คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์ ผู้เขียน ISBN จำนวน พิมพ์ครั้งที่ 1 จำนวนพิมพ์ รำคำ จัดพิมพ์โดย
: จิรศักดิ์ สุรังคพิพรรธน์ : 978-974-625-678-0 : 15 หน้ำ : กรกฎำคม 2557 : 140 เล่ม : : สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนำยก ตำบลคลองหก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธำนี 12110 โทรศัพท์ : 0 2549 4683 โทรสำร : 0 2577 5038 website : http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail : ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที่ : บริษัท ยูโอเพ่น จำกัด โทรศัพท์/โทรสำร : 0 2617 6834
เนื้อหาใด ๆ ในหนังสือเล่มนี้เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว สถาบันวิจัยและพัฒนา เป็นเพียงผู้จัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชนเท่านั้น
คานา เอกสำรเผยแพร่ ค วำมรู้ ส ำขำสั งคมวิ ทยำ เรื่ อง คุ ณภำพชี วิตที่ ยั่ งยื น ภำยใต้ไฟฟ้ำแสงอำทิตย์ เป็นกำรให้ควำมรู้และเผยแพร่ผลกำรวิจัยเกี่ยวกับกำรใช้ ไฟฟ้ำจำกเซลล์แสงอำทิตย์ของประชำชน โดยเป็นกำรศึกษำในประเด็นต่อไปนี้ คือ 1. เพื่อศึกษำข้อมูลทั่วไปของกลุ่มประชำกรผู้ใช้ระบบผลิ ตกระแสไฟฟ้ำ ด้วยพลังงำนแสงอำทิตย์ในจังหวัดปทุมธำนี 2. เพื่อศึกษำรูปแบบพฤติกรรมกำรใช้ไฟฟ้ำจำกระบบผลิ ตกระแสไฟฟ้ำ ด้วยพลังงำนแสงอำทิตย์ในจังหวัดปทุมธำนี 3. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมของประชำชนก่อนและหลังกำรติดตั้ง ระบบผลิตกระแสไฟฟ้ำด้วยพลังงำนแสงอำทิตย์ในจังหวัดปทุมธำนี ดังนั้นผู้เขียนหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำเอกสำรควำมรู้ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ แก่ผู้ที่จะนำไปศึกษำ และหำกมีข้อบกพร่องประกำรใด คณะผู้จัดทำขออภัยไว้ ณ ที่นี้
สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี กรกฎำคม 2557
สารบัญ บทนำ วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย ขอบเขตกำรวิจัย สมมติฐำนของกำรวิจัย วิธีดำเนินกำรวิจัย ผลกำรศึกษำ บรรณำนุกรม ประวัติผู้เขียน
หน้ำ 1 3 4 5 6 7 14 15
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
1
บทนำ เนื่ อ งจากพลั ง งานหลั ก ที่ ใช้ มี ร าคาแพงและหายาก ตลอดจนสร้ า ง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ความไม่ยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมที่แต่ละ ชุมชนได้รับจากโครงการพัฒนาด้านพลังงานไฟฟ้า ได้กลายเป็นความไม่มั่นคง ทางสังคม และความขัดแย้งที่ยืดเยื้อยาวนานในสังคมไทย ดังนั้นหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องควรปรับเปลี่ยนแนวคิดในด้านพลังงานทางเลือกให้เน้นด้านการสร้าง “ภูมิคุ้มกัน” ให้เกิดขึ้นในระบบพลังงาน ด้วยการลดการพึ่งพิงพลังงานที่ใช้ แล้วหมดไป ลดการใช้เชื้ อเพลิงที่ต้องนาเข้ามาจากต่างประเทศ และหันมา พัฒนาภูมิปัญญาและเทคโนโลยีในการใช้ทรัพยากรที่หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ และมีอยู่ ในท้ องถิ่น ในขณะเดีย วกัน ควรคานึ งถึง “ความเกื้อกูล ” ด้ว ยการ มุ่งเน้นผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมหรือการได้มาซึ่งพลังงานที่สะอาด เน้นการใช้ และพัฒนาแหล่งผลิตพลังงานขนาดเล็กให้กระจายอยู่ทั่วไป โดยมีชุมชนเป็น เจ้าของ กล่าวคือ เป็นทั้งผู้ผลิต ผู้ใช้ และผู้คอยควบคุม ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมกับชุมชนตนเอง อันสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่มีหลักการ 3 ประการ คือ ความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน โครงการเร่ งรั ด ขยายบริ ก ารไฟฟ้ าโดยระบบผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ด้ ว ย พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นโครงการด้านการพัฒนาพลังงานทางเลือกโครงการ หนึ่งที่รัฐบาลและกระทรวงมหาดไทยตั้งเป้าหมายว่าทุกครัวเรือนจะมีไฟฟ้าใช้ ภายในปี พ.ศ. 2548 โดยมีหลักการว่าบ้านเรือนที่อยู่ห่างไกล ไม่สามารถปัก เสาพาดสายได้ ให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ดาเนินการให้ใช้ระบบผลิต
2
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
กระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ จังหวัดปทุมธานี ยังมีพื้นที่บางพื้นที่ที่ไม่ สามารถปักเสาพาดสายได้ และได้มีโครงการเร่งรัดการขยายบริการไฟฟ้าด้วย พลังงานแสงอาทิตย์ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเข้ามาในพื้นที่ จึงทาให้คุณภาพ ชีวิตของประชาชนดีขึ้น ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรม การใช้ไฟฟ้าแบบพอเพียง ก่อนและหลังการติดตั้งระบบผลิตกระแสไฟฟ้า ด้วย พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน ในเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานี เพื่อ น าข้ อ มู ล ที่ ได้ จ ากการศึ ก ษาไปประยุ ก ต์ ใช้ กั บ การเรี ย นการสอนในวิ ช าที่ เกี่ ย วข้ อ ง ประชาสั ม พั น ธ์ และเผยแพร่ ให้ มี ก ารใช้ พ ลั งงานทดแทนอย่ างมี ประสิท ธิภ าพ รวมทั้ง มอบงานวิจัย ดัง กล่า วให้กับ หน่ว ยงานที่รับ ผิด ชอบ เพื่อใช้เป็น แนวทางในการกาหนดนโยบายและแผนการพัฒนาการใช้พลังงาน ที่ยั่งยืนในอนาคตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อไป
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
3
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 1. เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปของกลุ่มประชากรผู้ใช้ระบบผลิตกระแสไฟฟ้า ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ในจังหวัดปทุมธานี 2. เพื่อศึกษารูปแบบพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าจากระบบผลิตกระแสไฟฟ้า ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ในจังหวัดปทุมธานี 3. เพือ่ เปรียบเทียบพฤติกรรมของประชาชนก่อนและหลังการติดตั้ง ระบบผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ในจังหวัดปทุมธานี
4
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
ขอบเขตของกำรวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ได้กาหนดขอบเขตของการวิจัย โดยใช้แบบสัมภาษณ์ ศึกษาครัว เรือ นผู้ได้รับ การติดตั้ง ระบบการผลิต กระแสไฟฟ้า ด้ว ยพลังงาน แสงอาทิตย์ในจังหวัดปทุมธานี จานวน 390 ครัวเรือน โดยทาการสุ่มตัวอย่าง เพื่อเป็นตัวแทนในการศึกษา จานวน 194 ครัวเรือน
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
5
สมมติฐำนกำรวิจัย เพศ อายุ การศึกษา จานวนสมาชิกในครัวเรือน รายได้รวมทั้งครัวเรือน รายจ่ ายรวมทั้ งครัวเรือน ความรู้ความเข้าใจ ความคิดเห็ น ที่แตกต่างกัน มี พฤติ ก รรมการใช้ ไฟฟ้ า แบบพอเพี ย งก่ อ นและหลั ง การติ ด ตั้ ง ระบบผลิ ต กระแสไฟฟ้าด้วยพลังแสงอาทิตย์แตกต่างกัน
6
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
วิธีดำเนินกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าแบบพอเพียงก่อน และหลั ง การติ ด ตั้ ง ระบบผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ด้ ว ยพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ เพี่ อ คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน ในเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานี โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูล 2 ลักษณะ คือ การเก็บข้อมูลเชิงสังเกตเพื่อทราบถึงข้อมูลทางกายภาพของการติดตั้ง ระบบผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ด้ ว ยพลั ง แสงอาทิ ต ย์ และเก็ บ ข้ อ มู ล โดยใช้ แ บบ สัมภาษณ์ประชาชนในครัวเรือน ที่มีการติดตั้งระบบผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลัง แสงอาทิตย์ ในเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชากรในครัวเรือนที่รับการติดตั้ง ระบบผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังแสงอาทิตย์ และอยู่ในเขตพื้นที่ ก.1 จังหวัด ปทุมธานี จานวน 390 ครัวเรือน และใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นตัวแทนในการศึกษา จานวน 194 ครัวเรือน และเป็นการสุ่มตัวอย่าง แบบหลายขั้นตอน โดยเลือก ตัวอย่างจากอาเภอ ตาบล และหมู่บ้าน ในจังหวัดปทุมธานีที่มีครัวเรือนติดตั้ง ระบบผลิ ตกระแสไฟฟ้ าด้ว ยพลั งงานแสงอาทิ ตย์มากกว่า 30 ครัวเรือนต่ อ หมู่บ้าน และทาการสุ่มตัวอย่างโดยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยวิธีจับฉลาก และ ไม่มีการแทนที่ของฉลากที่จับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสัมภาษณ์
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
7
ผลกำรศึกษำ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง (ร้อยละ 60.7) มีอายุอยู่ระหว่าง 41-50 ปี (ร้อยละ 38.14) การศึกษาอยู่ในระดับต่ากว่าชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ร้อยละ 40.5) จานวนสมาชิกในครัวเรือนโดยส่วนมากอยู่ระหว่าง 3-4 คน (ร้อ ยละ 50) เกิน ครึ่ งหนึ่ งของผู้ ให้ สั มภาษณ์ มีภู มิ ล าเนาอยู่ในพื้ นที่ จังหวัด ปทุมธานีมาตั้งแต่เกิด (ร้อยละ 58.3) และร้อยละ 26.19 อาศัยอยู่ในหมู่บ้านนี้ มานาน 11-20 ปี อาชีพหลักของผู้ให้สัมภาษณ์ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพส่วนตัว (ร้อยละ 23.8) และร้อยละ 60.7 ไม่ได้ประกอบอาชีพรองอื่นใดอีก มีรายได้ 10,000 บาทต่อ เดือน (ร้อยละ 13.10) และมีรายจ่าย 10,000 บาทต่อเดือน (ร้อยละ 13.10 เช่นกัน) ทาให้ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนมากไม่มีเงินออม (ร้อยละ 71.4) โดยครึ่งหนึ่งมีภาระ หนี้สินอยู่หลักหมื่น (ร้อยละ 29.8) สาเหตุหลักของการกู้ยืมคือ การจ่ายค่าเล่า เรียนบุตรหลาน (ร้อยละ 20.2) ลัก ษณะบ้า นที่อ ยู่อ าศัย ของผู้ใ ห้สัม ภาษณ์ส่ว นใหญ่เ ป็น บ้า นเดี่ย ว ชั้น เดีย ว ทาด้วยไม้ (ร้อยละ 78.6) โดยแบ่งเป็นบ้านที่แข็งแรงและไม่แข็งแรง อย่างละครึ่ง ที่ดินปลูกสร้างที่อาศัยอยู่เกือบทั้งหมดเป็นที่ดินของกรมชลประทาน (ร้อยละ 93.81) ก่อนการติดตั้งระบบผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังแสงอาทิตย์ ครัวเรือน ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 55.57) มีค่าใช้จ่ายครั้งแรกในการติดตั้งไฟฟ้าจากการพ่วง ต่อไฟใช้จากบ้านอื่น โดยส่วนมาก ราคาติดตั้งอยู่ที่ 500-1,000 บาท
8
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
ภายหลั ง การติ ด ตั้ ง ระบ บ การผลิต กระแสไฟ ฟ้า ด้ว ยพ ลัง งาน แสงอาทิตย์ โดยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 83.0) ไม่มีค่าใช้จ่ายในการเพื่อให้ได้มาซึ่ง การใช้ประโยชน์จากพลัง งานไฟฟ้า ส่วนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเล็กน้อย (ร้อยละ 2.0) จากการใช้ ป ระโยชน์ ของพลั งงานไฟฟ้ าคือ ค่ าเดิน สายไฟที่ ช ารุด ใหม่ (1,000 บาทต่อครั้ง) และค่าน้ากลั่นในแบตเตอรี่ (40-50 บาทต่อเดือน) ครัว เรือนส่ วนใหญ่ มีเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ ใช้ไฟน้ อยกว่า 500 วัตต์ ได้ แก่ ตู้เย็น โทรทัศน์ เครื่องเล่นดีวีดี เครื่องเสียง และเครื่องคอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 82.1, 60.7, 47.6, 45.2 และ 25.0 ตามลาดับ) ส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ไฟไม่ เกิน 500-1,000 วัตต์ ได้แก่ หม้อหุงข้าวและเตารีด (ร้อยละ 88.1 และ 81.0 ตามลาดับ) และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ไฟเกิน 1,000 วัตต์ขึ้นไป ประเภทเครื่องซัก ผ้า โดยส่วนใหญ่มีครัวเรือนละหนึ่งเครื่อง (ร้อยละ 59.5) ความคิดเห็นต่อการได้ประโยชน์ต่อการใช้กระแสไฟฟ้า ประชาชนส่ว น ใหญ่ (ร้อยละ 65.46) เห็นด้ว ยกับ การมี ไฟฟ้าใช้ว่าทาให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น เห็น ด้ว ยมากกับ แนวคิด ที ่ว ่า การมีไ ฟฟ้า เพิ ่ม ความสะดวกสบายใน การ ดารงชีวิต (ร้ อยละ 60.82) ได้รั บ รู้ข่าวสารบ้ านเมือง และความบั นเทิงจาก โทรทัศน์ (ร้อยละ 57.22) รวมถึงไฟฟ้าช่วยเพิ่มแสงสว่างให้ในเวลาค่าคืนอย่าง เพียงพอ (ร้อยละ 55.15) ครัวเรือนส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องต่อการผลิตกระแสไฟฟ้า ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เช่น การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ไม่สามารถจ่ายไฟฟ้าสาหรับการใช้งานกับเครื่องใช้ไฟฟ้าได้ทุกชนิด (ร้อยละ 73.71) โดยทราบว่า ควรดูแ ลรัก ษาแบตเตอรี่ (ร้อ ยละ 72.68) และการ
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
9
ผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นวิธีการผลิตกระแสไฟฟ้าที่ช่วย ลดมลพิษสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ 66.49) โดยภาพรวมผู้ ให้ สั ม ภาษณ์ มี พ ฤติก รรมที่ ดีต่ อการใช้ ประโยชน์ จาก พลังงานไฟฟ้ากล่าวคือ มีพฤติกรรมประหยัดพลังงานไฟฟ้าและมีการปฏิบัติ อย่างสม่าเสมอ เช่น ปิ ดพัดลมทุกครั้งเมื่อไม่มีคนอยู่ (ร้อยละ 90.72) ไม่ตั้ง ตู้เย็ น ใกล้ กับ เตาไฟ (ร้ อยละ 90.72) ปิ ด ไฟทุ ก ครั้งเมื่อ เลิ ก ใช้งาน (ร้อยละ 89.18) ตั้งตู้เย็นห่างจากผนังอย่างน้อย 10 เซนติเมตร (ร้อยละ 89.18) ปิด โทรทัศน์ทุกครั้งเมื่อไม่มีคนดู (ร้อยละ 84.54) และถอดปลั๊กหม้อหุงข้าวทุกครั้ง เมื่อข้าวสุก (ร้อยละ 84.54) ในภาพรวมผู้ ใ ห้ สั ม ภาษณ์ มี ก ารดู แ ลบ ารุ ง รั ก ษาระบบ การผลิ ต กระแสไฟฟ้าด้ว ยพลังงานแสงอาทิตย์ นาน ๆ ครั้ง ได้แก่ ไม่นาแบตเตอรี่ไปใช้ ต่ อ กั บ ระบบไฟฟ้ า อื่ น ๆ ที่ ไม่ ใช่ ร ะบบการผลิ ตกระแสไฟฟ้ าด้ว ยพลัง งาน แสงอาทิ ต ย์ พร้ อ มกั บ ไม่ น าเครื่ อ งใช้ ไฟฟ้ า อื่ น ๆ มาต่ อ กั บ ระบบการผลิ ต กระแสไฟฟ้าด้ว ยพลังงานแสงอาทิตย์ ส่วนเซลล์แผงอาทิตย์ได้มีการทาความ สะอาดโดยการเช็ดปัดฝุ่นภายนอกนาน ๆ ครั้งเช่นกัน ปัญหาที่ครัวเรือนพบมากจากการติดตั้งระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วย พลั งงานแสงอาทิ ตย์ คื อ การมี เสี ยงเตือนจากเครื่องอินเวอร์ เตอร์เมื่ อใช้งาน (ร้ อยละ 23.20) รองลงมาคื อ แบตเตอรี่ เสื่ อมเก็ บประจุ ไฟได้ น้ อย (ร้ อยละ 20.62) หม้อแบตเตอรี่เสีย และส่งบริษัทซ่อมขณะนี้ยังไม่ได้กลับคืนมา (ร้อยละ 12.89) และไม่มีบุคคลากรที่เกี่ยวข้องมาดูแล (ร้อยละ 11.8) ผู้ให้ สั มภาษณ์ มีข้อเสนอแนะให้ เจ้าหน้ าที่มาดูแล ตรวจสอบ และให้ คาแนะนาเมื่อระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าด้ว ยพลัง งานแสงอาทิตย์ มีปัญหา
10
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
มากที่สุด (ร้อยละ 27.32) รองลงมา อยากได้หม้อไฟ (การปักเสาพาดสาย) เป็นของตนเองมากกว่าระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าด้ว ยพลัง งานแสงอาทิตย์ (ร้ อยละ 10.82) และระบบการผลิ ตกระแสไฟฟ้ าด้ว ยพลัง งานแสงอาทิ ต ย์ ควรใช้กั บ เครื่อ งใช้ ไฟฟ้ าอื่น ๆ ได้ม ากชนิ ดขึ้ น เพราะช่ ว ยประหยัด ไฟได้ ดี (ร้อยละ 8.25) นอกจากนี้ ยังพบว่า เพศ อายุ การศึกษา จานวนสมาชิก รายได้รวมทั้ง ครัวเรือน ความรู้ความเข้าใจ ความคิดเห็น ที่แตกต่างกัน มีพฤติกรรมใช้ไฟฟ้า แบบพอเพี ย งก่อ นและหลั งการติด ตั้ง ระบบผลิ ตกระแสไฟฟ้ าด้ ว ยพลั งงาน แสงอาทิ ต ย์ ที่ แ ตกต่ า งกั น ส่ ว นรายจ่ า ยรวมทั้ ง ครั ว เรื อ นที่ แ ตกต่ า งกั น มี พ ฤติ ก รรมการใช้ ไฟฟ้ า แบบพอเพี ย งก่ อ นและหลั งการติ ด ตั้ งระบบผลิ ต กระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ที่ไม่แตกต่างกัน อภิปรำยผล ผลการวิเคราะห์พบว่าเพศหญิงมีพฤติกรรมใช้ไฟฟ้าแบบพอเพียงก่อน และหลังการติดตั้งการผลิตกระแสไฟฟ้าด้ว ยพลังงานแสงอาทิตย์ มากกว่าเพศ ชาย สอดคล้องกับ Stanley (2001) ที่กล่าวว่า เพศหญิงได้รับผลกระทบจาก ระบบพลังงานมากกว่าเพศชาย เนื่องจากต้องใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับกิจกรรมที่ เกี่ย วข้องกับ พลั งงาน เช่น การปรุงอาหาร ทางานบ้ าน ฯลฯ (Johansson, et al., 1996) การที่คนกลุ่มอายุ 31-45 ปี มีพฤติกรรมใช้ไฟฟ้าแบบพอเพียงก่อนและ หลังการติดตั้งระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าด้ว ยพลัง งานแสงอาทิตย์ มากกว่า ช่วงอายุอื่น ๆ เนื่องจากบุคคลในวัยแรงงานที่เป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายภายใน ครัวเรือนมากกว่ากลุ่มอายุอื่น
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
11
ส่ ว นการที่ ป ระชาชนที่ ไม่ ได้ รั บ การศึ ก ษามี พ ฤติ ก รรมใช้ ไฟฟ้ า แบบ พอเพี ย งก่ อ นและหลั งการติ ด ตั้ ง ระบบการผลิ ตกระแสไฟฟ้ าด้ว ยพลัง งาน แสงอาทิตย์มากที่สุด เนื่องจากประชาชนกลุ่มดังกล่าว เป็นประชาชนกลุ่มที่ไม่ มีความรู้ จึงมีฐานะการเงินไม่มั่นคง สอดคล้องกับงานวิจัยของวีระ ธีระวงศ์สกุล (2540) ที่ว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีความรู้เกี่ยวกับการ ประหยัดพลังงานไฟฟ้าในที่อยู่อาศัยแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 การที่ครัวเรือนที่มีสมาชิกระหว่าง 8-10 คน มีพฤติกรรมใช้ไฟฟ้าแบบ พอเพี ย งก่ อ นและหลั งการติ ด ตั้ ง ระบบการผลิ ตกระแสไฟฟ้ าด้ว ยพลัง งาน แสงอาทิตย์มากที่สุด เนื่องจากครัวเรือนที่มีสมาชิกที่อยู่อาศัยร่วมกันมาก ย่อม หมายถึงปริมาณการใช้ไฟฟ้าที่มากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งผลต่อค่าใช้จ่ายของการ ใช้ ไฟฟ้ า ในแต่ ล ะเดื อ น สอดคล้ อ งกั บ การศึ ก ษาของจุ ล ลดา ใช้ ฮ วดเจริ ญ (2533) ที่ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าใน ครั ว เรื อ นของแม่ บ้ า นในเขตกรุ ง เทพมหานคร พบว่ า จ านวนสมาชิ ก ใน ครัวเรือนที่แตกต่างกันก่อให้เกิดความแตกต่างในเรื่องพฤติกรรมการประหยัด ไฟฟ้าในครัวเรือนที่ตั้งไว้ คือ เพศ อายุ การศึกษา จานวนสมาชิก รายได้รวม การศึ ก ษาที่ พ บว่ า ครั ว เรื อ นที่ มี ร ายได้ ร วมเฉลี่ ย ทั้ ง ครั ว เรือ นตั้ งแต่ 20,000 บาทขึ้นไป มีพฤติกรรมใช้ไฟฟ้าแบบพอเพียง ก่อนและหลังการติดตั้ง ระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าด้ว ยพลัง งานแสงอาทิตย์มากกว่ารายได้รวมเฉลี่ย ระดับ อื่น ๆ สอดคล้องกับอารัญญา รักษิตานนท์ (2538) ที่ศึกษาพฤติกรรม การประหยัดพลังงานไฟฟ้าที่อยู่อาศัยของประชาชนในเขตอาเภอเมืองจังหวัด
12
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
นนทบุรี พบว่า ครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยอยู่ในระดับสูงคือ มากกว่า 30,000 บาทต่อเดือน จะมีพฤติกรรมประหยัดพลังงานไฟฟ้าระดับปานกลาง สาหรับรายจ่ายรวมทั้งครัวเรือนที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมใช้ไฟฟ้าแบบ พอเพียงก่อนและหลังการติดตั้งการผลิตกระแสไฟฟ้าด้ว ยพลังงานแสงอาทิตย์ ไม่แตกต่างกัน เพราะว่าในขณะที่เก็บข้อมูลโดยส่วนใหญ่ในแต่ละครัวเรือนไม่มี การใช้งานเพราะไม่มีแบตเตอรี่ จึงต้องเสียค่าไฟฟ้าจากการต่อพ่วงจากเพื่อน บ้านที่มีราคาสูงเป็นปกติอยู่แล้ว การที่ป ระชาชนที่มีความรู้ ความเข้าใจต่ อระบบการผลิ ตกระแสไฟฟ้ า ด้ว ยพลัง งานแสงอาทิตย์ จะมีพฤติกรรมใช้ไฟฟ้าแบบพอเพียงก่อนและหลัง การติ ด ตั้ ง ระบบการผลิ ตกระแสไฟฟ้ าด้ว ยพลัง งานแสงอาทิ ต ย์ มากกว่ า ประชาชนที่ไม่มีความรู้ความเข้าใจต่อระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าด้ว ยพลังงาน แสงอาทิตย์ สอดคล้องกับ ประภาเพ็ญ สุว รรณ (2520) ที่ก ล่าวว่า ความรู้ เป็น พฤติก รรมขั้น ต้น ที่ผู้เ รีย นอาจจะได้ยิน ได้จา หรือ เป็น ประสบการณ์ ของบุคคลได้ยินได้จาและถ่ายทอดต่อ ๆ กันไป และ Bandura (1977) อ้า ง ถึง ในปรีช า ตั้งตฤษณกุล (2541) ที่ก ล่าวว่า ความรู้ค วามเข้าใจหรือความ เชื่อของคนมีบทบาทสาคัญต่อการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมสอดคล้องกับวีระ ธีระวงศ์สกุล (2540) ที่พบว่าความรู้กับพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ในที่อยู่อาศัยมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สุดท้ายการที่ประชาชนที่มีความคิดเห็นด้วยต่อการได้รับประโยชน์จาก การใช้ไฟฟ้า จะมีพฤติกรรมใช้ไฟฟ้าแบบพอเพียงก่อนและหลังการติดตั้งระบบ ความเข้าใจต่ อระบบการผลิ ตกระแสไฟฟ้ าด้วยพลั งงานแสงอาทิตย์มากกว่า ประชาชนที ่ม ีค วามคิด ไม่เห็น ด้ว ย สอดคล้อ งกับ ศศิว ิม ล ปาลศรี (2538)
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
13
ที่ศึกษาพฤติกรรมการเปิ ดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการใช้ ไฟฟ้าอย่างประหยัดของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชน พบว่า ทั ศนคติ ต่อการใช้ไฟฟ้ ามี ความสั มพั น ธ์เชิงบวกกับ พฤติกรรมการใช้ ไฟฟ้าอย่างประหยัด
14
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
บรรณำนุกรม จุล ลดา ใช้ฮวดเจริญ . (2533). ปั จจั ย ที่มีอิท ธิพลต่อพฤติกรรมการประหยัด พลั ง งานไฟฟ้ า ในครั ว เรื อ นของแม่ บ้ า นในเขตกรุ ง เทพมหานคร . (วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหิดล). ประภาเพ็ญ สุวรรณ. (2520). พฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: มงคลการพิมพ์. ปรีชา ตั้งตฤษณกุล. (2541). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้ไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน ของแม่ บ้ า นในเขตเทศบาลเมื อ งล าปาง. (วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่). วีระ ธีระวงศ์สกุล. (2540). ความรู้และพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้ า ในที่อยู่อาศัยของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองลาปาง. (วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่). ศศิวิมล ปาลศรี. (2538). พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติและ พฤติกรรมการใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างประหยัดของเจ้าหน้าที่ ในหน่วย ราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาโท จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย). อารัญญา รักษิตานนท์. (2538). พฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าที่อยู่ อาศัยของประชาชนในเขตอาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี. (วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหิดล). Johansson T.B., et al. (1996). Renewable Energy: Sources for Fuels And Electric. Washington DC: Island Press. Stanley R. Bull. (2001). Renewable Energy Today and Tomorrow. Proceeding of The IEEE, Vol.89, No.8 August 2001.
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนภายใต้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์
15
ประวัติผู้เขียน ชื่อ-นำมสกุล ดร. จิรศักดิ์ สุรังคพิพรรธน์ ตำแหน่งปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ที่ทำงำน สาขาสังคมศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 ประวัติกำรศึกษำ ค.ด. (การวัดและประเมินผลการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พบ.ม. (เศรษฐศาสตร์ประชากรและมนุษยทรัพยากร) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ วท.บ. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำขำวิชำกำรที่มีควำมชำนำญพิเศษ สถิติเพื่อการวิจัย ระเบียบวิธีการวิจัย การวัดและประเมินผล
คณะกรรมการวิชาการพิจารณาเอกสารเผยแพร่ความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สงวนพงษ์ นายประชุม คาพุฒ รองศาสตราจารย์ ดร. คารณ สิระธนกุล นางบรรเลง สระมูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สวาสดิ์ธรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมจิตร ถนอมวงศ์วัฒนะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อ้อยทิพย์ ผู้พัฒน์ ดร. เฉลียว หมัดอิ๊ว รองศาสตราจารย์วสันต์ กันอา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วันชัย ประเสริฐศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภา ทองคง รองศาสตราจารย์ ดร. อุษาพร เสวกวิ รองศาสตราจารย์ ดร. สุวรินทร์ ปัทมวรคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวรรณ คุปพิทยานันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จตุพร เผ่าพงษ์ไทย รองศาสตราจารย์มานพ ตันตระบัณฑิตย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรี ศรีนนท์ฉัตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วารุณี อริยวิริยะนันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญเรือง สมประจบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิศากร สิงหเสนี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พนิดา สมประจบ นายเกษียร ธรานนท์
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิปกรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ
อธิการบดี
คณะทางาน ฝ่ายอานวยการ รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สงวนพงษ์ นายประชุม คาพุฒ
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา
ฝ่ายเนื้อหา รองศาสตราจารย์ จิรศักดิ์ สุรังคพิพรรธน์
คณะศิลปศาสตร์
ฝ่ายศิลป์ และจัดพิมพ์ นางสุทธิศรี ม่วงสวย นางสาวศศิวรรณ อินทรวงศ์ นางสาวนิธิมา อินทรสอาด นางสาวพรทรัพย์ ถนัดไร่ จัดพิมพ์โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์ : 0 2549 4683 โทรสาร : 0 2577 5038 website : http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail : ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที : บริษัท ยูโอเพ่น จากัด โทรศัพท์/โทรสาร : 0 2617 6834