เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต ผู้เขียน ISBN จานวน พิมพ์ครั้งที่ 1 จานวนพิมพ์ ราคา จัดพิมพ์โดย
: วัฒนา วิริวุฒิกร : 978-974-625-675-9 : 21 หน้า : กรกฎาคม 2557 : 140 เล่ม : : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์ : 0 2549 4683 โทรสาร : 0 2577 5038 website : http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail : ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที่ : บริษัท ยูโอเพ่น จากัด โทรศัพท์/โทรสาร : 0 2617 6834
เนื้อหาใด ๆ ในหนังสือเล่มนี้เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว สถาบันวิจัยและพัฒนา เป็นเพียงผู้จัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชนเท่านั้น
คานา เอกสารเผยแพร่ความรู้ เรื่อง เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ใน อนาคต ชุดนี้จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ที่ได้เสร็จสิ้นจาก การทางานวิจัย โดยนาความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดให้เห็นถึงสาระและความสาคัญ ของเอทานอล จัดได้ว่าเป็นแหล่งพลังงานที่มีแนวโน้มการใช้อย่างแพร่หลายใน อนาคตอันใกล้ ที่ทุกคนไม่ควรมองข้าม นับวันแหล่งพลังงานที่มีอยู่ก็จะเริ่มลดลง เรื่อย ๆ หากทุกคนไม่ช่วยกันคิดค้นพัฒนารูปแบบพลังงานใหม่ ๆ เนื้อหาทั้งหมด ของเอกสารเผยแพร่ ความรู้ นี้ ได้ มาจากงานวิ จั ยและการค้ นคว้ าข้ อมู ลทาง วิชาการหลาย ๆ แหล่ง โดยพยายามใช้ภาษาแบบง่าย ๆ เพื่อให้ผู้อ่านทาความ เข้าใจในเนื้ อหาได้ง่าย และสามารถน าไปประยุ กต์ ใช้ ในชีวิตประจาวันได้เป็ น อย่างดี
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กรกฎาคม 2557
สารบัญ บทนา ความรู้เกี่ยวกับเอทานอล การผลิตเอทานอล สถานการณ์เอทานอลในอนาคต ไบโอเอทานอล (Bioethanol) พลังงานทางเลือกใหม่จากยีสต์ลูกผสม บรรณานุกรม ประวัติผู้เขียน
หน้า 1 3 12 15 17 20 21
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
1
บทนำ ในสภาวะปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีว่า ประเทศไทยต้องประสบปัญหา ด้านความเสียเปรียบทางด้านแหล่งพลังงาน เพราะน้้ามันเชื้อเพลิงที่ต้องน้าเข้า จากต่างประเทศในปริมาณที่สูงมาก และเมื่อราคาน้้ามันดิบในตลาดโลกมีราคา สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งปริมาณการใช้พลังงานในประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เรื่อย ๆ ส่งผลกระทบต่อการด้ารงชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบันที่ต้องพึ่งพาการ น้าเข้าเป็นหลัก ท้าให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเงินตราออกนอกประเทศเพื่อ การน้าเข้าน้้ามันเชื้อเพลิง ในปีหนึ่ง ๆ มีมูลค่าหลายล้านบาท ในอนาคตราคา น้้ามันในโลกมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตลอดเวลาส่งผลให้ ประเทศไทยต้องเผชิญกับความเสียเปรียบทางด้านเศรษฐกิจการพิจารณาหา แหล่ ง พลั ง งานใหม่ ส้ า หรั บ ใช้ ท ดแทนน้้ า มั น “เอทานอล” เพื่ อ เป็ น การ แก้ปัญหาราคาน้้ามันแพงและการขาดแคลนพลังงาน เอทานอลจัดได้ว่าเป็น พลังงานสะอาดผลิตได้จากกระบวนการหมัก ด้วยความส้าคัญดังกล่าวข้างต้น จึงเป็นนโยบายที่ส้าคัญอันหนึ่งที่มีหน่วยงานต่าง ๆ ได้พยายามผลักดันมาโดย ตลอดอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนที่มา จากวัตถุดิบทางการเกษตร สามารถผลิตได้เองภายในประเทศ อันจะน้าไปสู่ การสร้างเสถียรภาพและความมั่นคงทางด้านพลังงาน ด้า นการเกษตร และ ด้านเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน ประเทศไทยจัดเป็นประเทศเกษตรกรรมจึงมีผลิตผลทางการเกษตร เป็นจ้านวนมาก และประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพทางการเกษตรมาตั้งแต่อดีต และสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน พืชที่เป็นแหล่งเพาะปลูกมีความส้าคัญในด้าน
2
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
การบริโภคและการใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมมีหลายชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด สับปะรด และมันส้าปะหลัง พบว่าเมื่ อเก็บเกี่ยวผลผลิตเพื่อเอาไป ใช้ประโยชน์ จะมีส่วนที่เหลือจากการใช้ประโยชน์เป็นจ้านวนมาก ส่วนทีเ่ หลือ ทิ้งเหล่านี้ เป็นผลพลอยได้อย่างหนึ่งที่จัดว่าเป็นวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร (Crop Residues) ซึ่งมีการน้าเอามาใช้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น ใช้เป็นแหล่ง อาหารเพื่อใช้เพาะเลี้ยงเห็ด ท้าปุ๋ยหมัก และใช้เลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์เพื่อใช้ เป็น แหล่งอาหารโปรตีนส้าหรับใช้เป็นอาหารสัตว์ นอกจากนี้ การย่อยสลายสาร คาร์โบไฮเดรตซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักในวัสดุเหลือทิ้งให้เป็นน้้าตาลโมเลกุล เดี่ย วเพื่ อใช้เป็ น วัตถุดิบ ส้ าหรับ การเปลี่ย นน้้ าตาลเหล่ านั้น ให้ เป็นสารมีค่า ต่อไปในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการน้าวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเหล่านี้ มาเป็นวัตถุดิบ ในการผลิตเอทานอลส้าหรับใช้เป็นเชื้อเพลิงในกองทัพ การใช้ เอทานอลเป็นเชื้อเพลิงได้รับความสนใจอีกครั้งหนึ่งเมื่อปี พ.ศ. 2516 ซึ่งเป็น ช่ ว งที่ เกิ ด การขาดแคลนน้้ า มั น ดิ บ และน้้ ามั น แก็ ส โซลิ น มี ร าคาแพง จาก วิกฤติการณ์ที่เกิดท้าให้มีการน้าเอทานอลมาผสมกับแก๊สโซลิ นเกิดเป็นน้้ามัน เชื้อเพลิงที่มีประสิทธิภาพเทียบเท่าน้้ามันเบนซิน การผลิตเอทานอลจากวัสดุ เหลือทิ้งทางการเกษตรโดยกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพได้รับความนิยม สูงในประเทศเกษตรกรรม เพราะวัสดุในการผลิตมีราคาถูก มีความปลอดภัย จากพิษของสารเคมี
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
3
ควำมรู้เกี่ยวกับเอทำนอล 1. สูตรเคมีและคุณสมบัติของเอทำนอล เอทานอล (Ethanol) เป็นแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งที่สามารถรับประทาน ได้ มี ชื่ อ ทางเคมี คื อ เอธิ ล แอลกอฮอล์ (Ethyl Alcohol) ซึ่ งมี สู ต รทางเคมี C2H5OH หรือ CH3CH2OH เกิดจากการหมักพืช เศษซากพืชหรือของเสีย จาก กระบวนการผลิตเพื่อเปลี่ยนแป้งจากพืชให้เป็นน้้าตาลแล้วเปลี่ย นจากน้้าตาล เป็นแอลกอฮอล์อีกครั้ง มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 46 มีจุดเดือดเท่ากับ 78.3 องศา เซลเซี ย ส เป็ น ของเหลวใส ไม่ มี สี ระเหยง่ า ย จุ ด ติ ด ไฟ ละลายน้้ า และ สารอินทรีย์อื่น ๆ ได้ดี สามารถผสมเข้ากันได้ดีกับน้้า และตัวท้าละลายอินทรีย์ อื่น ๆ เช่น อีเทอร์ คลอโรฟอร์ม ให้พลังความร้อนประมาณ 12,800 บีทียูต่อ ปอนด์ 2. ประโยชน์ของเอทำนอล - ใช้เป็นตัวท้าละลาย (Solvent) ในอุตสาหกรรมยา น้้าหอม เครื่องส้าอาง และอื่น ๆ - ใช้เป็นสารฆ่าเชื้อโรค เช่น น้้ายาฆ่าเชื้อ - ใช้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ชนิดต่าง ๆ - ใช้เป็นเชื้อเพลิง โดยน้าเอทานอลผสมกับน้้ามันเบนซินออกเทน 91 ในอัตราส่วนเอทานอล 1 ส่วน กับน้้ามันเบนซิน 9 ส่วน เป็นน้้ามันแก๊สโซฮอล์ ในปัจจุบันได้มีการพัฒนารถยนต์ให้สามารถใช้น้ามันที่มีส่วนผสมของเอทานอล 20 เปอร์ เซ็น ต์ เรี ย กว่า E20 ส้ าหรั บ รถบางรุ่น สามารถใช้ น้ามัน เบนซิน ที่ มี ส่วนผสมของเอทานอลถึง 85 เปอร์เซ็นต์เรียกว่า E85
4
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
3. กำรนำเอทำนอลมำใช้เป็นเชื้อเพลิง เอทานอลเป็ น แอลกอฮอล์ ที่ ส ามารถน้ า ไปใช้ ผ สมกั บ น้้ า มั น (Fuel Alcohol) เป็นแอลกอฮอล์ที่มีความบริสุทธิ์ตั้งแต่ 95 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร ซึ่งสามารถ ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ใน 3 รูปแบบ คือ แบบแรกเป็นเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ใช้เป็นเชื้อเพลิงโดยตรง ทดแทนน้้ามันเบนซิน และน้้า มันดีเซลใช้ กั บ เครื่ อ งยนต์ ที่ มี อั ต ราส่ ว นการอั ด สู ง บราซิ ล เป็ น ประเทศแรกที่ มี ก าร ศึกษาวิจัยและเริ่มใช้เอทานอลเป็นน้้ามันเชื้อเพลิงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2516 โดยผลิต เอทานอลจาก อ้อ ย และกากน้้ าตาล โดยมี ย านพาหนะที่ ใช้เอทานอลเป็ น เชื้อเพลิงมากถึงประมาณ 41 เปอร์เซ็นต์ ของยานพาหนะทั้งหมด แบบที่สอง ในเครื่องยนต์ดีเซลสามารถใช้เอทานอลบริสุทธิ์ 95 เปอร์เซ็นต์ผสมในน้้ามัน ดีเซล เรียกว่า ดีโซฮอล์ (Diesohol) ในอัตราส่วน 15 เปอร์เซ็นต์ และเพิ่มสาร ปรับปรุงคุณสมบัติบางตัวในปริมาณ 1 – 2 เปอร์เซ็นต์ ในด้านของการเผาไหม้ อั ต ราส่ ว นเชื้ อ เพลิ งต่ อ อากาศ (Air – Fuel Ratio) ของก๊ าซโซลิ น มี ค่ า อยู่ ในช่วงแคบประมาณ 15 ต่อ 1 ส้าหรับการเผาไหม้ที่สมบูรณ์โดยมีมลพิษต่้า แต่ถ้าพ้ น จากช่ว งนี้ ไปแล้ว ก็จะก่อให้ เกิ ดการเผาไหม้ที่ ท้าให้ เกิดมลพิ ษมาก ในขณะที่ เอทานอลมี ก ารเผาไหม้ ที่ ส ะอาดโดยปราศจากคราบเขม่ าและมี เสถียรภาพในช่วงกว้างกว่า มีอุณหภูมิการเผาไหม้ที่ต่้ากว่า ช่วยป้องกันการ น็ อ กของเครื่ อ งยนต์ ท้ า ให้ ส ามารถยื ด อายุ ก ารใช้ ง านของเครื่ อ งยนต์ ไ ด้ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มก้าลังของเครื่องยนต์ ได้ในปริมาณมาก ถ้าได้รับ การ ดัดแปลงอย่ างเหมาะสม ซึ่งเป็ น สาเหตุห ลั กในการใช้ เป็ น เชื้อ เพลิ งส้ าหรับ รถแข่ ง แบบที่ ส ามเครื่ อ งยนต์ เบนซิ น ที่ ใช้ เชื้ อ เพลิ งที่ มี ป ริ ม าณเอทานอล
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
5
10 – 15 เปอร์เซ็นต์ (ก๊าซโซลินเรียกว่า E10 – E15 หรือก๊าซโซฮอลล์) จะไม่ ต้องปรับแต่งใด ๆ และจะท้าให้ค่าออกเทนสูงขึ้น 4 – 6 จุด 4. สถำนกำรณ์กำรผลิตเอทำนอลต่ำงประเทศ
ภำพที่ 1 ปริมาณการผลิตเอทานอลโลก ที่มำ : ธนาคารแห่งประเทศไทย (2556)
จากภาพที่ 1 จะเห็ น ว่ า การผลิ ต เอทานอลของโลกในปี พ.ศ. 2556 มี ป ริ ม าณ 88,620.4 ล้ า นลิ ต ร (เฉลี่ ย 246.2 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น ) เพิ่ ม ขึ้ น 4.3 เปอร์ เซ็ น ต์ ต ามการเพิ่ ม ขึ้ น ของผู้ ผ ลิ ต รายใหญ่ อ ย่ า งสหรั ฐ ฯและบราซิ ล ซึง่ รวมกันแล้วคิดเป็น 85.6 เปอร์เซ็นต์ ของการผลิตทั่วโลก โดยสหรัฐอเมริกา มีปริมาณการผลิต 50,333.9 ล้านลิตร (เฉลี่ย 140.0 ล้านลิตรต่อวัน) เพิ่มขึ้น 3.2 เปอร์เซ็นต์ คาดว่าปี พ.ศ. 2557 การผลิตเอทานอลของสหรัฐอเมริการจะ เพิ่ มขึ้ น 2.9 เปอร์ เซ็ น ต์ ส้ า หรั บ การผลิ ต เอทานอลของบราซิ ล มี ป ริ ม าณ 25,563.5 ล้ า นลิ ต ร (เฉลี่ ย 71.0 ล้ านลิ ต รต่ อ วัน ) เพิ่ ม ขึ้น 14.9 เปอร์เซ็ น ต์ จากการที่บราซิลเพิ่มสัดส่วนการน้า อ้อยมาผลิตเป็นเอทานอลแทนการผลิต
6
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
น้้าตาล เนื่องจากน้้า ตาลโลกยังเกินดุลจ้านวนมาก ผลผลิตอ้อยในประเทศมี มากและมีความต้องการผลิตเอทานอลภายในประเทศเพิ่มขึ้น ภายหลังจากที่ รัฐบาลบราซิลประกาศเพิ่มสัดส่วนเอทานอลในการผลิตแก๊สโซฮอล์จากเดิม 20 เปอร์ เซ็ น ต์ เป็ น 25 เปอร์ เซ็ น ต์ โดยการผลิ ต Anhydrous มี ป ริ ม าณ 11,015.7 ล้ านลิ ต ร และ Hydrous มี ป ริ ม าณ 14,547.8 ล้ านลิ ต ร ส้ า หรั บ สัดส่วนการน้าอ้อยมาผลิตเป็นเอทานอลต่อการน้าไปผลิตน้้าตาลเฉลี่ยทั้งปีอยู่ ที่ 54.7 : 45.3 อย่ างไรก็ ตามในการผลิ ต เอทานอลของบราซิล ยังเกิน ความ ต้องการอยู่มาก ท้าให้ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งชาติของบราซิล (National Development Bank) จั ด สรรเงิ น ช่ ว ยเหลื อ ในโครงการจั ด เก็ บ เอทานอล (Ethanol Stock Program) จ้ า นวน 1 พั น ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ เพื่ อ รั ก ษา เสถียรภาพการผลิตภายในประเทศ 4.1 ควำมต้องกำรเอทำนอล
ภำพที่ 2 ปริมาณการใช้เอทานอลของโลก ที่มำ : ธนาคารแห่งประเทศไทย (2556)
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
7
ความต้องการใช้เอทานอลของโลกปี พ.ศ. 2556 มีปริมาณ 85,306.1 ล้านลิตร เพิ่มขึ้น 3.2 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาณการใช้ภายในประเทศของสหรัฐ อเมริกา อยู่ ที่ 49,871.1 ล้ า น ลิ ต ร (เฉลี่ ย 138.5 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น ) เพิ่ มขึ้ น 2.8 เปอร์เซ็นต์ขณะที่ความต้องใช้เอทานอลของบราซิลอยู่ที่ 22,304.0 ล้านลิตร (เฉลี่ย 62.0 ล้านลิตรต่อวัน) เพิ่มขึ้น 7.1 เปอร์เซ็นต์ นับตั้งแต่รัฐบาลบราซิลมี นโยบายให้เพิ่มสัดส่วนเอทานอลในน้้า มันเบนซินจาก 20 เปอร์เซ็นต์ เป็น 25 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 เป็นต้นมา สอดคล้องกับปริมาณ การจ้ า หน่ า ยรถยนต์ FFV (Flex Fuel Vehicle) ของบราซิ ล ที่ ส ามารถใช้ เอทานอลผสมน้้ามันเบนซินได้ทุกสัดส่วนมีจ้านวน 3.2 ล้านคัน เพิ่มขึ้น 0.2 เปอร์เซ็นต์ 4.2 ต้นทุนกำรผลิต ตำรำงที่ 1 ต้นทุนการผลิตและราคาเอทานอลเฉลี่ย ประเทศ ต้นทุนเฉลี่ยปี พ.ศ. 2556 รำคำเฉลี่ยปี พ.ศ. 2556 ไทย (บาท) กากน้้าตาล 21.57 มันส้าปะหลัง 21.22 24.76 สหรัฐอเมริกา 0.55 0.70 (ดอลลาร์สหรัฐฯ) บราซิล 0.43 0.62 (ดอลลาร์สหรัฐฯ) หมำยเหตุ : หน่วย : ต่อลิตร ที่มำ : ธนาคารแห่งประเทศไทย (2556)
8
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
ต้นทุนการผลิตเอทานอลของสหรัฐอเมริกา เฉลี่ยประมาณลิตรละ 0.55 ดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ (เฉลี่ ย แกลลอนละ 2.08 ดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ) ลดลง 11.3 เปอร์เซ็นต์ ตามราคาข้าวโพดที่ปรับลดลง โดยมีราคาเฉลี่ย กิโลกรัมละ 0.24 ดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ) ลดลง 11.4 เปอร์ เซ็ น ต์ หลั ง จากปั ญ หาภั ย แล้ งในพื้ น ที่ เพาะปลูกข้าวโพดเริ่มคลี่คลาย ส้าหรับต้นทุนการผลิตเอทานอลของบราซิล เฉลี่ยอยู่ที่ประมาณลิตรละ 0.43 ดอลลาร์สหรัฐฯ ลดลง 4.4 เปอร์เซ็นต์ 5. สถำนกำรณ์กำรผลิตเอทำนอลไทย ปัจจุบันไทยมีโรงงานเอทานอลที่เปิดด้าเนินการแล้ว 21 แห่ง ก้าลังการ ผลิ ต รวม 4.2 ล้ านลิ ต รต่ อ วั น ก้ า ลั งการผลิ ต ที่ ผ ลิ ต จากกากน้้ า ตาล 61.9 เปอร์เซ็นต์ จากน้้าอ้อย 4.7 เปอร์เซ็นต์ และจากมันส้าปะหลัง 33.4 เปอร์เซ็นต์ ของก้ าลั งการผลิ ต รวม และมี โรงงานที่ อยู่ ร ะหว่ างก่ อ สร้ างเพื่ อเตรี ย มเปิ ด ด้าเนิ นการอี ก 3 แห่ ง ก้าลั งการผลิ ตรวม 1.3 ล้ านลิ ตรต่ อวัน นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2557 อาจจะมีโรงงานใหม่เปิดด้าเนินการเพิ่มขึ้น 1 แห่ง ก้าลังการผลิตรวม 0.2 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น ทั้ งนี้ ร ะยะเวลาการผลิ ต ต่ อ ปี ป ระมาณ 330 วั น และ ระยะเวลาการซ่อมบ้ารุงเครื่องจักร 30 วัน รายละเอียดดังตารางที่ 2
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
9
ตำรำงที่ 2 จ้านวนโรงงานผลิตเอทานอลแยกตามวัตถุดิบและก้าลังการผลิต ภำค จำนวนโรงงำน (แห่ง) กำลังกำรผลิต (ล้ำนลิตร/วัน)
กลาง เหนือ อีสาน รวม
กำกน้ำตำล
น้ำอ้อย
10 4 14
1 1
มันสำ ปะหลัง 4 2 6
รวม
กำกน้ำตำล
น้ำอ้อย
14 1 6 21
1.6 1.0 2.6
0.2 0.2
มันสำ ปะหลัง 0.9 0.5 1.4
รวม 2.5 0.2 1.5 4.2
ที่มำ : ธนาคารแห่งประเทศไทย (2556)
ส้ า หรั บ ปริ ม าณการผลิ ต เอทานอลของไทยปี พ.ศ. 2556 มี ป ริ ม าณ 949.1 ล้านลิตร หรือ 2.9 ล้านลิตรต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 46.6 เปอร์เซ็นต์ คิดเป็น 69.3 เปอร์เซ็นต์ ของก้าลังการผลิตทั้งหมด โดยเป็นเอทานอลที่ผลิต จากกากน้้าตาล 627.0 ล้านลิตร น้้าอ้อย 56.9 ล้านลิตร และหัวมันส้าปะหลัง 265.2 ล้ านลิ ตร คิดเป็ นสั ดส่ วน 66.1 : 6.0 : 27.9 ของผลผลิ ตรวม ส้าหรับ ปริ ม าณวัต ถุ ดิ บ ที่ ใช้ ในการผลิ ต เอทานอล พบว่าในปี พ.ศ. 2556 มี การใช้ กากน้้าตาล 2.6 ล้านตัน น้้าอ้อย 0.8 ล้านตัน และมันส้าปะหลัง 1.7 ล้านตัน ในปี พ.ศ. 2556 การผลิตกากน้้าตาลมีปริมาณ 4.6 ล้านตัน เพิ่มขึ้น (ค้านวณ ตามปี ป ฏิ ทิ น ) 3.3 เปอร์ เซ็ น ต์ เนื่ อ งจากการเพิ่ ม พื้ น ที่ เพาะปลู ก อ้ อ ยของ เกษตรกร ทั้งนี้ มีการส่งออกกากน้้าตาลจ้า นวน 0.5 ล้านตัน มูลค่า 1,702.7 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 50 เปอร์เซ็นต์ และ 29.6 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ ส่วนการน้าเข้ากากน้้าตาลมีจ้านวน 0.1 ล้านตัน มูลค่าการน้าเข้า 508.9 ล้าน บาท รายละเอียดดังตารางที่ 3 และ 4 ตามล้าดับ
10
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
ตำรำงที่ 3 ปริมาณการผลิตเอทานอลจากวัตถุดิบชนิดต่าง ๆ
ปี พ.ศ. 2554 2555 2556
กำกน้ำตำล 381.4 531.8 627.0
น้ำอ้อย 36.5 49.0 56.9
มันสำปะหลัง 102.6 74.7 265.2
รวม 520.5 655.5 949.1
หมำยเหตุ: หน่วย: ล้านลิตร ที่มำ: ธนาคารแห่งประเทศไทย (2556) ตำรำงที่ 4 ปริมาณวัตถุดิบชนิดต่างๆ ที่ใช้ผลิตเอทานอล
ปี พ.ศ. 2554 2555 2556
กำกน้ำตำล 1.6 2.2 2.6
น้ำอ้อย 0.5 0.6 0.8
มันสำปะหลัง 0.6 0.5 1.7
หมำยเหตุ : หน่วย: ล้านตัน ที่มำ : ธนาคารแห่งประเทศไทย (2556)
แนวโน้มการเพาะปลูกอ้อยปี พ.ศ. 2557 คาดว่าพื้นที่เพาะปลูกอ้อยจะ เพิ่มขึ้นประมาณ 2.8 เปอร์เซ็นต์ ตามนโยบายภาครัฐที่ส่งเสริมให้มีการขยาย พื้นที่เพาะปลูก
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
11
ตำรำงที่ 5 พื้นที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของอ้อย ปี พ.ศ. 2552 2553 2554 2555 2556
พื้นที่เก็บเกี่ยว (พันไร่) 6,576.9 8,159.4 8,307.7 8,013.0 8,206.0
ผลผลิต (พันตัน) 66,423.3 68,485.3 95,358.9 98,400.5 100,484.2
ผลผลิต/ไร่ (กิโลกรัม) 10,910 12,197 12,288 12,280 12,118
กำกน้ำตำล (พันตัน) 3,278.3 2,977.6 4,623.1 4,434.6 4,579.3
ที่มำ : ธนาคารแห่งประเทศไทย (2556)
ผลผลิตมันส้าปะหลังปี พ.ศ. 2556 มีปริมาณ 28.3 ล้านตัน (ค้านวณตาม ปีปฏิทิน) ลดลงจากปีก่อน 5.3 เปอร์เซ็นต์ ตามพื้นที่เก็บเกี่ยวที่ลดลง โดยภาค ตะวันออกเฉียงเหนื อมีพื้ นที่ เก็บเกี่ยว 4.2 ล้ านไร่ ผลผลิ ต 14.5 ล้ านตัน มาก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 52.2 ของผลผลิตมันส้าปะหลังทั้งประเทศ แต่ผลผลิตต่อไร่ ของทั้งประเทศเฉลี่ย 3,474 กิโลกรัม ลดลงจากปีก่อน 0.9 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจาก เกษตรกรบางส่วนรีบเก็บเกี่ยวก่อนก้าหนด อันเป็นผลมาจากราคาอยู่ในเกณฑ์ดี ตำรำงที่ 6 พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของมันส้าปะหลัง ปี พ.ศ. 2552 2553 2554 2555 2556
พื้นที่เก็บเกี่ยว (พันไร่) 8,292.1 7,405.2 7,096.2 8,513.2 8,138.9
ที่มำ : ธนาคารแห่งประเทศไทย (2556)
ผลผลิต (พันตัน) 30,088.0 22,005.7 21,912.4 29,848.5 28,275.5
ผลผลิต/ไร่ (กิโลกรัม) 3,628 2,972 3,088 3,506 3,474
12
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
กำรผลิตเอทำนอล ในการผลิตเอทานอลโดยทั่วไปสามารถท้าได้ 2 วิธี คือ 1. การสังเคราะห์ทางเคมี (Chemical Synthesis) ใช้เอทิลิน (Ethylene) ที่เป็นผลิตผลพลอยได้จากปิ โตรเลียมเป็ นวัตถุดิบ เอทานอลที่ผลิตโดยวิธีนี้ไม่ สามารถน้ามาบริโภคได้ 2. การหมักโดยใช้เชื้อจุลินทรีย์ (Microbial Fermentation) โดยเชื้อ ยีสต์จะใช้น้าตาลกลูโคสเป็นอาหารและเปลี่ยนเป็นเอทานอลในสภาวะที่ไม่มี ออกซิเจน วัตถุดิบที่มีน้ าตาลกลูโคสเป็ นองค์ประกอบสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ วัตถุดิบ ประเภทน้้ าตาล เช่น อ้อยและกากน้้าตาล วัตถุดิ บ ประเภทแป้ง เช่น มันส้าปะหลัง ข้าว ข้าวโพด และอื่น ๆ และประเภทสุดท้าย คือวัตถุดิบประเภทลิกโนเซลลูโลส (lignocellulosic material) ประกอบด้วย เซลลู โลส เฮมิเซลลูโลส และลิ กนิน เช่น ฟางข้าว กากอ้อย และซังข้าวโพด เปลือกผัก ผลไม้รวมเหลือทิ้งทางการเกษตรเป็นต้น ดังสมการ เอ็นไซม์/กรด (C6H12O5)n+ H2O แป้ง/เซลลูโลส
ยีสต์ n C6H12O6 กลูโคส
2n C2H5OH + 2n CO2 เอธานอล ก๊าซ
ส้าหรับขั้น ตอนการผลิ ตเอทานอลประกอบด้วย กระบวนการเตรียม วัตถุดิบโดยผ่านการลดให้มีขนาดเล็กเพื่อให้ง่ายต่อการหมัก กระบวนการหมัก และการแยกผลิ ต ภั ณ ฑ์ เอทานอลและการท้ าให้ บ ริสุ ท ธิ์ ซึ่ งในขั้ น ตอนการ เตรียมวัตถุดิบนั้น ถ้าเป็นประเภทแป้งหรือเซลลูโลส เช่น มันส้าปะหลังและ ธัญพืชจะต้องน้าไปผ่านกระบวนการย่อยแป้งหรือ เซลลูโลสให้เป็นน้้าตาลก่อน
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
13
ด้ ว ยการใช้ ก รด เอ็ น ไซม์ หรื อ จุ ลิ น ทรี ย์ ส่ ว นวัต ถุ ดิ บ ประเภทน้้ าตาล เช่ น กากน้้าตาลหรือน้้าอ้อย เมื่อปรับความเข้มข้นให้เหมาะสมแล้วสามารถน้าไป หมักได้ ในกระบวนการหมั ก จะเปลี่ ย นน้้ า ตาลให้ เป็ นแอลกอฮอล์ โ ดยใช้ เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย์ ซึ่ งส่ ว นใหญ่ จ ะใช้ ยี ส ต์ การเลื อ กใช้ ช นิ ด ของเชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย์ ที่ เหมาะสมกั บ วั ต ถุ ดิ บ ที่ น้ า มาหมั ก จะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการหมั ก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ได้ จ ากการหมั ก คื อ เอธิ ล แอลกอฮอล์ ห รื อ เอทานอลที่ มี ค วาม เข้มข้นประมาณ 8-12 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร กระบวนการผลิตเอทานอล แบบง่าย ๆ ดังแสดงในภาพที่ 3
ภำพที่ 3 ผังการผลิตเอทานอล ที่มำ : วิชาการ (2556)
14
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
น้้าหมักที่ได้จ ากกระบวนการหมัก จะน้ ามาแยกเอทานอลออกโดยใช้ กระบวนการกลั่ น ล้ าดับ ส่ ว น ซึ่ งสามารถแยกเอทานอลให้ ได้ค วามบริสุ ท ธิ์ ประมาณ 95 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร จากนั้นจึงเข้าสู่กรรมวิธีในการแยกน้้า โด ยก ารใช้ วิ ธี ก ารแ ยก สารต าม น้้ าห นั กโม เล กุ ล (Molecular Sieve Separation) เอทานอลที่มีความบริสุทธิ์ 95 เปอร์เซ็นต์ จะไหลผ่านเข้าไปใน หอดูดซับที่บ รรจุตัวดูดซับประเภทซีโอไลต์ ภายใน โมเลกุลของเอทานอลจะ ไหลผ่านช่องว่างของซีโอไลต์ออกไปได้ แต่โมเลกุลของน้้าจะถูกดูดซับไว้ท้าให้ เอทานอลที่ไหลออกไปมีความบริสุทธิ์ 99.5 เปอร์เซ็นต์ ส่วนซีโอไลต์ที่ดูดซับ น้้ า ไว้ จ ะถู ก น้ า กลั บ มาใช้ ไ ด้ อี ก (Regenerated) โดยการก้ า จั ด น้้ า ออก เอทานอลความบริสุทธิ์ 99.5 เปอร์เซ็นต์ สามารถน้าไปผสมกับน้้ามันเบนซิน เพื่อใช้ในรถยนต์เครื่องยนต์เบนซินได้
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
15
สถำนกำรณ์เอทำนอลในอนำคต ความต้ อ งการใช้ เอทานอลของโลก คาดว่ า อาจปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น 2.5 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลกเริ่มคลี่คลาย สะท้อนจากรัฐบาลสหรัฐ อเมริกา เตรียมลดการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจ ผ่านมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (Quantitative Easing) ท้ าให้ โครงการทดสอบการใช้ E15 แทนการใช้ E10 ภายในปี พ.ศ. 2560 มี ความคื บ หน้ าพอสมควร และที่ บ ราซิ ล มี ยอดจ้ าหน่ ายรถยนต์ FFV (Flex Fuel Vehicle) ซึ่งเป็นรถยนต์ที่สามารถใช้เอทานอลผสมน้้ามันเบนซินได้ ทุกสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะที่สหภาพยุโรปมีทิศทางการใช้พลังงาน ทดแทนในการขนส่ งเพิ่ ม ขึ้ น ตามเป้ าหมายการลดก๊ าซเรื อ นกระจกลงอี ก ประมาณ 6 เปอร์ เซ็ น ต์ ภายในปี พ.ศ. 2563 ส่ ว นเอเชี ยมี การใช้ เอทานอล เพิ่ ม ขึ้ น เช่ น กั น โดยเฉพาะญี่ ปุ่ น เกาหลี ใต้ และฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ที่ มี ก ารน้ า เข้ า เอทานอลเพิ่มขึ้นทุกปี ราคาเอทานอลของไทย คาดว่าจะยังคงอยู่ในระดับสูงต่อไป ตามความ ต้องการใช้แก๊สโซฮอล์ที่เพิ่มขึ้น ราคาจะเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบแคบ ๆ ระหว่าง 26.50 – 27.50 บาทต่อลิตร โดยมีปริมาณการผลิตและความต้องการใช้ประมาณ 3.1 และ 3.0 ล้ า นลิ ต ร ตามล้ า ดั บ การผลิ ต ส่ ว นเกิ น หลั ง การจ้ า หน่ า ย ภายในประเทศ ผู้ผลิตอาจเริ่มมีการส่งออกไปยังต่างประเทศที่มีความต้องการ เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะฟิลิปปินส์ เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น อย่างไรก็ดี หากสถานการณ์ ทางการเมืองยังไม่ผ่อนคลาย อาจส่งผลกระทบต่อความต้องการใช้ในระยะต่อไป
16
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
ในแต่ละปีมีการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการผลิตเอทานอล จ้านวนโรงงาน ก้าลังการผลิตแตกต่างกันในช่วงปี พ.ศ.2554 - 2556 รายละเอียดข้อมูลดัง ตารางที่ 7 ตำรำงที่ 7 จ้านวนโรงงานและก้าลังการผลิตเอทานอล รำยกำร จำนวนโรงงำน (แห่ง) กากน้้าตาลเป็นวัตถุดิบ อ้อยเป็นวัตถุดิบ มันส้าปะหลังเป็นวัตถุดิบ กำรผลิต ก้าลังการผลิต (ล้านลิตรต่อวัน) กากน้้าตาลเป็นวัตถุดิบ อ้อยเป็นวัตถุดิบ มันส้าปะหลังเป็นวัตถุดิบ ปริมำณกำรผลิต (ล้ำนลิตรต่อวัน) กากน้้าตาลเป็นวัตถุดิบ อ้อยเป็นวัตถุดิบ มันส้าปะหลังเป็นวัตถุดิบ ที่มำ : ดัดแปลงจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย (2556)
ปี พ.ศ. 2554 2555 2556 19 20 21 13 14 14 1 1 1 5 5 6 2.9 2.1 0.2 0.6 1.7 1.1 0.3 0.3
3.3 2.3 0.2 0.8 1.8 1.4 0.1 0.3
4.2 2.6 0.2 1.4 2.9 1.9 0.2 0.8
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
17
ไบโอเอทำนอล (BIOETHANOL) พลังงำนทำงเลือกใหม่จำกยีสต์ลูกผสม การค้ น หาแหล่ ง พลั งงานที่ ป ระหยั ด และยั่ ง ยื น เป็ น สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ส้ า คั ญ ส้ า หรั บ มนุ ษ ย์ ในปั จ จุ บั น มี ง านวิ จั ย ใหม่ ชิ้ น หนึ่ ง ที่ ตี พิ ม พ์ ใ นวารสาร Biotechnology for Biofuels ที่รายงานการวิจัยที่ เกี่ยวกับยี ส ต์ที่ได้รับการ ปรับ ปรุงสายพัน ธุ์ ใหม่เพื่อการผลิ ตแอลกอฮอล์ จากน้้าตาลไซโลส (Xylose) แหล่งพลังงานใหม่ในอนาคตที่จะกล่าวถึง คือ ไบโอเอทานอล (Bioethanol) 1. ควำมสำคัญไบโอเอทำนอล ไบโอเอทานอลเป็นหนึ่งในพลังงานทางเลือกที่สะอาดและยั่งยืน เหมาะ ส้าหรับน้ามาทดแทนน้้ามันปิโตรเลียม (Fossil Fuel) ที่เกิดจากซากฟอสซิลทับ ถมกันมาเป็ นเวลานานและก้าลั งจะหมดไปในอนาคตอันใกล้ อย่างไรก็ตาม การใช้น้าตาลกลูโคสจากพืชผล เช่น อ้อย (Sugar Cane) หรือพืชที่มีแป้งเป็น องค์ประกอบหลัก เช่น ข้าวโพด (Corn) หรือมันส้าปะหลัง (Cassava) เพื่อการ ผลิตแอลกอฮอล์นั้นอาจมีผลกระทบต่อมนุษย์โดยตรง เนื่องจากพืชผลเหล่านั้น ล้วนแล้วแต่เป็นอาหารของมนุษย์ด้วยนั่นเอง ดังนั้นการน้าพืชผลเหล่านี้มาใช้ใน การผลิตแอลกอฮอล์จึงมีผลโดยตรงต่อปริมาณและราคาของอาหาร
18
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
ภำพที่ 4 ความสัมพันธ์การเกิดไบโอเอทานอล ที่มำ : โอมเนียไมโครบ (2555)
2. แหล่งวัตถุดิบ ไซโลส (Xylose) ซึ่งเป็นน้้าตาลที่มีห้าคาร์บอนพบเป็นอันดับสองในพืช รองจากน้้ าตาลกลู โคส และพบมากในสิ่ ง เหลื อ ทิ้ งทางการเกษตร จึ งเป็ น ทางเลื อ กหนึ่ งที่ ส ามารถใช้ เป็ น สารตั้ งต้ น ในการผลิ ต แอลกอฮอล์ โดยที่ ไม่ กระทบต่ อ อาหารของมนุ ษ ย์ ส้ า หรั บ ยี ส ต์ โดยเฉพาะ Saccharomyces cerevisiae ที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะที่ ดี ห ลายอย่ า งส้ า หรับ การผลิ ต แอลกอฮอล์ ไม่ สามารถหมักน้้าตาลห้าคาร์บอน เช่น ไซโลสไปเป็นแอลกอฮอล์ได้ ยีสต์บาง กลุ่ ม เช่ น Pachysolen tannophilus, Candida shehatae และ Pichia stipitis สามารถผลิตแอลกอฮอล์จากไซโลสได้แต่ข้อเสียของยีสต์กลุ่มนี้คือ ไม่ ทนทานต่อปริมาณแอลกอฮอล์สูง ๆ รวมถึงสารพิษต่าง ๆ ที่อาจปนเปื้อนเข้า มาได้จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร และปริมาณแอลกอฮอล์ที่ได้ จากการ ผลิตก็ยังไม่มากพอที่จะน้าไปต่อยอดในระดับอุตสาหกรรม จากที่กล่าวมานี้ เป็นงานวิจัยส่วนหนึ่งที่พยายามปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์เพื่อการผลิตแอลกอฮอล์
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
19
จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร ยังมีงานวิจัยอีกหลาย ๆ งานวิจัย ในท้านอง เดียวกัน ซึ่งผลการทดลองส่วนใหญ่แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ถึงการผลิต แอลกอฮอล์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตรในอนาคตอันใกล้นี้
20
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
บรรณำนุกรม ธนาคารแห่ งประเทศไทย. (2556). รายงานสถานการณ์ เอทานอลปี 2556 และแนวโน้มปี 2557. http://www.bot.or.th/sites/BOTSurvey /Lists/NE_EthanolAnnually/NewForm.aspx. วันที่สืบค้น 13 มิถุนายน 2557. วัฒนา วิริวุฒิกร, สมพร เจนคุณาวัฒน์ และณัฐวรรณ คุปพิทยานันท์. (2554). รายงานการวิจัยเรื่องผลของวิธีการเตรียมวัตถุดิบและการเปรียบเทียบ กิจกรรมเซลลูเลสและรา Trichoderma reesei ที่มีต่อการผลิตเอทา นอลจากเปลือกผลไม้รวม. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 54 หน้า. วิชาการ. (2556). ผังการผลิ ตเอทานอล. http://www.vcharkarn.com/ varticle/38199. วันที่สืบค้น 13 มิถุนายน 2557. โอมเนียไมโครบ. (2555). ไบโอเอทานอล (bioethanol) พลังงานทางเลือก จากยีสต์ลูกผสม. http://omniamicrobes.wordpress.com/2012/ 07/26. วันที่สืบค้น 13 มิถุนายน 2557. Dellomonaco, C. et al. (2010). The path to next generation biofuels: successes and challenges in the era of synthetic biology. Microbial Cell factories 9:3. Zhang, W. and Geng, A. (2012). Improved ethanol production by a xylose-fermenting recombinant yeast strain constructed through a modified genome shuffling method. Biotechnology for Biofuels 5:46.
เอทานอล...ทางเลือกแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต
ประวัติผู้เขียน ชื่อ-นำมสกุล นายวัฒนา วิริวุฒิกร ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ที่ทำงำน คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ต้าบลคลองหก อ้าเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 ประวัติกำรศึกษำ วท.ม. (เทคโนโลยีทางอาหาร) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น สำขำวิชำกำรที่มีควำมชำนำญพิเศษ เทคโนโลยีอาหารหมักดอง เทคโนโลยีเครื่องดื่ม เคมีอาหาร
21
คณะกรรมการวิชาการพิจารณาเอกสารเผยแพร่ความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สงวนพงษ์ นายประชุม คาพุฒ รองศาสตราจารย์ ดร. คารณ สิระธนกุล นางบรรเลง สระมูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สวาสดิ์ธรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมจิตร ถนอมวงศ์วัฒนะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อ้อยทิพย์ ผู้พัฒน์ ดร. เฉลียว หมัดอิ๊ว รองศาสตราจารย์วสันต์ กันอา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วันชัย ประเสริฐศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภา ทองคง รองศาสตราจารย์ ดร. อุษาพร เสวกวิ รองศาสตราจารย์ ดร. สุวรินทร์ ปัทมวรคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวรรณ คุปพิทยานันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จตุพร เผ่าพงษ์ไทย รองศาสตราจารย์มานพ ตันตระบัณฑิตย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรี ศรีนนท์ฉัตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วารุณี อริยวิริยะนันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญเรือง สมประจบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิศากร สิงหเสนี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พนิดา สมประจบ นายเกษียร ธรานนท์
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิปกรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ
อธิการบดี
คณะทางาน ฝ่ายอานวยการ รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สงวนพงษ์ นายประชุม คาพุฒ
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา
ฝ่ายเนื้อหา ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัฒนา วิริวุฒกิ ร
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ฝ่ายศิลป์ และจัดพิมพ์ นางสุทธิศรี ม่วงสวย นางสาวศศิวรรณ อินทรวงศ์ นางสาวนิธิมา อินทรสอาด นางสาวพรทรัพย์ ถนัดไร่ จัดพิมพ์โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์ : 0 2549 4683 โทรสาร : 0 2577 5038 website : http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail : ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที : บริษัท ยูโอเพ่น จากัด โทรศัพท์/โทรสาร : 0 2617 6834