดยรอบ 1 เซนติเมตร)
ภาพด้านหลังกระเป๋าสี่เหลี่ยม
แบบตัดกระเป๋าสี่เหลี่ยม (ด้านหลัง)
3. อัดผ้าให้ส�ำเร็จ (ใช้ผ้าลาย) ลอกแบบตัดให้ส�ำเร็จทุก ๆ เส้น
18 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
การตัดสาบซับในกระเป๋า 1. สาบกระเป๋าชิ้นบน (เผื่อตะเข็บ โดยรอบ 1 เซนติเมตร)
2. สาบกระเป๋าชิ้นล่าง
แบบตัดซับในก้นกระเป๋า ก้นกระเป๋าซับใน (เผื่อตะเข็บโดยรอบ 1 เซนติเมตร)
ขั้นตอนการเย็บประกอบตัวกระเป๋า
1. น�ำแบบตัดกระเป๋าทั้ง 4 ชิ้นเย็บต่อกันตรงจุดรอยต่อ (จุด Notch) ของกระเป๋า ทั้ง 4 ด้าน เย็บต่อกันทั้ง 4 ชิ้นให้ส�ำเร็จ
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 19
2. ตรงบริเวณส่วนโค้งทั้ง 4 ชิ้น และ 4 ด้าน เย็บเส้นตรง 1 เส้น โดยการเย็บห่าง จากเส้นโค้งแบบตัด 1 เซนติเมตร โดยการเย็บฝีเข็มห่างประมาณ 3.5 เซนติเมตร เป็นแนวรูดย่นตรงส่วนโค้ง
3. ตรงบริเวณรูดย่นส่วนโค้งรูดเข้าหาจุดกึ่งกลาง รีดโค้งมุมให้ส�ำเร็จตามส่วนโค้ง แบบตัดโดยการใช้แบบตัดกระดาษ ขาว–เทาเป็นตัวบังคับ รีดส่วนโค้งทัง้ 4 ด้าน และ 4 ชิ้น ของกระเป๋า
4. น�ำผ้าพื้นชิ้นตรงกลางมาวางกึ่งกลางของกระเป๋าโดยวางรัศมีเท่า ๆ กัน และใช้ เข็มหมุดตรึงไว้ตรงบริเวณส่วนโค้งทั้ง 4 ด้าน
20 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
5. เข็มหมุดตรึงไว้ตรงบริเวณส่วนโค้ง ทั้ง 4 ด้าน
6. เย็บเส้นตรงเริ่มจากด้านหนึ่งผ่านส่วน โค้งไปอีกด้านหนึ่งเย็บทั้ง 4 ด้าน และ 4 ชิ้น (เย็บห่างจากรอยต่อกระเป๋า 1 เซนติเมตร หรือ 1 ตีนผีจักรเย็บผ้า
7. เย็บเดินเส้นตรงโดยเริ่มจาก ด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง
8. น�ำวัสดุในการตกแต่งชิน้ งานมาตกแต่ง ให้ส�ำเร็จ
9. วาดรูปใบไม้บริเวณรอบ ๆ ดอกไม้ส�ำเร็จ
10. ปักตกแต่งชิ้นงาน
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 21
11. น�ำตัวกระเป๋าและถุงกระเป๋าซับในน�ำมาประกบเข้าด้วยกัน โดยประกบด้านถูก กับด้านถูกเย็บเส้นตรงบริเวณปากกระเป๋าให้ส�ำเร็จ
12. กลับกระเป๋าโดยกลับบริเวณทีเ่ ย็บช่องไว้สำ� หรับกลับกระเป๋า (ถุงผ้าซับในกระเป๋า) เย็บเส้นตรงตรงบริเวณรอยต่อระหว่างตัวกระเป๋ากับถุงกระเป๋าซับใน (เย็บเดิน คิ้ว)
13. รูปกระเป๋าทรงสี่เหลี่ยม
14. ติ ด กระดุ ม แม่ เ หล็ ก ตรงบริ เ วณจุ ด กึ่งกลางของกระเป๋าด้านข้างวัดลงมา 3 เซนติเมตร (ติดกระดุมแม่เหล็ก ซ้าย-ขวา)
22 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
15. ติดกระดุมสายคล้องกระเป๋าตรง 16. น�ำสายกระเป๋าตรึงตรงบริเวณด้านข้าง บริเวณจุดกึง่ กลางของกระเป๋าด้าน ตรงจุดกึ่งกลางกระเป๋า ข้าง วัดลง 3 เซนติเมตร (สายกระเป๋าส�ำเร็จ)
การท�ำสายคล้องกระดุมกระเป๋า
1. ก�ำหนดสายเชือกไนลอนจ�ำนวน 2 เส้น เส้นที่ 1 ท�ำสายคล้องตัวผีเสือ้ ความยาว 30 เซนติเมตร แบ่งครึง่ หาจุดกึง่ กลาง เส้นที่ 2 ท�ำสายคล้องตัวผีเสือ้ ความยาว 75 เซนติเมตร แบ่งครึง่ หาจุดกึง่ กลาง
2. น�ำเชือกทัง้ 2 ชิน้ ทีก่ ำ� หนดจุดกึง่ กลางน�ำมาคล้องเงือ่ นพิรอดดึงให้ตงึ เชือกเส้นที่ 2 ท�ำตัวผีเสื้อ โดยการวัดจากจุดที่คล้องติดกัน 7 เซนติเมตร ทั้ง 2 เส้น
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 23
3. การท�ำตัวผีเสื้อชั้นที่ 1 โดยการวัดจากจุดที่คล้องติดกัน 7 เซนติเมตร ทั้ง 2 เส้น น�ำมาม้วนขดเข้าหาจุดกึ่งกลางเป็นวงกลมทั้ง 2 เส้น ตรึงติดกัน
4. การท�ำตัวผีเสื้อชั้นที่ 2 โดยการท�ำเหมือนชั้นที่ 1 มีขนาดเล็กกว่า 0.5 เซนติเมตร ทั้ง 2 เส้น ตรึงติดกัน
24 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
ชิ้นงานส�ำเร็จ: สายกระเป๋าผีเสื้อคล้องกระดุม
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 25
3. การทากระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย (ทรงรี)
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย (ทรงรี) ขั้นตอนการทาแบบตัดกระเป๋า ขั้นตอนการตัดเย็บแบบตัดกระเป๋า 1. ตัวกระเป๋าขนาดความกว้าง 38 เซนติเมตร 1. ตัวกระเป๋าขนาดความกว้าง 38 เซนติเมตร าขนาดความยาว 26.5 26.5 เซนติเซนติ เมตร เมตร 2. ตัว2. กระเป๋ ตัวกระเป๋ าขนาดความยาว
การตัดเย็ บกระเป๋ดารูก้ปนทรงเรขาคณิ 26 การท าแบบตั กระเป๋า ตจากผ้าไทย
1. ก้นกระเป๋าขนาดความกว้าง 13 เซนติเมตร การท�2.ำแบบตั ดก้นกระเป๋ า ก้นกระเป๋ าขนาดความยาว 19 เซนติเมตร 1. ก้นกระเป๋าขนาดความกว้าง 13 เซนติเมตร 2. ก้นกระเป๋าขนาดความยาว 19 เซนติเมตร
13 cm
19 cm
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 27
การท�ำแบบตัดก้นกระเป๋า นกระเป๋นากระเป๋าวัดเข้าข้างละ 4 เซนติเมตร ทั้ง 4 ด้าน การท 1. าแบบตั มุมสี่เหลีด่ยก้มของก้ มสีง่เมุหลี าข้างละ เซนติเมตร ทั้ง 4เมตร ด้าน 1.2. มุโค้ มก้่ยนมของก้ กระเป๋นากระเป๋ ทั้ง 4 ด้าวัาดนเข้จะได้ รัศมีโ4ดยรอบ 58 เซนติ มก้นกระเป๋ 2. โค้(ก้งนมุกระเป๋ าตัด1าชิทั้น้ง) 4 ด้านจะได้รัศมีโดยรอบ 58 เซนติเมตร (ก้นกระเป๋าตัด1 ชิ้น) 4 cm
การท�ำแบบตัดปากกระเป๋า 1. ปากกระเป๋าขนาดความกว้าง 7 เซนติเมตร ดปากกระเป๋ า การท 2. าแบบตั ปากกระเป๋ าขนาดความยาว 29 เซนติเมตร (ตัดปากกระเป๋า 2 ชิ้น)
1. ปากกระเป๋าขนาดความกว้าง 7 เซนติเมตร 2. ปากกระเป๋าขนาดความยาว 29 เซนติเมตร (ตัดปากกระเป๋า 2 ชิ้น)
ขั้นตอนการเย็บประกอบกระเป๋า 1. นาวัสดุตกแต่งมาตกแต่งตัวกระเป๋า ชิ้นหน้า (ตกแต่งให้สาเร็จ)
2. ปักใบไม้ตกแต่งชิ้นงานให้สาเร็จ
28 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
ขั้นตอนการเย็บประกอบกระเป๋า 1. น�ำวัสดุตกแต่งมาตกแต่งตัวกระเป๋า 2. ปักใบไม้ตกแต่งชิน้ งานให้สำ� เร็จ ชิ้นหน้า (ตกแต่งให้ส�ำเร็จ)
3. น�ำแบบตัดกระเป๋าทั้ง 2 ชิ้นเย็บต่อ ตะเข็บข้างทั้งสองด้าน (ซ้าย-ขวา)
4. รีดแบะตะเข็บ เย็บเดินเส้นตรงทัง้ สองด้าน (ซ้าย-ขวา)
5. น�ำตัวกระเป๋าและก้นกระเป๋ามาเย็บ 6. เย็บเส้นตรงทีก่ น้ กระเป๋าโดยรอบ (เดินคิว้ ) ติดกัน (เย็บเดินคิ้วก้นกระเป๋า)
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 29
7. น�ำถุงซับในกระเป๋ามาประกบ กับตัวกระเป๋า
8. น�ำปากกระเป๋าที่ติดซิปมาเย็บติดกับ ตัวกระเป๋า
9. เย็บประกอบสาบกระเป๋ากับ ตัวกระเป๋าเข้าด้วยกันให้ส�ำเร็จ
10. ติดกระดุมแม่เหล็กวัดจากจุดกึ่งกลาง ปากกระเป๋ า ลงมา 3.5 เซนติ เ มตร (ติดกระดุมแม่เหล็กซ้าย–ขวา)
11. ติดสายกระเป๋า (สายกระเป๋าส�ำเร็จ)
30 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
ขั้นตอนการเตรียมแบบตัดถุงซับในกระเป๋า
1. แบบตัดตัวกระเป๋ารีดอัดผ้ากาวให้สำ� เร็จ (ตัด 2 ชิน้ ) เผือ่ ตะเข็บโดยรอบ 1 เซนติเมตร
2. แบบตัดปากกระเป๋าอัดผ้ากาวให้สำ� เร็จ (ตัด 2 ชิน้ ) เผือ่ ตะเข็บโดยรอบ 1 เซนติเมตร (แนวบริเวณติดซิป เผื่อตะเข็บ 2 เซนติเมตร)
3. แบบตัดก้นกระเป๋ารีดอัดผ้ากาวให้สำ� เร็จ (ตัด 1 ชิน้ ) เผือ่ ตะเข็บโดยรอบ 1 เซนติเมตร
ขั้นตอนการเย็บถุงซับในกระเป๋า 1. น�ำแบบตัดถุงซับในกระเป๋า 2 ชิ้น เย็บต่อตะเข็บด้านข้างทั้ง 2 ข้าง
2. เย็บต่อตะเข็บด้านข้างทัง้ 2 ข้าง (ซ้าย–ขวา)
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 31
3. น�ำก้นกระเป๋าเย็บต่อกับตัวกระเป๋า 4. เย็บตัวกระเป๋ากับก้นกระเป๋าติดกัน เย็บโดยรอบให้ส�ำเร็จ ให้สำ� เร็จ
ขั้นตอนการเย็บซิป–ปากกระเป๋า 1. น�ำแบบตัดปากกระเป๋าทั้ง 2 ชิ้น 2. รีดแบะตะเข็บ แนวบริเวณติดซิป เย็บติดกัน โดยเว้นแนวบริเวณติดซิป
3. น�ำซับในปากกระเป๋าเย็บตลบกับตัว 4. รีดแบะตะเข็บ แนวบริเวณซับใน ปากกระเป๋าทั้ง 2 ด้าน (ซ้าย–ขวา)
32 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
5. น�ำซับในเย็บกับปากกระเป๋าตรงบริเวณติดซิปทั้ง 2 ด้าน โดยเย็บแนวเผื่อเย็บ 2 เซนติเมตร น�ำซิปมาเนาเย็บติดกระเป๋าตรงบริเวณแนวติดซิป
6. เย็บติดซิปด้านหน้ากระเป๋า
ชิ้นงานส�ำเร็จ : กระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย (ทรงรี)
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 33
เทคนิคการตกแต่งกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย แบบกุ๊นผ้า วัสดุ-อุปกรณ์ - ผ้าพืน้ ผ้าลายท�ำดอกไม้ - เข็มปักไหม - กระดุมพลาสติก (ขนาด 1 ซม.) - ชอล์กสีเขียนผ้า - สายกระเป๋า (สายส�ำเร็จ) - กระดุมแม่เหล็ก - เข็มสอยเย็บผ้า เบอร์ 7-9 - ไหมปักเส้นใหญ่ - ด้ายเย็บผ้า เบอร์ 60 (สีเดียวกับผ้าท�ำกระเป๋า) - ซิปธรรมดา 8 นิว้ (ซิปสีเดียวกับผ้าท�ำกระเป๋า ) ขัน้ ตอนการท�ำตัวดอกไม้
1. ก�ำหนดแบบตัดการท�ำดอกไม้โดยการตัดผ้าตามเกรนผ้าจะได้เท่ากับความยาวของ ผ้า 20 เซนติเมตร และความกว้างของผ้า 2.5 เซนติเมตร
2. น�ำผ้าทีจ่ ะท�ำดอกไม้ (ในข้อ 1) มาประกบ 1 ชิน้ โดยการเนาตรึงยึดผ้าทัง้ สองติด ด้วยกัน โดยห่างจากริมผ้า 0.5 เซนติเมตร
34 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
3. เนาริมตะเข็บด้านข้างของริมผ้าให้ตดิ กัน
4. เนาโดยรอบวงกลมโดยห่างจากริมวงกลม 0.5 เซนติเมตร
5. ภาพด้านหลังดอกไม้
6. ภาพด้านหน้าดอกไม้
7. เลาะชายครุยออก ตรงบริเวณริมชายดอกไม้
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 35
การท�ำเกสรดอกไม้จากผ้าไทย 1. ตัดผ้าท�ำเกสรเป็นวงกลม จ�ำนวน 3 ชิ้น
2. น�ำเข็มร้อยด้ายเนาโดยรอบวงกลม ห่างจากริมวงกลม 0.5 เซนติเมตร
3. น�ำกระดุมวางตรงจุดกึ่งกลาง ของเกสรดอกไม้
4. ดึงด้ายรูดให้แน่น ตัดส่วนทีเ่ กินออก ตรงปลายเกสรท�ำปมด้านให้สำ� เร็จ
5. ภาพเกสรดอกไม้ ด้านหน้า–ด้านหลัง
6. น�ำเกสรดอกไม้มาตรึงติดจุดกึง่ กลาง ของดอกไม้ ตรึงรอบบริเวณเกสร
36 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
การตกแต่งชิน้ งานดอกไม้จากผ้าไทย 1. รูปแบบการวางดอกไม้ การตกตกแต่งชิ้นงาน
2. น�ำดอกไม้วางตรงกระเป๋าบริเวณตกแต่ง ชิ้นงานทั้ง 3 ชิ้น ตามต้องการ ติดตรึง ดอกไม้กับตัวกระเป๋าให้ส�ำเร็จ
3. วาดรูปใบไม้รอบ ๆ บริเวณที่ดอกไม้ (ใช้ ชอล์กส�ำหรับเขียนผ้า) ปักใบไม้รอบ ๆ บริเวณดอกไม้ให้ส�ำเร็จ
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 37
การตกแต่งใบโดยการปัก 1. ใช้ชอล์กสีวาดรูปใบไม้ ใช้ไหมปัก 2 เส้น เริ่มปักด้านล่างขึ้นมาด้านบนปักกลับไป จุดเดิมที่ปลายใบไม้ให้มีขนาดความยาว ของใบ 1 เซนติเมตร
2. ปักย้อนกลับมาตรงเส้นกลางใบไม้ ปักยึด ห่วงของใบ ดึงเส้นไหมให้ตึงพอดี ปักย้อน กลับลงตรงบริเวณกลางใบ
3. ปักย้อนกลับมาตรงเส้นกลางใบ 0.5 เซนติเมตร โดยปักผ่านไปด้านตรงกัน ข้าม
4. ปักออกด้านข้างให้หา่ งจากกลางใบโดยให้ ห่างจากจุดกลางของใบ 0.5 เซนติเมตร
5. ปักใบให้ตึง แล้วผูกปมให้เรียบร้อย
6. ลายดอกไม้ส�ำหรับตกแต่ง
38 การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย
บรรณานุกรม กรมวิชาการ. กระทรวงศึกษาธิการ. 2528. การตกแต่งและดัดแปลงเสื้อผ้า. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. “การตกแต่งผ้าชุดผ้าลูกไม้,” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://thai.sewsense. com/index.php?topic=5119.0, 2555. [สืบค้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555]. “การปักลูกปัด,” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://topicstock.pantip.com/ jatujak/topicstock/2007/03/J5270636/J5270636.html, 2555. [สืบค้น เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2555]. เจียวจิต เผือกศรี. การออกแบบเสื้อ 1. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, 2538. เฉลิมวงศ์ เจริญสุข. เทคนิคการเรียนรู้วิธีการตัดเย็บเสื้อผ้าขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : ส่งเสริมอาชีพเพชรกะรัต, 2549. “ชุดในโอกาสพิเศษ,” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:http://www.lks.ac.th/teacher/ malinee/beats2.htm, 2555. [สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2555]. “เทคนิคการตกแต่งชุด,” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://chun-fashion. blogspot.com/2012/01/blog-post_29.html, 2555. [สืบค้นเมือ่ วันที่ 18 กันยายน 2555]. นวลแข ปาลิวนิช. 2536. ความรู้เรื่องผ้าและเส้นใย. ภาควิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย คณะคหกรรมศาสตร์สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. “ประเภทของลูกปัด,” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://booksworm. myreadyweb.com/article/topic-6110.html, 2555. [สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2555]. เสาวลักษณ์ คงคาฉุยฉาย. ศิลปการตกแต่งเสื้อ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2549.
การตัดเย็บกระเป๋ารูปทรงเรขาคณิตจากผ้าไทย 39
ประวัติผู้เขียน ชื่อ-นามสกุล นายกรณัท สุขสวัสดิ์ ต�ำแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ (พนักงานมหาวิทยาลัย) ที่ท�ำงาน สาขาวิชาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถ.รังสิต-นครนายก ต.คลองหก อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 ประวัติการศึกษา คศ.บ. (คหกรรมศาสตรบัณฑิต) สาขาวิชาผ้าและเครือ่ งแต่งกาย ออกแบบแฟชั่น สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ศศ.ม. (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ เพื่อพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง สาขาวิชาการที่มีความช�ำนาญพิเศษ การออกแบบ-การตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี การพัฒนา-การออกแบบและการแปรรูปเคหะสิ่งทอฯ วิทยากร-การบริการวิชาการแก่สังคม
คณะผู้จัดท�ำ ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ อธิการบดี คณะท�ำงาน ฝ่ายอ�ำนวยการ รองศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี สงวนพงษ์ นางบรรเลง สระมูล
ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา
ฝ่ายเนื้อหา นายกรณัท สุขสวัสดิ์
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
ฝ่ายศิลป์ และจัดพิมพ์ นางสาวคณธวัลย์ ศุภรัตนาภิรักษ์ นางสาวสุนันทา หรุ่มเรืองวงษ์ นางสาวขวัญรัตน์ เป่ารัมย์ จัดพิมพ์โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ต�ำบลคลองหก อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์: 0 2549 4682 โทรสาร. 0 2577 5038 Website: http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail: ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที่: บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จ�ำกัด โทรศัพท์: 0 2521 8420 โทรสาร. 0 2521 8424