นวัตกรรมที่พักอาศัยสำเร็จรูปถอดประกอบได้

Page 1


นวัตกรรมที่พักอาศัยสาเร็จรูปถอดประกอบได้

โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี


นวัตกรรมที่พักอาศัยสาเร็จรูปถอดประกอบได้ ผู้เขียน ISBN จำนวน พิมพ์ครั้งที่ 1 จำนวนพิมพ์ รำคำ จัดพิมพ์โดย

: วชิระ แสงรัศมี และประชุม คำพุฒ : 978-974-625-676-6 : 22 หน้ำ : กรกฎำคม 2557 : 140 เล่ม : : สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนำยก ตำบลคลองหก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธำนี 12110 โทรศัพท์ : 0 2549 4683 โทรสำร : 0 2577 5038 website : http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail : ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที่ : บริษัท ยูโอเพ่น จำกัด โทรศัพท์/โทรสำร : 0 2617 6834

เนื้อหาใด ๆ ในหนังสือเล่มนี้เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว สถาบันวิจัยและพัฒนา เป็นเพียงผู้จัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชนเท่านั้น


คานา เอกสำรเผยแพร่ควำมรู้ เรื่อง นวัตกรรมที่พักอำศัยสำเร็จรูปถอดประกอบ ได้ เป็นกำรออกแบบที่พักฉุกเฉินสำเร็จรูป โดยใช้ท่อพีวีซีถอดประกอบเป็นแผ่น ผนั งส ำเร็จ รูป ถอดประกอบได้ ใช้โครงสร้ ำงเป็ น เหล็ ก ชุดชิ้นส่ ว นส ำเร็จรูป ประกอบขึ้นมีดังนี้ ชุดชิ้นส่วนด้ำนหน้ำ ด้ำนข้ำง และด้ำนหลัง ชุดชิ้นส่วนพื้น ชุดชิ้น ส่ ว นฝ้ ำเพดำน ชุด ชิ้น ส่ ว นหลั งคำ และชุดชิ้น ส่ ว นผนั ง กำรถอดและ ประกอบติดตั้งสำมำรถทำให้เสร็จได้ภำยในหนึ่งวันด้วยแรงงำนคน พื้นที่พัก ฉุ ก เฉิ น สำมำรถเพิ่ ม ขนำดและพื้ น ที่ ได้ ส ำหรั บ กำรน ำไปใช้ ในเชิ งพำณิ ช ย์ สำมำรถผลิ ตเป็ น ที่ พั กอำศั ย และร้ ำนค้ำส ำเร็ จ รูป เช่น ร้ำนขำยของ ที่ พั ก คนงำนก่อสร้ำงชั่วครำวที่ต้องเช่ำพื้นที่ ที่พั กผู้ป่วยและคนชรำ สถำนพยำบำล และศูนย์ดูแลสุขภำพเคลื่อนที่ เป็นต้น

สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี กรกฎำคม 2557


สารบัญ ควำมเป็นมำ แนวคิดในกำรออกแบบที่พักฉุกเฉิน แบบก่อสร้ำงที่พักฉุกเฉิน ชุดชิ้นส่วนหลักประกอบที่พักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้ ขั้นตอนกำรประกอบชิ้นส่วนที่พักฉุกเฉินสำเร็จรูป ต้นแบบที่พักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้ สรุป บรรณำนุกรม ประวัติผู้เขียน

หน้ำ 1 2 6 10 14 15 19 20 21


นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

1

ความเป็นมา

ภาพที่ 1 ภัยพิบัติทสี่ ่งผลกระทบต่อที่พักและอยู่อาศัยหลังเกิดภัยพิบตั ิ

จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศทั่วโลก ส่งผลต่อการเกิดภัย พิบัติจานวนที่เพิ่มขึ้นและมีความรุนแรงขึ้น ส่งผลกระทบต่อความเสียหายของ อาคาร บ้ า น เรื อ น เป็ น จ านวนมาก ผู้ ป ระสบภั ย ต้ อ งพั ก อาศั ย ในอาคาร สาธารณะ เช่น วัด โรงเรียน เป็นต้น ทาให้ เกิดผลกระทบในการดารงชีวิตและ การทากิจกรรมของครอบครัว และพักอาศัยในเต็นท์ผ้าใบ แม้ว่าเต็นท์ผ้าใบจะ สะดวกในการขนส่ ง ติ ด ตั้ ง แต่ วั ส ดุ ผ้ าใบมี ค วามแข็ งแรงไม่ เพี ย งพอ และ ป้องกัน ความร้อนได้ไม่ดี ด้ วยเหตุนี้ จึงไม่เหมาะสมในการพักอาศัย เป็นเวลา ยาวนานตั้งแต่ 3-24 เดือน ขึ้นไป จนกว่ารัฐบาล หน่วยงานราชการและเอกชน จะเข้ามาช่วยบริห าร จัดการ หรือการช่วยซ่อมแซมที่อยู่อาศัยถาวรให้ แล้ ว เสร็จ จะเห็นได้ว่าความต้องการบ้านพักฉุกเฉิน มีมากขึ้น และเพิ่มขึ้นเมื่อเกิด ภัยพิบัติ บ้านพักฉุกเฉินสภากาชาดไทย ได้รับการพัฒนามาเป็นลาดับหนึ่ง โดย ใช้วัสดุโครงสร้าง ผนัง และหลังคา เป็นเหล็ก แต่ยังมีอุปสรรคทั้งในด้านการ ขนส่ง การประกอบติดตั้ง การถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ตัวอาคารสูง เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ คณะผู้ จั ดทาจึ งได้พั ฒ นารูป แบบและเทคนิคการก่อสร้าง ที่พักฉุกเฉินชั่วคราวสาเร็จรูปจากท่อพีวิซีที่มีรูกลวงตรงกลาง ทาเป็นชิ้นส่วน ผนังสาเร็จรูปที่มีน้าหนักเบาและต้านทานความร้อนสูง โดยใช้ระบบประสาน ทางพิกัด เพื่อให้สามารถขยายพื้นที่ใช้สอยเพิ่มเติมได้ ชิ้นส่วนวัสดุสามารถถอด ประกอบใช้ซ้าได้ และสามารถรีไซเคิลได้


2

นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

แนวคิดในการออกแบบที่พักฉุกเฉิน แรงบั นดาลใจในการพัฒ นาที่พักฉุกเฉินนี้ มาจากบ้านท่อนซุงในอดีต ที่นาท่อนไม้มาประกอบเป็นที่พัก ดังภาพที่ 2

ภาพที่ 2 บ้านท่อนซุงในอดีต

(ก) ท่อนไม้จริง (ข) ท่อนไม้เทียมจากท่อพีวีซี ภาพที่ 3 แนวคิดในการประกอบแผ่นผนังที่พักฉุกเฉินถอดประกอบได้


นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

3

แนวคิดในการจัดการที่พักฉุกเฉินสาเร็จรูปถอดประกอบ ได้จัดเตรียม ชิ้นส่วนต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้า และทาการเก็บไว้ในพื้นที่ส่วนกลาง เมื่อมีผู้ประสบภัย ต้องการที่พัก ก็ทาการเลือกรูปแบบ จานวนตามสมาชิกและความจาเป็นในแต่ ละครอบครั ว และท าการจั ด ส่ ง ไปประกอบในพื้ น ที่ ว่ า ง ท าการพั ก อาศั ย ชั่วคราวในระยะเวลาหนึ่ง เมื่อบ้านที่อยู่อาศัยของตนเองสร้างหรือซ่อมแซม เสร็จ ก็จ ะทาการรื้อ -ถอดที่พักฉุกเฉิน แล้ว น าไปเก็บในพื้นที่ส่วนกลางและ ซ่อมแซมก่อนนาไปใช้อีกครั้งหนึ่ง ดังแสดงในภาพที่ 4

ภาพที่ 4 แนวคิดในการจัดการที่พกั ฉุกเฉินถอดประกอบได้

แนวคิ ด ในการออกแบบรู ป แบบและพื้ น ที่ ใช้ ส อยที่ พั ก ฉุ ก เฉิ น ถอด ประกอบได้ โดยมีรูปแบบที่เรียบง่ายต่อการผลิต ประกอบและรื้อถอน ซึ่งมี ชิ้น ส่ ว นหลั กที่ส ามารถเพิ่ มขยายตามจ านวนผู้ พั กอาศัยและพื้น ที่ใช้ส อยได้ ลวดลายและสี สั น ของผนั ง จะใช้ สี ล ายไม้ ที่ ท าให้ ผู้ ป ระสบภั ย รู้ สึ ก อบอุ่ น ปลอดภัย และกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม ดังภาพที่ 5 และ 6


4

นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

ภาพที่ 5 รูปแบบที่พักฉุกเฉินถอดประกอบได้ (หนึ่งหลัง)

ภาพที่ 6 รูปแบบที่พักฉุกเฉินถอดประกอบได้ในรูปแบบต่าง ๆ

การออกแบบชิ้นส่วนที่เป็นมาตรฐาน ที่สามารถนามาประกอบเป็น อาคารได้หลากหลายรูปแบบ ได้พื้นที่ใช้สอยที่หลากหลาย และสามารถนามา เรียงต่อกันหลายหลังต่อเนื่องกัน ดังภาพที่ 7


นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

5

ภาพที่ 7 แนวคิดการปรับเปลี่ยนรูปแบบและพื้นที่ใช้สอย

การออกแบบพื้นที่ใช้ส อยต้นแบบที่พักฉุกเฉินนี้ เป็นการออกแบบให้ สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้สอยและดัดแปลงได้หลากหลาย เช่น ใช้เป็น ที่ พั ก อาศั ย หลั บ นอน ใช้ เป็ น ห้ อ งน้ าห้ อ งส้ ว ม ใช้ เป็ น ศู น ย์ ส ถานพยาบาล เคลื่อนที่ ใช้เป็นที่พักอาศัยชั่วคราวในพื้นที่น้าท่ว ม (เพิ่มฐานถังน้ามัน) ใช้เป็น สานักงานชั่วคราว ใช้เป็นร้านค้าชั่วคราว เป็นต้น


6

นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

แบบก่อสร้างที่พักฉุกเฉิน โครงสร้างและวัสดุประกอบที่พักฉุกเฉินชั่วคราว ฐานโครงสร้าง : คอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาด 30 x 30 x 5 ลบ.ซม. โครงสร้าง : เสา คาน เหล็กรูปพรรณ ขนาด 1 ½” x 3” หนา 2.3 มม. แผ่นพื้น : แผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์หนา 2.5 ซม. โครงเคร่าผนัง : เหล็กรูปพรรณขนาด 1 ½” x 3” หนา 2.3 มม. แผ่นผนัง : ท่อพีวีซีชั้น 5 ประกอบร้อยด้วยเหล็กเส้น โครงฝ้าเพดาน : เหล็กฉากรูปพรรณขนาด 1” x 1” หนา 1.2 มม. แผ่นฝ้าเพดาน : แผ่นยิบซั่มบอร์ดชนิดมีแผ่นอลูมิเนียมฟอยล์ ประตู หน้าต่าง : บานอลูมิเนียมอบสีขาว กระจกใสหนา 5 มม. โครงสร้างหลังคา : เหล็กรูปพรรณขนาด 1 ½” x 3” หนา 2.3 มม. แผ่นหลังคา : แผ่นเหล็กเคลือบสังกะสี การเชื่อมต่อ : ยึดโดยเชื่อมโลหะและใช้นัตยึดระหว่างชิ้นส่วน


นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

2.30

1.50

1.50

ภาพที่ 8 แบบแปลนพื้น

2.2 5

2.0 5

0.1 8

1.50

ภาพที่ 9 รูปด้านหน้า

1.50

7


8

นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

2.2 2.0 5 7

0.1 8 2.30

ภาพที่ 10 รูปด้านข้าง เหล็กกล่อง 1 ½”x3” หนา 2.3มม.

เหล็กฉาก 1”x 1” หนา 1.2มม.

แผ่น metal sheet

ระดับฝ้าเพดาน

แผ่นยิบซั่มบอร์ด

ท่อ PVC 3” ทาสี

2.2 2.0 5 7

ระดับพื้น

0.1 8

1.50

1.50

ภาพที่ 11 รูปตัดตามยาว


นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

9

เหล็กฉาก 1”x 1” หนา 1.2มม. เหล็กกล่อง 1 ½”x3” หนา 2.3มม.

แผ่น metal sheet

แปเหล็กกล่อง 1”x1” หนา 1.2มม.

ระแนงไม้เทียม ระดับฝ้าเพดาน

เหล็กตัวซี 1 ½”x3” หนา 2.3มม. แผ่นยิบซั่มบอร์ด

2.0

2.2 5

5

ท่อ PVC 3” ทาสี

ระดับพื้น

0.1 8 2.30

ภาพที่ 12 รูปตัดตามขวาง


10

นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

ชุดชิ้นส่วนหลักประกอบที่พักฉุกเฉินสาเร็จรูปถอดประกอบได้ 1. ชุดชิ้นส่วนประกอบหน้าต่างด้านหน้าและด้านหลัง 2. ชุดชิ้นส่วนประกอบประตูด้านหน้าและด้านหลัง 3. ชุดชิ้นส่วนประกอบด้านข้าง 4. ชุดชิ้นส่วนประกอบพื้น 5. ชุดชิ้นส่วนประกอบฝ้าเพดาน 6. ชุดชิ้นส่วนประกอบหลังคา

ภาพที่ 13 ชุดชิ้นส่วนประกอบหน้าต่างด้านหน้าและด้านหลัง


นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

ภาพที่ 14 ชุดชิ้นส่วนประกอบประตูด้านหน้าและด้านหลัง

ภาพที่ 15 ชุดชิ้นส่วนประกอบด้านข้าง

11


12

นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

ภาพที่ 16 ชุดชิ้นส่วนประกอบพื้น

ภาพที่ 17 ชุดชิ้นส่วนประกอบฝ้าเพดาน


นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

ภาพที่ 18 ชุดชิ้นส่วนประกอบหลังคา

13


14

นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

ขั้นตอนการประกอบชิ้นส่วนที่พักฉุกเฉินสาเร็จรูป การประกอบชิ้นส่วนที่พักฉุกเฉินสาเร็จรูป โดยการนาชุดชิ้นส่วนต่าง ๆ มาประกอบเข้าด้วยกันโดยใช้นัตยึดระหว่างโครงสร้างแต่ละชุด ก่อนติดตั้งควร ทาการปรับ พื้น ที่ตั้งให้ เรีย บร้อยก่อน แล้ วน าชุดชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ มา ตามลาดับดังภาพ 1

2

3

6

5

4

7

8

9

ภาพที่ 19 ขั้นตอนการประกอบชิ้นส่วนที่พักฉุกเฉินสาเร็จรูป


นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

15

ต้นแบบที่พักฉุกเฉินสาเร็จรูปถอดประกอบได้ จากแนวคิดการออกแบบ มาสู่การผลิตต้นแบบที่พักฉุกเฉินสาเร็จรูป ถอดประกอบได้ ดังแสดงในภาพที่ 20-26

การยึดโครงสร้างเสา พื้น

การยึดโครงสร้างเสา ฝ้า

การประกอบแผ่นผนัง

ภาพที่ 20 รายละเอียดการประกอบชิ้นส่วน

ภาพที่ 21 การประกอบชุดชิ้นส่วนพื้น


16

นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

ภาพที่ 22 โครงสร้างที่พักฉุกเฉินสาเร็จรูปถอดประกอบได้

ภาพที่ 23 การประกอบแผ่นผนังจากท่อพีวีซี


นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

ภาพที่ 24 ลักษณะภายนอกที่พักอาศัยฉุกเฉินสาเร็จรูปถอดประกอบได้

ภาพที่ 25 ลักษณะภายในที่พักอาศัยฉุกเฉินสาเร็จรูปถอดประกอบได้

17


18

นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

การชั่งน้าหนัก

การรับแรงด

การถ่ายเทความร้อน

ภาพที่ 26 การทดสอบสมบัติของวัสดุท่อนไม้เทียมจากท่อพีวีซี

สมบัติของท่อนไม้เทียมจากท่อพีวีซี - ค่าโมดูลัสการแตกร้าวที่ - ค่าสัมประสิทธิ์การนาความร้อน - ความหนาแน่น

5.5 0.65 2.3

MPa W/m.K kg/m2

คุณลักษณะของที่พักฉุกเฉินสาเร็จรูปถอดประกอบได้ - ที่พักฉุกเฉินมีน้าหนัก 750 กิโลกรัม/หลัง - ราคาค่าการก่อสร้าง 55,000 บาท/หลัง - การติดตั้ง (แรงงาน 3 คน) 10 ชั่วโมง/หลัง - การขนส่งเคลื่อนย้ายรถบรรทุก 6 ล้อ 1 เที่ยว/หลัง - แผงโซล่าร์เซลล์ 1 1 แผง - โคมไฟฟ้า 1 ชุด - สามารถตั้งได้ทั้งบนบกและในน้า - สีสร้างสรรค์หลากหลายสี และลวดลายเพื่อให้แตกต่างกัน - ฝ้าเพดานฉนวนกันความร้อนจากวัสดุซีเมนต์เยื่อกระดาษเหลือใช้


นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

19

สรุป การพัฒนารูปแบบและวัสดุก่อสร้างที่พักฉุกเฉินชั่วคราวสาเร็จรูปจาก ท่อพีวีซีที่มีรูกลวงตรงกลาง ทาเป็นชิ้นส่วนผนังสาเร็จรูปที่มีน้าหนักเบาและ ต้านทานความร้อนสูง โดยใช้ระบบประสานทางพิกัดเพื่อให้สามารถขยายพื้นที่ ใช้สอยเพิ่มเติมได้ ชิ้นส่วนวัสดุที่ ถอดประกอบได้สามารถนามาใช้ซ้าและวัสดุ สามารถรีไซเคิล ได้ ด้วย จึงเป็ น อีกหนึ่ งทางเลื อกที่น่าสนใจสามารถนาไปใช้ ประโยชน์เป็นวัสดุก่อสร้างสาเร็จรูปที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้


20

นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

บรรณานุกรม ณัฐวุฒิ พจนานุวัฒน์ , ภูษิต เลิศวัฒนารักษ์. (2555). แนวทางการออกแบบที่ พักอาศัยชั่วคราวระบบชิ้นส่วนสาเร็จรูป สาหรับการฟื้นฟูภัยพิบัติใน ประเทศไทย. การประชุมสัมมนาทางวิชาการ BERAC 4, 2012. คณะ สถาปัตยกรรมและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์เทคโนโลยี . (2550). โครงการพัฒนาปรับปรุงระบบก่อสร้างชิ้นส่วนสาเร็จรูปสาหรับบ้านพัก ฉุก เฉิ น ชั่ ว คราวกรณี เกิ ด ภั ย พิ บั ติ . การเคหะแห่ งชาติ กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. สนธพล กริชนวรักษ์. (2547). เทคนิคการออกแบบอาคารพักอาศัยชั่วคราว ระบบก่ อ สร้ า งรวดเร็ ว ด้ ว ยโครงสร้ า งเหล็ ก รู ป พรรณ ส าเร็ จ รู ป. วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต ภาควิ ช าสถาปั ต ยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

ประวัติผู้เขียน ชื่อ-นามสกุล ดร. วชิระ แสงรัศมี ตาแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ ที่ทางาน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 ประวัติการศึกษา วศ.ด. (การออกแบบและการผลิตแบบบูรณาการ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สถ.ม. (สถาปัตยกรรมเขตร้อน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วท.บ. (เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม) วิทยาลัยครูพระนคร สาขาวิชาการที่มีความชานาญพิเศษ วัสดุก่อสร้างและเทคโนโลยีการก่อสร้าง คอมพิวเตอร์ในงานสถาปัตยกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์และอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

21


22

นวัตกรรมทีพ่ ักฉุกเฉินสำเร็จรูปถอดประกอบได้

ประวัติผู้เขียน ชื่อ-นามสกุล นายประชุม คาพุฒ ตาแหน่งปัจจุบัน รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ที่ทางาน สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 ประวัติการศึกษา วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สาขาวิชาการที่มีความชานาญพิเศษ วัสดุก่อสร้างเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม วัสดุรีไซเคิลในงานก่อสร้าง


คณะกรรมการวิชาการพิจารณาเอกสารเผยแพร่ความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สงวนพงษ์ นายประชุม คาพุฒ รองศาสตราจารย์ ดร. คารณ สิระธนกุล นางบรรเลง สระมูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สวาสดิ์ธรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมจิตร ถนอมวงศ์วัฒนะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อ้อยทิพย์ ผู้พัฒน์ ดร. เฉลียว หมัดอิ๊ว รองศาสตราจารย์วสันต์ กันอา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วันชัย ประเสริฐศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภา ทองคง รองศาสตราจารย์ ดร. อุษาพร เสวกวิ รองศาสตราจารย์ ดร. สุวรินทร์ ปัทมวรคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวรรณ คุปพิทยานันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จตุพร เผ่าพงษ์ไทย รองศาสตราจารย์มานพ ตันตระบัณฑิตย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรี ศรีนนท์ฉัตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วารุณี อริยวิริยะนันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญเรือง สมประจบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิศากร สิงหเสนี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พนิดา สมประจบ นายเกษียร ธรานนท์

ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิปกรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์


คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ

อธิการบดี

คณะทางาน ฝ่ายอานวยการ รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สงวนพงษ์ นายประชุม คาพุฒ

ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

ฝ่ายเนื้อหา ดร. วชิระ แสงรัศมี นายประชุม คาพุฒ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

ฝ่ายศิลป์ และจัดพิมพ์ นางสุทธิศรี ม่วงสวย นางสาวศศิวรรณ อินทรวงศ์ นางสาวนิธิมา อินทรสอาด นางสาวพรทรัพย์ ถนัดไร่ จัดพิมพ์โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์ : 0 2549 4683 โทรสาร : 0 2577 5038 website : http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail : ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที : บริษัท ยูโอเพ่น จากัด โทรศัพท์/โทรสาร : 0 2617 6834



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.