พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี ผู้เขียน ISBN จานวน พิมพ์ครั้งที่ 1 จานวนพิมพ์ ราคา จัดพิมพ์โดย
: ถาวรดา จันทนะสุต : 978-974-625-674-2 : 17 หน้า : กรกฎาคม 2557 : 140 เล่ม : : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์ : 0 2549 4683 โทรสาร : 0 2577 5038 website : http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail : ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที่ : บริษัท ยูโอเพ่น จากัด โทรศัพท์/โทรสาร : 0 2617 6834
เนื้อหาใด ๆ ในหนังสือเล่มนี้เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว สถาบันวิจัยและพัฒนา เป็นเพียงผู้จัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชนเท่านั้น
คานา เอกสารเผยแพร่ความรู้ เรื่อง พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วย ดนตรี เล่มนี้เป็นเอกสารที่จัดทาขึ้นตามโครงการ การจัดทาเอกสารเผยแพร่ งานวิจัย ของมหาวิทยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลธัญ บุรี ซื่งเป็น การรวบรวม ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยและประสบการณ์การในการจัดกิจกรรมดนตรี เพื่อ พัฒ นาการของเด็กปฐมวัย ในเนื้อหาดังกล่าว จะทาให้ผู้อ่านสามารถรู้ และ เข้าใจถึงพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ความสาคัญของดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัย องค์ประกอบของดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัย ข้อควรคานึงในการจัดกิจกรรม ดนตรี กิจกรรมดนตรีสาหรับ เด็กปฐมวัย เครื่องดนตรีและอุปกรณ์ที่ใช้จัด กิจกรรมดนตรี และพัฒนาการที่เกิดขึ้นหลังจากเด็กได้เข้า ร่วมกิจกรรมดนตรี ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์สาหรับ ผู้อ่านต่อไป และถ้าเห็นว่ามีเรื่องราวใดที่ควร ปรับปรุงแก้ไข กรุณาบอกผู้เขียนด้วยจะเป็นพระคุณยิ่ง
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กรกฎาคม 2557
สารบัญ พัฒนาการของเด็กปฐมวัย ความสาคัญของดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัย องค์ประกอบของดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัย ข้อควรคานึงในการจัดกิจกรรมดนตรี กิจกรรมดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัย เครื่องดนตรีและอุปกรณ์ที่ใช้จัดกิจกรรมดนตรี พัฒนาการของเด็กปฐมวัยหลังจากเข้าร่วมกิจกรรมดนตรี บรรณานุกรม ประวัติผู้เขียน
หน้า 1 2 3 4 5 11 13 16 17
สารบัญภาพ ภาพที่ 1 กิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายด้วยการเดินและย้าเท้า 2 กิจกรรมการฝึกจังหวะด้วยการใช้เครื่องดนตรี 3 กิจกรรมการฟังและร้องเพลง 4 กิจกรรมการเล่นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเคาะจังหวะ 5 กิจกรรมการอ่านสัญญลักษณ์ของจังหวะดนตรี 6 เครื่องดนตรีสาหรับเขย่าชื่อมาราคัส (Maracas) 7 เครื่องดนตรีสาหรับเคาะชื่อกรับสเปน (Castanet) 8 เครื่องดนตรีสาหรับเขย่าชื่อกระดิ่งมือ (Hand Bell) 9 อุปกรณ์ประกอบกิจกรรม กระดานแม่เหล็กและเม็ดแม่เหล็ก
หน้า 5 6 7 8 9 11 11 12 12
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
1
พัฒนาการของเด็กปฐมวัย เด็กปฐมวัยหรือเด็กก่อนวัยเรียน หมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่ปฏิส นธิ จนถึ ง 6 ปี เด็ ก ในวั ย นี้ เป็ น วั ย ที่ คุ ณ ภาพของชี วิ ต ทั้ งด้ า นร่ างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา กาลังเริ่มต้นพัฒนาอย่างเต็มที่ พั ฒ นาการเป็ น กระบวนการเปลี่ ย นแปลงลั ก ษณะของมนุ ษ ย์ ด้ า น โครงสร้างของร่างกายและพฤติกรรมที่แสดงออก ซึ่งจะก้าวหน้าไปเป็นขั้นตอน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องจากระยะหนึ่งไปอีกระยะหนึ่ง ทาให้เด็กมีลักษณะ และความสามารถใหม่ ๆ เกิดขึ้น ซึ่งมีผลทาให้เจริญก้าวหน้าตามลาดับทั้ง ทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา พั ฒ นาการของเด็ ก ปฐมวัย ขึ้ น อยู่ กั บ พั น ธุก รรมและสิ่ งแวดล้ อ มจะ แตกต่างกันไปในด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา เพราะเด็ก ในวัยนี้ ความเจริญเติบโตและพัฒนาการทุกด้านอย่างรวดเร็ว ซึ่งการศึกษา พัฒ นาการของเด็กปฐมวัยจะเป็นพื้นฐานในการจัดกิจกรรมดนตรี กิจกรรม การขับร้องเพลง กิจกรรมเคลื่อนไหว และกิจกรรมการฝึกจังหวะให้สอดคล้อง กับพัฒนาการด้านต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ส่ ว นหนึ่ งของชีวิตเด็ก ดนตรีมี ความส าคัญ ในการพั ฒ นาเด็ กในช่ ว ง ปฐมวัย คุณค่าของดนตรีคือ ให้โอกาสเด็กได้แสดงออกอย่างเปิดเผย โดยไม่มี ความระแวง หรือไม่สบายใจ การที่เด็กได้รับประสบการณ์ทางดนตรี เด็กจะ เกิ ด ความรั ก และความชื่ น ชมต่ อ ดนตรี และดนตรี ยั งช่ ว ยให้ เด็ ก เข้ า ใจถึ ง วัฒนธรรมและผู้อื่นได้ (Ramsey & Bayless, 1980 : 143-144)
2
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
ความสาคัญของดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัย ดนตรีเข้ามามีบ ทบาทและเป็ น ส่ วนหนึ่ งของการพั ฒ นาด้านต่าง ๆ ของเด็กปฐมวัย เพราะดนตรีทาให้เด็กเกิดความรู้สึกสุข สนุกสนาน ทาให้เด็ก ได้ใช้จินตนาการ ถ้าได้รับการส่งสริมให้ได้แสดงออกทางดนตรี จะได้พัฒนา ทางด้านจิตใจ อารมณ์ ความคิด จินตนาการและสังคม จะเป็นแรงผลักดัน ให้เด็กมีความมั่นคงทางอารมณ์ มีสุขภาพจิตดีและสุขภาพกายดี และเป็นคน ที่มีความเชื่อมั่นในตนเอง (พัชรี วาศวิท, 2534 : 38-48) ดนตรียังช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก และเป็นตัวกระตุ้นให้ เด็กคิดค้นทดลองและแสดงออกโดยใช้ดนตรีเป็นสื่อ ยังเกิดความสุนทรียภาพ ทางดนตรีเห็นความไพเราะ ความงามของเสียง เข้าใจเรื่องราวที่ละเอียดอ่อน ลึกซึ้งได้ดี มีความพอใจในขณะที่กาลังอยู่กับเสียงดนตรี มีโอกาสสัมผัสความ หลากหลายของดนตรี จึ งเป็ น การเปิ ด โลกทรรศน์ ม องหลายมุ ม มี จิ ต ใจ กว้างขวาง ค้นพบและเข้าใจอารมณ์ของตนเอง และสามารถปรับตัวให้เข้ากับ สถานการณ์ต่าง ๆ รอบตัวได้
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
3
องค์ประกอบของดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัย 1. การฟังจังหวะเพลง 2. การร้องเพลง 3. การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง 4. การเล่นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเคาะจังหวะ 5. การอ่านสัญญลักษณ์ของจังหวะดนตรี ก่อนจัดกิจกรรมดนตรีควรจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้ออานวยต่อการเรียนรู้ ซึ่งจะช่วยให้เด็กมีพื้นฐานทางดนตรีที่มั่นคง มีประสบการณ์ทางดนตรี จะช่วย ให้เด็กมีพัฒนาการด้านต่าง ๆ ดีขึ้น เช่น ด้านความคิดสร้างสรรค์ ด้านอารมณ์ และด้านร่างกาย ซึ่งจะทาให้เด็กพัฒนาไปสู่ความสมบูรณ์ในทุกด้านต่อไป การจัดกิจกรรมในระดับปฐมวัย ควรเป็นกิจกรรมดนตรีที่เตรียมความ พร้อมและวางรากแนวคิดขั้นพื้นฐานด้านดนตรี โดยคานึงถึงการปลูกฝังเจตคติ ที่ ดี ต่ อ ดนตรี แ ละความสนุ ก สนานของผู้ เรี ย น เพราะผู้ เรีย นในวั ย นี้ เรีย นรู้ สิ่งต่าง ๆ ได้ดี เมื่อเขารู้สึกสนุกสนาน ดนตรี การร้องเพลง และเคลื่อนที่เป็นศิลปะสร้างสรรค์ สาหรับเด็กจะ เน้ น ที่ ความสนุ กสนานของการแสดงออกทางดนตรี ดนตรีจะเป็ น สื่ อกลาง ระหว่างความคิดและความรู้สึกของเด็ก (เยาวพา เดชะคุปต์, 2540 : 42) การเตรียมกิจกรรมทางดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัย ควรคานึงถึงระดับ พัฒนาการของเด็ก ควรเป็นดนตรีสาหรับเด็ก เน้นศิลปะการแสดงออก และ ควรให้เด็กได้รับโอกาสที่จะมีส่วนร่วมในดนตรี การเคลื่อนไหวเด็กต้องได้เล่น กับเสียงชนิดต่าง ๆ มีโอกาสได้ยินได้ฟังเสียงต่าง ๆ ที่หลากหลาย
4
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
ข้อควรคานึงในการจัดกิจกรรมดนตรี การจัดกิจกรรมดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัยควรคานึงถึงดังนี้ 1. กิจกรรมดนตรีควรเป็นกิจกรรม เพื่อเตรียมความพร้อมด้านดนตรี ในระยะแรก และเรียนเนื้อหาดนตรีได้บ้างในเวลาต่อมา 2. กิ จ กรรมดนตรี ค วรเป็ น กิ จ กรรมที่ เน้ น เกี่ ย วกั บ ความสนุ ก สนาน เพื่ อ ปลู ก ฝั งเจตคติ ที่ ดี ต่ อ ดนตรี โดยมี ขั้ น ตอนต่ อ เนื่ อ งและอยู่ ในรู ป แบบ เดียวกัน เพื่อสร้างเสริมแนวคิดและเนื้อหาตลอดจนทักษะดนตรีในขั้นพื้นฐาน ทุกทักษะ ได้แก่ การฟัง การร้อง การเคลื่อนไหว การเล่น (เครื่องเคาะ) การ สร้างสรรค์และการอ่าน โดยเฉพาะการฟังและการร้อง เป็นทักษะที่ควรเน้น เสมอ เพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาทักษะดนตรีอื่น ๆ ต่อไป 3. กิจกรรมดนตรีควรเน้ น ที่ การปฏิบั ติ เพราะเด็ กในวัยนี้ไม่ช อบอยู่ นิ่งเฉย กิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นทักษะดนตรี จึงเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับผู้เรียน 4. กิจ กรรมดนตรี ควรผสมผสานกัน อย่างกลมกลื น เพื่ อให้ ผู้ เรียนได้ สัมผัสทักษะดนตรีต่าง ๆ อย่างครบถ้วน โดยผู้เรียนควรได้ปฏิบัติทักษะต่าง ๆ ในรูปของกิจกรรมอย่างสม่าเสมอ ซึ่งในแต่ละช่วงของกิจกรรมดนตรี ไม่ควร เกินเวลาประมาณ 20-30 นาที ต่อ 1 ครั้ง ใน 1 สัปดาห์ควรมีกิจกรรมดนตรี 5. สื่อในการจัดกิจกรรมดนตรีควรอยู่ในสภาพสมบูรณ์ และควรใช้ของ จริง เพื่อสร้างความสนใจให้กับ ผู้เรียน เช่น การเรียนเรื่องเครื่องดนตรีชนิด ต่าง ๆ ถ้าผู้เรียนมีโอกาสสัมผัสกับของจริง ได้ฟังเสียงดนตรีจากการแสดงสด จะเป็นสิ่งทีด่ ีมาก (ณรุทธ์ สุทธจิตต์, 2537 : 154)
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
5
กิจกรรมดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัย กิจ กรรมทางดนตรี ช่ว ยให้ เด็ก มีโอกาส มีก ารพั ฒ นาการทั้ งทางด้ าน ความรู้ ความเข้าใจและความรู้สึกนึกคิด ดังต่อไปนี้ 1. กิจกรรมการเคลื่อนไหว ควรจะเป็นกิจกรรมการเคลื่อนไหวที่มีเสียง ประกอบ เช่น การก้าวเท้าพร้อมตบมือ การโยกตัว การเดินย้าเท้า ฯลฯ เพราะ ธรรมชาติ ข องเด็ ก วั ย นี้ ได้ แ ก่ การเดิ น การวิ่ ง กระโดด เป็ น ต้ น ควรมี บรรยากาศที่สนุกสนานตลอดเวลาในขณะร่วมกิจกรรม การเคลื่อนไหว เป็นลักษณะที่มีความสาคัญต่อพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ ความรู้สานึกคิด กล้าแสดงออกตามความคิดและพัฒนาการทางด้าน สติปัญญาในการใช้จินตนาของตนเองในการเคลื่อนไหว
ภาพที่ 1 กิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายด้วยการเดินและย้าเท้า
6
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
กิจ กรรมการเคลื่ อนไหวประกอบเพลง เพื่ อให้ เด็ก เข้าใจจังหวะของ บทเพลง ฝึกให้เด็กขยับร่างกาย ฝึกการกล้าแสดงออก เด็กเกิดสมาธิ และเกิด ความแม่นยา เริ่มเคลื่ อนไหวจากท่าทางง่าย ๆ ที่ เด็กรู้จัก หรือเป็นการเคลื่อนไหวใน ชีวิตประจาวัน ได้แก่ การเดิน วิ่ง กระโดด ย้าเท้า เอียงคอ เป็นต้น และเริ่ม เคลื่อนไหวในท่าเดียวกันแต่ต่างลักษณะกัน เช่น การเดินไปข้างหน้า การหมุน การย้ าเท้า โดยเปิดโอกาสให้เด็กทดลองใช้ แรงในการย้าเท้า ในจังหวะเร็ว -ช้า ต่างกัน เพื่อให้เด็กได้วิเคราะห์และเข้าใจเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว เริ่มกิจกรรมโดยผู้สอนอธิบายบทเพลง และสร้างบรรยากาศให้สนุกสนาน จัดแถวเด็กให้ ระยะห่ างที่ เหมาะสม เปิ ดเพลง พร้อมทั้ งสาธิตการย้าเท้ าเป็ น จังหวะ ผู้สอนเปิดเพลง และให้เด็กย้าเท้าอยู่กับที่ก่อน พร้อมทั้งให้คิวเด็กเดิน พร้อมกับย้าเท้า 2. กิจกรรมการฝึกจังหวะ ควรทาจังหวะด้วยวิธีต่าง ๆ อาจจะเป็นการ ขยับเขยื้อน เคลื่อนไหวร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือการทาจังหวะด้วยการใช้ เครื่องเคาะจังหวะทุกชนิดสามารถ เคาะ ตี ขยับ เขย่า ใช้ทาจังหวะได้
ภาพที่ 2 กิจกรรมการฝึกจังหวะด้วยการใช้เครื่องดนตรี
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
7
กิจกรรมการฝึกจังหวะโดยการใช้เครื่องดนตรีเพื่อให้เด็กมีความสามารถ ในด้ า นจั ง หวะ และสามารถใช้ เครื่ อ งดนตรี ป ระกอบจั ง หวะกั บ บทเพลง ความคิดสร้างสรรค์และเกิดจินตนาการ เริ่มกิจกรรมโดยผู้สอนแนะเครื่องดนตรี สาธิตวิธีการถือ วิธีการเขย่า และสาธิตการเขย่าประกอบบทเพลง จัดแถวให้เด็กพร้อมแจกอุปกรณ์เครื่อง ดนตรีมาราคัส ผู้สอนเปิดเพลงและทาตัวอย่างการเขย่าให้ดูเป็นจังหวะและ เด็กทาตาม 3. กิจกรรมการฟังและร้องเพลง เพื่อพัฒนาประสบการณ์การฟังและ ร้องเพลง เด็กได้ฝึกออกเสียง การขยับปาก เกิดจินตนาการและแสดงออกถึง ความรู้สึก อารมณ์ และความคิด ออกมา
ภาพที่ 3 กิจกรรมการฟังและร้องเพลง
8
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
เริ่มกิจกรรมโดยผู้สอนร้องเพลงให้เด็กฟังอย่างชัดเจน 2-3 เที่ยว และให้ เด็กลองร้องพร้อมผู้สอน 1-2 เที่ยว ผู้สอนบอกเนื้อร้องทีละท่อน ให้เด็กพูดตาม เด็กและผู้สอนร่วมกันร้องเพลง เด็กร้องเพลงโดยลาพัง ถ้ามีที่ใดไม่ถูกต้อง ผู้สอนช่วยแก้ไขจนถูกต้อง โดยเน้นคุณภาพของการร้องด้วย เด็กฝึกจาเนื้อ ร้องและออกเสียง และเด็กจับมือกันร้องเพลง โดยที่ผู้สอนคอยให้คิวเด็กร้อง เพลง ในแต่ละประโยค เด็กร้องเพลงพร้อมผู้สอนโดยจับมือทาท่าเคลื่อนไหว ไปตามบทเพลง 4. กิจกรรมการเล่นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเคาะจังหวะ เพื่อให้เด็ก เกิ ด ทั ก ษะในการใช้ เครื่ อ งดนตรี สามารถเล่ น เครื่องดนตรี ให้ เด็ ก ได้ มี ก าร สารวจ ลงมือปฏิบัติจริง
ภาพที่ 4 กิจกรรมการเล่นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเคาะจังหวะ
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
9
เริ่มกิจกรรมโดยผู้สอนอธิบายเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเคาะจังหวะ เช่ น กรั บ สเปน ผู้ ส อนสาธิต วิธีก ารถื อ วิธีก ารเคาะ และสาธิต การเคาะ จังหวะ จัดแถวให้เด็กพร้อมแจกอุปกรณ์เครื่องดนตรี กรับสเปน ผู้สอนเคาะ เครื่องดนตรีคาสทาเนทให้เด็กดู 2-3 เที่ยว ต่อจากนั้นให้เด็กเคาะตามผู้สอน ผู้สอนเปิ ดเพลงและทาตัวอย่างการเคาะให้เด็กดู จากนั้นให้เด็กทาตามโดย ผู้สอนคอยบอก และเช็คจังหวะการเคาะของเด็ก เด็กได้ฝึกการเคาะจังหวะ เครื่องดนตรีพร้อมกับฟังทานองเพลงไปพร้อมด้วย จะช่วยให้เด็กเรียนรู้เรื่อง จังหวะจากบทเพลงที่ได้ฟังด้วย 5. กิ จ กรรมการอ่ า นสั ญ ลั ก ษณ์ ข องจั งหวะดนตรี เพื่ อ ให้ เด็ ก เข้ า ใจ สัญญลักษณ์ของจังหวะ ฝึกคิด ฝึกความจา ฝึกความแม่นยา และสามารถอ่าน สัญญลักษณ์ได้อย่างถูกต้อง
ภาพที่ 5 กิจกรรมการอ่านสัญญลักษณ์ของจังหวะดนตรี
10
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
เป็ น การใช้สั ญ ลั กษณ์ ทางดนตรีส ากลในการสอนอ่าน โดยเด็ก จะ เรียนรู้เกี่ยวกับโน้ตสากล เด็กได้อ่านสัญญลักษณ์ง่าย เริ่มกิจกรรมโดยผู้สอนอธิบายสัญลักษณ์ของจังหวะดนตรี
(ออกเสียงพูด) ตั้น ตั้น ตั้น อึ้ง (ทาท่าตบมือ) ตบ ตบ ตบ แบมือ
ตั้น ตั้น ตั้น อึ้ง ตบ ตบ ตบ แบมือ
ผู้สอนออกเสียงการอ่านสัญลักษณ์ของจังหวะดนตรีให้เด็กฟัง 2-3 เที่ยว ผู้สอนอธิบายการทาท่าตบมือตามสัญลักษณ์ และสาธิตการตบมือพร้อมออก เสียงไปด้วยดังนี้ ออกเสียง “ตั้น ตั้น ตั้น อึ้ง ตั้น ตั้น ตั้น อึ้ง” ตบมือตาม สัญลั กษณ์ ดังนี้ “ตบ ตบ ตบ แบมือ ตบ ตบ ตบ แบมือ” หลังจากนั้น เด็กพูดจังหวะตามผู้สอนจนคล่อง และตบมือตามสัญญลักษณ์จังหวะดนตรีที่ ผู้ ส อนก าหนดให้ เด็ ก ตบมื อ ท าตามแบบผู้ ส อน และผู้ ส อนเปิ ด เพลง ประกอบการเคาะจังหวะ
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
11
เครื่องดนตรีและอุปกรณ์ที่ใช้จัดกิจกรรมดนตรี เด็กในวัยนี้จะรู้สึกแปลกใจกับเสียงของเครื่องดนตรี เช่น เสียงจากการ เขย่า การเคาะ เป็นต้น เด็กจะเรียนรู้ที่จะเล่นเครื่องดนตรี โดยผู้สอนแนะนา เครื่องดนตรีที่ทาให้เกิดเสียงรูปแบบต่าง ๆ และอธิบายวิธีใช้ให้เด็กเข้าใจ และ ให้ เด็กได้สั งเกตความแตกต่างของเสี ย งและจั งหวะ ก่อนที่ จะให้ ล งมือเล่ น เครื่องดนตรี
ภาพที่ 6 เครื่องดนตรีสาหรับเขย่าชื่อมาราคัส (Maracas)
ภาพที่ 7 เครื่องดนตรีสาหรับเคาะชื่อกรับสเปน (Castanet)
12
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
ภาพที่ 8 เครื่องดนตรีสาหรับเขย่าชื่อกระดิ่งมือ (Hand Bell)
ภาพที่ 9 อุปกรณ์ประกอบกิจกรรม กระดานแม่เหล็กและเม็ดแม่เหล็ก
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
13
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยหลังจากเข้าร่วมกิจกรรมดนตรี 1. พัฒ นาการทางด้ านการเคลื่อนไหว ดนตรีเป็นสิ่ งเร้าที่ทาให้ เด็ก เคลื่ อ นไหว ไม่ ว่ าจะเป็ น จั งหวะ ท านอง เด็ ก ได้ เคลื่ อ นไหวตามดนตรีใน ลั ก ษณะท่ าทาง เสี ย งดนตรี เป็ น ส่ ว นประกอบหนึ่ งที่ ก ระตุ้ น ให้ เด็ ก มี ก าร เคลื่ อ นไหวส่ ว นต่าง ๆ ของร่ างกายมากขึ้น และช่ ว ยคลายความตึงตัว ของ กล้ามเนื้ อ อวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย สังเกตในระหว่างการทดลองได้ พบว่า กิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลง ช่วยให้ร่างกายของเด็ก เกิดความกระปรี้กระเปล่า กระฉับกระเฉง ไม่เหงาหงอย ไม่เฉื่อยชาเกียจคร้าน เด็ ก ได้ เรี ย นรู้ ถึ งทั ก ษะด้ านการเต้ น ในลั ก ษณะต่ า ง ๆ ประกอบกั บ การใช้ อุปกรณ์ดนตรีเสริมการเคลื่อนไหว เช่น การโยกตัวตามจังหวะ การทาท่าทาง ประกอบเพลง การร้องคลอตามเสี ยงดนตรี เด็กสามารถควบคุมร่างกายให้ เคลื่อนไหวตามความคิดของเขา และคานึ งถึงความพร้อมเพรียงของเขากับ ผู้อื่นด้วย ดนตรียังส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านร่างกายได้เป็นอย่างดี 2. พั ฒ นาการทางด้ า นอารมณ์ ดนตรี ช่ ว ยลดความกดดั น ทาง อารมณ์ ช่ ว ยผ่ อ นคลายความตึ ง เครี ย ด เด็ ก ได้ ฝึ ก ปรั บ พฤติ ก รรมและมี พัฒนาการทางอารมณ์ที่ดีขึ้น เมื่อฟังดนตรีจะเกิดอารมณ์สุขสดชื่น สบายและ เกิดจินตนาการร่วมกับเสียงดนตรี เช่น ผ่อนคลายอารมณ์ สดชื่น สนุกสนาน เพราะดนตรีช่วยกระตุ้นการหลั่งสารแห่งความสุขจากสมองได้ จากการสังเกต ในระหว่างการทดลองการจั ด กิจ กรรมดนตรี พ บว่า เมื่ อเด็กได้ฟั งดนตรี ใน ขณะที่ดนตรีมีจังหวะเร็ว เด็กจะแสดงออกโดยการหัวเราะ มีอารมณ์แจ่มใส และมีจิตใจที่เบิกบาน เด็กมีสมาธิ ตลอดจนมีทักษะในการเรียนรู้ที่ดีขึ้น
14
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
3. พัฒนาการทางด้านความคิด ดนตรีทาให้เด็กมีความคล่องตัวใน การคิด เรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ได้รวดเร็ว ฉับไว สามารถคิดหาทางออกหรือ แก้ปั ญหาได้อย่ างรวดเร็ว มีความคิดยืดหยุ่น ไม่คิดแบบตายตัวหรือคิดได้ หลายประเภท หลายแง่มุม มีความคิดริเริ่มแปลกใหม่ไม่ซ้าใคร ละเอียดละออ และชัดเจนมากขึ้น สังเกตได้จากการจัดกิจกรรมการอ่านสัญลักษณ์ทางดนตรี ซึง่ เด็กได้คดิ ก่อนทีจ่ ะวางแม่เหล็กลงบนบรรทัดห้าเส้น พบว่า เด็กได้มีการนับ บรรทั ด ห้ า เส้ น ก่ อ น เพื่ อ ทวนความจ าจากการเรี ย นรู้ แล้ ว สามารถวาง แม่เหล็กได้ตรงตามที่ผู้สอนอธิบาย ดนตรีช่วยให้เกิดพัฒนาการทางความคิด ทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 4. พัฒนาการทางด้านสังคม ดนตรีช่วยสร้างความสัมพันธ์ช่วยให้เด็ก ปรับตัวได้อย่างเหมาะสมเมื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่น ได้ฝึกการเข้ากลุ่ม ทางานร่วมกัน เด็กรู้จักการแบ่งปันและสนใจผู้อื่น สังเกตได้จากการจัดกิจกรรมเกมส์ดนตรี พฤติกรรมของเด็กที่แสดงออกพบว่า เด็กมีปฏิสัมพันธ์กัน มีความสามัคคีกัน ให้ความร่วมมือกันในระหว่างที่กาลังจัดกิจกรรมดนตรี 5. พัฒนาการทางด้านความรู้สึก ดนตรี ช่ ว ยให้ เ ด็ ก เกิ ด ความรู้ สึ ก เพลิดเพลิน เกิดความซาบซึ้งในดนตรี จินตนาการตามเสียงดนตรี และเข้าใจ ในกิจกรรมดนตรี สังเกตได้จาก กิจกรรมการฟังและร้องเพลง พบว่า เด็กมี ความกระตือรือร้นที่ จะฟังและอยากจะร้องเพลง ความนุ่มนวลของดนตรีจะ ช่วยให้เด็กเจริญเติบโตขึ้นมาเป็นคนที่มีคุณภาพ 6. พัฒนาการทางด้านสมาธิ ดนตรีช่วยกระตุ้นให้เด็กเกิดสมาธิในการ ร่วมทากิจกรรมดนตรีได้นาน สังเกตได้จากการจัดกิจกรรมการอ่านสัญลักษณ์ ทางดนตรี พบว่า เด็กได้เรียนรู้จากการฟังและทาตามคาสั่งได้ เมื่อผู้สอนให้
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
15
อ่านสัญลักษณ์ทางดนตรี และเป็นการฝึกการรอคอยได้เป็นอย่างดี ผู้สอนให้ อ่านทีละคน เด็กสามารถควบคุมตนเองได้ว่ายังไม่ถึงคิวของตนเอง 7. พัฒนาการทางด้านการจดจา ดนตรีช่วยเสริมสร้างด้านความคิด ความจา จินตนาการ สังเกตได้จากการจัดกิจกรรมการอ่านสัญลักษณ์ทาง ดนตรี พบว่า เมื่อผู้สอนการอ่านบรรทัดห้าเส้น เด็กสามารถนับบรรทัดห้า เส้นและวางเม็ดแม่เหล็กได้ถูกต้อง กล่าวโดยสรุป พัฒ นาการที่เกิดขึ้นเมื่อเด็กปฐมวัยได้เข้าร่วมการจัด กิจกรรมดนตรีนั้น ดนตรีช่วยลดภาวะการพูดช้า ไม่กล้า หวาดกลัว สมาธิน้อย และซึมเศร้าของเด็กปฐมวัย ยังช่วยให้ เด็กปฐมวัยเกิดสมาธิ มีอารมณ์ที่ดี มี ความจาที่แม่นยาและเกิดความรู้สึกซาบซึ้งในเสียงดนตรี เด็กมีพัฒนาการที่ดี ขึ้น ดนตรีจึงเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้เด็กปฐมวัยสามารถอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมี ความสุข
16
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
บรรณานุกรม ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2537). กิจกรรมดนตรีสำหรับครู. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พัชรี วาศวิท. (2534). ดนตรีสำหรับเด็กก่อนเรียน. วารสารคหเศรษฐศาสตร์. 31(2). เยาวพา เดชะคุปต์. (2540). ดนตรีและกิจกรรมเข้ำจังหวะ สำหรับเด็กปฐมวัย เอกสำรคำสอนวิชำ ปว 335. กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. Bamsey, M.E., & Bayless. K.M. (1980). Kindergarten : program and practices. St. Louis : The C. V. Mosby.
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี
ประวัติผู้เขียน ชื่อ-นามสกุล ดร. ถาวรดา จันทนะสุต ตาแหน่งปัจจุบัน หัวหน้าสาขาวิชาดุริยางค์สากล ที่ทางาน สาขาวิชาดุริยางค์สากล คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 ประวัติการศึกษา ศป.ด. (ศิลปกรรมศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศศ.ม. (ดนตรีชาติพันธุ์วิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศบ. (ดนตรีสากล) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สาขาวิชาการที่มีความชานาญพิเศษ งานวิจัยทางด้านดนตรี งานสร้างสรรค์ทางดนตรี ปฏิบัติดุริยางค์สากล ดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัย
17
คณะกรรมการวิชาการพิจารณาเอกสารเผยแพร่ความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สงวนพงษ์ นายประชุม คาพุฒ รองศาสตราจารย์ ดร. คารณ สิระธนกุล นางบรรเลง สระมูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สวาสดิ์ธรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมจิตร ถนอมวงศ์วัฒนะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อ้อยทิพย์ ผู้พัฒน์ ดร. เฉลียว หมัดอิ๊ว รองศาสตราจารย์วสันต์ กันอา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วันชัย ประเสริฐศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภา ทองคง รองศาสตราจารย์ ดร. อุษาพร เสวกวิ รองศาสตราจารย์ ดร. สุวรินทร์ ปัทมวรคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวรรณ คุปพิทยานันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จตุพร เผ่าพงษ์ไทย รองศาสตราจารย์มานพ ตันตระบัณฑิตย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรี ศรีนนท์ฉัตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วารุณี อริยวิริยะนันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญเรือง สมประจบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิศากร สิงหเสนี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พนิดา สมประจบ นายเกษียร ธรานนท์
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิปกรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ
อธิการบดี
คณะทางาน ฝ่ายอานวยการ รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สงวนพงษ์ นายประชุม คาพุฒ
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา
ฝ่ายเนื้อหา ดร. ถาวรดา จันทนะสุต
คณะศิลปกรรมศาสตร์
ฝ่ายศิลป์ และจัดพิมพ์ นางสุทธิศรี ม่วงสวย นางสาวศศิวรรณ อินทรวงศ์ นางสาวนิธิมา อินทรสอาด นางสาวพรทรัพย์ ถนัดไร่ จัดพิมพ์โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์ : 0 2549 4683 โทรสาร : 0 2577 5038 website : http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail : ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที : บริษัท ยูโอเพ่น จากัด โทรศัพท์/โทรสาร : 0 2617 6834