เครื่องสลัดน้ำจากหนังปลา

Page 1


เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

โดย สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี


เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ ผู้เขียน ISBN จำนวน พิมพ์ครั้งที่ 1 จำนวนพิมพ์ รำคำ จัดพิมพ์โดย

: กุณฑล ทองศรี และศิริชัย ต่อสกุล : 978-974-625-672-8 : 18 หน้ำ : กรกฎำคม 2557 : 140 เล่ม : : สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนำยก ตำบลคลองหก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธำนี 12110 โทรศัพท์ : 0 2549 4683 โทรสำร : 0 2577 5038 website : http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail : ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที่ : บริษัท ยูโอเพ่น จำกัด โทรศัพท์/โทรสำร : 0 2617 6834

เนือหำใด ๆ ในหนังสือเล่มนีเป็นควำมรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว สถำบันวิจัยและพัฒนำ เป็นเพียงผู้จัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อประโยชน์ต่อสำธำรณชนเท่ำนัน


ค้ำน้ำ เอกสำรเผยแพร่ควำมรู้ เรื่อ ง เครื่องสลั ดน้ ำจำกหนั งปลำ ผู้ เขียนได้ เล็งเห็นคุณค่ำจำกหนังปลำ เพื่อนำมำแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับเพื่อกำรค้ำ โดยกำรน ำหนั งปลำไปปั่ น ในเครื่องสลั ดน้ ำจำกหนังปลำ เพื่อต้องกำรทำให้ ควำมชื้นเฉลี่ยในหนังปลำต่ำที่สุด และหนังปลำยังคงมีคุณภำพ นอกจำกนี้มี กำรควบคุมอุณหภูมิที่เหมำะสมซึ่งส่งผลให้หนังปลำมีควำมชื้นใกล้เคียงกับที่ ตำกแดด และน ำหนั งปลำที่ ได้ ม ำวัด ค่ ำควำมชื้ น ในอำหำรแห้ งให้ ต รงตำม มำตรฐำนของอำหำร โดยใช้หลักกำรทำงำนของเครื่องซักผ้ำ มีส่วนประกอบ หลั ก 2 ส่ ว น คื อ ตั ว ถั ง ปั่ น และตั ว ให้ ค วำมร้ อ น ซึ่ ง มี อั ต รำกำรผลิ ต และ จุดคุ้มทุนที่ได้จำกกำรผลิตของเครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ พบว่ำเครื่องสลัดน้ำ จำกหนังปลำที่ได้จำกกำรวิจัยสำมำรถทำงำนได้เป็นอย่ำงดี

สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี กรกฎำคม 2557


สำรบัญ

บทนำ กำรสร้ำงเครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ วิธีกำรใช้งำนเครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ มำตรฐำนของเครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ บรรณำนุกรม ประวัติผู้เขียน

หน้ำ 1 4 10 14 15 17


เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

1

บทนำ ในปั จ จุบั น มีอุตสาหกรรมการผลิ ตหนั งปลากรอบอยู่เป็นจานวนมาก และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มการผลิตขึ้น เนื่องจากเป็นธุรกิจที่สามารถหาวัตถุดิบได้ ง่าย อีกทั้งมีกรรมวิธีในการผลิตที่สะดวก รวมทั้งเป็นภูมิปัญญาที่สืบทอดมาแต่ โบราณ หนังปลากรอบ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาหนังของปลา มาล้างให้ สะอาด หมักกับเกลือ อาจปรุงรส ด้วยเครื่องปรุงรสอื่น เช่น ซีอิ๊ว กระเทียม และพริกไทย เป็นต้น อาจทอดก่อนบรรจุ หรือชุบแป้งก่อนนาไปทอด หรืออาจ นาไปทาให้แห้งด้วยแสงอาทิตย์ ตลอดจนแหล่งพลังงานอื่น ซึ่งนับเป็นธุรกิจ ขนาดเล็ก ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชน หรือสหกรณ์ที่ได้ทาการผลิต จากการสารวจอุตสาหกรรมหนังปลากรอบพบว่า ไม่มีเครื่องจักรในการ ผลิต ซึ่งเมื่อเข้าสู่ฤดูฝนการผลิตหนังปลากรอบจะไม่สะดวก เพราะอากาศชื้น และไม่มีแสงแดดที่ใช้ในการตากหนังปลาให้แห้งได้ ทางอุตสาหกรรมการผลิต หนังปลากรอบ จึงนาหนังปลาเข้าไปปั่นกับเครื่องซักผ้าเพื่อให้หนังปลาแห้ง เครื่องสลัดน้าจากหนังปลา เริ่มจากการศึกษาระบบการทางานของถัง ปั่นเครื่องซักผ้า เพื่อดูกลไกการทางาน ชิ้นส่วนหลักที่ใช้ในการประกอบเป็น ตัวเครื่อง ขนาดความจุของถังปั่นที่สามารถปั่นได้ใน 1 ครั้ง จากนั้นจึงทาการ ออกแบบและเขียนแบบเครื่องสลัดน้าจากหนังปลา ดังภาพที่ 1


2

เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

ภำพที่ 1 เครื่องสลัดน้าจากหนังปลา


เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

3

ตำรำงที่ 1 เครื่องสลัดน้าจากหนังปลา

ชิ้นที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

รายการ โครงเครื่อง ชุดถังปั่น เหล็กยึดตู้คอลโทรล ตัวยึดอินเวอร์เตอร์ ขาท่อฮีสเตอร์ ท่อฮีสเตอร์ มอเตอร์ 3 เฟส อินเวอร์เตอร์ พูลเลย์ Blower สายพาน ตู้คอลโทรล ท่อลมร้อน ล้อ

ขนาด 560 x 1175 x 880 มม. Ø600 x 602 มม. 19 x 280 x 3 มม. 80 x 80 x 3 มม. 25 x 130 x 3 มม. Ø3" x 526 x 2 มม. 1 แรงม้า STD 1" , 2" 2" STD STD 3" Ø50 มม.

จานวน 1 1 1 2 2 1 1 1 1, 1 1 1 1 1 4


4

เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

กำรสร้ำงเครื่องสลัดนำจำกหนังปลำ 1) การสร้างโครงเครื่อง เริ่มจากการเลือกวัสดุที่จะใช้เป็นโครงเครื่อง ซึ่ง ได้ทาการเลือกเหล็ก ชนิด St-37 เป็นประเภทเหล็กกล้าละมุน มีขนาด 30 x 30 มิลลิเมตร เหมาะสาหรับโครงสร้างเหล็กเชื่อมประกอบสาหรับอุตสาหกรรม ก่อสร้างอาคาร สะพานเหล็กงานต่อเรือ และโครงสร้างยานยนต์ และสามารถ ทนแรงดึงได้ 37 กิโลกรัมต่อมิลลิเมตร รวมทัง้ สะดวกในการหาซื้อ หลังจากนั้น จึงท าการเชื่อมเหล็ กเป็ น โครง โดยเชื่อมต่ อ แบบตั้งฉากและต่อ แบบขนาน ดังภาพที่ 2

ภำพที่ 2 ลักษณะของโครงเครื่องสลัดน้าจากหนังปลา


เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

5

2) การทาชุดถังปั่น แบ่งออกเป็น 2 ถัง คือ ถังภายนอก และถังภายใน โดยทั้งสองส่วนมีการเลือกใช้วัสดุที่ต่างกัน ดังนี้ 2.1 ถังภายนอก ทาจากเหล็กสังกะสี มีความหนา 2 มิลลิเมตร โดยการ ม้วนขึ้นรูป โดยมีขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลาง 500 มิลลิเมตร สูง 600 มิลลิเมตร 2.2 ถังภายใน (ถังปั่น) ทาจากสแตนเลส AISI 304 มีลักษณะเป็ น ตะแกรงสแตนเลส มีขนาดรู 2 มิลลิเมตร มีความหนา 2 มิลลิเมตร ม้วนขึ้นรูป โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 400 มิลลิเมตร สูง 550 มิลลิเมตร ดังภาพที่ 3

ภำพที่ 3 ลักษณะของถังภายนอกและถังภายใน (ถังปั่น)


6

เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

3) ฝาถัง ทาจากเหล็กสังกะสี มีความหนา 2 มิลลิเมตร โดยการเชื่อมจุด (Spot) มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 492 มิลลิเมตร สูง 77 มิลลิเมตร เจาะรูกลางฝา ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 นิ้ว สูง 50 มิลลิเมตร เพื่อใส่ท่อยางในการเป่าลม ร้อนที่มาจากพัดลมเป่า (Blower) มีที่จับสาหรับเปิดฝา 2 ตาแหน่ง โดยมีรัศมี ความโค้ง 56 มิลลิเมตร กว้าง 40 มิลลิเมตร ดังภาพที่ 4

ภำพที่ 4 ลักษณะของฝาถัง

4) การจัดซื้อและติดตั้งวัสดุมาตรฐาน 4.1 มอเตอร์ เป็ น มอเตอร์ 3 เฟส มี กาลั งไฟฟ้ า 746 วัตต์ หรือ 1 แรงม้า ดังภาพที่ 5


เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

7

ภำพที่ 5 มอเตอร์

4.2 พูลเลย์ 2 ตัว ขนาด 1 นิ้ว สาหรับติดตั้งที่มอเตอร์ และ 2 นิ้ว สาหรับติดตั้งที่ เพลาของถังปั่น ดังภาพที่ 6

ภำพที่ 6 ลักษณะของพูลเลย์และตาแหน่งที่ติดตั้ง


8

เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

4.3 พัดลมเป่า (Blower) มีขนาดท่อลมออก 2 นิ้ว ต่อกับฮีสเตอร์ (Heater) ท่อที่สามารถให้ความร้อนระหว่าง 0–80 องศาเซลเซียส ดังภาพที่ 7

ภำพที่ 7 ลักษณะของพัดลมเป่า (Blower) และการต่อกับท่อยาง

4.4 ตู้ควบคุม (Control) และอินเวอร์เตอร์ (Invertor) สามารถ ควบคุมความเร็ว เวลา และอุณหภูมิ ในการทางาน ดังภาพที่ 8 และ 9

ภำพที่ 8 ลักษณะของตู้ควบคุม (Control)


เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

ภำพที่ 9 ลักษณะของอินเวอร์เตอร์ (Invertor) สาหรับควบคุมความเร็วมอเตอร์

จากนั้น นาวัสดุข้างต้น มาติดตั้งในตาแหน่งต่าง ๆ ดังภาพที่ 10

ภำพที่ 10 เครื่องสลัดน้าจากหนังปลา

9


10

เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

วิธีกำรใช้งำนเครื่องสลัดนำจำกหนังปลำ 1) การเตรียมหนั งปลา หนั งปลาที่เลือกใช้เป็นหนังปลาที่ได้จากปลา ยี่สก ซึ่งลักษณะพิเศษ คือ หนังปลามีความเหนียวและหาซื้อได้ง่าย โดยการนา หนังปลาที่ได้มาขอดเกล็ดออก และล้างทาความสะอาด ดังภาพที่ 11

ภำพที่ 11 ลักษณะของปลายี่สก และการขอดเกล็ดปลา

2) นาหนังปลาที่ขอดเกล็ดแล้ว แบ่งเป็น 2 ส่วน โดยส่วนที่ 1 ใช้สาหรับ การตากแดด โดยใช้เวลาในการตากแดด 1 วัน ส่วนที่ 2 ใช้สาหรับทดลองใน เครื่องสลัดน้าจากหนังปลา โดยมีการกาหนด ความเร็ว อุณหภูมิ ที่ต่างกัน โดย ใช้เวลาในการปั่น 15 นาที แล้วจึงนาหนังปลาที่ได้คลี่ทิ้งไว้ เป็นระยะเวลา 20 นาที เพื่อหาค่าที่ทาให้หนังปลามีความชื้นน้อยที่สุด ดังภาพที่ 12 และ 13

ภำพที่ 12 การตากหนังปลาใน 1 วัน


เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

11

ภำพที่ 13 การปั่นหนังปลาโดยใช้เครื่องสลัดน้าจากหนังปลา

ภำพที่ 14 หนังปลาที่ปั่นแล้วคลี่วางทิ้งไว้ 20 นาที

3) การวัดความชื้น น าหนังปลาที่ได้จ ากการตากแดด ปั่นที่ความเร็ว และอุณหภูมิที่ต่างกัน ทดสอบความชื้นด้วยเครื่องวัดความชื้น ดังภาพที่ 15

ภำพที่ 15 เครื่องวัดความชื้น


12

เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

โดยมีวิธีการดาเนินงานดังนี้  นาหนังปลาตัดเป็นชิ้นเล็ก ๆ  นาหนังปลาที่ตัดแล้วใส่ในเครื่อง  ปิดฝาเครื่อง กดเริ่มการทางาน และรอค่าความชื้นที่ปรากฏบน จอเครื่อง

ภำพที่ 16 วิธีการตัดหนังปลาเป็นชิ้นเล็ก ๆ

ภำพที่ 17 การนาหนังปลาเข้าเครือ่ งวัดความชื้น


เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

ภำพที่ 18 เครื่องกาลังทางาน

13


14

เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

มำตรฐำนของเครื่องสลัดนำจำกหนังปลำ นอกจากนี้ ได้ น าหนั งปลาแห้ ง ที่ ได้ จ ากการปั่ น ไปวั ด หาค่ า ความชื้ น สัมพัทธ์ (aw) โดยค่ามาตรฐานของอาหารแห้งจะมีค่า aw น้อยกว่า 0.6  ค่าที่วัดได้จากการตากแดด มีค่าเท่ากับ 0.582  ค่าที่วัดได้จากการปั่น แล้วนาไปตากแดด 20 นาที มีค่าเท่ากับ 0.473 ดังภาพที่ 19 และ 20

ภำพที่ 19 แสดงค่า awจากการตากแดด

ภำพที่ 20 ค่า awจากการปั่น แล้วนาไปตากแดด 20 นาที


เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

15

บรรณำนุกรม กฤษณะ มีมาก ธนวุฒิ นาคหวัง และ ปิ ยะพงษ์ นันทวงศ์ . (2543). เครื่อง ปอกมะพร้าว. วิท ยานิ พ นธ์ป ริญ ญาตรี ภาควิช าวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง. คฑา ฉมาดล และ ศราวุฒิ มะโนชมภู. (2548). การทดสอบเครื่องสลัดน้​้าผึ้ง. วิทยานิพนธ์ปริญญาตรี ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. โชติ พ งศ์ กาญ จนประโชติ . (2546). การออกแบบเครื่ อ งสลั ด น้​้ า ผึ้ ง . วิทยานิพนธ์ปริญญาโท ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ธเนศ และ ประสิทธิ์ . (2552). เครื่องสลัดน้​้ามันในอาหารทอด. สานักวิจัยและ พัฒนาการอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ประชา ยื น ยงกุ ล . (2549). การออกแบบและสร้างเครื่อ งสลั ด น้​้ าออกจาก กล้ ว ยทอด. ส านั ก ส่ ง เสริ ม และถ่ า ยทอดเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. มนู ญ ขัน ธุรา บุ ญ เตี ย ง สุ ดใจ ประสิ ท ธิ์ แช่มรั มย์ และ ชาญชัย พลายชุม . (2551). การออกแบบและสร้างเครื่องกระเทาะสบู่ด้า . วิทยานิพนธ์ ปริญญาตรี ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.


16

เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

สุภัทรา ปลื้มกมล และ วิเชียร ปลื้มกมล. (2535). เครื่องปั่นนุ่นส้าหรับเกษตรกร ในชนบท. ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สมยศ จันเกษม และ คิโยคัตสึ ซึงะ. (2527). การออกแบบชิ้นส่วน เครื่องจักรกล. กรุงเทพฯ : ดวงกมล.


เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

17

ประวัติผู้เขียน ชื่อ-นำมสกุล นายกุณฑล ทองศรี ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ที่ทำงำน ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 ประวัติกำรศึกษำ กาลังศึกษาต่อ Ph.D. (Ancient Indian & Asian Studies) Magadh University ประเทศอินเดีย วศ.ม. (วิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ค.บ. (เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี สำขำวิชำกำรที่มีควำมชำนำญพิเศษ วัสดุวิศวกรรม วิศวกรรมคุณค่า การจัดการอุตสาหกรรม การบารุงรักษาชิ้นส่วนเคริ่องจักรกลในโรงงงาน


18

เครื่องสลัดน้ำจำกหนังปลำ

ประวัติผู้เขียน ชื่อ-นำมสกุล ดร.ศิริชัย ต่อสกุล ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ที่ทำงำน ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 ประวัติกำรศึกษำ Doctor of Engineering (Dr.-Ing.) in Engineering Design, Aachen University of Technology, Aachen, Germany วศ.ม. (เทคโนโลยีการขึ้นรูปโลหะ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สำขำวิชำกำรที่มีควำมชำนำญพิเศษ Manufacturing of Technology Engineering Design Metal Forming of Technology Simulation Technique Finite Element Analysis (FEA) Composite Material (Sandwich Materials)


คณะกรรมการวิชาการพิจารณาเอกสารเผยแพร่ความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สงวนพงษ์ นายประชุม คาพุฒ รองศาสตราจารย์ ดร. คารณ สิระธนกุล นางบรรเลง สระมูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สวาสดิ์ธรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมจิตร ถนอมวงศ์วัฒนะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อ้อยทิพย์ ผู้พัฒน์ ดร. เฉลียว หมัดอิ๊ว รองศาสตราจารย์วสันต์ กันอา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วันชัย ประเสริฐศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภา ทองคง รองศาสตราจารย์ ดร. อุษาพร เสวกวิ รองศาสตราจารย์ ดร. สุวรินทร์ ปัทมวรคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวรรณ คุปพิทยานันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จตุพร เผ่าพงษ์ไทย รองศาสตราจารย์มานพ ตันตระบัณฑิตย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรี ศรีนนท์ฉัตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วารุณี อริยวิริยะนันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญเรือง สมประจบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิศากร สิงหเสนี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พนิดา สมประจบ นายเกษียร ธรานนท์

ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิปกรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์


คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ

อธิการบดี

คณะทางาน ฝ่ายอานวยการ รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี สงวนพงษ์ นายประชุม คาพุฒ

ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รองผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

ฝ่ายเนื้อหา ผู้ช่วยศาสตราจารย์กณ ุ ฑล ทองศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิริชัย ต่อสกุล

คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์

ฝ่ายศิลป์ และจัดพิมพ์ นางสุทธิศรี ม่วงสวย นางสาวศศิวรรณ อินทรวงศ์ นางสาวนิธิมา อินทรสอาด นางสาวพรทรัพย์ ถนัดไร่ จัดพิมพ์โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์ : 0 2549 4683 โทรสาร : 0 2577 5038 website : http://www.ird.rmutt.ac.th E-mail : ird@rmutt.ac.th พิมพ์ที : บริษัท ยูโอเพ่น จากัด โทรศัพท์/โทรสาร : 0 2617 6834



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.